คู่มือครูฝึก ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 2 โมดูล 6

Page 1

ครู ช่างแอร์ ระดับ 2 โมดูล 9_07.09.61.doc

หนาปก



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คูมือครูฝก 0920164170202 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 2

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 6 09217308

วิธีการประกอบติดตั้งระบบทอสารทําความเย็น ที่ใชในเครื่องปรับอากาศ

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คํา นํา

คูมือครูฝก สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 2 โมดูลที่ 6 วิธีการประกอบติดตั้ง ระบบทอสารทําความเย็นที่ใชในเครื่องปรับอากาศฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่ ง พั ฒ นาขึ้ นเพื่ อใช เป นเอกสารประกอบการจั ดการฝ กอบรมกับชุ ดการฝ กตาม ความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ด ว ยระบบการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมี วัตถุประสงคเพือ่ ใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ อบรมผูรับการ ฝกใหสามารถอธิบาย และประกอบติดตั้งระบบทอสารทําความเย็นที่ใชในเครื่องปรับอากาศทั้งแบบ 1 ตัว และตั้งแต 2 ตัว ขึ้นไป รวมทั้ง ติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่ กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผู รั บ การฝ ก อบรม และต อ งการใหผู รั บการฝ ก อบรมเกิด การเรียนรูด วยตนเอง การฝ ก ปฏิ บั ติ จ ะดํ า เนิน การในรูปแบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดัง กลาว จึง เปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคา ใช จา ยในการพัฒ นาฝมือ แรงงานใหแกกํ า ลัง แรงงานในระยะยาว จึง ถือเปนรูปแบบการฝ ก ที่ มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒ นาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

เรื่อง

สารบั ญ

หนา

คํานํา

สารบัญ ขอแนะนําสําหรับครูฝก

ข 1

โมดูลการฝกที่ 6 09217308 วิธีการประกอบติดตั้งระบบทอสารทําความเย็นที่ใชในเครื่องปรับอากาศ หัวขอวิชาที่ 1 0921730801 การเดินทอสารทําความเย็น

15

หัวขอวิชาที่ 2 0921730802 การเลือกแคปปลลารี่ทิ้วป คณะผูจัดทําโครงการ

44 53

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับการฝกตองเรียนรูและฝก ฝน ซึ่ง มีรหัสโมดูลและรหัสหัวขอวิชาเปนตัวกําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝกอบรมออนไลน ระบบการฝกอบรมภาคทฤษฎีผา นอุปกรณอิเ ล็กทรอนิกสห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขา ใชง านระบบ แบง สว นการใชง านตามความรับ ผิด ชอบของผูมีสว นไดสวนเสียดัง ภาพในหนา ที่ 2 ซึ่ง สามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรียนรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสง มอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลัก สูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัตใิ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติง าน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสง มอบคูมือ ผูรั บการฝก แก ผูรั บการฝก ที่ ศูนย ฝก อบรม และฝกภาคปฏิ บั ติ ที่ศูน ยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

- ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลัก สูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติง าน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning - ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลัก สูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติง าน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่ง พิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

- สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

5. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีก อนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎี หลังฝ ก โดยกําหนดเกณฑ การให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและ การพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 2 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164170202

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒ นาขึ้น ให ครอบคลุ มด านความรู ทักษะ และเจตคติแก ผูรั บการฝ กในสาขาช างเครื่ องปรั บอากาศ ในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขา ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับสัญลักษณทางไฟฟา การอานแบบ และวงจรทางไฟฟา 1.2 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับวงจรไฟฟาในเครื่องปรับอากาศระบบ 3 เฟส อุปกรณและหลักการทํางานของ ระบบควบคุมตาง ๆ ที่อยูในเครื่องปรับอากาศ 1.3 มีความรูความสามารถในการตัด ปรับแตง ขยาย บาน ดัด และเชื่อมทอ 1.4 มี ค วามรู ความสามารถเกี่ยวกับหลักการทํางานของมอเตอรไฟฟา 1 เฟส 3 เฟส และการตอมอเตอร หลายความเร็ว 1.5 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกใชชนิดและขนาดของคอมเพรสเซอรไดอยางเหมาะสม 1.6 มีความรูความสามารถในการประกอบติดตั้งระบบทอสารทําความเย็นที่ใชในเครื่องปรับอากาศ 1.7 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับหลักการและวิธีการหลอลื่นอุปกรณในระบบเครื่องปรับอากาศ 1.8 มีความรูเกี่ยวกับการจัดเก็บสารทําเย็น เพื่อการเคลื่อนยายหรือการซอมบํารุงโดยการปมดาวน หรือ ใชเครื่องเก็บสารทําความเย็นอยางถูกตอง และการจัดเก็บอุปกรณระบบสารทําความเย็นเพื่อปองกันความชื้น 1.9 มีความรูความสามารถในการทําความสะอาดระบบ เมื่อภายในระบบมีความชื้น 1.10 มีความรูความสามารถในการตรวจสอบการทํางานเครื่องปรับอากาศ และการวัดคาตาง ๆ 1.11 มีความรูความสามารถในการวิเคราะหและแกไขขอขัดของของเครื่องปรับอากาศ 2. ระยะเวลาการฝก ผู รั บ การฝ ก จะได รับ การฝ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิ บั ติ โดยสถาบั น พั ฒ นาฝ มือ แรงงาน หรื อ สํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 72 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรได 11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หนวยฝกจึง ตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้ง นี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการ สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขา ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 2 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขา ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 2 4.3 ผู รั บ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ า นการฝ ก ครบทุ ก หน ว ยความสามารถ จะได รั บ วุ ฒิบั ต ร วพร. สาขา ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 2

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 6 1. ชื่อหลักสูตร

สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก รหัสหลักสูตร ระดับ 2 0920164170202 2. ชื่อโมดูลการฝก วิธีการประกอบติดตั้งระบบทอสารทําความเย็น รหัสโมดูลการฝก ที่ใชในเครื่องปรับอากาศ 09217308 3. ระยะเวลาการฝก รวม 8 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 6 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒ นาขึ้นใหครอบคลุ มด านความรู ทักษะ และเจตคติแก ผูรั บการฝ ก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายวิธีการเดินทอเพื่อใหสารทําความเย็นและน้ํามันหลอลื่นไหลวนเวียนในระบบ ไดถูกตอง 2. เดินทอเพื่อใหสารทําความเย็นและน้ํามันหลอลื่นไหลวนเวียนในระบบได 3. อธิบายวิธีการเดินทอเพื่อปองกันไมใหสารทําความเย็น เหลวเขาไปในทางดูดและ ทําอันตรายตอคอมเพรสเซอรไ ด 4. เดินทอเพื่อปองกันไมใหสารทําความเย็นเหลวเขาไปในทางดูดและทําอันตราย ตอคอมเพรสเซอรไ ด 5. อธิบายวิธีการเดินทอเพื่อเฉลี่ยสารทําความเย็นใหแผงทําความเย็น (Evaporator) ตั้งแต 2 ตัวขึ้นไปได 6. เดินทอเพื่อเฉลี่ยสารทําความเย็นใหแผงทําความเย็น (Evaporator) ตั้งแต 2 ตัวขึ้นไปได 7. อธิบายวิธีการเลือกหรือเปลี่ยนขนาด และความยาวของแคปปลลารี่ทิ้วปได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับ วิธีการเดินทอเพื่อใหสารทําความเย็นและน้ํามันหลอลื่น ผูรับการฝก ไหลวนเวียนในระบบทั้งแบบ 1 ตัว และแบบตั้งแต 2 ตัวขึ้นไป หรือผานการฝกอบรม ที่เกี่ยวของจากหนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานระดับ 1 มาแลว 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 5 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา (ชั่วโมง : นาที) 13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1. อธิบายวิธีการเดินทอเพื่อให หัวขอที่ 1 : การเดินทอสารทําความเย็น สารทําความเย็นและ น้ํามันหลอลื่นไหลวนเวียน ในระบบไดถูกตอง 2. เดินทอเพื่อใหสารทําความเย็น และน้ํามันหลอลื่นไหลวนเวียน ในระบบได 3. อธิบายวิธีการเดิน ทอเพื่อ ปองกันไมให สารทําความเย็นเหลวเขาไป ในทางดูดและทําอันตรายตอ คอมเพรสเซอรไ ด 4. เดิน ทอเพื่อปองกันไมให สารทําความเย็นเหลวเขาไป ในทางดูดและทําอันตรายตอ คอมเพรสเซอรไ ด 5. อธิบายวิธีการเดินทอเพื่อเฉลี่ย สารทําความเย็นใหแผง ทําความเย็น (Evaporator) ตั้งแต 2 ตัวขึ้นไปได 6. เดินทอเพื่อเฉลี่ย สารทําความเย็นใหแผง ทําความเย็น (Evaporator) ตั้งแต 2 ตัวขึ้นไปได 7. อธิบายวิธีการเลือกหรือเปลี่ยน หัวขอที่ 2 : การเลือกแคปปลลารี่ทิ้วป ขนาด และความยาวของ แคปปลลารี่ทิ้วปได รวมทั้งสิ้น

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ทฤษฎี ปฏิบัติ 1:30 6:00

รวม 7:30

0:30

-

0:30

2:00

6:00

8:00


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921730801 การเดินทอสารทําความเย็น (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. 2. 3. 4. 5. 6.

อธิบายวิธีการเดินทอเพื่อใหสารทําความเย็นและน้ํามันหลอลื่นไหลวนเวียนในระบบไดถูกตอง เดินทอเพื่อใหสารทําความเย็นและน้ํามันหลอลื่นไหลวนเวียนในระบบได อธิบายวิธีการเดินทอเพื่อปองกันไมใหสารทําความเย็นเหลวเขาไปในทางดูด และทําอันตรายตอคอมเพรสเซอรได เดิน ทอเพื่อปองกันไมใหสารทําความเย็นเหลวเขาไปในทางดูดและทําอันตรายตอคอมเพรสเซอรไ ด อธิบายวิธีการเดินทอเพื่อเฉลี่ยสารทําความเย็นใหแผงทําความเย็น (Evaporator) ตั้งแต 2 ตัวขึ้นไปได เดินทอเพื่อเฉลี่ยสารทําความเย็นใหแผงทําความเย็น (Evaporator) ตั้งแต 2 ตัวขึ้นไปได

2. หัวขอสําคัญ 1. การเดินทอเพื่อใหสารทําความเย็นและน้ํามันหลอลื่นไหลวนเวียนในระบบ 2. การเดินทอเพื่อปองกันไมใหสารทําความเย็นเหลวเขาไปในทางดูดและทําอันตรายตอคอมเพรสเซอร 3. การเดินทอเพื่อเฉลี่ยสารทําความเย็นใหแผงทําความเย็นตั้งแต 2 ตัวขึ้นไป

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรม 2.1. วัสดุ 1) ขาแขวนยึดคอยลเย็น จํานวน 1 ชุด 2) ฉนวนหุมทอ จํานวน 2 เสน 3) เทปพันทอ จํานวน 2 มวน 4) พุกตะกั่ว เบอร 3/8 นิ้ว จํานวน 1 ชุด 5) พุกพลาสติก เบอร 10 จํานวน 1 ชุด 6) ลวดเชื่อมเงิน จํานวน 2 เสน 7) สกรู เบอร 3/8 นิ้ว จํานวน 1 ชุด 8) สกรูเกลียวปลอย เบอร 10 จํานวน 1 ชุด 2.2. เครื่องมือและอุปกรณ 1) ไขควงแฉก จํานวน 1 ตัว 2) ไขควงแบน จํานวน 1 ตัว 3) คอน จํานวน 1 คอน 4) คีมชางไฟฟา จํานวน 1 ตัว 5) คีมตัด จํานวน 1 ตัว 6) คีมล็อก จํานวน 1 ตัว 7) เครื่องปรับอากาศ จํานวน 1 ชุด 8) ชุดเครื่องมืองานทอ (ตัด บาน ขยาย ดัด) จํานวน 1 ชุด 9) ชุดเชื่อมแกส จํานวน 1 ชุด 10) ชุดดอกสวานเจาะเหล็ก จํานวน 1 ชุด 11) ชุดประแจปากตาย จํานวน 1 ชุด 12) ดอกสวานเจาะปูน จํานวน 1 ชุด 13) ประแจเลื่อน 8 นิ้ว จํานวน 1 ตัว 14) สวานไฟฟา จํานวน 1 ตัว 15) โฮลซอ จํานวน 1 ตัว

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม ฉัตรชาญ ทองจับ. 2557. เครื่องทําความเย็นและปรับอากาศ. ปทุมธานี : สกายบุกส นุกูล แกวมะหิงษ. 2558. เครื่องปรับอากาศ (ภาคทฤษฎี). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ.

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 การเดินทอสารทําความเย็น ทอของสารทําความเย็นที่ใชในงานติดตั้งเครื่องปรับอากาศ มี 2 ชนิด ไดแก 1) ทอชนิดออน เชน ทอทองแดงอยางออน ทออะลูมิเนียม ทออัลลอยด โดยสวนมากชางจะใชทอทองแดง ชนิดบางแบบมวน หรือ แบบขด 2) ทอ ชนิด แข็ง เชน ทอ ทองแดงอยางแข็ง ทอ เหล็ก ทอ สเตนเลส จะจํา หนา ยเปนเสนสั้น ๆ ไมย าวมาก โดยมีเสนผานศูนยกลางเทากับทอชนิดออน การจําแนกทอสารทําความเย็น ดวยหนาที่ในระบบเครื่องปรับอากาศ จําแนกได 2 ชนิด คือ 1) ทอซัคชั่น (Suction Line) เปนทอทางเดินของสารทําความเย็นที่ เชื่อมระหวางอีวาพอเรเตอรกับทางดู ดของ คอมเพรสเซอรแอร ซึ่งเปนทางผานของสารทําความเย็นในสถานะแกสและความดันต่ําจากอีวาพอเรเตอร เพื่อสงไปยังคอมเพรสเซอร 2) ท อ ดิ ส ชาร จ (Discharge Line) เป น ท อ ที่ ต อ ระหว า งคอนเดนเซอร กั บ คอมเพรสเซอร แ อร ซึ่ ง ส ง ผ า น สารทําความเย็นที่มีสถานะเปนแกสความดันสูงไปยังคอนเดนเซอร ระบบทอน้ํายาสารทํ าความเย็นนั บวาเป นส วนที่มี ความสํ าคัญ มากที่สุ ดในการติดตั้ง เครื่องปรั บอากาศแบบแยกส วน การเลือกใชขนาดทอที่มีข นาดเล็กเกิน ไปจะมีผ ลทํา ใหเ กิด ปญ หาตามมา เชน ทํา ใหป ระสิท ธิภ าพของเครื่องต่ํา ลงหรือ เกิ ด ความดั น ตกคร อ มระหว า งท อ มากเกิ น ไป เป น ต น ดั ง นั้ น ในการเลื อ กใช ข นาดท อ น้ํา ยาต อ งพิ จ ารณาถึ ง ขนาด เส น ผานศูนยกลางของทอน้ํายา (Pipe Diameter) ความยาวทอน้ํายา (Pipe Length) จํานวนของขอตอตาง ๆ (Number of Fitting) ความเร็วในการเคลื่อนที่ของสารทําความเย็น (Fluid Velocity) การเลือกใชทอน้ํายาควรเลือกตามคูมือติดตั้งเครื่องปรับอากาศนั้น ๆ แตถาไมทราบก็สามารถหาขนาดเบื้องตนไดจาก แผนผังคํานวณขนาดทอน้ํายา ซึ่งโดยทั่วไปกําหนดความดันตกครอมดานดูด 2 Psi/100 Ft. และความดันตกครอมดานสง 4 Psi/100 Ft.

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ตารางที่ 1.1 ขนาดทอน้ํายาที่ตัวเครื่องปรับอากาศ รุน CD18/AR18R, CSD18/ASD18,

ขนาดทอ ทอสารทําความเย็นสถานะของเหลว

ทอสารทําความเย็นสถานะแกส

3/8"

5/8"

3/8"

3/4"

CSD25/ASD25, CSD30/ASD30 CD25/AR25R, CD30/AR30R, CD36/AR36R, CD36/AR36TR, CSD36/ASD36, CSD36T/ASD36T, CD40/AR40SR, CD40/AR40STR, CD44/AR44STR ตามตารางที่ 1.1 แสดงขนาดของท อ สารทํ า ความเย็ น ที่ เ หมาะสมกั บ เครื่ อ งปรั บ อากาศรุ น ต า ง ๆ โดยที่ ท อ สารทําความเย็นสถานะของเหลวจะมีขนาดเล็กกวาทอสารทําความเย็นสถานะแกส ซึ่งขนาดที่กําหนดในตารางนี้ จะใชใน กรณีที่มีความยาวของการเดินทอตามปกติ นั่นคือ ความยาวไมเกิน 10 เมตร แตถาจําเปนตองเดินทอสารทําความเย็นยาวกวา 10 เมตร จะตองพิจารณาขนาดทอใหม เนื่องจากความยาวที่เพิ่มขึ้นจะสงผลใหแรงดันของสารทําความเย็นเปลี่ยนไป ซึ่งแสดงไดตาม ตาราง

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ตารางที่ 1.2 แสดงความยางทอติดตั้งที่ตัวเครื่องปรับอากาศ ความยาวทอติดตั้ง รุน

15 ม.

20 ม.

25 ม.

30 ม.

35 ม.

ทอ ทอ ทอ ทอ ทอ ทอแกส ทอแกส ทอแกส ทอแกส ทอแกส ของเหลว ของเหลว ของเหลว ของเหลว ของเหลว

CD18/AR18R CSD18/ASD18

3/8"

5/8"

3/8"

5/8"

3/8"

5/8"

3/8"

5/8"

1/2"

3/4"

CSD25/ASD25 CSD30/ASD30

3/8"

5/8"

3/8"

5/8"

3/8"

5/8"

1/2"

3/4"

1/2"

3/4"

CD25/AR25R CD30/AR30R

3/8"

3/4"

3/8"

3/4"

3/8"

3/4"

1/2"

3/4"

1/2"

3/4"

CD36/AR36R CD36/AR36TR

3/8"

3/4"

3/8"

3/4"

3/8"

3/4"

1/2"

7/8"

1/2"

7/8"

CSD36/ASD36 CSD36T/ASD3 6T

3/8"

3/4"

3/8"

3/4"

3/8"

3/4"

1/2"

7/8"

1/2"

7/8"

จากตารางจะพบวา ยิ่งความยาวในการเดินทอเพิ่มมากขึ้น ขนาดของทอสารทําความเย็นตองมากขึ้นดวย เพื่อใหแรงดัน สารทําความเย็นคงเดิม และในการเดินทอสารทําความเย็นยาวเกิน 10 เมตร จะตองเติมน้ํามันหลอลื่นเพิ่มเติม เพื่อชดเชยผล ของฟลมน้ํามันที่ตกคางผิวดานในของทอดูด ตามอัตราในตารางตอไปนี้ ทุก ๆ ความยาวของทอ 1 เมตร ตารางที่ 1.3 แสดงขนาดของทอและอัตราการเติมน้ํามันตอทุกความยาว 1 เมตร ขนาดทอ (นิ้ว) อัตราเติมน้ํามันตอทุกความยาว 1 เมตร (มิลลิลิตร) 3/8

7.5

1/2

10

5/8

20

3/4

30

7/8

40

1-1/8

50

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ในการติดตั้งระบบทอสารทําความเย็นมีวิธีปองกันความเสียหาย แบงตามกรณีตาง ๆ ที่เกิดขึ้น ไดแก 1. การเดินทอเพือ่ ใหสารทําความเย็นและน้ํามันหลอลื่นไหลวนเวียนในระบบ การเดินทอเพื่อใหสารทําความเย็นและน้ํามันหลอลื่นไหลวนเวียนในระบบไดถูกตองทําไดโดยการทําทอ Oil Trap เพื่อดักน้ํามัน ในระบบปรับอากาศ ซึ่งจะเกิดขึ้นในกรณีที่ติดตั้งคอยลรอนสูงกวาคอยลเย็น ซึ่งการทํา Oil Trap คือ การดัดทอใหเปนรูปคอหาน เมื่อน้ํามันคอมเพรสเซอรที่หลอลื่นในระบบถูกดูดใหไหลกลับเขาคอมเพรสเซอร จะถูกดูดไปไดบางสวน สวนใหญจะไหลมา ตกคางในทอดักน้ํามันที่ทําใหเกิดแรงกดอากาศลงบนน้ํามัน

ภาพที่ 1.1 การทําทอ Oil Trap เพื่อดักน้ํามันหลอลื่น คอมเพรสเซอรจึงสามารถดูดน้ํามันหลอลื่นกลับไดอยางมีประสิทธิภาพ และในชวงที่คอมเพรสเซอรหยุดการทํางาน น้ํา มัน หลอ ลื่น ที่ไ หลมาคางอยูที่ Oil Trap จะถูก ดูด กลับไปเพื่อ หลอ ลื่นคอมเพรสเซอรไ ดร วดเร็ว เมื่อ คอมเพรสเซอร เริ่มทํางานใหม 1.1 กรณีที่ไมมีน้ํามันหลอลื่นไหลกลับเขาคอมเพรสเซอร หรือกรณีที่คอยลรอนติดตั้งอยูสูงกวาคอยลเย็น ประมาณ 2.5 – 7.5 เมตร ตองติดตั้งทอ Oil Trap แบบ P-Trap บริเวณดานลางของทอแนวดิ่ง เพื่อดักเก็บน้ํามันหลอลื่น ที่ไหลตกลงมาขณะที่คอมเพรสเซอรหยุดทํางาน และเมื่อคอมเพรสเซอรทํางาน น้ํามันหลอลื่นที่คางอยูจะถูกดูดกลับขึ้น คอมเพรสเซอรอยางรวดเร็ว

ภาพที่ 1.2 การติดตั้งทอ P-Trap 21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.2 กรณีที่ตองติดตั้งคอยลรอนสูงกวาคอยลเย็นมากกวา 2.5 -7.5 เมตร ตองติดตั้ง Oil Trap แบบ S-Trap ที่ดานลาง ของแนวดิ่ง ทุก ๆ 2.5 เมตร เพื่อดักเก็บน้ํามันหลอลื่นที่ติดตามผนังทอใหลงมารวมอยูในทอเก็บน้ํามันในขณะที่ คอมเพรสเซอรหยุดทํางาน เมื่อคอมเพรสเซอรทํางานน้ํามันหลอลื่นเหลานี้ก็จะถูกดูดกลับ

ภาพที่ 1.3 การติดตั้งทอ P-Trap และทอ S-Trap 2. การเดินทอเพื่อปองกันไมใหสารทําความเย็นเหลวเขาไปในทางดูดและทําอันตรายตอคอมเพรสเซอร 2.1 กรณีที่มีสารทําความเย็นเหลวไหลกลับเขาคอมเพรสเซอร เมื่อติดตั้ง คอยลเย็นสูง กวาคอยลรอนตองติดตั้ง Invert-Trap หรือ Loop ที่ทอทางออกของคอยลเย็น เพื่อชวยปองกันสารทําความเย็นไหลกลับเขาคอมเพรสเซอร ขณะหยุ ด ทํ า งาน ซึ่ ง จะก อ ให เ กิ ด ความเสี ย หายเมื่ อ สารทํ า ความเย็ น ไปรวมกั บ น้ํ า มั น หล อ ลื่ น ทํ า ให ก ารหล อ ลื่ น คอมเพรสเซอรผิดปกติและทําใหอายุการใชงานของคอมเพรสเซอรสั้นลง

ภาพที่ 1.4 การทํา Invert-Trap 2.2 กรณีที่ปองกันคาความดันของทอสารทําความเย็นเหลวความดันสูงลดลง ในกรณีนี้ ปองกันโดยไมติดตั้งคอยลเย็น สูงกวาคอยลรอนเกิน 6 เมตร เนื่องจากความสูงของของเหลวทําใหความดันในทอลด และสารทําความเย็นจะเดือดเปนไอ ทําใหประสิทธิภาพในการทําความเย็นลดลง อีกทั้งยังชวยปองกันน้ํายาเหลวไหลเขาสูคอมเพรสเซอร ที่มักจะเกิดขึ้น โดยเฉพาะกับคอมเพรสเซอรแบบลูกสูบ 22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. การเดินทอเพื่อเฉลี่ยสารทําความเย็นใหแผงทําความเย็นตั้งแต 2 ตัวขึ้นไป ระบบ VRV (Variable Refrigerant Volume) หรือ ระบบ VRF (Variable Refrigerant Flow) เปนระบบเครื่องปรับอากาศ ที่มีลักษณะการทํางานที่สามารถเปลี่ยนเเปลงปริมาณสารทําความเย็นตามภาระโหลดของการทําความเย็นเเละจํานวน ตัวเครื่องภายในที่ทําการติดตั้ง เปนระบบเครื่องปรับอากาศที่ใชในเชิงพาณิชย เหมาะกับการติดตั้งในพื้นที่จํากัดพื้นติดตั้ง คอยลรอน (Outdoor Unit) เนื่องจากคอยลรอน 1 ตัว สามารถติดตั้งคอยลเย็น (Indoor Unit) ไดหลายตัวเเละหลายชั้น ซึ่งคอยลเย็นจะเเยกการทํางานโดยอิสระ จึงสามาถควบคุบอุณหภูมิไดเเมนยํา การทํางานระบบ VRV หรือระบบ VRF ลักษณะการทํางานของตัวเครื่องภายนอก (Outdoor Unit) จะทํางานในลักษณะการเปลี่ยนเเปลงปริมาณการไหล ของสารทํ า ความเย็ น ในระบบตามโหลดของตั ว เครื่ อ งภายใน (Indoor Unit) โดยตั ว เครื่ อ งภายนอกจะถู ก ออกเเบบ ใหมีคอมเพรสเซอรอยางนอย 2 ตัวขึ้นไป ซึ่งการทํางานของคอมเพรสเซอรจะถูกออกแบบใหทํางานลักษณะสลับการทํางาน เเลวสงสารทําความเย็นไปตามทอของเหลว (Liquid Side) ไปยังตัวเครื่องภายใน ซึ่งตัวเครื่องภายในก็จะมีตัวควบคุมปริมาณ ของสารทําความเย็น (PMV Valve) เปนตัวจายสารทําความเย็นตามภาระโหลดการทํางาน เเละตัวคอมเพรสเซอรจะทํางาน เต็มที่เมื่อมีการเปดใชจํานวนตัวเครื่องภายในมากขึ้น

ภาพที่ 1.5 เครื่องปรับอากาศระบบ VRV

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ปจจัยใดที่สงผลใหการเดินทอสารทําความเย็นตองใหความสําคัญกับขนาดทอและความยาวของทอ ก. มาตรฐานคุณภาพของสารทําความเย็น ข. ยี่หอของทอเดินสารทําความเย็น ค. ความดันของสารทําความเย็น ง. น้ํามันหลอลื่น 2. เมื่อเดินทอสารทําความเย็นยาวมาก ขนาดของทอจะเปลี่ยนแปลงไปอยางไร ก. ขนาดของทอตองใหญขึ้น ข. ขนาดของทอตองเล็กลง 20 เปอรเซ็นต ค. ขนาดของทอตองใหญขึ้น 20 เปอรเซ็นต ง. ขนาดของทอตองเล็กลง 3. การเดินทอสารทําความเย็นยาวเกิน 10 เมตร ตองเพิ่มเติมสิ่งใดเปนพิเศษ ก. ไขหลอลื่น ข. น้ํามันหลอลื่น ค. ใบพัดปรับแรงดัน ง. ประตูเปดปดสารทําความเย็น 4. ขอใดเปนการติดตั้งระบบทอสารความเย็น กรณีที่ไมมีน้ํามันหลอลื่นไหลกลับเขาคอมเพรสเซอร ก. ติดตั้งทอ Oil Trap แบบ P-Trap บริเวณดานลางของทอแนวดิ่ง ข. ติดตั้งทอ Oil Trap แบบ U-Trap บริเวณดานลางของทอแนวดิ่ง ค. ติดตั้งทอ Oil Trap แบบ S-Trap บริเวณดานลางของทอแนวดิ่ง ง. ติดตั้งทอ Oil Trap แบบ I-Trap บริเวณดานลางของทอแนวดิ่ง

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ VRF ก. คอยลรอน 1 ตัว สามารถติดตั้งคอยลเย็นได 1 ตัว ข. คอยลเย็น 1 ตัว ตองติดตั้งคอยลรอน 1 ตัว ค. คอยลเย็น 1 ตัว ตองติดตั้งคอยลรอนหลายตัว ง. คอยลรอ น 1 ตัว สามารถติดตั้งคอยลเย็นไดหลายตัว

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การเดินทอสารทําความเย็น 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เดินทอเพื่อใหสารทําความเย็นและน้ํามันหลอลื่นไหลวนเวียนในระบบได 2. เดิน ทอเพื่อปองกันไมใหสารทําความเย็นเหลวเขาไปในทางดูดและทําอันตรายตอคอมเพรสเซอรไ ด 3. เดินทอเพื่อเฉลี่ยสารทําความเย็นใหแผงทําความเย็น (Evaporator) ตั้งแต 2 ตัวขึ้นไปได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 6 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเดินทอสารทําความเย็น ในรูปแบบที่กําหนด ดังนี้ 1. เดินทอสารทําความเย็นกรณีที่คอยลรอนติดตั้งอยูสูงกวาคอยลเย็น 2. เดินทอสารทําความเย็นกรณีที่คอยลเย็นสูงกวาคอยลรอน 3. เดินทอสารทําความเย็นกรณีที่มีแผงทําความเย็น 2 ตัว

เดินทอสารทําความเย็นกรณีที่คอยลรอนติดตั้งอยูสูงกวาคอยลเย็น

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

เดินทอสารทําความเย็นกรณีที่คอยลเย็นสูงกวาคอยลรอน

เดินทอสารทําความเย็นกรณีที่มีแผงทําความเย็น 2 ตัว

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 การเดินทอสารทําความเย็น 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบตั ิการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติง าน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไ มเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขควงแฉก

จํานวน 1 ตัว

2. ไขควงแบน 3. คอน

จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 คอน

4. คีมชางไฟฟา 5. คีมตัด

จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว

6. คีมล็อก 7. เครือ่ งปรับอากาศ

จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ชุด

8. ชุดเครื่องมืองานทอ (ตัด บาน ขยาย ดัด) 9. ชุดเชื่อมแกส

จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 ชุด

10. ชุดดอกสวานเจาะเหล็ก 11. ชุดประแจปากตาย

จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 ชุด 29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

12. ดอกสวานเจาะปูน

จํานวน 1 ชุด

13. ประแจเลื่อน 8 นิ้ว 14. สวานไฟฟา

จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว

15. โฮลซอ จํานวน 1 ตัว หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ขาแขวนยึดคอยลเย็น

จํานวน 1 ชุด

2. ฉนวนหุมทอ 3. เทปพันทอ

จํานวน 2 เสน จํานวน 2 มวน

4. พุกตะกั่ว เบอร 3/8 นิ้ว 5. พุกพลาสติก เบอร 10

จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 ชุด

6. ลวดเชื่อมเงิน

จํานวน 2 เสน

7. สกรู เบอร 3/8 นิ้ว 8. สกรูเกลียวปลอย เบอร 10

จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 ชุด

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการปฏิบัติงาน 2.1 เดินทอสารทําความเย็นกรณีที่คอยลรอนติดตั้งอยูสูงกวาคอยลเย็น ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. ติดตั้งเพลทหรือขาแขวนแฟนคอยล

ติดตั้งแผนเพลท/ขาแขวนติดตั้ง แฟนคอยลยูนิต

2. ติดตั้งแฟนคอยล

ติดตั้งแฟนคอยลยูนิต

3. ติดตั้งคอนเดนซิ่งยูนิต

ติดตั้งคอนเดนซิ่งยูนิต

4. ดัดทอแฟนคอยลยูนิตเตรียมทํา P-Trap

ดัดทอจากแฟนคอยลยูนิตออกมา เพื่อเตรียมทํา P-Trap

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

5. ทํา P-Trap

ทํา P-Trap

6. เดินทอเชื่อมแฟนคอยลกับคอนเดนซิ่ง

เดินทอเชื่อมตอระหวาง แฟนคอยลยูนิต และคอนเดนซิ่งยูนิต

7. หุมฉนวนทอทองแดง

หุมฉนวนทอทองแดง

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

8. บานแฟลรและขันแฟลรใสทอซัคชั่นและ บานแฟลรและขันแฟลรใสทอซัคชั่น ทอลิควิด และทอลิควิด

9. พันเทปพันทอ

พันเทปพันทอใหเรียบรอย

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2.2 เดินทอสารทําความเย็นกรณีที่คอยลเย็นติดตั้งอยูสูงกวาคอยลรอน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย ติดตั้งแผนเพลท / ขาแขวน

1. ติดตั้งเพลทหรือขาแขวนแฟนคอยล

ติดตั้งแฟนคอยลยูนิต

2. ติดตั้งแฟนคอยล

ติดตั้งแฟนคอยลยูนิต

3. ติดตั้งคอนเดนซิ่งยูนิต

ติดตั้งคอนเดนซิ่งยูนิต

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

4. ดัดทอแฟนคอยลยูนิตเตรียมทํา P-Trap

ดัดทอจากแฟนคอยลยูนิตออก มาเพื่อเตรียมทํา P-Trap

5. ทํา P-Trap

ทํา P-Trap

6. เดินทอเชื่อมแฟนคอยลกับคอนเดนซิ่ง

เดินทอเชื่อมตอระหวาง แฟนคอยลยูนิต และคอนเดนซิ่ง ยูนิต

7. หุมฉนวนทอทองแดง

หุมฉนวนทอทองแดง

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

8. บานแฟลรและขันแฟลรใสทอซัคชั่นและทอลิควิด

บ า น แ ฟ ล ร แ ล ะ ขั น แ ฟ ล ร ใสทอซัคชั่นและทอลิควิด

9. พันเทปพันทอ

พันเทปพันทอใหเรียบรอย

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2.3 เดินทอเพื่อเฉลี่ยสารทําความเย็นใหแผงทําความเย็นตั้งแต 2 ตัวขึ้นไป ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ติดตั้งเพลทหรือขาแขวนแฟนคอยล

คําอธิบาย ติ ด ตั้ ง แผ น เพลท/ขาแขวนติ ด ตั้ ง แฟนคอยลยูนิต

2. ติดตั้งแฟนคอยลยูนิตทั้ง 2 ตัว

ติดตั้งแฟนคอยลยูนิต ตัวที่ 1 แลวติดตั้งแฟนคอยลยูนิตตัวที่ 2

3. ติดตั้งคอนเดนซิ่ง

ติดตั้งคอนเดนซิ่งยูนิต

4. ดัดทอแฟนคอยลยูนิตตัวที่ 1 เพื่อเตรียมทํา Invert- ดัดทอจากแฟนคอยลยูนิต ตัวที่ 1 Trap ออกมาเพื่อเตรียม Invert-Trap

5. ทํา Invert-Trap

ทํา Invert-Trap ของแฟนคอยล ตัวที่ 1

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

6. เดินทอเชื่อมตอระหวางแฟนคอยลยูนิต ตัวที่ 1 กับ จาก Invert-Trap เดินทอเชื่อม คอนเดนซิ่งยูนิต ตอระหวางแฟนคอยลยูนิต ตัวที่ 1 กับคอนเดนซิ่งยูนิต

7. หุมฉนวนทอ

หุมฉนวนทอทองแดง

8. บานแฟลรและขันแฟลรใสทอซัคชั่นและทอลิควิด

บานแฟลรและขันแฟลร ใสทอซัคชั่น และทอลิควิด

9. ดัดทอแฟนคอยลยูนิตตัวที่ 2 เพื่อเตรียมทํา Invert- ดัดทอจากแฟนคอยลยูนิต Trap ตัวที่ 2 ออกมาเพื่อเตรียม Invert-Trap

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 10. ทํา Invert-Trap

คําอธิบาย ทํา Invert-Trap ของแฟนคอยลตัวที่ 2

11. เดิน ทอเชื่อมตอระหวางแฟนคอยลยูนิต ตัวที่ 2 จาก Invert-Trap เดินทอเชื่อม ตอ กับคอนเดนซิ่งยูนิต

ระหวางแฟนคอยลยูนิต ตัวที่ 2 กับ คอนเดนซิ่งยูนิต

12. หุมฉนวนทอ

หุมฉนวนทอทองแดง

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

13. บานแฟลรและขันแฟลรใสทอซัคชั่นและทอลิควิด บานแฟลร แ ละขั น แฟลร ใส ท อ พันเทปพันทอใหเรียบรอย ซัคชั่นและทอลิควิด พันเทปพันทอใหเรียบรอย

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

1

เดินทอสารทําความเย็นกรณีที่คอยลรอนติดตั้งอยูสูงกวาคอยลเย็น 1.1 งานดัดทอ P-Trap

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 รอยเชื่อม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

เดินทอสารทําความเย็นกรณีที่คอยลเย็นติดตั้งอยูสูงกวาคอยลรอน 1.3 งานดัดทอ Invert-Trap

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 รอยเชื่อม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

เดินทอเพื่อเฉลี่ยสารทําความเย็นใหแผงทําความเย็นตั้งแต 2 ตัว ขึ้นไป

2

1.5 งานดัดทอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.6 รอยเชื่อม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตองและ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 งานดัดทอ P-Trap

คะแนนเต็ม 30

- กํ า หนดระยะดั ดได ถู ก ต อง ทํ า P-Trap ได ส วยงาม ให ค ะแนน 5

5

คะแนน - กําหนดระยะตําแหนงดัดขาด หรือเกิน ตั้งแต 1-2 มิลลิเมตร หรือ ดัด ขาด หรือ เกิน 1-2 องศา ใหคะแนน 3 คะแนน - กําหนดระยะตําแหนงดัดขาด หรือเกิน ตั้งแต 3 มิลลิเมตรขึ้นไป หรือ ดัดขาด หรือ เกินตั้งแต 3 องศาขึ้นไป ใหคะแนน 3 คะแนน 1.2 รอยเชื่อม

- เชื่อมทอไดแนบสนิท แข็งแรง ทอตรงสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- เชื่อมทอไดตรง แข็งแรง แตไมแนบสนิท ใหคะแนน 3 คะแนน - เชื่อมทอไมตรง ไมแข็งแรง ไมแนบสนิท ใหคะแนน 1 คะแนน 1.3 งานดัดทอ Invert-Trap

- กําหนดระยะดัดไดถูกตอง ทํา Invert-Trap ไดสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- กําหนดระยะตําแหนงดัดขาด หรือเกิน ตั้งแต 1-2 มิลลิเมตร หรือ ดัด ขาด หรือ เกิน 1-2 องศา ใหคะแนน 3 คะแนน - กําหนดระยะตําแหนงดัดขาด หรือเกิน ตั้งแต 3 มิลลิเมตรขึ้นไป หรือ ดัดขาด หรือ เกินตั้งแต 3 องศาขึ้นไป ใหคะแนน 3 คะแนน 1.4 รอยเชื่อม

- เชื่อมทอไดแนบสนิท แข็งแรง ทอตรงสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - เชื่อมทอไดตรง แข็งแรง แตไมแนบสนิท ใหคะแนน 3 คะแนน - เชื่อมทอไมตรง ไมแข็งแรง ไมแนบสนิท ใหคะแนน 1 คะแนน

5

1.5 งานดัดทอ

- กําหนดระยะดัดไดถูกตอง ทํา Invert-Trap ไดสวยงาม ใหคะแนน

5

5 คะแนน - กําหนดระยะตําแหนงดัดขาด หรือเกิน ตั้งแต 1-2 มิลลิเมตร หรือ ดัดขาด หรือ เกิน 1-2 องศา ใหคะแนน 3 คะแนน - กําหนดระยะตําแหนงดัดขาด หรือเกิน ตั้งแต 3 มิลลิเมตรขึ้นไป หรือ ดัดขาด หรือ เกินตั้งแต 3 องศาขึ้นไป ใหคะแนน 3 คะแนน 1.6 รอยเชื่อม

- เชื่อมทอไดแนบสนิท แข็งแรง ทอตรงสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- เชื่อมทอไดตรง แข็งแรง แตไมแนบสนิท ใหคะแนน 3 คะแนน - เชื่อมทอไมตรง ไมแข็งแรง ไมแนบสนิท ใหคะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน ครบถวน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

1

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํา

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

35

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 25 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921730802 การเลือกแคปปลลารี่ทิ้วป (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายวิธีการเลือกหรือเปลี่ยนขนาด และความยาวของแคปปลลารี่ทวิ้ ปได

2. หัวขอสําคัญ - การเลือกแคปปลลารี่ทวิ้ ป

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม สนอง อิ่มเอม. 2547. เครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศรถยนต. กรุงเทพฯ : อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หั ว ข อ วิ ช าที่ 2 การเลื อ กแคปป ล ลารี่ ทิ้ว ป 1. การเลื อ กแคปป ล ลารี่ ทิ้ ว ป ทอแคปปลลารี่หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา “ทอแคปทิ้วป” มีลักษณะเปนทอขนาดเล็ก ซึ่งระบบเครื่องทําความเย็น จะใช ทอแคปปลลารี่ในการควบคุมการไหลของน้ํายา โดยทอแคปทิ้วปที่เลือกใชงานสวนใหญ มีขนาดเสนผานศูนยกลางของทอ ตั ้ง แต 0.028 - 0.095 นิ ้ว ในระบบเครื ่อ งทํ า ความเย็น ทอ แคปปล ลารี ่จ ะติด ตั ้ง อยู ร ะหวา งคอนเดนเซอรก ับ อีวาพอเรเตอร เนื่องจากเปนทอที่มีรูขนาดเล็ก ดังนั้นบริเวณทางเขาของทอแคปปลลารี่ควรมีตะแกรงกรองเพื่อปองกันฝุน ที่อาจหลงเหลืออยูในระบบไมใหเขาไปอุดตันในทอ

ภาพที่ 2.1 ทอแคปปลลารี่ เนื่อ งจากทอ แคปปล ลารี่ตอ อยูใ นระบบแบบอนุก รมและมีข นาดเล็ก ทํา ใหน้ํา ยาที่ไ หลจากคอนเดนเซอรไ ปยัง อีวาพอเรเตอรถูกจํากัดใหไหลผานเล็กนอย สงผลใหความดันของน้ํายาในระบบลดลง โดยอัตราการไหลของน้าํ ยาที่ไหลผาน ทอแคปปลลารี่ควรมีปริมาณที่เหมาะกับคอมเพรสเซอร เพื่อประสิทธิภาพสูงสุดในการทําความเย็นของระบบ หากทอแคปปลลารี่ มี ข นาดเล็ ก หรื อ ยาวเกิน ไป อั ต ราการไหลของน้ํา ยาจากคอนเดนเซอร ไ ปยั ง อี ว าพอเรเตอร จ ะลดลง สงผลใหความดัน และอุณหภูมิในคอนเดนเซอรสูงขึ้น และคาผลความเย็นของระบบที่อีวาพอเรเตอรลดลง หากทอแคปปลลารี่มีขนาดใหญหรือสั้น เกินไป อัตราการไหลของน้ํายาจะเพิ่มขึ้น ทําใหน้ํายาเหลวทวมในอีวาพอเรเตอร และอาจถูกดูดกลับเขาคอมเพรสเซอร ซึ่งเปนอันตรายตอคอมเพรสเซอร ทําใหคาความดันของน้ํายาบริเวณคอนเดนเซอรลดลง สงผลใหน้ํายาไมสามารถกลั่นตัวเปน น้ํายาเหลว และประสิทธิภาพของระบบลดลง ในการเลือกทอแคปปลลารี่ที่เหมาะกับขนาดคอมเพรสเซอรสามารถดูไดจาก ตารางที่ 2.1 ดังตอไปนี้

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ตารางที่ 2.1 ตารางแสดงขนาดและความยาวของทอแคปปลลารี่ที่เหมาะกับขนาดคอมเพรสเซอร Compressor Quantity BTU/h

4,500 5,000 5,500 6,000 6,500 7,000 8,000 9,000 10,000 11,000 12,000 13,000 14,000 15,000 16,000 17,000 18,000 19,000 20,000

Capillary Tube

Circuit Coil

Capillary Dim.3/8'' Dim.1/2'' Tube 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

1 1 1 1 1 1 1 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2

1 1 1 1 1 1 1 2 2 2 2 2 2

Short Long Diameter

Long

Diameter

inch 36 25 20 40 35 28 36 28 36 28 40 32 44 36 30 38 35 28 40

inch 80 64 52 75 65 52 65 48 64 50 68 56 70 56 48 65 55 48 58

mm 0.049 0.049 0.049 0.054 0.054 0.054 0.059 0.059 0.064 0.064 0.07 0.07 0.075 0.075 0.075 0.08 0.08 0.08 0.085

mm 0.042 0.042 0.042 0.049 0.049 0.049 0.054 0.054 0.059 0.059 0.064 0.064 0.07 0.07 0.07 0.075 0.075 0.075 0.08

Long

ในการกําหนดขนาดและความยาวของทอแคปปลลารี่ จะสงผลตอประสิทธิภาพการทําความเย็นของระบบ ซึ่งคาปริมาณ ความรอนที่คิดเปนโหลดที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง อัตราการไหลของน้ํายาที่ไหลผานทอแคปปลลารีก่ ็จะเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามดวย ดังนั้น จึงควรเลือกใหเหมาะกับปริมาณความรอนที่คิดเปนโหลด เนื่องจากคาความดันของน้ํายาในระบบที่คอนเดนเซอร จะเปลี่ยนแปลงตามปริมาณความรอนที่โหลด 47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

การหาขนาดและความยาวของทอแคปปล ลารี่ โดยทั่ว ไปในการเลือกซื้อมอเตอรค อมเพรสเซอรจะมีใบคูมือแสดง รายละเอียดของคอมเพรสเซอรที่กําหนดขนาดแคลอรี ความเร็วรอบตอนาที ระบุขนาด และความยาวของทอแคปปลลารี่ แนบมาในใบคูมือ ซึ่งอาจระบุความยาวในการบัดกรีทอแคปปลลารี่กับทอซัคชั่นไว หากเปนการซอมของเกาที่ใชมอเตอร คอมเพรสเซอรเทาเดิม ควรใชทอแคปปลลารี่ที่มีขนาดและความยาวเทาเดิม ตารางที่ 2.2 ตารางแสดงสัมประสิทธิ์การคูณของขนาดและความยาวของทอแคปปลลารี่ เบอร ขนาด ( นิ้ว ) 0.024 0.028 0.036 0.038 0.040 0.042 0.046 0.048 0.049

TC-26 0.026 1.44 0.72

TC-31 0.031 1.59 0.5 0.39 0.31 0.25

TC-36 0.036

TC-42 0.042

TC-44 0.044

TC-49 0.049

TC-50 0.050

1.00 0.80 0.62 0.50 0.32

2.10 1.59 1.25 1.00 0.67 0.54 0.049

1.91 1.55 1.24 0.82 0.67 0.61

2.51 2.03 1.34 1.10 1.00

2.23 1.47 1.20 1.09

หมายเหตุ ขนาดแคปทิ้วป แนวตั้งดานซาย : ขนาดแคปทิ้วปกําหนดใหใชงาน ขนาดแคปทิ้วป แนวนอนดานบน : ขนาดของทอแคปทิ้วปที่ตองการเปลี่ยนแปลง ตัวเลขภายในตาราง : คาสัมประสิทธิ์ใชคํานวณเพื่อหาขนาดของความยาวของแคปทิ้วปที่ถูกตอง ตัวอยาง คูมือกําหนดใหใชทอแคปปลลารี่ยาว 10 ฟุต ขนาด 0.040 แตตองการใชทอแคปปลลารี่ ขนาด 0.044 จะตองใช ความยาวเทาใด วิธกี ารคํานวณ คือ 1) ดูที่ทอแคปปลลารีข่ นาด 0.040 ตามตารางแนวตั้งดานซาย 2) ดูตารางดานบนทอแคปปลลารี่ขนาด 0.044 ที่ชอง TC-44 3) นําขนาดความยาวเดิมคูณกับคาสัมประสิทธิ์ที่อานได คือ 10 x 1.55 = 15.5 ดังนั้นจะตองใชทอแคปปลลารีข่ นาด 0.044 ยาว 15.5 ฟุต 48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ทอแคปปลลารี่นิยมใชกับระบบเครื่องทําความเย็นที่มีคาปริมาณความรอนที่คิดเปนโหลดเปลี่ยนแปลงไมมาก เชน ตูเย็น ตูแช และ เครื่องปรับอากาศชนิดติดหนาตาง เปนตน ขอดีของทอแคปปลลารี่ มีดังนี้ - หลักการทํางานไมซับซอน - ราคายอมเยา - ระบบออกตัวไดงาย เนื่องจากขณะหยุดระบบ ความดันของน้ํายาในระบบดานความดันสูงสามารถไหลกลับ เขาสูดานความดันต่ําของระบบจนมีความดันเทากัน - ใชปริมาณน้ํายาลดลง เนื่องจากระบบไมมีทอพักน้าํ ยาเหลว ระบบของเครื่องทําความเย็นที่ใชทอแคปปลลารี่ ควรบัดกรีทอแคปปลลารีก่ ับทอซัคชั่น เพื่อการถายเทความรอนระหวาง ทอทั้ง สอง เปน การใช ความเย็น จากท อซั ค ชั่น ทํ าซั บ คู ล ให กับน้ํ า ยาในท อแคปป ลลารี่ ขณะเดียวกันก็ ใช ค วามรอ นจาก ทอแคปปลลารีท่ ําซูเปอรฮีตใหกับน้ํายาในทอซัคชั่น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทําความเย็นของระบบใหสูงขึ้น ทอ แคปปล ลารี ่ส ามารถแบง ตามอัต ราการไหลได 2 ชนิด คือ ทอ แคปปล ลารี ่แ บบฉีด ใน (ติด ตั ้ง ในแฟนคอยล) และทอแคปปลลารี่แบบฉีดนอก (ติดตั้งในคอนเดนซิ่ง)

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. กําหนดใชทอแคปปลลารีย่ าว 12 ฟุต ขนาด 0.046 แตตองการใชทอแคปปลลารี่ ขนาด 0.049 จะตองใชความยาวเทาใด ก. 0.049 ยาว 16 ฟุต ข. 0.049 ยาว 32 ฟุต ค. 0.056 ยาว 16 ฟุต ง. 0.056 ยาว 32 ฟุต 2. จงเติมขนาดและเบอรลงในตารางของทอแคปปลลารี่ใหถูกตอง เบอร ขนาด ( นิ้ว ) 0.024 0.028 0.036 0.038 0.040 0.042 0.046 0.048 0.049 ก. ข. ค. ง.

TC-26 TC-31 TC-36 TC-42 0.026 0.031 0.036 0.042 1.44 0.72 1.59 A 1.00 2.10 0.39 0.80 1.59 0.31 0.62 B 0.25 0.50 1.00 0.32 0.67 0.54 0.049

TC-44 0.044

TC-49 0.049

TC-50 0.050

1.91 1.55 1.24 0.82 0.67 0.61

2.51 2.03 C 1.10 1.00

2.23 1.47 1.20 1.09

0.25 / 1.25 / 1.34 0.5 / 1.25 / 1.34 0.5 / 1.34 / 0.65 0.25 / 1.25 / 0.65

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. การติ ด ตั้ ง เครื่ อ งปรั บ อากาศที่ มี ข นาด 25000 BTU ควรเลื อกท อ แคปป ล ล ารี่ ที่ มี อั ต ราก ารไหลเท า ใด ในหนวยลูกบาศกฟุตตอนาที (CFM) ก. 1200 CFM ข. 1500 CFM ค. 800 CFM ง. 600 CFM

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

เฉลยใบทดสอบ ขอ 1 2 3

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ 2. นางถวิล

สุโกศล เพิ่มเพียรสิน

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช 4. นายสุรพล

เบญจาทิกุล พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา 6. นางเพ็ญประภา ศิริรัตน

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

สุนทรกนกพงศ

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม

ตันตระกูล

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม

พิมพสาลี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์ 3. ผศ. สันติ 4. นายสุระชัย

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี 8. นายธเนศ

ประชารัตน วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ 10. นายหาญยงค

เสรีธรรม หอสุขสิริ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.