คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
คูมือครูฝก 0920162070802 สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา)
ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝกที่ 8 09207217 การตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
คํานํา
คูมือครูฝก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) โมดูล 8 การตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อมฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้น เพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบ ฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการการ ฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ อบรมผูรับการฝกใหสามารถอธิบายและตรวจสอบคุณภาพของงานเชื่อมได และ ติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน น ผลลั พธ การฝ กอบรมในการที่ทํา ใหผูรับ การฝ กอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติ ง าน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชี พ จะถูกกําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝน จนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส ง มอบการฝ ก สามารถดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวกของตน หรื อ ตามแผนการฝ ก หรื อ ตามตารางการนั ด หมาย การฝ ก หรื อ ทดสอบประเมิ น ผลความรู ความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียม และดํา เนิ น การทดสอบ ประเมิ น ผลในลั ก ษณะต า ง ๆ อั น จะทํา ให ส ามารถเพิ่ ม จํา นวนผู รั บ การฝ ก ได ม ากยิ่ ง ขึ้ น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึ งถื อเป น รู ป แบบการฝ ก ที่ มี ความสํา คั ญต อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน ทั้งในปจ จุบัน และอนาคต ซึ่งหากมี ก ารนํา ระบบ การฝกอบรมตามความสามารถมาใชในการพัฒนาฝ มือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชน อยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน
ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
สารบัญ เรื่อง
หนา
คํานํา
ก
สารบัญ
ข
ขอแนะนําสําหรับครูฝก
1
โมดูลการฝกที่ 8 09207217 การตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม หัวขอวิชาที่ 1 0920721701 คุณภาพของงานเชื่อม
15
หัวขอวิชาที่ 2 0920721702 การตรวจสอบงานเชื่อม
58
หัวขอวิชาที่ 3 0920721703 การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อม
114
คณะผูจัดทําโครงการ
137
ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้
1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ขอวิชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่ เ กิดจากการนํ าความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชงานระบบ แบง สว นการใชงานตามความรับ ผิดชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
2. ผังการฝกอบรม
3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถั ด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝ กกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก
4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับ การฝกแกผูรับ การฝกที่ศูน ยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก
5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
- ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก
6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็ กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก
4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูป แบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
- สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
5. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมิ นผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝ ก และแบบทดสอบภาคทฤษฎี หลังฝ ก โดยกํ าหนดเกณฑ การให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)
เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70
5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน
เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)
ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก
10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920162070802
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางเชื่อมแม็ก เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด 1.2 มีความรูและสามารถใชเครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกล 1.3 มีความรูเกี่ยวกับการใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิคการเชื่อม 1.4 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติและความสามารถเชื่อมไดของโลหะ 1.5 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกใชลวดเชื่อมและแกสปกปอง 1.6 มีความรูเกี่ยวกับขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม 1.7 มีความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกับงานเชื่อม 1.8 มีความรูและสามารถตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม 1.9 มีความรูเกี่ยวกับทอ และอุปกรณประกอบทอ 1.10 มีความรูเกี่ยวกับทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) 1.11 สามารถปฏิบัติการเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนแผนหนารอยเชื่อมตอชน ตําแหนงทาเชื่อม PA PC PF และ PE 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนาฝมือ แรงงานจังหวัดที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 70 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไม พร อมกัน สามารถจบกอนหรื อเกินระยะเวลาที่กําหนดไว ในหลั กสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบัน พัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงาน ที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร
11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) 4.3 ผู รั บ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ า นการฝ ก ครบทุ ก หน ว ยความสามารถ จะได รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา)
12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 8 1. ชื่อหลักสูตร
รหัสหลักสูตร 0920162070802 2. ชื่อโมดูลการฝก การตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม รหัสโมดูลการฝก 09207217 3. ระยะเวลาการฝก รวม 11 ชั่วโมง 30 นาที ทฤษฎี 3 ชั่วโมง 30 นาที ปฏิบัติ 8 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายระดับคุณภาพของงานเชื่อมตามมาตรฐานสากลไดอยางถูกตอง 2. อธิบายการตรวจสอบพินิจ (Visual Inspection) การเตรียมแนวตอกอนการเชื่อม ไดอยางถูกตอง 3. อธิบายการตรวจสอบพินิจตัวแปรของงานโดยชางเชื่อมในระหวางการเชื่อม ไดอยางถูกตอง 4. อธิบายการตรวจสอบพินิจ ความนูนดานหนาแนวเชื่อมและดานราก ภายหลังจากการ เชื่อมเสร็จ (รวมทั้งแนวกัดแหวง รูพรุน สารฝงใน (Inclusion) การหลอมไมสมบูรณ รอยราว ความกวาง ความสูง รูปรางแนวเชื่อม ความสม่ําเสมอของแนวเชื่อม) ไดอยางถูกตอง 5. อธิบายการวัดขนาดแนวเชื่อมไดอยางถูกตอง 6. อธิ บ ายการซ อ มจุ ด บกพร อ ง (Defects) ของชิ้ น งานก อ นและหลั ง การเชื่ อ มเสร็ จ ไดอยางถูกตอง 7. ปฏิบัติการตรวจสอบงานเชื่อมและซอมจุดบกพรองไดอยางถูกตอง 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานในสาขาชางเชื่อมแม็ก ผูรับการฝก 2. ผูรับการฝกผานระดับ 1 มาแลว 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 7 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูค วามสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิ บ ายระดั บ คุ ณ ภาพของ หัวขอที่ 1 : คุณภาพของงานเชื่อม 1:00 1:00 งานเชื่อมตามมาตรฐานสากล ไดอยางถูกตอง สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา)
13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
2. อธิบายการตรวจสอบพินิจ หัวขอที่ 2 : การตรวจสอบงานเชื่อม (Visual Inspection) การเตรียมแนวตอกอน การเชื่อมไดอยางถูกตอง 3. อธิบายการตรวจสอบพินิจ ตัวแปรของงานโดยชางเชื่อม ในระหวางการเชื่อม ไดอยางถูกตอง 4. อธิบายการตรวจสอบพินจิ ความนูนดานหนาแนวเชื่อม และดานราก ภายหลังจาก การเชื่อมเสร็จ (รวมทั้งแนว กัดแหวง รูพรุน สารฝงใน (Inclusion) การหลอมไมสมบูรณ รอยราว ความกวาง ความสูง รูปรางแนวเชื่อม ความ สม่ําเสมอของแนวเชื่อม) ไดอยางถูกตอง 5. ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อม และตรวจสอบงานเชื่อม ไดอยางถูกตอง 6. อธิบายการซอมจุดบกพรอง หัวขอที่ 3 : การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อม (Defects) ของชิ้นงานเชื่อม ระหวางการเชื่อมและหลัง การเชื่อมเสร็จไดอยางถูกตอง 7. ปฏิบัติการซอมจุดบกพรอง ของชิ้นงานเชื่อม ไดอยางถูกตอง รวมทั้งสิ้น
14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
2:00
5:00
7:00
0:30
3:00
3:30
3:30
8:00
11:30
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0920720801 คุณภาพของงานเชื่อม (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายระดับคุณภาพของงานเชื่อมตามมาตรฐานสากลไดอยางถูกตอง
2. หัวขอสําคัญ - ระดับคุณภาพของงานเชื่อมตามมาตรฐานสากล
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม กระทรวงอุตสาหกรรม. 2558. กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมการเชื่อมและกระบวนการที่เกี่ยวของ – การ จําแนกประเภทของความไมสมบูรณทางเรขาคณิตในวัสดุโลหะ เลม ๑ -การเชื่อมหลอมละลาย. ม.ป.ท. กระทรวงอุตสาหกรรม. 2559. กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมการเชื่อม - รอยตองานเชื่อมหลอมละลาย ในเหล็กกลา นิกเกิล ไทเทเนียม และโลหะเจือ (ไมรวมการเชื่อมบีม) – ระดับคุณภาพของรอยเชื่อมที่ไม สมบูรณ. ม.ป.ท.
16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 คุณภาพของงานเชื่อม งานเชื่อมที่มีคุณภาพ คือ งานเชื่อมที่มีขอบกพรองที่ยอมรับไดตามเกณฑมาตรฐาน โดยมาตรฐานสากลที่เกี่ยวของ ไดแก มาตรฐานการตรวจสอบพินิจขอบกพรอง (มอก. 2692 และ ISO 6520-1) ซึ่งประเมินรวมกับเกณฑการยอมรับขอบกพรอง (มอก. 2722-2559 และ ISO 5817) ชิ้นงานเชื่อมที่ผานเกณฑมาตรฐานจึงจะเหมาะสมที่นําไปใชจริงได โดยรายละเอียด ของมาตรฐานมีดังตอไปนี้ 1. มาตรฐานการตรวจสอบพินิจขอบกพรอง ในการตรวจสอบขอบกพรองของชิ้นงานเชื่อมตามมาตรฐาน มอก. 2692 ซึ่งอางอิงหมวดหมูความไมสมบูรณจาก ISO 6520-1 จัดหมวดหมูความไมสมบูรณออกเปน 6 กลุมหลัก ดังตอไปนี้ กลุมที่ 1 รอยราว (Crack) กลุมที่ 2 โพรง (Cavity) กลุมที่ 3 สารแข็งฝงใน (Solid Inclusion) กลุมที่ 4 การหลอมละลายและการหลอมลึกไมสมบูรณ (Lack of Fusion and Penetration) กลุมที่ 5 ความไมสมบูรณของรูปรางและมิติ (Imperfect Shape and Dimensions) กลุมที่ 6 ความไมสมบูรณอื่น ๆ โดยรายละเอียดตาง ๆ แสดงดังตารางดานลางดังตอไปนี้
17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ตารางที่ 1.1 การจําแนกประเภทของความไมสมบูรณ (ขอ 3.1) หมายเลขอางอิง
คําอธิบาย กลุมที่ 1 รอยราว (Crack) รอยราว (Crack)
100
ความไมสมบูรณที่เกิดจากการราวในชวงสถานะของแข็ง จากผลกระทบของการเย็นตัว หรือความแคน
1001
รอยราวระดับจุลภาค (Microcrack) หรือรอยราวที่เห็นไดเมื่อใชกลองจุลทรรศน รอยราวตามแนวยาว (Longitudinal Crack)
101
รอยราวที่ขนานไปกับแกนของแนวเชื่อม จําแนกไดตามบริเวณตอไปนี้
1011
- ในเนื้อโลหะเชื่อม
1012
- ที่เขตรอยเชื่อม
1013
- ในบริเวณกระทบรอน
1014
- ในเนื้อโลหะชิ้นงาน
1 บริเวณกระทบรอน
18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
หมายเลขอางอิง
คําอธิบาย รอยราวตามแนวขวาง (Transverse Crack)
102
รอยราวที่ขวางกับแกนของแนวเชื่อม จําแนกไดตามบริเวณตอไปนี้
1021
- ในเนื้อโลหะเชื่อม
1023
- ในบริเวณกระทบรอน
1024
- ในเนื้อโลหะชิ้นงาน
106
รอยราวแขนง (Branching Crack) กลุมรอยราวที่เชื่อมตอกัน ที่เกิดจากรอยราวและแยกไดจากกลุมรอยราวที่ไมตอเนื่อง (105) และรอยราวแผ (103) จําแนกไดตามบริเวณตอไปนี้
1061
- ในเนื้อโลหะเชื่อม
1063
- ในบริเวณกระทบรอน
1064
- ในเนื้อโลหะชิ้นงาน
กลุมที่ 2 โพรง (Cavity) 200
โพรง
201
โพรงแกส (Gas Cavity) โพรงที่เกิดจากแกสที่ถูกกัก 19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
หมายเลขอางอิง 2011
คําอธิบาย ฟองแกส (Gas Pore) โพรงแกสในรูปแบบทรงกลมเปนหลัก
2012
รูพรุนกระจายอยางสม่ําเสมอ (Uniformly Distributed Porosity) จํานวนของฟองแกสที่กระจายอยางสม่ําเสมอตลอดทั้งเนื้อโลหะเชื่อม ไมควรสับสนกับรู พรุนเชิงเสน (2014) และรูพรุน (2013)
2013
รูพรุนกลุม (Clustered (Localized) Porosity) กลุมของฟองแกสที่มีการกระจายทางเรขาคณิตแบบสุม
20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
หมายเลขอางอิง 2014
คําอธิบาย รูพรุนเชิงเสน (Linear Porosity) แถวของฟองแกสที่อยูขนานกับแนวของแนวเชื่อม
2015
โพรงแนวยาว (Elongated Cavity) โพรงขนาดใหญที่ไมใชทรงกลมมิติหลัก จะขนานไปตามแกนของรอยเชื่อม
2016
โพรงหนอน (Worm-hole) โพรงรูปทอในเนื้อโลหะสาเหตุจากการปลอยแกส รูปรางและตําแหนงของโพรงหนอน กําหนดโดยรูปแบบการแข็งตัวและแหลงที่มาของแกส โดยทั่วไปจัดเปนกลุมแบบรวม และมีลักษระการกระจายตัวแบบกางปลา บางโพรงหนอนสามารถทะลุถึงผิวรอยเชื่อม
21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
หมายเลขอางอิง 2017
คําอธิบาย ฟองที่พื้นผิว (Surface Pore) ฟองแกสที่ทะลุถึงพื้นผิวของรอยเชื่อม
2018
รูพรุนที่พื้นผิว (Surface Porosity) รูพรุนที่ปรากฏที่พื้นผิวของรอยเชื่อม โพรงแกสหนึ่งโพรงหรือหลายโพรง ทะลุถึงพื้นผิว ของรอยเชื่อม
202
โพรงหด (Shrinkage Cavity) โพรงที่หดระหวางโลหะแข็งตัว
2021
การหดตัวระหวางการแข็งตัวแบบเดนไดรต (Interdendritic Shrinkage) โพรงหดตัวตามแนวยาวที่สามารถมีแกสกักไวระหวางการแข็งตัวแบบเดนไดรตในชวงเย็นตัว ความไมสมบูรณดังกลาวถูกพบโดยทั่วไป ในแนวตั้งฉากกับผิวหนาแนวเชื่อม
22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
หมายเลขอางอิง 2024
คําอธิบาย รอยบุม (Crater Pipe) โพรงหดตัวในจุดหยุดการเชื่อมและไมไดกําจัดออกกอนหรือระหวางการตอแนวเชื่อม
2025
รอยบุมที่ปลาย (End Crater Pipe) รอยบุมเปดที่มีรูทําใหพื้นที่หนาตัดของรอยเชื่อมลดลง
203
การหดตัวระหวางจุลภาค (Micro-shrinkage) โพรงหดที่มองเห็นไดดวยกลองจุลทรรศนเทานั้น
2031
การหดตัวระดับจุลภาคระหวางการแข็งตัวแบบเดนไดรต (Interdendritic Micro Shrinkage) การหดตัวระดับจุลภาคแนวยาวที่กอตัวระหวางเดนไดรตในชวงเวลาการเย็นตัวตามขอบเกรน
2032
การหดตัวระดับจุลภาคแบบผานเกรน (Transgranular Micro Shrinkage) โพรงหดตัวระดับจุลภาคตามแนวยาวขามเกรน ชวงเวลาแข็งตัว กลุมที่ 3 สารแข็งฝงใน (Solid Inclusion)
300
สารแข็งฝงใน (Solid Inclusion) สารแข็งแปลกปลอมที่ติดอยูในเนื้อโลหะเชื่อม 23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
หมายเลขอางอิง 301
คําอธิบาย สแลกฝงใน (Slag Inclusion) สารแข็งฝงใน ในรูปของสแลก สแลกฝงในที่เปนไดคือ
3011
เชิงเสน
3012
แยกเปนเอกเทศ
3013
กลุม
302
ฟลักซฝงใน (Flux Inclusion) สารแข็งฝงในในรูปของฟลักซ ฟลักซฝงในที่เปนไปไดคือ
3021
เชิงเสน
3022
แยกเปนเอกเทศ
3023
กลุม ดูหมายเลขอางอิง 3011 3012 และ 3013 24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
หมายเลขอางอิง 303
คําอธิบาย ออกไซดฝงใน (Oxide Inclusion) สารแข็งฝงใน ในรูปของโลหะออกไซด ออกไซดฝงในที่เปนไปได คือ
3031
เชิงเสน
3032
แยกเปนเอกเทศ
3033
กลุม ดูหมายเลขอางอิง 3011 หลายเลขอางอิง 3012 และ 3013
304
โลหะฝงใน (Metallic Inclusion) สารแข็งฝงใน ในรูปของโลหะแปลกปลอม โลหะฝงในที่เปนไดคือ
3041
ทังสเตน
3042
ทองแดง
3043
โลหะอื่น ดูหมายเลขอางอิง 3011 3012 และ 3013
3034
รอยยน (Puckering) ในบางกรณีโดยเฉพาะในโลหะอะลูมิเนียมผสม ออกไซดฟลมที่หุมอยูเกิดขึ้นเนื่องจาก การปนเปอนจากบรรยากาศ ที่มีสาเหตุจากการปองกันที่ไมเพียงพอในบอหลอมละลาย ดูหมายเลขอางอิง 3011 3012 และ 3013
304
โลหะฝงใน (Metallic Inclusion) สารแข็งฝงใน ในรูปของโลหะแปลกปลอม โลหะฝงในที่เปนได คือ
3041
ทังสเตน
3042
ทองแดง 25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
หมายเลขอางอิง 3043
คําอธิบาย โลหะอื่น ดูหมายเลขอางอิง 3011 3012 และ 3013 กลุมที่ 4
การหลอมละลายหรือการหลอมลึกไมสมบูรณ (Lack of Fusion and Penetration) 400
การหลอมละลายหรือการหลอมลึกไมสมบูรณ (Lack of Fusion and Penetration)
401
การหลอมละลายไมสมบูรณ (Lack of Confusion) การขาดการรวมกันระหวางโลหะเชื่อมกับวัสดุชิ้นงาน หรือระหวางชั้นของโลหะเชื่อมที่ ตอเนื่องกัน
4011
- การหลอมละลายไมสมบูรณที่ผนังดานขาง
4012
- การหลอมละลายไมสมบูรณระหวางแนวเชื่อม
4013
- การหลอมละลายไมสมบูรณที่แนวราก
4014
- การหลอมละลายไมสมบูรณระดับจุลภาค
402
การหลอมลึกไมสมบูรณ (Incomplete Penetrationor Lack of Penetration) ความแตกตางระหวางการหลอมลึกจริงกับการหลอมลึกที่ระบุ
26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
หมายเลขอางอิง
คําอธิบาย คําอธิบาย 1 การหลอมลึกจริง 2 การหลอมลึกที่ระบุ
4021
การหลอมลึกที่ไมสมบูรณแนวราก (Incomplete Root Penetration) พื้นผิวการหลอมหนึ่งพื้นผิวหรือมากกวา บริเวณแนวรากนั้นไมหลอมละลาย
403
เดือยแหลม (Spiking) การหลอมลึกที่ไมเปน รูปแบบเดียวกันอยางยิ่ง เกิดขึ้นในการเชื่อมดวยลําอิเล็กตรอน และเลเซอรที่ปรากฏรูปฟนเลื่อย เดือยแหลมนี้รวมถึง โพรงรอยราว และการหดตัวอื่น ๆ
กลุมที่ 5 ความไมสมบูรณของรูปรางและมิติ 500
ความไมสมบูรณของรูปราง (Imperfect Shape) ความไมสมบูรณของรูปรางของผิวภายนอกของรอยเชื่อมหรือรอยตอที่มีความบกพรอง ทางเรขาคณิต
501
รอยแหวงขอบแนว (Undercut) รองที่ผิดปกติบริเวณขอบของรอยเชื่อมที่วัสดุชิ้นงานหรือเนื้อโลหะเชื่อมกอนหนา 27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
หมายเลขอางอิง 5011
คําอธิบาย รอยแหวงขอบแนวตอเนื่อง (Continuous Undercut) รอยแหวงขอบแนวของความยาวที่มีนัยสําคัญโดยไมมีการขาดชวง
5012
รอยแหวงขอบแนวเวนระยะ (Intermitter Undercut) รอยแหวงขอบแนวที่สั้น มีลักษณะเวนเปนชวงตามความยาวรอยเชื่อม
5013
รองที่หดตัว (Shrinkage Groove) รอยแหวงขอบแนวที่มองเห็นไดแตละดานของแนวราก
5014
รอยแหวงขอบแนวระหวางเที่ยวเชื่อม (Inter-run Undercut or Interpass Undercut) รอยแหวงขอบแนวในทิศทางตามแนวยาวระหวางเที่ยวเชื่อม
28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
หมายเลขอางอิง 5015
คําอธิบาย รอยแหวงขอบแนวเวนระยะเฉพาะที่ (Local Intermittent Undercut) รอยแหวงขอบแนวสั้น ๆ มีระยะที่ไมสม่ําเสมอ ที่ดานขางหรือพื้นผิวของเที่ยวเชื่อม
502
โลหะเชื่อมสวนเกิน (Excess Weld Metal) โลหะเชื่อมสวนเกินของการเชื่อมชนที่บริเวณผิวหนานูนใหญเกินไป
คําอธิบาย 1 ปกติ 503
รอยเชื่อมหนานูน (Excessive Convexity) โลหะเชื่อมสวนเกินของการเชื่อมฟลเลท นูนใหญเกินไป
คําอธิบาย 1 ปกติ 504
การหลอมลึกเกิน (Eccessive Penetration) โลหะเชื่อมสวนเกินของการเชื่อมชนที่บริเวณราก นูนใหญเกินไป
5041
การหลอมลึกเกินเฉพาะที่ (Local Excessive Penetration)
5042
การหลอมลึกเกินตอเนื่อง (Continuous Excessive Penetration)
5043
หลอมทะลุเกิน (Excessive Melt-through) 29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
หมายเลขอางอิง
505
คําอธิบาย
ขอบรอยเชื่อมถูกตอง (Incorrect Weld Toe) มุม (α) ระหวางระนาบของผิวหนาวัสดุชิ้นงานและแนวระนาบขนานเสนสัมผัสตอผิวหนา เที่ยวเชื่อมที่รอยขอบเชื่อมเล็กเกินไป
5051
มุมขอบรอยเชื่อมไมถูกตอง (Incorrect Weld Toe Angle) มุม (α) ระหวางระนาบของผิวหนาวัสดุชิ้นงานและแนวระนาบขนานเสนสัมผัสตอผิวหนา เที่ยวเชื่อมที่ขอบรอยเชื่อม เล็กเกินไป
5052
รัศมีขอบรอยเชื่อมไมถูกตอง (Incorrect Weld Toe Raditus) รัศมี (r) ที่ขอบรอยเชื่อมเล็กเกินไป
506
รอยเกย (Overlap) โลหะเชื่อมสวนเกินที่ครอบคลุมผิววัสดุชิ้นงานแตไมหลอมละลาย
5061
รอยเกยที่ขอบ (Toe Overlap) รอยเกยที่บริเวณขอบของรอยเชื่อม
5062
รอยเกยที่ราก (Root Overlap) รอยเกยที่บริเวณรากของรอยเชื่อม
30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
หมายเลขอางอิง 507
คําอธิบาย ขอบเยื้องเชิงเสน (Linear Misalignment) ขอบเยื้องระหวางชิ้นงาน 2 ชิ้น ในลักษณะระนาบของผิวชิ้นงานไมไดอยูในระนาบ เดียวกันถึงแมวาระนาบผิวหนาจะขนานกัน
5071
ขอบเยื้องเชิงเสนระหวางแผน (Linear Misalignment Between Plate) ชิ้นงานเปนแผน
5072
ขอบเยื้องเชิงเสนระหวางทอ (Linear Misalignment Between Tube) ชิ้นงานเปนทอ
508
ขอบเยื้องเชิงมุม (Angular Missaligment) ขอบเยื้องระหวางชิ้นงานเชื่อม 2 ชิ้น ในลักษณะระนาบของผิวชิ้นงานไมขนานกัน หรือ ตามมุมที่กําหนด
509
การหยอน (Sagging) โลหะเชื่อมยุบหรือยอยลงตามแรงโนมถวง
5091
- การหยอนในตําแหนงแนวระดับ
5092
- การหยอนในตําแหนงแนวราบหรือตําแหนงเหนือศรีษะ
5093
- การหยอนในการเชื่อมฟลเลท
5094
- การหยอนที่ขอบของแนวเชื่อม
31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
หมายเลขอางอิง
510
คําอธิบาย
แนวทะลุ (Burn-through) การยุบหรือการยอยของแองแนวเชื่อม เกิดเปนรูในแนวเชื่อม
511
การเติมรองเชื่อมไมสมบูรณ (Incompletely Filled Groove) ชองที่ตอเนื่องหรือไมตอเนื่องตามแนวยาว บนพื้นผิวของรอยเชื่อม เนื่องจากการเติมวัสดุ เชื่อมไมเพียงพอ
512
รอยเชื่อมฟลเลทไมสมมาตรมากเกินไป (Excessive Asymmetry of Fillet Weld) ความยาวขาแนวเชื่อมไมเทากันมากเกิน (Excessive Unequal Leg Length)
คําอธิบาย 1 รูปรางที่ระบุ 2 รูปรางจริง 32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
หมายเลขอางอิง 513
คําอธิบาย ความกวางไมสม่ําเสมอ (Irregular Width) ความแปรผันของความกวางแนวเชื่อมมากเกิน
514
พื้นผิวไมสม่ําเสมอ (Irregular Surface) ความหยาบผิวมากเกินไป
515
ความเวาที่ราก (Root Concavity) รองตื้นที่รากของรอยเชื่อมชนเนื่องจากการยุบตัว (ดูหมายเลข 5013)
516
รูพรุนที่ราก (Root Porosity) รูพรุนคลายฟองน้ําที่รากของแนวเชื่อม เนื่องจากการเกิดฟองในเนื้อโลหะเชื่อมขณะแข็งตัว
517
การตอรอยเชื่อมไมดี (Poor Restart) ผิวหนาไมปกติเฉพาะจุดที่บริเวณตอรอยเชื่อม สามารถเกิดขึ้นที่
5171
- ในแนวทับหนา
5172
- ในเที่ยวเชื่อมราก
520
การบิดเบี้ยวมากเกินไป (Excessive Distortion) ความเบี่ยงเบนเชิงมิติเนื่องจากการหดตัวและบิดงอของรอยเชื่อม
521
มิติรอยเชื่อมไมถูกตอง (Incorrect Weld Dimensions) ความเบี่ยงเบนไปจากมิติที่กําหนดของรอยเชื่อม
5211
ความหนารอยเชื่อมชนมากเกินไป (Excessive Weld Thickness) ความหนารอยเชื่อมที่หนามากเกินกําหนด 33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
หมายเลขอางอิง 5212
คําอธิบาย ความกวางรอยเชื่อมชนมากเกิน (Excessive Weld Width) ความกวางรอยเชื่อมที่มากเกินกําหนด
คําอธิบาย 1 ความหนารอยเชื่อมออกแบบ (Design Throat Thickness) 2 ความหนารอยเชื่อมจริง (Actual Thickness) 5213
ความหนารอยเชื่อมฟลเลทไมเพียงพอ (Insufficient Throat Thickness) ความหนาจริงของรอยเชื่อมฟลเลทที่เล็กกวากําหนด
1 ความหนารอยเชื่อมออกแบบ 2 ความหนารอยเชื่อมจริง 5214
ความหนารอยเชื่อมฟลเลทมากเกิน (Excessive Throat Thickness) ความหนาจริงของรอยเชื่อมฟลเลทที่มากเกินกําหนด
34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
หมายเลขอางอิง
คําอธิบาย
1 ความหนารอยเชื่อมออกแบบ 2 ความหนารอยเชื่อมจริง 600
ความไมสมบูรณอื่น ๆ (Miscellaneous Imperfections) ความไมสมบูรณทั้งหมด ซึ่งรวมอยูในกลุมที่ 1 ถึงกลุมที่ 5 ไมได
601
รอยขีดอารก (Arc Strike or Stray Arc) ความเสียหายเฉพาะบนจุดผิวหนาของชิ้นงาน บริเวณที่ตอกับรอยเชื่อมเกิดจากการอารก นอกบริเวณรอยตอ
602
เม็ดโลหะกระเด็น (Spatter) เม็ดโลหะเล็ก ๆ ของโลหะเชื่อมหรือโลหะเติมที่กระเด็นออกระหวางการเชื่อมและติดบน ผิวหนาของชิ้นงานหรือผิวโลหะเชื่อมที่แข็งตัวแลว
6021
เม็ดทังสแตนกระเด็น (Tungsten Spatter) อนุภาคของทังสเตนที่กระเด็นจากอิเล็กโทรดติดบนผิวหนาของชิ้นงานหรือผิวโลหะเชื่อม ที่แข็งตัวแลว
603
ผิวฉีก (Torn Surface) ผิวที่เสียหายเนื่องจากการกําจัดเพื่อทําลาย รอยเชื่อมยึดชั่วคราว
604
รอยขัด (Grinding Mark) บริเวณความเสียหาย ที่เกิดจากการขัด
605
รอยเคาะ (Chipping Mark) บริเวณความเสียหายที่เกิดจากการสกัดหรือเครื่องมืออื่น
606
การแตงเขาเนื้อ (Underflushing) การลดลงของความหนาชิ้นงาน เนื่องจากการเจียมากเกิน 35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
หมายเลขอางอิง 607
คําอธิบาย รอยเชื่อมยึดไมสมบูรณ (Tack Weld Imperfection) ความไมสมบูรณที่มีผลจากการเชื่อมยึดที่บกพรอง
6071
- รอยเชื่อมยึดที่แตกหรือไมหลอมลึก
6072
- รอยเชื่อมยึดบกพรองที่เชื่อมทับ
608
การเยื้องศูนยของเที่ยวเชื่อมดานตรงขาม (Misalignment of Opposite Runs) ความแตกตางระหวางเสนศูนยกลางของสองเที่ยวเชื่อม จากดานตรงขามของรอยตอ
610
สีแสดงการอบออน (Temper Colours) สีของฟลมออกไซด (Visible Oxide Film) ผิวออกไซดบาง ๆ ในบริเวณรอยเชื่อม เชน ในการเชื่อมเหล็กกลาไรสนิม
6101
การเปลี่ยนสี (Discolouration) สีบาง ๆ ที่เห็นบนผิวหนาของโลหะเชื่อมและบริเวณกระทบรอน เนื่องจากความรอน ในการเชื่อมและ/หรือการปองกันไมเพียงพอ เชน ในการเชื่อมไทเทเนียม
613
สเกลที่ผิว (Scaled Surface) ผิวออกไซดที่หนาในบริเวณรอยเชื่อม
614
ฟลักซตกคาง (Flux Residue) ฟลักซที่กําจัดออกจากผิวหนาไมหมด
615
สแลกตกคาง (Slag Redicue) สแลกที่กําจัดออกจากผิวหนาของรอยเชื่อมไมหมด
36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
หมายเลขอางอิง
คําอธิบาย
617
รองหางที่รากรอยเชื่อมฟลเลทไมถูกตอง (Incorrect Root Gap for Fillet Welds) รองระหวางชิ้นงานที่หางมากหรือนอยเกินไป
618
การบวม (Swelling) ความไมสมบูรณเนื่องจาก ไดรับความรอนบริเวณรอยเชื่อมของโลหะผสมต่ําที่เปนผลจาก เวลาที่ใชในชวงการแข็งตัวนานเกิน
2. ขอกําหนดการยอมรับสําหรับความไมสมบูรณ คุณภาพงานเชื่อมตามมาตรฐานสากลซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม อางอิงระดับ คุณภาพรอยเชื่อมที่ไมสมบูรณ มาตรฐานเลขที่ มอก.2722-2559 โดยอางอิงขอกําหนดการยอมรับสําหรับความไมสมบูรณ ตาม ISO 5817 ซึ่ง แบง การพิจ ารณาระดับ คุณ ภาพรอยเชื่อ มตามสภาพความไมส มบูร ณที่เ กิด ขึ้น บนรอยตอ งานเชื่อม หลอมละลายในเหล็กกลาทุกชนิด นิกเกิล ไทเทเนีย ม และโลหะผสม ใชกับ ชิ้น งานที่มีความหนา 0.5 มิล ลิเ มตรขึ้น ไป และครอบคลุมถึงการเชื่อมแบบตอชนซึมลึกอยางสมบูรณ และรอยเชื่อมฟลเลททุกประเภท อีกทั้งยังสามารถใชไดกับรอยเชื่อม ซึมลึกบางสวนดวย ระดับคุณภาพ 3 ระดับถูกกําหนดเพื่ออนุญาตใชสําหรับการผลิตดวยวิธีการเชื่อมที่มีอยางกวางขวาง กําหนดดวย B, C และ D โดยระดับคุณภาพ B เปนขอกําหนดสูงสุดสําหรับงานเชื่อมเสร็จสมบูรณ และมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ สามารถนําไปใชกับงานดังตอไปนี้ 1) ชิ้นงานเหล็กกลาและเหล็กกลาผสม 2) ชิ้นงานนิกเกิลและนิกเกิลผสม 37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
3) ชิ้นงานไทเทเนียมและไทเทเนียมผสม 4) การเชื่อมดวยมือ การเชื่อมดวยเครื่อง และการเชื่อมอัตโนมัติ 5) ทุกตําแหนงงานเชื่อม 6) ทุกประเภทการเชื่อม เชน การเชื่อมชน การเชื่อมฟลเลท การเชื่อมแขนง 7) กระบวนการเชื่อมและกระบวนการเชื่อมยอยที่ระบุตามมาตรฐาน ISO 4063 - 11 การเชื่อมอารกโลหะปราศจากแกสปกปอง - 12 การเชื่อมอารกซับเมิรจ - 13 การเชื่อมอารกโลหะดวยแกสปกปอง - 14 การเชื่อมแกสปกปอง ดวยอิเล็กโทรดไมสิ้นเปลือง - 15 การเชื่อมอารกพลาสมา - 31 การเชื่อมแกสออกซิ-เชื้อเพลิง สําหรับเหล็กกลาเทานั้น สัญลักษณที่ใชในการประเมิน a คาความหนาคอรอยเชื่อมที่ระบุ A พื้นที่โดยรอบของฟองแกส b ความยาวของรอยเชื่อม d เสนผานศูนยกลางของฟองแกส d A เสนผานศูนยกลางของพื้นที่โดยรอบของฟองแกส h ความสูงหรือความกวางของความไมสมบูรณ l ความยาวของความไมสมบูรณตามยาวของแนวเชื่อม l p ความยาวของพื้นที่ภาพฉายหรือพื้นที่ตัดขวาง S ความหนาระบุของรอยเชื่อมตอชน T ความหนาผนังหรือความหนาแผน W P ความกวางของรอยเชื่อม Z ความยาวของขารอยเชื่อมฟลเลท α มุมของขอบรอยเชื่อม มุมของการหดตัวเชิงมุม i การซึมลึกในรอยเชื่อมฟลเลท r รัศมีของขอบรอยเชื่อม 38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ในการประเมินความไมสมบูรณของรอยเชื่อม ซึ่งอางอิงจาก มอก. 2722-2559 สามารถประเมินไดดังตารางที่ 1.2 ขีดจํากัดความไมสมบูรณ ตารางที่ 1.2 ขีดจํากัดความไมสมบูรณ (ขอ 5.) ลําดับ
อางอิง
ที่
ตาม
ลักษณะ
มอก.
ความไมสมบูรณ
หมายเหตุ
t
ขีดจํากัดความไมสมบูรณสําหรับ
mm
ระดับคุณภาพ (Limits for Imperfections for
2696
Quality Level)
เลม 1
พอใช
ปานกลาง
ดี
D
C
B
1. ความไมสมบูรณพื้นผิว (Sufface Imperfections) 1.1
100
รอยราว (Crack)
-
≥0.5
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
1.2
104
รอยราวที่รอยบุม
-
≥0.5
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
0.5 ถึง 3
d ≤ 0.3s
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
d ≤ 0.3s
d ≤ 0.2s
ไมยอมรับ
- รอยเชื่อมชน
แตสูงสุด
แตสูงสุด
- รอยเชื่อมฟลเลท
3 mm
2 mm
0.5 ถึง 3
h ≤ 0.2t
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
>3
h ≤ 0.2t
h ≤ 0.1t
ไมยอมรับ
แตสูงสุด
แตสูงสุด
2 mm
1 mm
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
ยอมรับ
ยอมรับ
ไมยอมรับ
(Crater Crack) 1.3
2017
ฟองที่พื้นที่ผิว
มิติสูงสุดของฟองเดี่ยว สําหรับ
(Surface Pore)
- รอยเชื่อมชน
d ≤ 0.3a
- รอยเชื่อมฟลเลท มิติสูงสุดของฟองเดี่ยว สําหรับ
1.4
2025
รอยบุมที่ปลาย
>3
(End Crater Pipe)
1.5
401
การหลอมที่ไมสมบูรณ
-
(Incomplete Fusion) การหลอมที่ไมสมบูรณ
สามารถตรวจพบโดยระดับจุลภาคทานั้น ≥0.5
ในระดับจุลภาค (Micro Lack of Fusion)
39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ลําดับ
อางอิง
ที่
ตาม
ลักษณะ
มอก.
ความไมสมบูรณ
หมายเหตุ
t
ขีดจํากัดความไมสมบูรณสําหรับ
mm
ระดับคุณภาพ (Limits for Imperfections for
2696
Quality Level)
เลม 1 1.6
4021
การหลอมลึ ก ที่
สําหรับการเชื่อมชนดานเดียวเทานั้น
≥0.5
พอใช
ปานกลาง
ดี
D
C
B
ความไม
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
ความไม
ไมยอมรับ
ไม สมบูรณแนวราก
สมบูรณสั้น
(Incomplete Root
h ≤ 0.2t
Penetration)
แตสูงสุด 2 mm
1.7
5011
รอยแหวงขอบแนว
การเปลี่ยนแปลงตองเปนไปอยางราบเรียบ
≥0.5 ถึง 3
ความไม
ตอเนื่อง
สมบูรณสั้น สมบูรณสั้น
(Continuous
h ≤ 0.2t
h ≤ 0.1t
ความไม
ความไม
Undercut) 5012
1.8
5013
รอยแหวงขอบแนว
ไมถือวาเปนความไมสมบูรณเชิงระบบ
≥3
ความไม
เวนระยะ
สมบูรณสั้น สมบูรณสั้น สมบูรณสั้น
(Intermittent
h ≤ 0.2t
h ≤ 0.1t
h ≤ 0.05t
Undercut)
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
1 mm
0.5 mm
0.5 mm
ความไม
ความไม
ไมยอมรับ
รองที่หดตัว
การเปลี่ยนแปลงตองเปนไปอยางราบเรียบ
0.5 ถึง 3
(Shrinkage Grooves)
สมบูรณสั้น สมบูรณสั้น h ≤ 0.2
h ≤ 0.1t
mm+0.1t >3
ความไม
ความไม
ความไม
สมบูรณสั้น สมบูรณสั้น สมบูรณสั้น
40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
h ≤ 0.2t
h ≤ 0.1t
h ≤ 0.05t
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
2 mm
1 mm
0.5 mm
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ลําดับ
อางอิง
ที่
ตาม
ลักษณะ
มอก.
ความไมสมบูรณ
หมายเหตุ
t
ขีดจํากัดความไมสมบูรณสําหรับ
mm
ระดับคุณภาพ (Limits for Imperfections for
2696
Quality Level)
เลม 1 1.9
1.10
502
503
พอใช
ปานกลาง
ดี
D
C
B
h ≤1 mm
h ≤1 mm
h ≤1 mm
(รอยเชื่อมชน)
+0.25b
+0.15b
+0.1b แต
(Excess Weld
แตสูงสุด
แตสูงสุด
สูงสุด
Metal (Butt Weld))
10 mm
7 mm
5 mm
h ≤1 mm
h ≤1 mm
h ≤1 mm
(รอยเชื่อมฟลเลท)
+0.25b
+0.15b
+0.1b
(Excessive
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
Convexity (Fillet
5 mm
4 mm
3 mm
h ≤1 mm
h ≤1 mm
h ≤1 mm
+0.6b
+0.3b
+0.1b
h ≤1 mm
h ≤1 mm
h ≤1 mm
+1.0b
+0.6b
+0.2b
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
5 mm
4 mm
3 mm
α ≥ 90̊
α ≥ 110̊
α ≥ 150̊
โลหะเชื่อมสวนเกิน
การเปลี่ยนแปลงตองเปนไปอยางราบเรียบ
รอยเชื่อมหนานูน
≥0.5
≥0.5
Weld)) 1.11
504
การหลอมลึกเกิน
0.5 ถึง 3
(Exces Penetration) >3
1.12
505
ขอบรอยเชือ่ มไมถูกตอง - รอยเชื่อมชน
≥0.5
(Incorrect Weld Toe)
41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ลําดับ
อางอิง
ที่
ตาม
ลักษณะ
มอก.
ความไมสมบูรณ
หมายเหตุ
t
ขีดจํากัดความไมสมบูรณสําหรับ
mm
ระดับคุณภาพ (Limits for Imperfections for
2696
Quality Level)
เลม 1 - รอยเชื่อมฟลเลท
1.13
506
รอยเกย (Overlap)
1.14
509
การหยอน (Sagging)
การเปลี่ยนแปลงตองเปนไปอยางราบเรียบ
พอใช
ปานกลาง
ดี
D
C
B
≥0.5
α ≥ 90̊
α ≥ 100̊
α ≥ 110̊
≥0.5
h ≤ 0.2b
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
0.5 ถึง 3
ความไม
ความไม
ไมยอมรับ
สมบูรณสั้น สมบูรณสั้น
511
1.15
510
การเติ ม ร อ งเชื่ อ ม
>3
h ≤ 0.25t
h ≤ 0.1t
ความไม
ความไม
ความไม
ไมสมบูรณ
สมบูรณสั้น สมบูรณสั้น สมบูรณสั้น
(Incompletely
h ≤ 0.25t
h ≤ 0.1t
h ≤ 0.05t
Filled Groove)
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
2 mm
1 mm
0.5 mm
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
หลอมทะลุ
-
≥0.5
(Burn Though)
42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ลําดับ
อางอิง
ที่
ตาม
ลักษณะ
มอก.
ความไมสมบูรณ
หมายเหตุ
t
ขีดจํากัดความไมสมบูรณสําหรับ
mm
ระดับคุณภาพ (Limits for Imperfections for
2696
Quality Level)
เลม 1 1.16
512
รอยเชื่อมฟลเลทเกิน
ในกรณีที่ไมไดกําหนดใหเปน รอยเชื่อมฟลเลท
แบบไมสมมาตร
แบบไมสมมาตร
0.5
(Excessive
พอใช
ปานกลาง
ดี
D
C
B
h≤2
h≤2
h ≤ 1.5
mm
mm
mm
+0.2a
+0.15a
+0.15 a
h ≤ 0.2
ความไม
ไมยอมรับ
mm
สมบูรณสั้น
+0.1 t
h ≤ 0.1t
ความไม
ความไม
Asymmetry of Fillet Weld) ความยาวขาแนวเชื่อม เกินแบบไมเทากัน (Excessive Unequal Leg Length) 1.17
515
ความเวาที่ราก
การเปลี่ยนแปลงตองเปนไปอยางราบเรียบ
0.5 ถึง 3
(Root Concavity) >3
ความไม
สมบูรณสั้น สมบูรณสั้น สมบูรณสั้น
1.18
516
รูพรุนที่ราก
รูพรุนคลายฟองน้ําที่รากของแนวเชื่อม
(Root Porosity)
เนื่องจากการเกิดฟองในเนื้อโลหะเชื่อม ขณะแข็งตัว (ขาดแกสรองหลังไมพอ)
43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
≥0.5
h ≤ 0.25t
h ≤ 0.1t
h ≤ 0.05t
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
2 mm
1 mm
0.5 mm
ยอมรับบาง
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
พื้นที่
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ลําดับ
อางอิง
ที่
ตาม
ลักษณะ
มอก.
ความไมสมบูรณ
หมายเหตุ
t
ขีดจํากัดความไมสมบูรณสําหรับ
mm
ระดับคุณภาพ (Limits for Imperfections for
2696
Quality Level)
เลม 1 1.19
517
การตอรอยเชื่อมไมดี
-
≥0.5
(Poor Restart)
พอใช
ปานกลาง
ดี
D
C
B
ยอมรับ
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
ความไม
ไมยอมรับ
ขีดจํากัด ขึ้นอยูกับ รูปแบบ ของความ ไมสมบูรณ ที่เกิดขึ้น เนื่องจาก การตอรอย เชื่อม
1.20
5213
ความหนาคอรอยเชื่อม
ไม ใ ช กั บ กระบวนการที่ พิ สู จ น ไ ด ว า
ฟลเลทไมเพียงพอ
มีการหลอมลึกไดมากกวา
0.5 ถึง 3
ความไม
สมบูรณสั้น สมบูรณสั้น
(Insuffcient Throat
h≤0.2mm h≤0.2mm
Thickness)
+0.1a >3
ความไม
ความไม
ไมยอมรับ
สมบูรณสั้น สมบูรณสั้น h≤0.3mm h≤0.3mm
1.21
5214
ความหนาคอ รอยเชื่อมฟลเลท มากเกินไป (Excessive Throat Thickness)
ความหนาจริงของคอรอยเชื่อมฟลเลท มากเกินกําหนด
44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
≥0.5
+0.1a
+0.1a
แตสูงสุด
แตสูงสุด
2 mm
1 mm
ยอมรับ
h ≤ 1mm +0.2a แตสูงสุด 4 mm
h ≤ 1mm +0.15a แตสูงสุด 3 mm
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ลําดับ
อางอิง
ที่
ตาม
ลักษณะ
มอก.
ความไมสมบูรณ
หมายเหตุ
t
ขีดจํากัดความไมสมบูรณสําหรับ
mm
ระดับคุณภาพ (Limits for Imperfections for
2696
Quality Level)
เลม 1 1.22
601
รอยอารก (Stray Arc)
-
≥0.5
1.23
602
-
≥0.5
1.24
610
เม็ดโลหะกระเด็น (Spatter) การเปลี่ยนสี
-
≥0.5
พอใช
ปานกลาง
ดี
D
C
B
ยอมรับ ไมยอมรับ ไมยอมรับ ถาสมบัติ ของวัสดุ ชิ้นงานไมมี ผลกระทบ การยอมรับขึ้นกับการใชงาน เชน วัสดุ การปองกันการกัดกรอน การยอมรับขึ้นกับการใชงาน เชน วัสดุ การปองกันการกัดกรอน
(Temper Colour (Discolouration)) 2. ความไมสมบูรณภายใน 2.1
100
รอยราว (Crack)
รอยราวทุกชนิด ยกเวนรอยราวจุลภาคและ
≥0.5
ไมยอมรับ
≥0.5
ยอมรับ
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
รอยราวที่รอยบุม 2.2
1001
รอยราวจุลภาค
รอยราวที่สามารถเห็นไดเมื่อใชกลอง
(Microcrack)
จุลทรรศน (50 x)
การยอมรับขึ้นอยูกับโลหะ ชิ้นงาน ซึ่งอางอิงจําเพาะกับ ความไวในการเกิดรอยราว
2.3
2011
ฟองแกส (Gas Pone) ต อ ง เ ป น ไ ป ต า ม ภ า ว ะ แ ล ะ ขี ด จํ า กั ด
2012
รูพรุนกระจายอยาง
ความไมสมบูรณตอไปนี้ (ดูภาคผนวก ก.)
สม่ําเสมอ (Uniformly Distributed Porosity)
45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ลําดับ
อางอิง
ที่
ตาม
ลักษณะ
มอก.
ความไมสมบูรณ
หมายเหตุ
t
ขีดจํากัดความไมสมบูรณสําหรับ
mm
ระดับคุณภาพ (Limits for Imperfections for
2696
Quality Level)
เลม 1
พอใช
ปานกลาง
ดี
D
C
B
สําหรับชั้น
สําหรับชั้น
สําหรับชั้น
เดียว
เดียว
เดียว
สัมพันธกับพื้นที่ภาพฉาย
≤ 2.5%
≤ 1.5%
≤ 1%
หมายเหตุ รูพรุนในพื้นที่ภาพฉายขึ้นกับจํานวน
สําหรับ
สําหรับ
สําหรับ
ของชั้นแนวเชื่อม (ปริมาตรของรอยเชื่อม)
หลายชั้น
หลายชั้น
หลายชั้น
≤ 5%
≤ 3%
≤ 2%
≥0.5
≤ 2.5%
≤ 1.5%
≤ 1%
≥0.5
d ≤ 0.4s
d ≤ 0.3s
d ≤ 0.2s
- รอยเชื่อมชน
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
- รอยเชื่อมฟลเลท
5 mm
4 mm
3 mm
d ≤ 0.4a
d ≤ 0.3a
d ≤ 0.2a
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
5 mm
4 mm
3 mm
ก.1) มิติใหญที่สุดของพื้นที่ความไมสมบูรณ
≥0.5
(รวมถึงความไมสมบูรณเชิงระบบ) ที่
ก.2) มิติใหญสุดของพื้นที่หนาตัดของ ความไมสมบูรณ (รวมถึงความไมสมบูรณเชิง ระบบ) ที่สัมพันธกับพื้นที่แตกหัก (ใชกับชิ้น ทดสอบ การผลิต การทดสอบชางเชื่อม หรือการทดสอบกระบวนการเทานั้น) ข.) มิติใหญสุดสําหรับฟองเดี่ยว
46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ลําดับ
อางอิง
ที่
ตาม
ลักษณะ
มอก.
ความไมสมบูรณ
หมายเหตุ
t
ขีดจํากัดความไมสมบูรณสําหรับ
mm
ระดับคุณภาพ (Limits for Imperfections for
2696
Quality Level)
เลม 1 2.4
2013
รูพรุนกลุม
≥0.5
พอใช
ปานกลาง
ดี
D
C
B
dA ≤25 mm dA ≤20 mm dA ≤15 mm
หรือ
(Clustered
หรือ
(Localized)
dA ,max ≤ Wp dA ,max ≤ Wp dA ,max ≤ Wp / 2
Porosity)
ความยาวอางอิง
lp
เทากับ 100 mm
พื้นที่ฟองแกสทั้งหมด ในรูปแบบรูพรุนกลุม แทนไดดวยเสนผานศูนยกลางวงกลม d A ที่อยูรอบฟองแกสทั้งหมด ขอกําหนดสําหรับฟองแกสเดี่ยว ตอง พิจารณาเปนพื้นที่วงกลมของฟองแกสทั้งหมด พื้นที่ของฟองแกสที่ยอมรับได ตองอยูภายใน พื้นที่ ความเปนไปไดของรูพรุนกลุมจะไปทับ กับความไมสมบูรณอื่น ซึ่งตองนํามา พิจารณาดวย ถา D นอยกวา d A1 หรือ d A2 พื้นที่ฟอง แกสทั้งหมดแทนดวยเสนผานศูนยกลาง วงกลม d AC เมื่อ d AC = d A1 + d A2 + D ไมยอมรับรูพรุนกลุมเชิงระบบ d A ที่ สอดคลองกับ d A1 d A2 d AC ขึ้นวาใชคาใด
47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
หรือ
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ลําดับ
อางอิง
ที่
ตาม
ลักษณะ
มอก.
ความไมสมบูรณ
หมายเหตุ
t
ขีดจํากัดความไมสมบูรณสําหรับ
mm
ระดับคุณภาพ (Limits for Imperfections for
2696
Quality Level)
เลม 1 2.5
2014
รูพรุนเชิงเสน (Linear - รอยเชื่อมชน
≥0.5
Porosity)
- รอยเชื่อมฟลเลท
≥0.5
กรณีที่ 1 (D > d 2 )
กรณีที่ 2 (D < d 2 )
ความยาวอางอิง l p เทากับ 100 mm กรณีที่ 1 d 1 = h กรณีที่ 2 d 1 + d 2 + D = h
48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
พอใช
ปานกลาง
ดี
D
C
B
h ≤ 0.4s
h ≤ 0.3s
h ≤ 0.2s
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
4 mm
3 mm
2 mm
l≤s
l≤s
l≤s
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
75 mm
50 mm
25 mm
h ≤ 0.4a
h ≤ 0.3a
h ≤ 0.2a
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
4 mm
3 mm
2 mm
l≤a
l≤a
l≤a
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
75 mm
50 mm
25 mm
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ลําดับ
อางอิง
ที่
ตาม
ลักษณะ
มอก.
ความไมสมบูรณ
หมายเหตุ
t
ขีดจํากัดความไมสมบูรณสําหรับ
mm
ระดับคุณภาพ (Limits for Imperfections for
2696
Quality Level)
เลม 1 2.6
2015 2016
พอใช
ปานกลาง
ดี
D
C
B
h ≤ 0.4s
h ≤ 0.3s
h ≤ 0.2s
(Elongated Cavity)
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
โพรงหนอน
4 mm
3 mm
2 mm
(Wormholes)
l≤s
l≤s
l≤s
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
75 mm
50 mm
25 mm
h ≤ 0.4a
h ≤ 0.3a
h ≤ 0.2a
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
4 mm
3 mm
2 mm
l≤a
l≤a
l≤a
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
75 mm
50 mm
25 mm
ยอมรับ
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
โพรงแนวยาว
- รอยเชื่อมชน
≥0.5
- รอยเชื่อมฟลเลท
2.7
202
≥0.5
โพรงหด (Shrinkage
≥0.5
Cavity)
ความไม สมบูรณ แบบสั้นแต ไมเปดสู พื้นผิว - รอยเชื่อม ชน h ≤ 0.4s แตสูงสุด 4 mm - รอยเชื่อม ฟลเลท h ≤ 0.4a แตสูงสุด 4 mm
49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ลําดับ
อางอิง
ที่
ตาม
ลักษณะ
มอก.
ความไมสมบูรณ
หมายเหตุ
t
ขีดจํากัดความไมสมบูรณสําหรับ
mm
ระดับคุณภาพ (Limits for Imperfections for
2696
Quality Level)
เลม 1 2.8
2024
พอใช
ปานกลาง
ดี
D
C
B
0.5 ถึง 3
h/l ≤ 0.2t
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
>3
h/l ≤ 0.2t
h ≤ 0.4s
h ≤ 0.3s
h ≤ 0.2s
Inclusion)
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
สแลกฝงใน (Slag
4 mm
3 mm
2 mm
Inclusion)
l≤s,
l≤s,
l≤s,
ฟลักซฝงใน (Flux
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
Inclusion)
75 mm
50 mm
25 mm
h ≤ 0.4a
h ≤ 0.3a
h ≤ 0.2a
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
4 mm
3 mm
2 mm
l≤a,
l≤a,
l≤a,
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
75 mm
50 mm
25 mm
h ≤ 0.4s
h ≤ 0.3s
h ≤ 0.2s
Inclusion) ที่ไมใช
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
ทองแดง
4 mm
3 mm
2 mm
h ≤ 0.4a
h ≤ 0.3a
h ≤ 0.2a
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
4 mm
3 mm
2 mm
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
รอยบุม (Crater Pipe)
แตสูงสุด 2mm
คาความยาวที่มากกวาของคา h หรือคา l 2.9
300 301 302 303
2.10
304
สารแข็งฝงใน (Solid
- รอยเชื่อมชน
≥0.5
ออกไซดฝงใน (Oxide - รอยเชื่อมฟลเลท Inclusion)
โลหะฝงใน (Metallic
≥0.5
- รอยเชื่อมชน
≥0.5
- รอยเชื่อมฟลเลท
2.11
3042
ทองแดงฝงใน
≥0.5
-
≥0.5
(Copper Inclusion)
50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ลําดับ
อางอิง
ที่
ตาม
ลักษณะ
มอก.
ความไมสมบูรณ
หมายเหตุ
t
ขีดจํากัดความไมสมบูรณสําหรับ
mm
ระดับคุณภาพ (Limits for Imperfections for
2696
Quality Level)
เลม 1 2.12
401
การหลอมละลายที่ไม
≥0.5
4012
ปานกลาง
ดี
D
C
B
ยอมรับ
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
สมบูรณ (Lack of
ความไม
Fusiob or
สมบูรณ
Incomplete Fusion) 4011
พอใช
แบบสั้นแต
หลอมไมติดผนัง
ไมเปดสู
ดานขาง (Lack of
พื้นผิว
Side Wall Fusion)
- รอยเชื่อม
หลอมไมติดระหวาง
ชน
แนวเชื่อม (Lack of
h ≤ 0.4s
Inter-run Fusion)
แตสูงสุด 4 mm - รอยเชื่อม
4013
ฟลเลท
หลอมไมติดที่แนวราก
h ≤ 0.4a
(Lack of Root
แตสูงสุด
Fusion)
2.13
402
4 mm
การหลอมลึกไม
≥0.5
ความไม
สมบูรณ (Lack of
สมบูรณ
Penetration)
แบบสั้น h ≤ 0.2a แตสูงสุด 2 mm รอยเชื่อมแบบ T (รอยเชื่อมฟลเลท)
51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ลําดับ
อางอิง
ที่
ตาม
ลักษณะ
มอก.
ความไมสมบูรณ
หมายเหตุ
t
ขีดจํากัดความไมสมบูรณสําหรับ
mm
ระดับคุณภาพ (Limits for Imperfections for
2696
Quality Level)
เลม 1 ≥0.5
พอใช
ปานกลาง
ดี
D
C
B
ความไม
ความไม
สมบูรณ
สมบูรณ
แบบสั้น
แบบสั้น
- รอยเชื่อม - รอยเชื่อม รอยเชื่อมแบบ T (หลอมลึกบางสวน)
ชน
ชน
h ≤ 0.2s
h ≤ 0.1s
แตสูงสุด
แตสูงสุด
2 mm
1.5 mm
- รอยเชื่อม - รอยเชื่อม รอยเชื่อมชน (หลอมลึกบางสวน)
≥0.5
แบบ T
แบบ T
h ≤ 0.2a
h ≤ 0.1a
แตสูงสุด
แตสูงสุด
2 mm
1.5 mm
ความไม สมบูรณ แบบสั้น h ≤ 0.2t
รอยเชื่อมชน (หลอมลึกสมบูรณ)
แตสูงสุด 2 mm
3. ความไมสมบูรณในรอยตอเชิงเรขาคณิต (Imperfections in Joint Geometry) 3.1
507
h ≤ 0.2
h ≤ 0.2
h ≤ 0.2
ตําแหนงที่ถูกตอง ถาไมมีการระบุไวเปน
mm
mm
mm
อยางอื่น ใหถือวาตําแหนงที่ถูกตองคือ
+ 0.25 t
+ 0.15 t
+ 0.1 t
ขอบเยื้องเชิงเสน
ขีดจํากัดที่สัมพันธกับความเบี่ยงเบนจาก
(Linear Misalignment)
ตองมีแนวศูนยกลางตรงกัน (ดูขอ 1 ดวย) t อางถึงความหนาที่นอยกวาขอบเยื้องเชิงเสน ที่อยูภายในขีดจํากัดที่กําหนด ไมถือวาเปน ความไมสมบูรณเชิงระบบ (ใชรูป A และ B)
52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
0.5 ถึง 3
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ลําดับ
อางอิง
ที่
ตาม
ลักษณะ
มอก.
ความไมสมบูรณ
หมายเหตุ
t
ขีดจํากัดความไมสมบูรณสําหรับ
mm
ระดับคุณภาพ (Limits for Imperfections for
2696
Quality Level)
เลม 1 5071
พอใช
ปานกลาง
ดี
D
C
B
h ≤ 0.25t
h ≤ 0.15t
h ≤ 0.1t
ระหวางแผน (Linear
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
Misalignment
5 mm
4 mm
3 mm
h ≤ 0.5t
h ≤ 0.5t
h ≤ 0.5t
สวนทรงกระบอก
แตสูงสุด
แตสูงสุด
แตสูงสุด
กลวง (Transversely
4 mm
3 mm
2 mm
h ≤ 0.5
h ≤ 0.3
h ≤ 0.2
mm
mm
mm
+ 0.1a
+ 0.1a
+ 0.1a
ขอบเยื้องเชิงเสน
≥3
Between Plates)
การเชื่อมแผนและการเชื่อมตามแนวยาว 5072
รอยเชื่อมวงกลมของ
≥0.5
Circular Welds at การเชื่อมตามแนวเสนรอบวง
Cylindrical Hollow Sectiobs) 3.2
617
รองหางที่รากเชื่อม
ชองวางระหวางรอยตอ ชองวางเกินขีดจํากัด
ฟลเลทไมถูกตอง
ที่เหมาะสมอาจแทนดวยการเพิ่มความหนา
(Incorrect Root
คอรอยเชื่อมที่สอดคลอง
Gap for Fillet Welds)
ไมใชขีดจํากัดขอ 5. เปนความไมสมบูรณเชิง ระบบ
53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
0.5 ถึง 3
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ลําดับ
อางอิง
ที่
ตาม
ลักษณะ
มอก.
ความไมสมบูรณ
หมายเหตุ
t
ขีดจํากัดความไมสมบูรณสําหรับ
mm
ระดับคุณภาพ (Limits for Imperfections for
2696
Quality Level)
เลม 1 >3
พอใช
ปานกลาง
ดี
D
C
B
h ≤ 1 mm
h ≤ 0.5
h ≤ 0.5
+ 0.3a
mm
mm
แตสูงสุด
+ 0.2a
+ 0.1a
4 mm
แตสูงสุด
แตสูงสุด
3 mm
2 mm
ไมยอมรับ
ไมยอมรับ
4. ความไมสมบูรณหลายลักษณะ (Multiple Imperfections) 4.1
-
ความไมสมบูรณหลาย
0.5 ถึง 3
ไมยอมรับ
ลักษณะในหนาตัดใด ๆ (Multipleimperfections in Any Cross
>3
Section)
ความสูงรวม ความสูงรวม ความสูงรวม สูงสุดของ
สูงสุดของ
สูงสุดของ
ความไม
ความไม
ความไม
สมบูรณ
สมบูรณ
สมบูรณ
∑h ≤ 0.4t ∑h ≤ 0.3t ∑h ≤ 0.2t
4.2
-
พื้นที่ภาพฉายหรือ
≥0.5
ภาคตัดขวางใน
หรือ
หรือ
หรือ
≤ 0.25 a
≤ 0.2 a
≤ 0.15 a
∑h×l
∑h×l
∑h×l
≤ 16 %
ทิศทางตามแนวยาว (Projected or Cross Section Area in Longitudinal Direction)
54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
≤8%
≤4%
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ลําดับ
อางอิง
ที่
ตาม
ลักษณะ
มอก.
ความไมสมบูรณ
หมายเหตุ
t
ขีดจํากัดความไมสมบูรณสําหรับ
mm
ระดับคุณภาพ (Limits for Imperfections for
2696
Quality Level)
เลม 1
ผลรวมของพื้นที่ ∑ h × l ตองคํานวณเปน รอยละของพื้นที่ที่ประเมิน l p × w p
(กรณีที่ 1)
ถา D มีคานอยกวาความยาวสั้นสุดของ ความไมสมบูรณใกลเคียงการตอเชื่อมเต็ม ของความไมสมบูรณทั้งสอง ตองใชเปน ผลรวมความไมสมบูรณ (กรณีที่ 2)
55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
พอใช
ปานกลาง
ดี
D
C
B
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. มาตรฐานสากลสําหรับการเชื่อมเหล็กกลา/ขอแนะนําในการประเมินระดับคุณภาพของความไมสมบูรณจะเปนไปตาม มาตรฐานขอใด ก. ISO 5817 ข. ISO 17025 ค. ISO 9606 ง. ISO 17024 2. มาตรฐานสากลใดที่ใชระบุการตรวจสอบพินิจขอบกพรอง ก. ISO 5817 ข. ISO 4063 ค. ISO 17025 ง. ISO 6520-1 3. มาตรฐานสากลใดที่ใชระบุกระบวนการเชื่อมในการตรวจสอบมาตรฐานความไมสมบูรณ ก. ISO 5817 ข. ISO 4063 ค. ISO 9606 ง. ISO 17024
56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3
57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0920720802 การตรวจสอบงานเชื่อม (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายการตรวจสอบพินิจ (Visual Inspection) การเตรียมแนวตอกอนการเชื่อมไดอยางถูกตอง 2. อธิบายการตรวจสอบพินิจตัวแปรของงานโดยชางเชื่อมในระหวางการเชื่อมไดอยางถูกตอง 3. อธิบายการตรวจสอบพินจิ ความนูนดานหนาแนวเชื่อม และดานรากภายหลังจากการเชื่อมเสร็จ (รวมทั้งแนวกัดแหวง รูพรุน สารฝงใน (Inclusion) การหลอมไมสมบูรณ รอยราว ความกวาง ความสูง รูปรางแนวเชื่อม ความสม่ําเสมอ ของแนวเชื่อม) ไดอยางถูกตอง 4. ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบงานเชื่อมไดอยางถูกตอง
2. หัวขอสําคัญ 1. การตรวจสอบพินิจกอนการเชื่อม 2. การตรวจสอบพินจิ ระหวางการเชื่อม 3. การตรวจสอบพินิจหลังการเชื่อม
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสือ่ สิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) ชิ้นงานเชื่อมตอชนบากรองวี จํานวน 3 ชิ้น 2) ชิ้นงานเชื่อมตอตัวที จํานวน 5 ชิ้น 3) ผาทําความสะอาด จํานวน 1 ผืน 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) เกจวัดแนวเชื่อม แบบ Automatic Weld Gauge จํานวน 1 อัน 2) เกจวัดแนวเชื่อม แบบ Bridge Cam Weld Gauge จํานวน 1 อัน 3) คอนหัวกลม จํานวน 1 อัน 4) เครื่องเจียมือ จํานวน 1 ตัว 5) เครื่องอัดไฮดรอลิกส จํานวน 1 ตัว 6) ใบเจียผาเซาะรอง จํานวน 1 ใบ 7) ปากกาจับชิ้นงาน จํานวน 1 ตัว 8) แปรงลวด จํานวน 1 ดาม 9) เวอรเนียคาลิปเปอร จํานวน 1 อัน 10) แวนขยาย จํานวน 1 อัน
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได
7. บรรณานุกรม
มานะศิษฎ พิมพสาร. ม.ป.ป. คูมือการเชื่อม มิก-แม็ก. : ม.ป.ท. สํานักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝมือแรงงาน. 2558 คุมือเตรียมทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ กลุมสาขา อาชีพชางอุตสาหการ สาขาอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ ๑ (ภาคความรู). ม.ป.ท. ชูชาติ ดวงสงค. การทดสอบงานเชื่อมแบบทําลายสภาพ. กรุงเทพฯ : สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน), 2550.
60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 การตรวจสอบงานเชื่อม 1. การตรวจสอบกอนเชื่อม การตรวจสอบกอนเชื่อมเปนสิ่งสําคัญซึ่งจะชวยลดปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นภายหลังการเชื่อมประกอบงาน การตรวจสอบ ที่ตองกระทําประการแรกของการเริ่มงานใหมคือ การตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวของกับการเชื่อมทั้งหมด ไดแก แบบ รหัส สเปค ขั้นตอน เปนตน เอกสารตาง ๆ จะมีประโยชนสําหรับผูตรวจสอบ ใหสาระสําคัญที่จะทําใหผูตรวจสอบรูวาอะไร เมื่อไร ที่ไหน และตรวจสอบอยางไร เอกสารจะบอกรายละเอียดของวัสดุงานที่จะนํามาใชเชื่อมไดอยางมีประสิทธิภาพ การใหความรอน กอนเชื่อม การใหความรอนหลังเชื่อม กรรมวิธีการเชื่อม เทคนิคการเชื่อม ชนิดลวดเชื่อม ทาเชื่อม เปนตน รายละเอียด ที่ประกอบอยูในเอกสารนั้น ผูตรวจสอบจะตองเปนผูควบคุมและใหคําปรึกษาแกผูปฏิบัติ ถาหากมีการเปลี่ยนแปลงขั้นตอนใหม ผูตรวจสอบจะคอยควบคุมดูแลการทดสอบขั้นตอนใหมรวมถึงการทดสอบ การประเมิน ผลและการบัน ทึกรายละเอียด การตรวจสอบกอนเชื่อม ไดแก 1) ตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวของกับความตองการในงานเชื่อม 2) ตรวจสอบกรรมวิธีการเชื่อม (Welding Procedures) 3) ตรวจสอบคุณภาพของชางเชื่อม 4) พัฒนาแผนการตรวจสอบ ตลอดจนการบันทึก 5) พัฒนาระบบการพิสูจนสําหรับการ Rejects 6) ตรวจสอบความเหมาะสมของเครื่องมือ อุปกรณการเชื่อม 7) ตรวจสอบคุณภาพและสภาพของวัสดุงานและลวดเชื่อม 8) ตรวจสอบคุณภาพและความถูกตองของการเตรียมรอยตอเชื่อม 9) ตรวจสอบการประกอบและแนวการวางของชิ้นสวนที่จะเชื่อม 10) ตรวจสอบความสามารถในการประกอบและแนวการวางชิ้นสวน 11) ตรวจสอบความสะอาดในบริเวณที่จะเชื่อม 12) ตรวจสอบการใหความรอนกอนเชื่อม เมื่อมีความตองการสําหรับกระบวนการปฏิบัติงานนั้นมีสิ่งที่จะตรวจสอบ ดังนี้ - สิ่งแวดลอมในการทํางาน - การประกอบติดตั้งอุปกรณในการเชื่อม คากระแสไฟฟา ขั้วไฟ การจับยึดสายดิน - การอุนชิ้นงานกอนการใชแกสปกคลุมพิเศษ - การใชอุปกรณในการจับยึด 61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
สําหรับวัสดุและชิ้นงานมีสิ่งที่จะตรวจสอบ ดังนี้ - ชนิดและคุณภาพของชิ้นงานเชื่อม - ชนิดและคุณภาพของวัสดุชวยงาน เชน ชนิดขนาดลวดเชื่อมฟลักซ - ลักษณะรูปทรง เชน การเตรียมรอยตอ ขนาด ระยะเผื่อ แนวหรือระนาบตาง ๆ ความสะอาด การเตรียมแนวตอกอนการเชื่อม กอนการเชื่อมเพื่อใหไดรอยเชื่อมที่มีประสิทธิภาพ ผูปฏิบัติงานตองเตรียมรอยตอใหเหมาะสม โดยคํานึงจาก - ความตองการในการตานแรงของชิ้นงาน - ตําแหนงการเชื่อม - ความหนา - ความสามารถในการเขาเชื่อมได - ชนิดของโลหะ องคประกอบเหลานี้ผูปฏิบัติงานตองนํามาใชเพื่อออกแบบรอยตอใหเหมาะสม เมื่อไดรอยตอที่เหมาะสมแลว ตองทําความสะอาดโดยการใชแปรงลวดขัดหรือการเจียใหปราศจากฝุน ดิน คราบน้ํามัน จารบี สี เทปกาว หรือสนิม เพื่อใหไดรอยเชื่อมที่มีประสิทธิภาพตรงตามที่ออกแบบไว 2. การตรวจสอบขณะเชื่อม การตรวจสอบขณะเชื่อมดวยสายตา ผูตรวจสอบจะตองมีประสบการณที่จะดูถึงเทคนิคการเชื่อมการเติมลวดเชื่อม และชั้นของรอยเชื่อม ซึ่งการตรวจสอบตําหนิที่อาจเกิดกับรอยเชื่อมซอนแนวจะเปนการปองกันและแกไขไมใหเกิดความเสียหาย เนื่องจากการเชื่อมทับรอยเชื่อมที่มีตําหนิ การตรวจสอบยังรวมไปถึงการเชื่อมใหถูกตองตาม Procedures ที่กําหนดไว ไดแก กรรมวิธีการเชื่อม เทคนิค จํานวนชั้นของรอยเชื่อม อุณหภูมิระหวางเที่ยวเชื่อม การทําความสะอาดรอยเชื่อมกอนเชื่อมทับ ตกแตงหรือเจียรอยเชื่อมแตละแนว และอื่น ๆ นอกจากนั้น จะตองตรวจสอบเครื่องมือที่ใชในการทําความสะอาดดวย การตรวจสอบขณะเชื่อมไดแก 1) ตรวจสอบตัวแปรตาม Welding Procedure 2) ตรวจสอบคุณภาพแตละรอยเชื่อม 3) ตรวจสอบการทําความสะอาดรอยเชื่อมกอนที่จะเชื่อมทับ 4) ตรวจสอบอุณหภูมิของรอยเชื่อมกอนที่จะเชื่อมทับ (Interpass Temperature) 5) ตรวจสอบตําแหนงและลําดับการเชื่อมแตละรอยเชื่อม 6) ตรวจสอบผิวการเซาะดานหลัง (Back Gouged Surfaces) 62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
7) ตรวจสอบ NDT เมื่อมีความตองการ สวนใหญแลวจะเปนการตรวจสอบการปฏิบัติงาน ซึ่งมีดังนี้ - ลําดับขั้นในการเชื่อม - เทคนิคการเดินและความเร็วในการเดินลวดเชื่อม - การทําความสะอาดรอยเชื่อมในระหวางการตอลวด - อุณหภูมิชิ้นงานขณะเชื่อม การตรวจสอบดวยการพินิจตัวแปรของชางเชื่อมในระหวางการเชื่อม ตัวแปรหลักที่พินิจ - การปอนลวด (Wire Feeder) คือ เราควรตรวจสอบอัตราเร็วในการปอนลวดเชื่อมนั้นวา มีอัตราเร็วมากไป หรือนอยเกินไปหรือเปลา เพราะถาอัตราเร็วมากหรือนอยเกินไปอาจทําใหเกิดจุดบกพรองในงานเชื่อมได - กระแสเชื่อม คือ กําลังไฟฟาที่เครื่องเชื่อมผลิตออกมา ซึ่งสามารถอานไดโดยตรงจากแอมปมิเตอรของตัวเชื่อม กระแสเชื่อมจะมีความสัมพันธโดยตรงกับความเร็วการปอนลวดเชื่อม ถาปอนลวดเชื่อมเร็วขึ้นกระแสลวดเชื่อม ที่ผลิตขึ้นมาก็จะมากขึ้นดวย แตถาปอนลวดเชื่อมชากระแสลวดเชื่อมที่ผลิตขึ้นมาก็จะนอยดวย - แรงดันอารก คือ แรงดันเชื่อมที่หาไดจากความยาวอารกระหวางปลายลวดเชื่อมกับงานเชื่อม แรงดันเชื่อม ที่เลือกใชงานจะขึ้นอยูกับขนาดลวดเชื่อม ชนิดแกสคลุม ตําแหนงแนวเชื่อม ชนิดรอยตอ และขนาดความหนา ของชิ้นงานเชื่อม ดังนั้นเราควรเลือกใชแรงดันเชื่อมที่เหมาะสม - อัต ราเร็ว เคลื่อ นที่หัว เชื่อ ม คือ อัต ราการเคลื่อ นที่หัว เชื่อ มตอ 1 หนว ยเวลา ถูก ควบคุม โดยชางเชื่อม ซึ่งจะมีผลกระทบตอระยะซึมลึกของรอยเชื่อม ขนาดรอยเชื่อม และลักษณะรอยเชื่อม ถาเราใชอัตราเร็ว นอยเกินไปจะทําใหเกิดรอยเกยที่ขอบชิ้นงานหรือเกิดรูพรุน แตถามากเกินไปจะทําใหเกิดการหลอมไมสมบูรณ รอยเชื่อมสูงหรือนูน ระยะซึมลึกตื้น เปนตน ตัวแปรอื่น ๆ -
อัตราการทํางาน (Rate Duty Cycle, %) จุดเริ่มตนการทํางาน (Initiation Mode) Time of Spot Welding, sec Time of Pulse Gap in Spot Welding, sec Cooling Mode ขนาด (กวาง x ยาว x สูง) น้ําหนัก มุมในการเชื่อม 63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
3. การตรวจสอบหลังเชื่อม เมื่อการตรวจสอบไดดําเนินมาแลวเปนขั้นตอนตั้งแตกอนเชื่อมและขณะเชื่อม จึงเปนการรับประกันเบื้องตนถึงคุณภาพ ของงานเชื่อมในระดับหนึ่งแลว สวนการตรวจสอบหลังเชื่อม เมื่องานเสร็จแลวจะดําเนินตามความตองการของขอตกลงกัน การตรวจสอบดวยสายตาจะตรวจดูขนาดลักษณะรูปรางของรอยเชื่อมและชิ้นงาน การตรวจสอบขนาด และรูปรางของรอยเชื่อม จะทํา การตรวจวั ด ดว ยเกจวั ด ซึ่งใชตรวจวั ด ขนาดความกวา ง ความนูน ของแนวเชื่อ ม การหลอมลึก และใชวัด ขนาด ของจุดบกพรองอยูในขอบเขตการยอมรับ (Acceptance Criteria) ตามมาตรฐานกําหนดหรือไม ชนิดเครื่องมือวัดมีทั้งหยาบ และวัดละเอียด ตัวอยางเครื่องมือวัด ไดแก ตลับเมตร ไมบรรทัด และเกจวัดแนวเชื่อม เปนตน
ภาพที่ 2.1 เกจวัดขนาดแนวเชื่อมตอชนและเกจวัดขนาดแนวเชื่อมฟลเลท
ภาพที่ 2.2 เกจวัดระยะจุดบกพรองในงานเชื่อม
64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ตัวอยางการใชเกจวัดแนวเชื่อม
ตรวจสอบความนูนสวนเสริมความแข็งแรง
ตรวจสอบระยะคอแนวเชื่อมฟลเลท
ตรวจสอบขนาดแนวเชื่อมฟลเลท การตรวจสอบดวยสายตาไมเพียงแตตรวจสอบดูตําหนิและขนาดของรอยเชื่อมเทานั้น แตจะตองตรวจสอบดูขนาด ความถูกตองของงานสําเร็จและอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับคุณภาพของงานอีกดวย เชน การทําความสะอาดรอยเชื่อม เพื่อเอาสนิม และสแลกออก โดยจะตองระมัดระวังในการใชอุปกรณทดสอบ การตรวจสอบดวยสายตาจึงเปนวิธีการทดสอบที่งายและมีประโยชน แตตองสรุปผลอยางระมัดระวังเนื่องจากการดูดวยตา เพียงอยางเดียวไมสามารถพิสูจนไดวาสวนใตผิวงานนั้นมีความสมบูรณมากนอยแคไหน 4. การตรวจสอบวัสดุแบบทําลาย การตรวจสอบวัสดุแบบทําลาย หมายถึง การตรวจสอบที่ชิ้นตรวจสอบ เพื่อใหทราบวาวัสดุนั้นจะเกิดการแตกหักเสียหาย หรือเปลี่ยนรูปไปจากเดิม เหมาะสมที่จะนํามาใชงานไดหรือไม ไดแก 4.1 การทดสอบดัดโคง (Bend Test) เปนการทดสอบเพื่อศึกษาพฤติกรรมการแปรรูปของวัสดุเมื่อไดรับแรงดัดโคง ดวยรัศมีความโคงที่กําหนดจนไดมุมที่กําหนดไวในมาตรฐานการทดสอบ โดยพิจารณาดูวาที่ผิวดานนอกของชิ้นงาน ตรงบริเวณที่ ทําการดั ดโค งเกิ ดรอยแตกขึ้ นหรื อไม การที่ชิ้นงานไดรั บแรงด านหนึ่ งจะเกิ ดแรงดึ ง สวนอีกดานหนึ่ ง จะได รั บ แรงกดทํ า ให ชิ้ น งานเกิ ดการโก งงอ ซึ่งชิ้น งานที่อยูภ ายใตแรงดังกลาวเรียกวา วัส ดุอยูภ ายใตแรงดัด (Bending) ในการทดสอบการดัดโคงดานราก (Root Bend) จะใหดานรากแนวเชื่อม (Root) รับแรงดึง แตถา ทําการทดสอบการดัดโคงดานหนา (Face Bend) จะใหดานหนาแนวเชื่อม (Face) รับแรงดึง 65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ก. ทดสอบกอนเชื่อม
ข. ทดสอบหลังเชื่อม ภาพที่ 2.3 การทดสอบดัดโคง
4.2 การทดสอบโดยการตีหัก (Fracture Test) เปนการทดสอบเพื่อหารอยบกพรองที่อยูภายในเนื้อเชื่อม สวนใหญ ใชทดสอบชิ้นงานเชื่อมฟลเลท (Fillet Weld) เพื่อตรวจหารอยบกพรองชนิดโพรงอากาศ การหลอมไมสมบูรณ เปนตน
ก.ทดสอบกอนเชื่อม
ข. ทดสอบหลังเชื่อม
ภาพที่ 2.4 การทดสอบโดยการตีหัก 4.3 การทดสอบการดึง (Tensile Testing) เปนการทดสอบวัสดุที่สําคัญ เพราะในการออกแบบสวนใหญจะใชคา ซึ่งไดจากการทดสอบนี้ไปคํานวณ เพื่อกําหนดขนาดรูปรางของชิ้นงานวัตถุประสงค เพื่อหาคาความตานทานแรงดึง สูงสุด ความเคนคราก และเปอรเซ็นตการยืดตัวของวัสดุ โดยทั่วไปจะดึงชิ้นทดสอบจนขาดออกจากกันในขณะเดียวกัน ก็จะบันทึกแรงที่ใชในการดึงและระยะยืดของชิ้นงานที่ทดสอบดวยเครื่องบันทึก
ก. ทดสอบกอนเชื่อม
ข. ทดสอบหลังเชื่อม
ภาพที่ 2.5 การทดสอบโดยการดึง 66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
4.4 การทดสอบความแข็ง (Hardness Test) คาความแข็งเปนสมบัติทางกลที่สําคัญคาหนึ่ง บงบอกถึงความสามารถ ในการตานทานการเปลี่ยนรูปถาวรของวัสดุเนื่องจากการกดหรืออัด มีการทดสอบดังนี้ 1) การทดสอบความแข็งของบริ้นล (Brinell Hardness Test) ใชลูกบอลเหล็กกดแลววัดเสนผานศูนย กลาง รอยกด 2) การทดสอบความแข็งแบบวิกเกอร ใชตัวกดทําดวยเพชรเจียระไน แลววัดเสนทแยงมุมของรอยกด 3) การทดสอบความแข็งแบบรอกเวลล วัดความลึกของหัวกดซึ่งทําดวยเพชรทรงกรวย 4) การทดสอบความแข็งดวยคอนโพลดี้ ใชคอนมือ 100 กรัม ตีแกนสลักที่มีลูกบอลกับวัสดุทดสอบ 5) การทดสอบความแข็งโดยการกระดอนแบบชอร ใชลกู ตุมน้ําหนัก 0.2 นิวตัน ตกจากความสูง 112 มิลลิเมตร กระแทกกับผิวชิ้นทดสอบวั ดความกระดอนตุมน้ําหนัก ถาวัสดุทดสอบมีความแข็งสูง ตุมน้ําหนั กจะ กระดอนสูง
ภาพที่ 2.6 การทดสอบความแข็ง 4.5 การทดสอบแรงกระแทก (Impact Testing) เปนการใชแรงกระทําเคลื่อนที่ดวยความเร็วกระแทกชิ้นทดสอบ ใหแตกในเวลาอันสั้น เพื่อศึกษาพฤติกรรมของวัสดุเมื่อถูกแรงกระแทก ใชหลักการคอนเหวี่ยง และชิ้นทดสอบ ตองมีรองบาก นิยมใชแบบชารป โดยในการทดสอบนี้ทําการทดสอบเพื่อหาคาความเหนียว โดยความเหนียว คือ ความสามารถของวัสดุที่จะดูดซับพลังงานไวไดโดยไมเกิดการแตกหัก ความเหนียวมีความสัมพันธกับความแข็งแรง และความสามารถในการยืดตัวของวัสดุ เนื่องจากโดยทั่วไปเรามักจะประเมินคาความเหนียวจาก Modulus of Toughness ซึ่ ง กํ า หนดให มี ค า เท า กั บ พื้ น ที่ ใ ต เ ส น โค ง ความเค น - ความเครี ย ด ที่ ไ ด จ ากการทดสอบแรงดึ ง (Tensile test) ซึ่งคา Modulus of Toughness นี้ จะแสดงถึงพลังงานตอหนวยปริมาตรของวัสดุที่ตองใชในการ ทําใหวัสดุเกิดการแตกหักเสียหาย วัสดุที่มีความเหนียวสูงกวาจะใชพลังงานตอหนวยปริมาตรของวัสดุที่สูงกวา ในการทําใหวัสดุเกิดการแตกหักเสียหาย
67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ภาพที่ 2.7 เครื่องทดสอบแรงกระแทก 4.6 การทดสอบการลา หาความตานลาของวัสดุ หมายถึง ความเคนสูงสุดแบบเปลี่ยนแปลงที่กระทําตอชิ้นงาน เปนจํานวนครั้งไมสิ้นสุด โดยชิ้นงานไมเสียหาย ถาความเคนที่กระทําตอชิ้นงานมีคาสูงกวาความเคนลาของวัสดุ ก็จะทําใหชิ้นงานแตกหักแบบลาได อาจจะภายในไมกี่นาที หรือไดรับแรงเปนระยะเวลานานเปนป
ภาพที่ 2.8 เครื่องทดสอบการลา 4.7 การทดสอบความแข็งแรงของวัสดุที่อุณหภูมิสูง เพื่อหาคาความเคนครากที่อุณหภูมิสูง 4.8 การทดสอบการคืบ (Creep) คือ การที่วัสดุไดรับความเคนนําไปสูการยืดตัว คาความตานการคืบ (Creep Strength) ที่อุณหภูมิหนึ่ง คือคาความเคนสูงสุดเมื่อเริ่มตนมีความคืบและเวลาผานไปจนหยุดความคืบ แตถาความเคนสูงกวาคานี้ จะนําไปสูการแตกหัก
68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
5. การตรวจสอบวัสดุแบบไมทําลาย การตรวจสอบวัสดุแบบไมทําลาย หมายถึง การนําวัสดุมาตรวจสอบ โดยวัสดุนั้นจะไมเปลี่ยนรูปและสามารถนํากลับมาใชงาน ไดอีก ดังนั้นการตรวจวัสดุแบบไมทําลายจึงนับวามีประโยชน การตรวจสอบประเภทนี้ตองใชอุปกรณและเครื่องมือที่มีราคาแพง วิธีการทดสอบแบบไมทําลายโดยทั่วไปแบงเปน 6 วิธี ดังตอไปนี้ 5.1 การทดสอบโดยวิธีภาพถายรังสี (Radiographic Testing) เปนการทดสอบโดยการปลอยคลื่นแมเหล็กไฟฟา ที่มีความถี่สูง จากแหลงกําเนิดรังสีผานชิ้นงาน ซึ่งอาจทําจากวัสดุชนิดตาง ๆ อาศัยหลักการดูดซับพลังงานที่ไมเทากัน ของวัสดุหรือการที่วัสดุมีความหนาแนนไมเทากัน เชน มีโพรงอากาศอยูภายใน ทําใหพลังงานของรังสีผานชิ้นงาน ตรงบริ เ วณที่ เ ป น โพรงได ม ากกว า และทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั บ สารไวแสงที่ เ คลื อ บอยูบ นผิ ว ฟ ล ม ได มากกว าสว นอื่ น เมื่อลางฟลมออกมาแลวก็มีสีคล้ํากวาบริเวณอื่น ดังนั้นการถายภาพดวยรังสีจึงเปนการแปรผลจากเงาของภาพชิ้นงาน ที่ ป รากฏอยู บ นฟ ล ม นั่ น เอง โดยหลั ก การที่ ใ ช ท ดสอบรอยเชื่ อ มวั ส ดุ ที่ เ ชื่ อ มแล ว หรื อ ยั ง ไม ไ ด ผ า นการเชื่ อ ม จะใชหลักการเดียวกัน
ภาพที่ 2.9 การตรวจสอบดวยการถายรังสี สวนประกอบหลักของการทดสอบดวยวิธีถายภาพรังสีมีอยู 3 สวน คือ 1) ตนกําเนิดรังสี (Source of Radiation) ไดแก รังสีแกมมา และรังสีเอ็กซ 2) ชิ้นงานทดสอบ 3) ฟลม จุดเดนของการทดสอบโดยวิธีภาพถายรังสี - สามารถแปรผลจากฟลม ทําใหงายกวาการแปรผลจากสัญญาณการทดสอบบางวิธี - มีภาพจากฟลมเก็บไวเปนหลักฐาน สามารถตรวจสอบผลยอนหลังได - สามารถทดสอบไดกับวัตถุที่เปนโลหะและอโลหะ 69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
- การสอบเทียบเครื่องมืออยูที่ 1-2 ครั้งตอป และไมตองปรับเทียบทุกครั้งกอนทดสอบ จุดดอยของการทดสอบโดยวิธีภาพถายรังสี - ตองมีวิธีการปองกันอันตรายจากรังสีที่ใชทดสอบ - ตองเขาถึงชิ้นงานทั้งสองดาน (ดานหนึ่งเปนแหลงกําเนิดรังสีสวนอีกดานหนึ่งติดฟลม) อาจไมสะดวก ตอการทํางานในบางสภาวะ - ในกรณีที่ชิ้นงานมีความหนามาก รังสีไมสามารถสงผานทะลุถึงฟลมได - คาใชจายตั้งตนของเครื่องมือมีราคาสูง และมีคาใชจายในการใชฟลมทุกครั้งที่มีการทดสอบ - ไมเหมาะสมกับชิ้นงานที่มีรูปรางซับซอน 5.2 การทดสอบโดยวิธีการตรวจพินิจ (Visual Testing) คือ การตรวจพินิจหรืออาจเรียกไดวาการทดสอบดวยสายตา อาจใชอุปกรณอื่นชวยตรวจสอบได เชน แวนขยาย ใชทดสอบผิวชิ้นงานและมักทํากอนการทดสอแบบไมทําลายวิธีอื่น และบอยครั้งที่ชิ้นงานจะถูกตัดสินเปนของเสียดวยการทดสอบโดยวิธีการตรวจพินิจ และไมตองทดสอบดวยวิธีอื่น อีกตอไป
ภาพที่ 2.10 การตรวจสอบดวยวิธีการตรวจพินิจ การทดสอบโดยวิธีก ารตรวจสอบแบบพินิจ นี้ ผูป ฏิบัติง านตอ งมีค วามรูเ กี่ย วกับ ชิ้น งานและรูจัก รอย ความไมตอเนื่องที่จ ะเกิดกับ ชิ้นงานนั้น อีกทั้งยังสามารถวิเคราะหและประเมินชิ้น งานวาเปน ของเสีย หรือไม จากความผิดปกติบนรอยเชื่อมหรือวัสดุที่ไมไดผานการเชื่อม จะเห็นวาการทดสอบวิธีนี้ตองใชความรู ความชํานาญ ลักษณะการใชงานของชิ้นงาน กระบวนการผลิต และรอยความไมตอเนื่องที่มีโอกาสเกิดขึ้น รวมไปถึงประวัติการใชงาน ในกรณีชิ้นงานผานการใชงานมาแลว
70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ลักษณะการทดสอบวิธีนี้สามารถแบงเปน 3 ประเภท โดยอางอิงตาม มาตรฐาน ASME ดังตอไปนี้ 1) การทดสอบโดยวิธีการตรวจพินิจโดยตรง ผูทดสอบตองผานการตรวจสอบสายตาและผานขอกําหนดตามมาตรฐานที่อางอิงวิธีการทดสอบโดยการ ตรวจพินิจโดยตรง คือสายตาตองอยูหางจากชิ้นงานไมเกิน 24 นิ้ว และทํามุมไมต่ํากวา 30 ํ กับผิวชิ้นงาน ในพื้นพี่ทดสอบตองมีความเขมตามมาตรฐานที่อางอิง (แตละมาตรฐานมีขอกําหนดตางกัน) 2) การทดสอบโดยวิธีการตรวจพินิจโดยออม ในบางกรณีที่ทดสอบในบริเวณที่ไมสามารถมองดวยสายตาโดยตรงได จําเปนตองใชอุปกรณชวยทดสอบ ระยะไกล เชน กระจกเงา กลอ ง Telescope, Borescope หรือ เครื่อ งมื อ อื่น ๆ ที่มีค วามเหมาะสม และมีความสามารถในการแยกแยะไมนอยกวากวาการทดสอบโดยวิธีตรวจพินิจโดยตรง 3) การทดสอบโดยวิธีการตรวจพินิจโดยใชแสงสวางชวย เปนการชวยเสริมการทดสอบโดยวิธีการตรวจพินิจโดยตรง โดยใชแสงสวางที่สรางขึ้นมาใชเฉพาะงาน เชน การใชแสงสวางจากหลอดไฟจํากัดการสองสวางเฉพาะที่ เพื่อใหพื้นที่ทดสอบมีความเขมแสงอยางสม่ําเสมอ ไดตามมาตรฐาน และตองควบคุมไมใหแสงสะทอนผิวงานเขาตา จุดเดนของการทดสอบแบบ Visual Testing - เปนวิธีการทดสอบที่งาย - ใชเวลาในการทดสอบนอยกวาวิธีอื่น - ตนทุนในการทดสอบต่ํา - การอบรมบุคลากรใชเวลานอย - สามารถทําการทดสอบไดทุกขั้นตอนการผลิต - เปนวิธีที่ใชเครื่องมือที่ไมซับซอนหรือไมใชเลย - สถานที่และรูปรางของวัสดุไมเปนขอจํากัด จุดดอยของการทดสอบแบบ Visual Testing - ตองใชผูมีความรูและความชํานาญสูง - บางครั้งไมมีมาตรฐานในการกําหนดการตัดสินใจวาเปนของเสียหรือไม - สามารถทดสอบบริเวณผิวหนาของชิ้นงานเทานั้น - การทดสอบตองใชสายตาเปนหลัก สายตาที่ออนลา อาจทําใหตัดสินใจผิดพลาด
71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
5.3 การทดสอบโดยคลื่นความถี่เหนือเสียง (Ultrasonic Testing) คือ วิธีการทดสอบโดยอาศัยคลื่นเสียงความถี่สูง ที่หูม นุษ ยไ มส ามารถไดยิน ได (คลื่น เสีย งอัล ตราโซนิก จะเปน คลื่น เสีย งที่ มีค วามถี่สูง กวา 20,000 เฮิร ตซ) เสียงเดินทางในของแข็งเร็วกวาในอากาศหรือแกส เนื่องจากโมเลกุลอยูชิดกันมากกวา เชน ความเร็วของเสียง ในอากาศและอะลูมิเนียม เทากับ 333 เมตร/วินาที และ 6,320 เมตร/วินาที ตามลําดับ เมื่อเสียงเคลื่อนที่ ผานตัวกลางที่เปนของแข็งที่เปนเนื้อเดียวกัน (Homogeneous Solids) ความเขมของเสียงจะลดลงไมมากนัก แตถาเสียงผานรอยความไมตอเนื่อง (Discontinuities) ที่มีขนาดประมาณเทากับความยาวคลื่นหรือใหญกวา เสียงจะเกิดการสะทอน (Reflect) หรือถูกดูดกลืนโดยรอยความไมตอเนื่องนั้น คลื่นเสียงความถี่สูงจะถูกสรางขึ้น จากผลึกซึ่งอยูภายในหัวทดสอบ (Probe) คลื่นเสียงจะเคลื่อนที่สูชิ้นงานโดยผานสารชวยสัมผัส (Couplant) ถา ชิ้นงานไมมีรอยความไมตอเนื่องจากหนาจอของเครื่องมือก็จะมีสัญญาณสะทอนจากผิวดานลางของชิ้ นงาน (Back Wall Echo) ใชในการทดสอบรอบเชื่อม หรือตัววัสดุโดยตรงไดเปนอยางดี และการตรวจสอบจะแสดง ผลการตรวจสอบในลักษณะเดียวกัน
ภาพที่ 2.11 การทดสอบโดยคลื่นความถี่เหนือเสียง 5.4 การทดสอบโดยวิธีกระแสไหลวน (Eddy Current Testing) คือ วิธีการทดสอบโดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนํา แมเหล็กไฟฟา (Electromagnetism) ทําใหเกิดกระแสไหลวนบนชิ้นงานทดสอบ และสังเกตคา Impedance ของหัวทดสอบที่เปลี่ยนแปลง ซึ่งเปนผลมาจากกระแสไหลวนบนชิ้นงานที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากความแตกตางกัน ของสมบัติ รูปราง หรือรอยความไมตอเนื่องที่อยูในวัสดุหรือรอยเชื่อมของวัสดุ โดยสามารถทดสอบวัสดุ ที่เ ปน ตัวนําไฟฟาไดเทานั้น
ภาพที่ 2.12 การทดสอบโดยวิธีกระแสไหลวน 72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
จุดเดนของการทดสอบโดยวิธีกระแสไหลวน - มีความไวในการทดสอบสูง เหมาะสําหรับชิ้นงานที่บาง - หัวทดสอบมีใหเลือกหลายชนิด เหมาะสําหรับงานที่มีรูปรางซับซอน - หัวทดสอบสามารถทนอุณหภูมิไดสูง - การทดสอบเปนแบบไมสัมผัสกับชิ้นงาน จึงทําใหสามารถทดสอบไดอยางรวดเร็ว - อุปกรณเปนแบบพกพาใชงานไดสะดวก และสามารถใชงานรวมกับคอมพิวเตอรได จุดดอยของการทดสอบโดยวิธีกระแสไหลวน - สามารถทดสอบไดเฉพาะวัสดุที่เปนตัวนําไฟฟาเทานั้น - ทดสอบไดเฉพาะรอยความไมตอเนื่องที่อยูบนผิวหรือใตผิวลงไปเล็กนอย - ลักษณะพื้นผิวและการสั่นของหัวทดสอบมีผลตอผลการทดสอบ - ตองใชชิ้นงานมาตรฐานสําหรับปรับเทียบ (Calibration) สัญญาณจํานวนมาก - การแปรผลสัญญาณการทดสอบคอนขางซับซอนและตองใชทักษะสูง 5.5 การทดสอบด วยอนุ ภาคแม เ หล็ ก (Magnetic Particle Testing) คื อ การทดสอบหารอยร าวบนผิ วของวั ต ถุ หรือรอยความไมตอเนื่องของรอยเชื่อมวัสดุ โดยใชหลักการเหนี่ยวนําของสนามแมเหล็ก
ภาพที่ 2.13 การทดสอบดวยอนุภาคแมเหล็ก 73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ขั้นตอนการทดสอบ - ทําความสะอาดผิวชิ้นงาน - โรยผงเหล็กยอมสีขนาดเล็ก หรือพน สเปรยผงเหล็กลงบนบริเวณที่ทดสอบใหทั่วผิวหนาจนซึมลงไป ในรอยแยก ทิ้งไวสัก 3 - 20 นาที - ขจัดผงเหล็กสวนที่อยูเฉพาะผิวหนาออกไป - หากพบรอยแตกราวขนาดเล็กบนผิวชิ้นงาน บริเวณดังกลาวจะปรากฏเปนผงเหล็กใหเกาะกันเปนแนวเสน ตามรอยราว เนื่องจากผงเหล็กไมสามารถกระโดดขามผานรอยแตกราวไปตามเสนแรงแมเหล็กได 5.6 การตรวจสอบโดยใชสารแทรกซึม (Liquid Penetrant Testing) เปนวิธีการหารอยบกพรอง หรือความไมตอเนื่อง ที่เปดสูผิว สามารถทดสอบกับวัสดุงานเชื่อมหรือวัสดุทุกชนิดที่ไมเปนรูพรุน เชน แกว พลาสติก เซรามิค โลหะ อโลหะ เปนตน การทดสอบโดยวิธีการนี้อาศัยหลักของปฏิกิริยาแทรกซึม (Capillary Action) ซึ่งเปนปรากฏการณ ตามธรรมชาติ โดยการทาหรือพนของเหลวยอมสีที่มีสมบัติแทรกซึมเขาไปในรอยราวหรือรูเล็ก ๆ ไดดี จากนั้น จะใชสารเคมีหรือน้ํายาที่มีคุณลักษณะคลายกระดาษซับ พนหรือโรยตรงบริเวณที่ตองการทดสอบ หากมีรอยแตกราว หรือรอยบกพรองใด ๆ บนผิวงาน จะเกิดเปนเสนหรือแนวของสารยอมสีใหเห็นอยางเดนชัด การทดสอบโดยวิธี สารแทรกซึมมีทั้งแบบที่เห็นดวยตาเปลา (Color Contrast) และแบบที่ตองทําในหองมืดโดยใชแสง Black Light (Fluorescent)
ภาพที่ 2.14 การตรวจสอบโดยใชสารแทรกซึม ขั้นตอนการทดสอบ - ทําความสะอาดผิวชิ้นงาน - ใชของเหลวทาใหทั่วผิวหนาใหซึมลงใปในรอยแยก ทิ้งไวสักระยะ 3 - 20 นาที - ขจัดสวนที่อยูเฉพาะผิวหนาออกไป - ใชสารละลายอีกชนิดหนึ่งดูดของเหลวที่ซึมลงใปในรอยแยกออกมา ทําใหมองเห็นไดดวยตาเปลา จุดเดนของวิธีการทดสอบแบบใชสารแทรกซึม - ชิ้นงานไมถูกทําลาย 74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
- ทําไดงาย สะดวก รวดเร็ว - สามารถทําใหมองเห็นไดดวยตาเปลา - เทคนิคไมซับซอน - ประหยัด จุดดอยของวิธีการทดสอบแบบใชสารแทรกซึม - ไมสามารถทราบความลึกของรอยราวได - ไมสามารถตรวจสอบบริเวณที่เขาไมถึงได - สารเคมีอาจเสื่อมประสิทธิภาพได 6. จุดบกพรองตามมาตรฐาน ASNT/AWS B1.10-86R จุดบกพรองตามมาตรฐาน ASNT/AWS B1.10-86R แบงออกเปนหลายชนิด ดังตารางที่ 2.1 ตารางที่ 2.1 แสดงชนิดของจุดบกพรองตามมาตรฐาน ASNT/AWS B1.10-86R ชนิดของจุดบกพรอง 1. โพรงอากาศ (Porosity)
หมายเลข ตําแหนง แสดง
ที่เกิด
1
WM
หมายเหตุ - ชิ้นงานเหล็กหลอจะพบที่ HAZ ดวย
- Uniformly Scattered
1 (a)
- รูปรางเหมือนกัน เกิดการกระจัดกระจายทั่วไป
- Cluster
1 (b)
- เกิดอยูรวมกันเปนกลุม
- Linea
1 (c)
- เกิดเรียงเปนเสนแนวยาว
- Piping (Wormhole)
1 (d)
- เกิดเปนโพรงยาว
2. สารฝงใน (Inclusion)
WM
- Slag
2 (a)
- Tungsten
2 (b)
3. การหลอมละลายไมสมบูรณ
3
(Incomplete Fusion) 4. การหลอมลึกไมสมบูรณ
สารฝงใน อาจเกิดจากสแลก ทังสเตน หรือเศษโลหะ/วัสดุ อื่นที่ไมตองการ
WM,
การหลอมละลายดานขางของรองบาก รวมถึงการหลอมละลาย
BM/WM ระหวางชั้นเชื่อมเกิดขึ้นที่ดานลางขอบแนวเชื่อม 4
BW
(Incomplete Penetration)
75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ชนิดของจุดบกพรอง 5. การกัดขอบ (Undercut)
หมายเลข ตําแหนง แสดง 5
หมายเหตุ
ที่เกิด
BW/WM เกิดที่ใกลขอบดานหน าแนวเชื่ อม (Weld Toe) หรือใกล ขอบดานลางแนวเชื่อม (Weld Root)
6. เชื่อมไมเต็ม (Underfill)
6
WM
เกิ ด ที่ ผิ ว หน า แนวเชื่ อ ม (Weld Face) หรื อ หลอมลึ ก ดานลางแนวเชื่อม (Weld Root)
7. พอกเกย (Overlap)
7
BW/WM เกิดที่ขอบผิวหนาแนวเชื่อม (Weld Toe) หรือขอบผิวหลอม ลึกดานลางแนวเชื่อม (Root Surface)
8. แยกชั้น (Lamination)
8
BW
เกิด ที่แกนกลางความหนาของแผน โลหะงาน เนื่องจาก การผลิตเหล็ก
9. แตกแยกชั้น (Delamination)
9
BW
เกิดจากโลหะที่แยกชั้นเนื่องจากไดรับความเคนจากการเชื่อม หรือแรงกระทําจากภายนอก
10. รอยตะเข็บงานหรือแนวตอเกย
10
BM
เปนรอยบกพรองเกิดตามแนวยาวของตะเข็บพบไดจากการ
ตะเข็บงานแตกตามยาว (Seam
ผลิตเหล็กดวยกรรมวิธีรีดเหล็ก (Rolling) ขนานไปกั บแนว
and Laps)
ความเคนที่เกิดจากการผลิต เมื่องานไดรับแรงกระทําหรือมี ความเคนตกคางตั้งฉากกับแนวตะเข็บ ตะเข็บจะเกิดแตก เปนแนวยาว
11. การฉีกขาด (Lamellar
11
BW
การฉีกขาดที่เกิดจากการเชื่อมงานหนา โดยเฉพาะแนวเชื่อม
Tears)
แบบฟลเลท เนื่องจากความเคนตกคางสูง เกิดที่โลหะงาน ใกลกับบริเวณ HAZ
12. รอยแตกราว (Cracks)
12
BM/WM การแตกราวขณะรอน (Hot Cracks) แตกระหวางการแข็งตัว ของแนวเชื่ อ ม เป น การแตกตามขอบเกรน (Grain Boundary) มีส าเหตุห ลักมาจากธาตุผ สมบางตัว แข็ ง ตั ว แลว แตธ าตุบ างชนิด เชน ฟอสฟอรัส (P), กํามะถัน (S) ยัง ไมแ ข็ง ตัว และไดรับ ความเคน ที ่เ กิด ขึ ้น ในขณะเชื่อ ม สวนการแตกเย็น (Cold Crack) จะแตกหลังจากที่แนวเชื่อม แข็งตัวแลว มีสาเหตุหลักมาจากแรงดันของแกสไฮโดรเจน 76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ชนิดของจุดบกพรอง
หมายเลข ตําแหนง แสดง
หมายเหตุ
ที่เกิด
ตกคางและแพรซึมในเนื้อเชื่อมและบริเวณผลกระทบรอน (Hydrogen Diffusion) และการออกแบบงานเชื่อมที่เกิด ความเคนตกคางสูง (High Residual Stress) เปนตน 12.1 รอยแตกตามยาว
12 (a)
(Longitudinal Cracks) 12.2 รอยแตกตามขวาง
12 (b)
(Transverse Cracks) 12.3 รอยแตกแองปลายสุดของ
WM,
เกิดที่เนื้อเชื่อม (Weld Metal) หรือที่เนื้อโลหะงาน (Base
HAZ
Metal) ใกลผิวหนารวม (Weld Interface)
WM,
เกิดที่เนื้อเชื่อมอาจเกิดขึ้นไดที่บริเวณ HAZ และเนื้อโลหะงาน
HAZ 12 (c)
WM
รอยแตกเกิดขึ้นที่แองปลายสุดของแนวเชื่อม
12 (d)
WM
เกิดที่เนื้อเชื่อมแตกขนานไปกับแนวแกนของแนวเชื่อม
แนวเชื่อม (Crater Cracks) 12.4 รอยแตกผากลางแกนแนวเชื่อม (Throat Cracks) 12.5 รอยแตกตีนขอบแนวเชื่อม
12 (e)
BW/WM แตกที่ขอบหรือใกลขอบแนวเชื่อมดานบนผิวหนาแนวเชื่อม
(Toe Cracks) 12.6 รอยแตกที่รากแนวเชื่อม
12 (f)
WM
เกิดที่ขอบแนวเชื่อมดานลางของเนื้อเชื่อม
ดานหลอมลึก (Root Cracks) 12.7 รอยแตกใตแนวเชื่อมและ
12 (g)
BW/WM เกิดที่ใตแนวเชื่อมบริเวณเนื้อเชื่อมหรือที่ HAZ ของโลหะงาน
รอยแตกที่บริเวณผลกระทบรอน (Under Bead and Heat Affected Zone Cracks) 13. ขนาดคอของแนวเชื่อมตาม
13
WM
ขนาดที่ผิวหนาของแนวเชื่อม (Weld Face)
14
WM
ขนาดที่ผิวหนาของแนวเชื่อม (Weld Face)
ทฤษฎีและความเปนจริงไม พอเพียง (Insufcient Throat) 14. ความนูนหรือสวนเสริมความ แข็งแรงแนวเชื่อม
77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ชนิดของจุดบกพรอง 15. ขนาดขาของแนวเชื่อมฟลเลท
หมายเลข ตําแหนง แสดง
ที่เกิด
15
WM
หมายเหตุ ขนาดของแนวเชื่อมฟลเลท
ไมพอเพียง (Insufcient Leg) หมายเหตุ ใหพิจารณาลักษณะจุดบกพรองตามหมายเลขอางอิงจากรูปภาพขอ 1) - 6) 1) ตําแหนงจุดบกพรองแนวเชื่อมตอชนบากรองวีคู (Double V – Groove Weld in Butt Joint)
ภาพที่ 2.15 ตําแหนงและลักษณะจุดบกพรองแนวเชื่อมตอชนบากรองวีคู 2) ตําแหนงจุดบกพรองแนวเชื่อมฟลเลท รอยตอมุมบากรองมุมบากหนางานดานเดียว (Single Bevel Groove Fillet Welds in Corner Joint)
ภาพที่ 2.16 ตําแหนงและลักษณะจุดบกพรองแนวเชื่อมฟลเลทรอยตอมุมบากหนางานดานเดียว
78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
3) ตําแหนงจุดบกพรองแนวเชื่อมรอยตอตัวทีบากหนางานสองดาน (Double Bevel Groove Weld in T - Joint)
ภาพที่ 2.17 ตําแหนงและลักษณะจุดบกพรองแนวเชื่อมรอยตอตัวทีบากหนางานสองดาน 4) ตําแหนงจุดบกพรองแนวเชื่อมฟลเลท รอยตอเกยเชื่อมสองดาน (Double Fillet Weld in Lap Joint)
ภาพที่ 2.18 ตําแหนงและลักษณะจุดบกพรองแนวเชื่อมรอยตอเกยเชื่อมสองดาน 5) ตําแหนงจุดบกพรองแนวเชื่อมฟลเลท รอยตอตัวทีเชื่อมแนวเดียวสองดาน (Single Pass Double Fillet Weld in a T - Joint)
ภาพที่ 2.19 ตําแหนงและลักษณะจุดบกพรองแนวเชื่อมฟลเลทรอยตอตัวทีเชื่อมแนวเดี่ยวสองดาน 79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
6) ตําแหนงจุดบกพรองแนวเชื่อมรอยตอชนบากรองบีเวลดานเดียวทาขนานนอน (Single Bevel Groove Weld in Butt Joint)
ภาพที่ 2.20 ตําแหนงและลักษณะจุดบกพรองแนวเชื่อมรอยตอชนบากรองบีเวลดานเดียวทาขนานนอน 7. สาเหตุของจุดบกพรองในงานเชื่อม การเชื่อมอารกโลหะแกสปกปองมีปญหาการเกิดจุดบกพรอง ไดแก ความพรุน การหลอมไมสมบูรณ การหลอมมากเกินไป รอยกินลึกขางขอบรอยเชื่อม ซึ่งอาจเกิดจากการใชเทคนิคไมถูกตองหรือเลือกตัวแปรในการเชื่อมไมสมดุลกัน และนําไปสู การเกิดรอยราวของรอยเชื่อมได ในบางครั้งจุดบกพรองอาจเกิดจากการเลือกใชโลหะชิ้นงานไมเหมาะสม ลวดเชื่อมไมสะอาด เปนตน ปญหาของจุดบกพรองนี้จะทําใหคุณภาพงานเชื่อมลดลง โดยสาเหตุของจุดบกพรองตาง ๆ ในงานเชื่อมมีดังตอไปนี้ 7.1 รอยพอกเกย (Overlap) เปนเนื้อโลหะที่เกยอยูบนขอบรอยตอหรือยอยตรงดานลางของรอยเชื่อมฉาก สาเหตุเพราะการหลอมของเนื้อโลหะเชื่อม กับขอบบากชิ้นงานเชื่อมไมสมบูรณซึ่งการเกยจะเกิดทั้งสองดานของขอบบาก กรณีการเชื่อมรองรอยเกยจะนําไปสู จุดเริ่มตนของการเกิดรอยราว
ภาพที่ 2.21 รอยพอกเกย สาเหตุ - อัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อมชาเกินไป - มุมหัวเชื่อมไมถูกตอง - กระแสเชื่อมต่ําเกินไป 80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
7.2 การหลอมเหลวลึกมากเกินไป (Excessive Root Penetration) การหลอมทะลุเกิดขึ้นเมื่อการอารกหลอมงานเชื่อมทะลุถึงดานลางเปนรูที่รอยตอ
ภาพที่ 2.22 การหลอมเหลวลึกมากเกินไป สาเหตุ - กระแสเชื่อมสูงเกินไป - อัตราเร็วหัวเชื่อมต่ํา - ระยะเวนที่รอยฐานกวางเกินไป 7.3 การหลอมละลายไมสมบูรณ (Incomplete Fusion) เกิดขึ้นเมื่อเนื้อโลหะเชื่อมหลอมรวมกับเนื้อโลหะชิ้นงานไดไมสมบูรณ หรือไมเปนเนื้อเดียวกัน และอาจจะเกิด กับรอยเชื่อมดวยกันเมื่อใชการเชื่อมเติมหลายเที่ยวเพื่อเติมรอยตอใหเต็ม นอกจากนี้อาจเนื่องมาจากการซึมลึกไมพอ ซึ่งเปนปญหามากเมื่อใชการถายโอนแบบลัดวงจร ถาเวนฐานรอยตอกวาง ควรใชการถายโอนแบบลัดวงจรเมื่อตองการ ใหไดการซึมลึกดี และใชเทคนิคการสายลวดเพื่อปองกันการเกิดสวนที่ซึมลึกไมสมบูรณ
ภาพที่ 2.23 การหลอมละลายไมสมบูรณ สาเหตุ - อัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อมชาเกินไป - มุมหัวเชื่อมไมถูกตอง - กระแสเชื่อมต่ําเกินไป
81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
7.4 การหลอมลึกไมสมบูรณ (Incomplete Penetration) เปนลักษณะของการซึมลึกตรงรอยตอไมเพียงพอ เกิดจากความรอนไมเพียงพอหรื อการออกแบบไมถูกตอง เชน บริ เวณรอยต อหนาเกิ น ไป สํ าหรั บรอยต อที่ ต องการเชื่ อมให ซึ มลึ กตลอดความหนา อาจออกแบบให เชื่ อมข างหลั ง โดยก อนที่ จะเชื่ อมข างหลั งต องมี การเซาะร อง (Gouging) หรื อเจี ยระไนก อน หรื อออกแบบโดยใช แผ นประกอบหลั ง (Backing Bar)
ภาพที่ 2.24 การหลอมลึกไมสมบูรณ สาเหตุ - การปรับตั้งคากระแสไมเหมาะสม - ระยะอารก มุมการเชื่อม และลักษณะการเดินแนวเชื่อมไมเหมาะสม 7.5 ความพรุนหรือโพรงอากาศ (Porosity) ความพรุนหรือโพรงอากาศเกิดจากฟองอากาศในเนื้อเชื่อมโลหะ อาจอยูแบบรวมกลุมกัน (Cluster Porosity) หรือแบบกระจายกัน (Uniformly Scattered Porosity) ตลอดความยาวรอยเชื่อม ความพรุนจะทําใหงานไมแข็งแรง และความพรุนนี้อาจอยูภายในหรือบนผิวรอยเชื่อมหรือทั้งสองกรณี
ภาพที่ 2.25 ความพรุน
ภาพที่ 2.26 ความพรุนแบบกระจายและแบบรวมกลุม 82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
สาเหตุ - อัตราของไหลของแกสปกปองไมพอ - แกสปกปองปองกันบอหลอมไมได - แกสมีความชื้นหรือสกปรก - กระแสและแรงดันเชื่อมสูงเกินไป - มีระยะโผลลวดมากเกินไป - อัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อมเร็วเกินไป - ผิวโลหะชิ้นงานสกปรก - มีสารมลทินเจือในโลหะชิ้นงาน 7.6 สารมลทินฝงใน (Slag Inclusion) สารมลทินฝงใน เกิดจากการรวมตัวของสารที่ไมใชโลหะฝงอยูในแนวเชื่อมหรือระหวางแนวเชื่อมกับโลหะชิ้นงาน มักพบไดในงานเชื่ อมไฟฟาเปนผลมาจากความผิ ดพลาดทางด านเทคนิคการเชื่อม การออกแบบที่ ไม ถูกต องและชิ้ น งาน สกปรก เพราะปกติสารมลทินจะลอยขึ้นสูผิวหนาแตบางครั้งอาจจะถูกปดกั้นโดยน้ําโลหะทําใหฝงตัวอยูในแนวเชื่อม สาเหตุ - ใชกระแสต่ํา - ความเร็วในการเชื่อมสูง - สแลกตกคางจากการเชื่อมซอนแนว
ภาพที่ 2.27 สารมลทินฝงใน 7.7 การราว (Cracks) สาเหตุการราวโดยทั่วไปมาจากการแทรกตัวของไฮโดรเจน การรั้งตัวของรอยตอและการเย็นตัวเร็วเกินไป ซึ่งการราว แบงออกเปน 2 ประเภทคือ การราวขณะรอน (Hot Cracks) จะเกิดเมื่ออุณหภูมิงานเชื่อมยังสูงอยู โดยเกิดขึ้นหลังจาก เนื้อโลหะเชื่อมแข็งตัว เกิดไดในงานเชื่อมที่มีระยะซึมลึกมาก ๆ และอาจราวไดตลอดรอยเชื่อมถาไมแกไขซึ่งเปนผลทําให เกิดรอยบุมราว และการราวขณะเย็น (Cold Cracks) จะเกิดขึ้นหลังจากเนื้อโลหะเชื่อมแข็งตัว แลวอาจเกิดขึ้นหลังจาก การเชื่อมผานไปหลายวันแลว ซึ่งทําใหเกิดรอยราวที่ศูนยกลางรอยเชื่อมจะเกิดขึ้นไดงายในรอยเชื่อมฉากเที่ยวเดียวที่มี ลักษณะเปนรอยเชื่อมเวา และเกิดรอยราวใตรอยเชื่อมในบริเวณกระทบรอนของโลหะงานเชื่อม โดยจะมีการเกิดรอยราว 83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ทั้งตามขวาง (Transverse Cracks) และตามยาว (Longitudinal Cracks) ของรอยเชื่อม รอยราวตามขวางจะเกิดตั้งฉาก กับแกนงานเชื่อม เมื่องานหดตัวตามยาวจะมีความเครียดเกิดขึ้นเกินความแข็งและความเปราะของงานเชื่อม สวนใน รอยราวตามยาวเกิดจากรอยตอมีแรงรั้งสูง และมีอัตราการเย็นตัวสูง
ภาพที่ 2.28 การราว การราวขณะรอน (Hot Cracks) สาเหตุ - มีธาตุเจือปนในเนื้อเหล็กกลา เชน ซัลเฟอร ฟอสฟอรัส ตะกั่ว และสังกะสี เปนตน - การหยุดการอารกไมเหมาะสม - การเชื่อมที่มีระยะซึมมาก ๆ การราวขณะเย็น (Cold Cracks) สาเหตุ - รอยเชื่อมบนโลหะชิ้นงานหนามีขนาดเล็กมาก - การประกอบงานไมดี - แรงรั้งในรอยตอสูง - รอยราวตรงรอยบุมปลายรอยเชื่อมขยายตัวออก - การแทรกตัวไฮโดรเจน - การเย็นตัวเร็วเกินไป รอยราวตามยาว (Longitudinal Cracks) สาเหตุ - เกิดจากความเคนที่เกิดจากการหดตัวของเนื้อวัสดุ - การแตกตามกลไกของการแตกราวรอน รอยราวตามขวาง (Transverse Cracks) สาเหตุ - ความเคนจากการหดตัวในแนวยาวของชิ้นงานที่กระทําตอแนวเชื่อมที่มีความเหนียวต่ํา (มีความเปราะสูง) 84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ภาพที่ 2.29 รอยราวตามขวางและรอยราวตามยาว รอยแตกที่บอหลอมละลาย (Crater Cracks) สาเหตุ - จุดกึ่งกลางของบอหลอมของเนื้อเชื่อมเกิดรูและไมถูกเติมเนื้อเชื่อมลงไปใหเต็ม กอนที่จะหยุดใหความรอน หรือดับเปลวอารค - บริเวณรอบ ๆ ของจุดศูนยกลางบอหลอม เย็นตัวลงอยางรวดเร็วเมื่อเทียบกับจุดศูนยกลางบอหลอม ทําใหเกิดความเคนและการแตกราวในรูปแบบตามยาว ตามขวาง และตามแนวรัศมี แบบใดแบบหนึ่ง หรือเกิดรวมกันรอบ ๆ จุดศูนยกลางบอหลอม - กระแสไฟเชื่อมสูงมากโอกาสเกิดมาก
ภาพที่ 2.30 รอยแตกที่บอหลอมละลาย รอยแตกที่โทรดหรือรอยแตกผากลางแกนแนวเชื่อม (Throat Cracks) สาเหตุ - ความเครียดที่เกิดจากการหดตัวในแนวขวางของชิ้นงาน - กระแสไฟที่ใชในการเชื่อมต่ําเกินไป - เลือกโลหะชิ้นงานไมเหมาะสม รอยแตกที่โทหรือรอยแตกตีนขอบแนวเชื่อม (Toe Cracks) สาเหตุ - ความชื้นในบริเวณที่เชื่อม 85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
- เกิดจากความเครียดในการหดตัว - โลหะชิ้นงานไมมีคุณสมบัติทนแรงดึงตามขวาง - เปนผลมาจากการหดตัวบริเวณที่มีผลกระทบเนื่องจากความรอน รอยแตกที่ราก (Root Cracks) สาเหตุ - กระแสไฟตอนเริ่มตนการเชื่อมต่ําเกินไป - การเลือกใชขนาดและชนิดของลวดเติมอยางไมเหมาะสม ทําใหเกิดการเปราะเนื่องจากไฮโดรเจน รอยแตกใตแนวเชื่อม และเขตที่มีผลกระทบเนื่องจากความรอน (Under bead And Heat Affected Zone Cracks) สาเหตุ - เปนรอยแตกแบบเย็นบริเวณเขตที่มีผลกระทบเนื่องจากความรอนของเนื้อโลหะงาน - เกิดขึ้นเนื่องจากไฮโดรเจน ทําใหโครงสรางมีความเปราะสูง - ความเคนตกคางปกติจะแตกใตแนวเชื่อมในบริเวณเขตที่มีผลกระทบจากความรอนเนื่องจากมีความเคนสูง
ภาพที่ 2.31 รอยแตกที่โท รอยแตกที่ราก และรอยแตกใตแนวเชื่อม รอยกัดแหวง (Undercut) สาเหตุ - เกิดจากเทคนิคการเชื่อมหรือใชกระแสไฟเชื่อมสูงเกินไป - เอียงมุมลวดเชื่อมมาก - ระยะอารกหางมากเกินไป
86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ภาพที่ 2.32 รอยกัดแหวง รอยเชื่อมไมเต็ม (Underfill) สาเหตุ - เติมเนื้อเชื่อมลงไปไมเต็มรู - เชื่อมไมถูกตองตามแผนการเชื่อม
ภาพที่ 2.33 รอยเชื่อมไมเต็ม รอยแยกชั้น (Lamination) สาเหตุ - ไดรับความเคนจากการเชื่อม - แรงกระทําจากภายนอก รอยแยกชั้นแบบเปนโพรง (Delamination) สาเหตุ - ความเคนจากการเชื่อม - การแตกตามกลไกของการแตกราวรอน - การแยกออกจากกันของรอยแยกชั้น (Lamination)
ภาพที่ 2.34 รอยแยกชั้นและรอยแยกชั้นแบบเปนโพรง
87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
รอยตะเข็บและรอยเกย (Seam and Laps) สาเหตุ - ความไมตอเนื่องของการเชื่อม - อาจพบไดจากการผลิตเหล็กดวยกรรมวิธีรีดเหล็ก (Rolling) ขนานไปกับแนวความเคนที่เกิดจากการผลิต - งานไดรับแรงกระทําหรือมีความเคนตกคางตั้งฉากกับแนวตะเข็บ ตะเข็บจะแตกเปนแนวยาว รอยฉีกขาดของเนื้อโลหะ (Lamellar Tears) สาเหตุ - มีสารฝงในเปนแนวยาวในเนื้อโลหะงาน - งานหนาเกิดการหดตัวในแนวขวางกับพื้นที่ (Short Transverse Reduction in Area : STRA) - การแตกราวเนื่องจากไฮโดรเจน
ภาพที่ 2.35 รอยฉีกขาดของเนื้อโลหะ 7.8 รอยบุม (End Crater Pipe) เปนงานเชื่อมมีลักษณะเปนรอยลึกลงจากระดับผิวปกติของงานเชื่อมที่ปลายรอยเชื่อมสิ้นสุดที่การเชื่อมรอยตอ สาเหตุมาจากการแข็งตัวของโลหะหรือจากการหยุดอารก รอยบุมของการเกิดรอยราวโดยจะเริ่มการราวเปนเสนตรง กลับเขาสูเนื้อโลหะเชื่อมหรือโลหะชิ้นงาน สาเหตุ - การแข็งตัวของโลหะหรือจากการหยุดอารก - เกิดจากการราวเปนเสนตรงกลับเขาสูเนื้อโลหะเชื่อมหรือโลหะชิ้นงาน 7.9 สะเก็ดเชื่อม (Spatter) การเกิดสะเก็ดเชื่อมกระเด็น มากมีผลใหงานเชื่อมไม ดี เสียลวดเปลา มีปญหากําจัดสแลกและเปนสาเหตุ ของ การหลอมเหลวระหวางรอยเชื่อมเติมรอยตอไมสมบูรณถาสะเก็ดเชื่อมติดหัวฉีดแกสมาก จะทําใหเกิดความพรุนในเนื้อโลหะ ปริมาณสะเก็ดเชื่อมจะเปลี่ยนแปลงตามชนิดของการถายโอนโลหะและแกสที่ใช 88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
สาเหตุ - การใชกระแสเชื่อมสูง - มีแรงดันอารกมากเกินไป - ระยะโผลลวดยาว
ภาพที่ 2.36 สะเก็ดเชื่อม 7.10 ปญหาอื่น ๆ 1) การเขี่ยอารก การเชื่อมงานบางชนิดจะหามไมใหทําการจุดอารกบนโลหะชิ้นงาน จะตองจุดอารกนอกโลหะงานเชื่ อม เพราะจะกอใหเกิดรอยบากขนาดเล็กขึ้นบนผิวงาน ซึ่งเปนสาเหตุของการเกิดรอยราวขั้นตนได 2) การเกิดอารกโบลว อารกโบลว (Arc Blow) คือ การเบนออกของเปลวอารก ซึ่งปกติจะเบนออกในทิศทางการเคลื่อนที่หัวเชื่อม หรือตรงกันขามและบางทีอาจเบนออกดานขาง อารกโบลวจะเกิดขึ้นงายเมื่อเชื่อมดวยกระแสตรงโดยเฉพาะ การเชื่อมมุมรอยตอ และสวนใกลจะสุดปลายรอยตอ เพราะวาเกิดการเหนี่ยวนําของสนามแมเหล็กในทิศทางเดียว ซึ่งจะเปนผลใหรอยเชื่อมไมเรียบสม่ําเสมอและการหลอมไมสมบูรณ สามารถแกไขโดยทําการเชื่อมเขาสูงานเชื่อม หรืองานเชื่อมยึด ลดกระแสเชื่อมและแรงดันเชื่อม วางงานตอกันใหยาวที่สุดที่ปลายงานเชื่อมหรือจุดเริ่ม และเชื่อมไปยังดานที่มีงานเชื่อมยึด ตอมากที่สุด เปลี่ย นตําแหนงอุป กรณจับ ยึดหรือทําใหอุป กรณจับยึด และโลหะชิ้นงานไมเปนแมเหล็ก
ภาพที่ 2.37 การเกิดอารกโบลว 89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
3) ทอนํากระแสอุดตันหรือสกปรก กําลังที่กอใหเกิดการอารกขึ้นอยูกับความสามารถในการถายโอนกระแสจากปลายทอกระแสสูลวดเชื่อม ดังนั้นถารูทอนํากระแสสกปรก อุดตันหรือสึกหรอจะทําใหปริมาณการถายโอนกระแสสูลวดเชื่อมลดลง จึง มีผลตอคุณสมบัติการอารก สงผลใหรอยเชื่อมมีขนาดไมสม่ําเสมอ การหลอมเหลวไมสมบูรณ และทําใหลวด เชื่อมที่ปอนออกมาหยุดเคลื่อนที่ ซึ่งมีสาเหตุจากสะเก็ดโลหะจากการอารก ผิวลวดเชื่อมเปนสนิม ผิวไมเรียบ ทองแดงเคลือบผิวลวดหลุดออก มีเศษโลหะจากการขันลอปอนลวดแนนไปหรือลวดถูกแรงบีบทําใหไมกลม และโตกวาขนาดรูทอ ซึ่งสามารถแกไขไดโดยใชลวดเชื่อมที่มีผิวสะอาด อยาปรับลอปอนลวดเชื่อมแนน ไป ควรใชผาเช็ดทําความสะอาดผิวลวดเชื่อมกอนใชและถาลวดเชื่อมเปนสนิมควรตัดทิ้งกอนนําไปใช 4) แกสปกปองไมพอ ถาแกสปกปองไมพอกับพื้นที่การอารกจะเกิดจุดบกพรองขึ้นกับงานเชื่อมหลายอยาง เชน การออกซิเดชั่น ของบอหลอมเหลว ความพรุนของรอยเชื่อมซี่งจะปรากฏใหเห็นที่ผิวรอยเชื่อมโดยสามารถสังเกตเห็นไดงาย เพราะอารกจะเปลี่ยนสี ขนาดรอยเชื่อมไมสม่ําเสมอ อารกไมเสถียรและยากตอการควบคุม สาเหตุ - แกสปกปองถูกกักตัวในหัวเชื่อมหรือสายสงแกส กรณีคารบอนไดออกไซดแข็งตัวอุดตัน - แกสรั่วในระบบ - สะเก็ดโลหะอุดตันหัวฉีด - อัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อมมากเกินไป - อัตราการไหลของแกสไมเหมาะสม - มีลมพัดหรือลมดูด - มีระยะหางระหวางหัวฉีดและงานมากเกินไป 5) ลวดเชื่อมหยุดปอน จะมีปญหามากถาลวดเชื่อมหยุดปอน เพราะใชลวดขนาดเล็ก ถาลวดหยุดปอนหรือปอนไมสม่ําเสมอ ทําใหอารกดับหรือไดรอยเชื่อมไมสม่ําเสมอ ทําใหเสียเวลาในการเชื่อมและลวดเชื่อมปอนไมออกอาจจะ ติดกันแนนในชุดปอนลวด สาเหตุ - ทอนํากระแสอุดตัน - ทอสงลวดเชื่อมอุดตัน - ทอสงลวดเชื่อมโคงงอมากเกินไป 90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
- แรงอัดบนลอปอนลวดเชื่อมมากเกินไป - แรงอัดบนลอปอนลวดเชื่อมไมพอ - ใชระยะปอนลวดเชื่อมยาวเกินไป - ขันยึดลอมวนลวดเชื่อมแนนเกินไปสําหรับปอน ลวดไดรับความเสียหาย
91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. การตรวจสอบงานเชื่อมที่ใชในอุณหภูมิต่ําตองใชกระบวนการตรวจสอบประเภทใด ก. Bent Test ข. Tensile Test ค. Impact Test ง. Hardness Test 2. การตรวจสอบขณะการเชื่อมจะตองตรวจสอบสิ่งตาง ๆ ยกเวน ขอใด ก. ตรวจสอบความสามารถในการประกอบและแนวการวางชิ้นสวน ข. ตรวจสอบคุณภาพแตละรอยเชื่อม ค. ตรวจสอบเครื่องมือที่ใชในการทําความสะอาด ง. ตรวจสอบตัวแปรตาม Welding Procedure 3. การตรวจสอบขณะเชื่อมสําหรับวัสดุและชิ้นงานมีสิ่งที่จะตรวจสอบ ยกเวน ขอใด ก. การเตรียมรอยตอ ข. ชนิดขนาดลวดเชื่อมฟลักซ ค. การใชอุปกรณในการจับยึด ง. ชนิดและคุณภาพของชิ้นงานเชื่อม 4. ขอใดไมใชสาระสําคัญที่ผูตรวจสอบตองบันทึกลงในเอกสารการตรวจสอบกอนเชื่อม ก. ตรวจสอบคุณภาพของชางเชื่อม ข. ตรวจสอบขนาดและรูปรางของรอยเชื่อม ค. ตรวจสอบความสะอาดในบริเวณที่จะเชื่อม ง. ตรวจสอบคุณภาพของวัสดุงานและลวดเชื่อม
92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3 4
93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบงาน ใบงานที่ 2.1 การวัดขนาดแนวเชื่อม 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบงานเชื่อมไดอยางถูกตอง
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกวัดขนาดแนวเชื่อมฟลเลท จากชิ้นงานเชื่อมตอตัวทีที่กําหนดให แลวบันทึกผลลงในตาราง บันทึกผล
ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ ขนาด (มิลลิเมตร)
บริเวณที่วัด
ชิ้นที่ 1
ชิ้นที่ 2
ชิ้นที่ 3
ความยาวของขาแนวเชื่อม (Leg) - L1
................. ................. .................
- L2
................. ................. .................
ระยะคอแนวเชื่อมตามความเปนจริง (Actual Throat)
................. ................. .................
ผิวแนวเชื่อมนูน หรือผิวแนวเชื่อมเวา (Convexity or Concavity)
................. ................. .................
94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 การวัดขนาดแนวเชื่อม 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เกจวัดแนวเชื่อม แบบ Automatic Weld Gauge
จํานวน 1 อัน
2. เกจวัดแนวเชื่อม แบบ Bridge Cam Weld Gauge
จํานวน 1 อัน
3. แปรงลวด
จํานวน 1 ดาม
1.4 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. ชิ้นงานเชื่อมตอตัวที
จํานวน 3 ชิ้น
95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การวัดขนาดแนวเชื่อม ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เตรียมเครื่องมือและวัสดุ
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
เตรียมเกจวัดแนวเชื่อม และชิ้นงานเชื่อมตอ ศึกษาวิธีการใช เกจวัด ตัวที จํานวน 3 ชิ้น
แนวเชื่ อ ม ทั้ ง 2 แบบ กอนวัดชิ้นงาน
Automatic Weld Gauge Bridge Cam Weld Gauge เกจวัดแนวเชื่อม
แปรงลวด ผาทําควาสะอาด
ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มตอตัวที
2. ทําความสะอาดชิ้นงาน
ทําความสะอาดชิ้น งานเชื่อม โดยขัดดว ย แปรงลวดแลวเช็ดดวยผาสะอาด
96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. วัดความยาวของขาแนวเชื่อม
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ใชเกจวัดแนวเชื่อมวัดความยาวของขาแนว ตรวจสอบสเกลและ เชื่อม (Leg) ทั้ง 2 ดาน
อานคาสเกลใหถู ก ต อ ง เ พื่ อ ป อ ง กั น ค า ที่ ไ ด คลาดเคลื่อน
4. วัดระยะคอแนวเชื่อม
ใชเกจวัดแนวเชื่อ มวัดระยะคอแนวเชื่ อ ม (Throat)
5. วัดขนาดของผิวแนวเชื่อมนูนหรือผิวแนวเชื่อม ใชเกจวัดแนวเชื่อมวัดขนาดผิวแนวเชื่อมนูน เวา
(Convexity) หรือผิวแนวเชื่อมเวา (Concavity)
6. บันทึกผลลงในตาราง
วัดขนาดของชิ้นงานเชื่ อมตอตัวที ใหครบ ตรวจสอบความถูกต อง ทั้ง 3 ชิ้น แลวบันทึกผลลงในตารางบันทึกผล ของคาที่อานได กอนสง ตรวจ 97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1
รายการประเมิน การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ
เกณฑการใหคะแนน
คะแนนเต็ม
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกี่ยวของไดถูกตอง
2
คะแนนที่ได
ครบถวน ให 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกี่ยวของไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกี่ยวของไมถูกตอง ให 0 คะแนน 2
การวัดความยาวของขาแนวเชื่อม (Leg)
วัดความยาวของขาแนวเชื่อมไดถูกตอง
3
ใหชิ้นละ 1 คะแนน วัดความยาวของขาแนวเชื่อมไมถูกตอง ใหชิ้นละ 0 คะแนน 3
การวัดขนาดคอแนวเชื่อม (Throat)
วัดระยะคอแนวเชื่อมไดถูกตอง ใหชิ้นละ 1 คะแนน
3
วัดระยะคอแนวเชื่อมไมถูกตอง ใหชิ้นละ 0 คะแนน 4
การวัดขนาดผิวแนวเชื่อมนูน หรือผิวแนวเชื่อมเวา (Convexity or Concavity)
วัดขนาดของผิวแนวเชื่อมนูน หรือผิวแนวเชื่อมเวา ไดถูกตอง ใหชิ้นละ 1 คะแนน
3
วัดขนาดผิวแนวเชื่อมนูน หรือผิวแนวเชือ่ มเวา ไมถูกตอง ใหชิ้นละ 0 คะแนน 5
การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ
เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง ครบถวน
2
ให 2 คะแนน เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน ไมเก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม
13
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 9 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบงาน ใบงานที่ 2.2 การวัดขนาดแนวเชื่อม 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบงานเชื่อมไดอยางถูกตอง
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกวัดขนาดแนวเชื่อมตอชนบากรองวี จากชิ้นงานเชื่อมที่กําหนดให แลวบันทึกผลลงในตาราง บันทึกผล
ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ ขนาด (มิลลิเมตร)
บริเวณที่วัด
ชิ้นที่ 1
ชิ้นที่ 2
ชิ้นที่ 3
ความกวางแนวเชื่อม (Weld Cap Width) - สูงสุด
............. ............. .............
- ต่ําสุด
............. ............. .............
ความนูนแนวเชื่อม (Excess Cap Height) - สูงสุด
............. ............. .............
- ต่ําสุด
............. ............. .............
99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ขนาด (มิลลิเมตร)
บริเวณที่วัด
ชิ้นที่ 1
ชิ้นที่ 2
ชิ้นที่ 3
ความกวางแนวราก (Root Bead Width) - สูงสุด
............. ............. .............
- ต่ําสุด
............. ............. .............
ความนูนแนวราก (Excess Root Penetration) - สูงสุด
............. ............. .............
- ต่ําสุด
............. ............. .............
100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.2 การวัดขนาดแนวเชื่อม 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เกจวัดแนวเชื่อม แบบ Automatic Weld Gauge
จํานวน 1 อัน
2. เกจวัดแนวเชื่อม แบบ Bridge Cam Weld Gauge
จํานวน 1 อัน
3. เวอรเนียคาลิปเปอร
จํานวน 1 อัน
4. แปรงลวด
จํานวน 1 อัน
1.4 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. ชิ้นงานเชื่อมตอชนบากรองวี
จํานวน 3 ชิ้น
101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การวัดขนาดแนวเชื่อม ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เตรียมเครื่องมือและวัสดุ
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
เตรี ยมเครื่ องมื อวั ดแนวเชื่ อม และชิ้ นงาน ศึกษาวิธีการใช เชื่อมตอตัวที จํานวน 3 ชิ้น
เครื่ อ งมื อ วั ด ก อ นการ ปฏิ บั ติ ง าน และควร เลือกใชเครื่องมื อวั ด ให
Automatic Weld Gauge Bridge Cam Weld Gauge เกจวัดแนวเชื่อม
ตรงกับวัตถุประสงคของ การใชงาน
เวอรเนียคาลิปเปอร
แปรงลวด
ผาทําความสะอาด
ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มตอชนบากรองวี
2. ทําความสะอาดชิ้นงาน
ทําความสะอาดชิ้น งานเชื่อม โดยขัดดว ย แปรงลวดแลวเช็ดดวยผาสะอาด
102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. วัดความกวางของแนวเชื่อม
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
วัดความกวางแนวเชื่อม (Weld Cap Width) หาจุดที่มีความกวาง ที่จุดสูงสุด และจุดต่ําสุด
ต่ําสุดและสูงสุดของ ชิ้นงานใหถูกตอง
ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มตอชนบากรองวี
4. วัดความนูนของแนวเชื่อม
วัดความนูนแนวเชื่อม (Excess Cap Height) หาจุดที่มีความนูนต่ําสุด ที่จุดสูงสุด และจุดต่ําสุด
และสูงสุดของชิ้นงานให ถูกตอง
ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มตอชนบากรองวี
5. วัดความกวางแนวราก
วัดความกวางแนวราก (Root Bead Width) หาจุ ด ที่ มี ค วามกว า ง ที่จุดสูงสุด และจุดต่ําสุด
แ น ว ร า ก ต่ํ า สุ ด แ ล ะ สู ง สุ ด ของชิ้ น งานให ถูกตอง
ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มตอชนบากรองวี
6. วัดความนูนแนวราก
วัดความนูนแนวราก (Excess Root
หาจุดที่ มีความนูน แนว
Penetration) ที่จุดสูงสุด และจุดต่ําสุด
รากต่ําสุดและสูงสุดของ ชิ้นงานใหถูกตอง
ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มตอชนบากรองวี
103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 7. บันทึกผลลงในตาราง
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
วัดชิ้นงานเชื่อมใหครบทั้ง 3 ชิ้น แลวบันทึก ตรวจสอบความถูกต อง ผลลงในตารางบันทึกผล
ของคาที่อานได กอนสง ตรวจ
104 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1
รายการประเมิน
เกณฑการใหคะแนน
การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของได
คะแนนเต็ม
คะแนนที่ได
2
ถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของได ถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของไม ถูกตอง ให 0 คะแนน 2
วัดความกวางแนวเชื่อม (Weld Cap Width)
วัดความกวางแนวเชื่อมไดถูกตอง ใหชิ้นละ 1 คะแนน
3
วัดความกวางแนวเชื่อมไมถูกตอง ใหชิ้นละ 0 คะแนน 3
วัดความนูนแนวเชื่อม (Excess Cap Height)
วัดความนูนแนวเชื่อมไดถูกตอง ใหชิ้นละ 1 คะแนน
3
วัดความนูนแนวเชื่อมไมถูกตอง ใหชิ้นละ 0 คะแนน 4
วัดความกวางแนวราก (Root Bead Width)
วัดความกวางแนวรากไดถูกตอง ใหชิ้นละ 1 คะแนน
3
วัดความกวางแนวรากไมถูกตอง ใหชิ้นละ 0 คะแนน 5
วัดความนูนแนวราก (Excess Root Penetration)
วัดความนูนแนวรากไดถูกตอง ใหชิ้นละ 1 คะแนน วัดความนูนแนวรากไมถกู ตอง ใหชิ้นละ 0 คะแนน
3
6
การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ
เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง ครบถวน
2
ให 2 คะแนน เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน ไมเก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม
16
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 11 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
105 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบงาน ใบงานที่ 2.3 การตรวจสอบงานเชื่อมดวยวิธีการหัก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบงานเชื่อมไดอยางถูกตอง 2. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย 2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน รวม 2 ชั่วโมง
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําการตรวจสอบชิ้นงานดวยวิธีการหัก (Fracture Test) ในชิ้นงานเชื่อมตอตัวที เพื่อดูความสมบูรณ ในการหลอมเหลวของเนื้อลวดเชื่อมกับเนื้อโลหะงาน
บันทึกผลการตรวจสอบแนวเชื่อม ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................................... 106 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.3 การตรวจสอบงานเชื่อมดวยวิธีการหัก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือหนัง - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. ผูรับการฝกตองเรียนรูวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 5. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เครื่องอัดไฮดรอลิกส
จํานวน 1 ตัว
2. เครื่องเจียมือ
จํานวน 1 ตัว
3. ใบเจียผาเซาะรอง
จํานวน 1 ใบ
4. คอนหัวกลม
จํานวน 1 อัน
5. ปากกาจับชิ้นงาน
จํานวน 1 ตัว
6. แวนขยาย
จํานวน 1 อัน
1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ชิ้นงานเชื่อมตอตัวที
จํานวน 2 ชิ้น
107 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การตรวจสอบงานเชื่อมดวยวิธีการหัก ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เตรียมเครื่องมือและวัสดุ
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
เตรียมเครื่องมือทดสอบการตีหัก และชิ้นงาน ตรวจสอบเครื่องมือและ เชื่อมตอตัวที จํานวน 2 ชิ้น
อุป กรณใหอยูในสภาพ พรอมใชงาน
เครื่องอัดไฮดรอลิกส
เครื่องเจียมือ
ใบเจียผาเซาะรอง
คอนหัวกลม
ปากกาจับชิ้นงาน
แวนขยาย
ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มตอตัวที
108 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 2. เจียเซาะรองโดยใชเครื่องเจียมือ ทั้ง 2 ชิ้น
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
นําชิ้นงานเชื่อมตอตัวทีเจียเซาะผิวใหเปน ขณะเจี ย เซาะร อ งควร ร องตลอดแนว โดยใชเครื่องเจีย มือ ใบผ า สวมอุ ป กรณ ป อ งกั น เซาะรอง
3. ทดสอบการตีหักดวยคอน
อันตรายทุกครั้ง
ทดสอบการตี หั ก ด ว ยค อ นหั ว กลม ของ ควรเซาะแนวเชื่ อ มให ชิ้นงานเชื่อมตอตัวที ชิ้นที่ 1
เปนรองกอนตีดวยคอน เพื่อใหงายตอการทดสอบ
ชิ้นงานเชื่อมตอตัวที ชิ้นที่ 1
4. ล็อกชิ้นงานเขากับปากกาจับชิ้นงาน
ล็อกชิ้น งานเขากับ ปากกาจับชิ้นงาน โดย ล็อกชิ้นงานใหแนน เพื่อ วางชิ้นงานดังภาพ
ป อ ง กั น ชิ้ น ง า นหลุ ด ขณะตี
5. ตีหักชิ้นงานดวยคอนหัวกลม
ใชคอนหัวกลมตีชิ้นงานใหหัก ตามทิศทาง ไมใหผูที่ไมเกี่ยวของอยู ดังภาพ
109 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
บริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. สังเกตและบันทึกผล
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
สั ง เกตและบั น ทึ ก ผลการตรวจสอบลงใน อาจใช เ ครื่ อ งมื อ ช ว ย สวนบันทึกผล
เช น แว น ขยาย เพื่ อ ดู ก า ร ห ล อ ม เ ห ล ว ที่ ผิวชิ้นงาน
7. ทดสอบการหั กชิ้ น งานด ว ยเครื่ องอั ดไฮดรอ ทดสอบการหั กด ว ยเครื่ อ งอัด ไฮดรอลิ ก ส ควรเซาะแนวเชื่ อ มให ลิกส
ของชิ้นงานเชื่อมตอตัวที ชิ้นที่ 2
เปนรองกอนหักชิ้น งาน เพื่อใหงายตอการทดสอบ
ชิ้นงานเชื่อมตอตัวที ชิ้นที่ 2
8. วางชิ้นงานบนเครื่องอัดไฮดรอลิกส
วางชิ้นงานเชื่อมตอตัวที ลงบนแทนรองของ ค ว ร ว า ง ชิ้ น ง า น ใ น เครื่องอัดไฮดรอลิกส ดังภาพ
ตําแหนงตรงกลางของ หัวกด
110 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 9. หักชิ้นงานดวยเครื่องอัดไฮดรอลิกส
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ใช เ ครื่ อ งอั ด ไฮดรอลิก สใ นการหัก ชิ้น งาน ไมใหผูที่ไมเกี่ยวของอยู ออกเปน 2 สวน เพื่อดูความสมบูรณในการ บริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน หลอมเหลวของเนื้อลวดเชื่อมกับเนื้อโลหะงาน
10. สังเกตและบันทึกผล
สั ง เกตและบั น ทึ ก ผลการตรวจสอบลงใน อาจใช เ ครื่ อ งมื อ ช ว ย สวนบันทึกผล
เช น แว น ขยาย เพื่ อ ดู ก า ร ห ล อ ม เ ห ล ว ที่ ผิวชิ้นงาน
111 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1
รายการประเมิน การสวมอุปกรณปองกันอันตราย
เกณฑการใหคะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายไดถูกตอง ครบถวน
คะแนนเต็ม 3
ให 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขาดไป 1 ชิ้น ให 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขาดไปมากกวา 1 ชิ้น ให 1 คะแนน ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตราย ให 0 คะแนน 2
การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกี่ยวของไดถูกตอง
2
ครบถวน ให 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกี่ยวของไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกี่ยวของไมถูกตอง ให 0 คะแนน 3
การเจียเซาะผิวแนวเชื่อม
เจียเซาะผิวแนวเชื่อมไดถูกตอง เรียบรอย
6
ใหชิ้นละ 3 คะแนน เจียเซาะผิวแนวเชื่อม ถูกตองบางสวน ใหชิ้นละ 1 คะแนน ไมเจียเซาะผิวแนวเชื่อม ใหชิ้นละ 0 คะแนน 4
การตรวจสอบชิ้นงานดวยวิธกี ารหัก (ชิน้ ที่ 1)
ใชคอนหัวกลมตีหักชิ้นงานไดถกู ตอง ให 3 คะแนน
3
ใชคอนหัวกลมตีหักชิ้นงานไมถกู ตอง ให 0 คะแนน 5
การตรวจสอบชิ้นงานดวยวิธกี ารหัก (ชิน้ ที่ 2)
ใชเครื่องอัดไฮดรอลิกสหักชิ้นงานไดถูกตอง ให 3 คะแนน
3
ใชเครื่องอัดไฮดรอลิกสหักชิ้นงานไมถูกตอง ให 0 คะแนน 6
การบันทึกผลการตรวจสอบ
บันทึกผลการตรวจสอบถูกตอง ทั้ง 2 ชิ้น ให 2 คะแนน
2
บันทึกผลการตรวจสอบถูกตองเพียงชิ้นเดียว ให 1 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบไมถูกตอง ทั้ง 2 ชิ้น ให 0 คะแนน 7
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ
ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ไดถูกตอง ครบถวน และสะอาดเรียบรอย ให 3 คะแนน
112 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
3
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ลําดับที่
รายการประเมิน
เกณฑการใหคะแนน
คะแนนเต็ม
คะแนนที่ได
ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ไดถูกตอง ครบถวน แตไมสะอาดเรียบรอย ให 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ ปฏิบัติงาน ให 0 คะแนน 8
การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ
เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน
2
เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน ไมเก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม
24
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 17 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
113 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3 0920721703 การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อม (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายการซอมจุดบกพรอง (Defects) ของชิ้นงานเชื่อมระหวางการเชื่อมและหลังการเชื่อมเสร็จไดอยางถูกตอง 2. ปฏิบัติการซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง
2. หัวขอสําคัญ - การซอมจุดบกพรองระหวางการเชื่อม
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
114 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) ชิ้นงานเชื่อมที่มีรอยกัดแหวง (Undercut) 2) ชิ้นงานเชื่อมที่มีรอยเติมไมเต็ม (Underfill) 3) ชิ้นงานเชื่อมที่เกิดจุดบกพรองประเภทรอยเกย (Overlap) 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ -
จํานวน 1 ชิ้น จํานวน 1 ชิ้น จํานวน 1 ชิ้น
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 115 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
7. บรรณานุกรม มานะศิษฎ พิมพสาร. ม.ป.ป. คูมือการเชื่อม มิก-แม็ก. : ม.ป.ท.
116 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อม การซอมชิ้นงานที่ทําการเชื่อมนั้น จากปญหาการเกิดจุดบกพรองตาง ๆ จึงจําเปนตองทําการซอมชิ้นงาน ระหวางการเชื่อม และการซอมหลังการเชื่อม 1. ขอบกพรองภายนอก 1.1 รอยแตก รอยแตกของงานเชื่อมเกิดจากหลายสาเหตุ เชน วิธีการเชื่อมไมเหมาะสม เทคนิคการเชื่อมไมดี หรือคุณภาพ วัสดุงานเชื่อมไมเหมาะสม ซึ่งรอยแตกสามารถเกิดขึ้นได 2 ขณะ คือ รอยแตกขณะรอน และรอยแตกขณะเย็น ซึ่งสามารถ แกไขหรือปองกันไดดังนี้ 1) รอยแตกขณะรอน - อุนงานกอนเชื่อมเพื่อลดความเคนจากการหดตัวของงานเชื่อม - ใชแกสปกปองที่ปราศจากสารเจือปน - เพิ่มพื้นที่หนาตัดรอยเชื่อม - เปลี่ยนแปลงลักษณะรอยเชื่อม - รอยแตกขณะรอนอาจจะเกิดเปนรอยบุม ซึ่งเกิดจากการหยุดอารกที่ไมเหมาะสม สามารถแกไข ไดโดยเคลื่อนที่หัวเชื่อมยอนกลับไปตามรอยเชื่อมเล็กนอย และคอยลดกระแสเชื่อมลงที่ปลาย ของรอยเชื่อม - หยุดเคลื่อนที่หัวเชื่อมกอนจะหยุดอารก 2) รอยแตกขณะเย็น - เพิ่มขนาดรอยเชื่อม - ลดความกวางระยะเวนรอยตอ - อุนงานกอนเชื่อม วิธีการเชื่อมรอยแตก : เจาะรูที่ปลายรอยแตกทั้งสองขาง จากนั้นเจียเซาะรองใหรอยแตกหมดไปแลวเชื่อมเติม ใหเต็ม
117 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
1.2 รอยเกย
ภาพที่ 3.1 รอยเกย รอยเกยเกิดจากการหลอมของเนื้อโลหะเชื่อมกับขอบบากชิ้นงานเชื่อมไมสมบูรณ ซึ่งมีวิธีแกไขดังนี้ - เพิ่มอัตราเร็วหัวเชื่อมสูงขึ้น - ถือหัวเชื่อมใหอยูในมุมที่ถูกตอง ตรงกับตําแหนงแนวเชื่อม - เพิ่มกระแสเชื่อมสูงขึ้น และถูกตองดวย วิธีการซอมรอยเกย : เจียเนื้อโลหะเชื่อมที่เปนรอยเกยออก 1.3 รอยกัดแหวง
ภาพที่ 3.2 รอยกัดแหวง (Undercut) รอยกัดแหวงเปนจุดบกพรองภายนอกซึ่งเกิดขึ้นระหวางรอยตอของรอยเชื่อมกับเนื้องาน ซึ่งพื้นที่หนาตัดตรงบริเวณนั้น จะลดลง ซึ่งสามารถแกไขไดดังนี้ - ลดกระแสไฟเชื่อมลงกวากระแสไฟเชื่อมครั้งแรก ประมาณ 5 - 10 แอมแปร - ควบคุมมุมเอียงลวดเชื่อมใหเหมาะสมกับชั้นแนวเชื่อมนั้น ๆ - ควบคุมระยะอารกใหใกลกับบริเวณทําการเชื่อม - ควบคุมความเร็วในการเชื่อมใหสม่ําเสมอ - ควบคุมการหยุดที่ขอบแนวอยาใหชาหรือเร็วเกินไป และในขณะเชื่อมชางเชื่อมตองสังเกตและพยายาม เติมเนื้อแนวเชื่อมใหเต็มเสมอบริเวณที่ขอบแนว วิธีการเชื่อมรอยกัดแหวง : เจียบริเวณที่บกพรองออก แลวเชื่อมทับบริเวณนั้น
118 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
1.4 รอยเติมไมเต็ม
ภาพที่ 3.3 รอยเติมไมเต็ม รอยเติมไมเต็มมีสาเหตุ จากการออกแบบรอยต อที่ ไมเหมาะสมกั บกรรมวิธีการเชื่อม ขนาดลวดเชื่อมใหญเกินไป กระแสเชื่อมต่ําไป หรือใชเทคนิคการเชื่อมไมเหมาะสม ซึ่งสามารถแกไขไดดังนี้ - เพิ่มขนาดลวดเชื่อมใหเหมาะสม - เพิ่มกระแสเชื่อม - เลือกใชเทคนิคการเชื่อมใหเหมาะสม วิธีการซอมรอยเติมไมเต็ม : เจียแตงรองแลวเชื่อมเติมใหเต็ม 2. ขอบกพรองภายใน 2.1 รูพรุน
ภาพที่ 3.4 รูพรุน รู พ รุ น หรื อ ฟองอากาศที่ เ กิ ด ในเนื้ อ โลหะเชื่ อ ม อาจอยู ร วมกั น หรื อ กระจายกั น ภายใน หรื อ บนผิ ว รอยเชื่ อ ม ซึ่งสามารถเกิดขึ้นไดตลอดรอยเชื่อม และถารูพรุนมีจํานวนมากอาจทําใหงานเชื่อมไมแข็งแรงได ดังนั้น หากสังเกตเห็น รูพรุนในขณะเชื่อม สามารถแกไขไดดวยวิธีการดังตอไปนี้ - ปรับอัตราการไหลของแกสปกปองใหเพิ่มขึ้นโดยอยูระหวาง 15 - 20 ลิตร/นาที - ควรเชื่อมในที่อับลม 119 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
- ทําความสะอาดหัวฉีดแกส - เปลี่ยนทอบรรจุแกสใหม - ลดกระแสเชื่อม - ลดแรงดันเชื่อม - ลดอัตราเร็วปอนลวด - ลดระยะยื่นลวด - ลดอัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อม - ทําความสะอาดผิวโลหะงานเชื่อม และลวดเชื่อม วิธีการซอมรูพรุน : เจียเซาะรองขจัดรูพรุนออก แลวเชื่อมเติมใหเต็ม 2.2 การหลอมไมสมบูรณ
ภาพที่ 3.5 การหลอมไมสมบูรณ การหลอมไมสมบูรณ คือ เนื้อโลหะเชื่อมหลอมรวมกับโลหะชิ้นงาน หรือระหวางชั้นรอยเชื่อมไมเปนเนื้อเดียวกัน ซึ่งวิธีแกไขมีดังนี้ - ลดอัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อม - เพิ่มกระแสเชื่อม - เตรียมรอยตอใหเหมาะสม - ใชมุมงานที่เหมาะสม วิธีการซอมการหลอมไมสมบูรณ : เจียเซาะรองเพื่อขจัดรอยหลอมไมสมบูรณออกใหหมด แลวเชื่อมเติมใหเต็ม
120 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
3. ขนาดแนวเชื่อม 3.1 ขนาดแนวเชื่อมเล็กเกินไป ขนาดแนวเชื่อมที่เล็กเกินไป จะทําใหความแข็งแรงของรอยเชื่อมต่ํากวามาตรฐาน ซึ่งอาจเกิดจากกระแสเชื่อม หรือระยะอารกที่สูงเกินไป ซึ่งมีวิธีแกไขดังนี้ - เลือกเทคนิคการเชื่อมที่เหมาะสม - ใชกระแสไฟเชื่อมใหถูกตอง - ใชระยะอารกใหเหมาะสม - ใชการเชื่อมพอกเพื่อใหมีขนาดเหมาะสม วิธีการซอมขนาดแนวเชื่อมเล็กเกินไป : เชื่อมพอกเพื่อใหมีขนาดตามที่กําหนด 3.2 ขนาดแนวเชื่อมใหญเกินไป ขนาดแนวเชื่อมที่ใหญเ กินไป อาจเกิด จากการหลอมละลายไมส มบูรณ เกิดสแลกฝงในระหวางชั้นรอยเชื่อม กระแสเชื่อมไมเพียงพอ หรือใชเทคนิคการเชื่อมไมถูกตอง ซึ่งมีวิธีแกไขดังนี้ - เลือกเทคนิคการเชื่อมที่เหมาะสม - ใชกระแสไฟเชื่อมใหถูกตอง - ใชระยะอารกใหเหมาะสม - เจียรอยเชื่อมกอนเชื่อมชั้นตอไป วิธีการซอมขนาดแนวเชื่อมใหญเกินไป : เจียรอยเชื่อมใหไดขนาดตามที่กําหนด 3.3 ชิ้นงานบิดตัว
ภาพที่ 3.6 ชิ้นงานบิดตัว ชิ้นงานบิดตัวมีสาเหตุจากการใหความรอนขณะเชื่อม เมื่อลวดเชื่อมและโลหะชิ้นงานหลอม โลหะชิ้นงานจะมี การขยายตัว - หดตัว ตลอดจนการแข็งตัวของรอยเชื่อม จะมีความเคนตกคางอยูในรอยเชื่อม โดยเมื่อโครงสรางที่ทําการเชื่อม เย็นตัว อาจทําใหชิ้นงานเกิดการบิดตัวได ซึ่งวิธีแกไขมีดังนี้ - ดัดตรงขณะรอน - เซาะรอยเชื่อมสวนที่ทําใหงานบิดเบี้ยวออก และเชื่อมใหมตามขั้นตอนที่เหมาะสม - เชื่อมพอกรอยเชื่อมบางสวน - อบชุบหลังจากเชื่อม วิธีการซอมชิ้นงานบิดตัว : ใชเทคนิคทางกลหรือเทคนิคทางความรอน 121 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. เมื่อเกิดสแลกฝงในแนวเชื่อม ขอใดเปนการแกที่ถูกวิธี ก. เซาะสแลกออกใหหมด แลวเชื่อมซอมบริเวณที่ถูกเซาะ ข. ปรับกระแสไฟใหสูงแลวทําการเชื่อมทับ ค. เซาะสแลกออกใหหมด แลวเชื่อมทับโดยใชกระแสไฟสูง ง. เซาะสแลกออกใหหมด แลวเชื่อมทับโดยใชกระแสไฟต่ํา 2. ขอใดไมใชวิธีการแกไขจุดบกพรองของงานเชื่อมประเภทโพรงอากาศ (Porosity) ก. ทําความสะอาดผิวโลหะงานเชื่อม และลวดเชื่อม ข. ลดอัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อม ค. ลดระยะยื่นลวด ง. เพิ่มกระแสไฟเชื่อม 3. การเชื่อมชนิดใดไมใชการเชื่อมซอมหลังทําการเชื่อมเสร็จ ก. การเชื่อมพอกผิว
ค. การเชื่อมกลบ
ข. การเชื่อมเสริมรอยบุม
ง. การเชื่อมประสาน
122 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ก
ข
1 2 3
123 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ค
ง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบงาน ใบงานที่ 3.1 การซอมจุดบกพรองชิ้นงานเชื่อมประเภทรอยเกย 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน รวม 1 ชั่วโมง
3. คํ า ชี้ แ จง จากลั ก ษณะจุ ด บกพร อ งของชิ้ น งานเชื่ อ มประเภทรอยเกย (Overlap) ให ผู รั บ การฝ ก อธิ บ ายสาเหตุ และวิธีการแกปญหาจุดบกพรอง แลวบันทึกผลลงในตาราง
ลักษณะจุดบกพรอง
สาเหตุ
วิธีแกปญหา
รอยเกย
................................................................... ...................................................................
(Overlap)
................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ...................................................................
124 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.1 การซอมจุดบกพรองชิ้นงานเชื่อมประเภทรอยเกย 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.4 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ชิ้นงานเชื่อมที่เกิดจุดบกพรองประเภทรอยเกย (Overlap)
125 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
จํานวน 1 ชิ้น
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การซอมจุดบกพรองชิ้นงานเชื่อมประเภทรอยเกย ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เตรียมชิ้นงานเชื่อม
คําอธิบาย เตรียมตัวอยางชิ้นงานเชื่อมที่เกิดจุดบกพรอง ประเภทรอยเกย
ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มที่เกิดจุดบกพรองประเภทรอยเกย
2. สังเกตลักษณะจุดบกพรอง
สังเกตลักษณะของรอยเกยบริเวณโดยรอบ ชิ้นงาน
ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มที่เกิดจุดบกพรองประเภทรอยเกย
3. บันทึกผลลงในตาราง
อธิ บ ายสาเหตุ และวิ ธี ก ารแก ป ญ หา จุดบกพรอง ลงในตารางบันทึกผล
126 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1
รายการประเมิน
เกณฑการใหคะแนน
อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรอง
อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไดถูกตอง
คะแนนเต็ม
คะแนนที่ได
5
ให 5 คะแนน อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไมถูกตอง ให 0 คะแนน 2
อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรอง
อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไดถกู ตอง
5
ให 5 คะแนน อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไมถกู ตอง ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม
10
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 7 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
127 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบงาน ใบงานที่ 3.2 การซอมจุดบกพรองของแนวชื่อมประเภทเติมไมเต็มรองบาก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน รวม 1 ชั่วโมง
3. คําชี้แจง จากลักษณะจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมประเภทรอยเติมไมเต็ม (Underfill) ใหผูรับการฝกอธิบายสาเหตุ และวิธีการแกปญหาจุดบกพรอง แลวบันทึกผลลงในตาราง
ลักษณะจุดบกพรอง
สาเหตุ
วิธีแกปญหา
รอยเติมไมเต็ม
................................................................... ...................................................................
(Underfill)
................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... 128 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.2 การซอมจุดบกพรองของแนวชื่อมประเภทเติมไมเต็มรองบาก 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.4 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ชิ้นงานเชื่อมที่มีรอยเติมไมเต็ม (Underfill)
จํานวน 1 ชิ้น
129 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การซอมจุดบกพรองของแนวชื่อมประเภทเติมไมเต็มรองบาก ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เตรียมชิ้นงานเชื่อม
คําอธิบาย เตรียมตัวอยางชิ้นงานเชื่อมที่เกิดจุดบกพรอง ประเภทรอยเติมไมเต็ม
ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มที่มรี อยเติมไมเต็ม
2. สังเกตลักษณะจุดบกพรอง
สังเกตลักษณะของชิ้นงานเชื่อมที่มีรอยเติม ไมเต็ม โดยรอบชิ้นงาน
ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มที่มรี อยเติมไมเต็ม
3. บันทึกผลลงในตาราง
อธิ บ ายสาเหตุ และวิ ธี ก ารแก ป ญ หา จุดบกพรอง ลงในตารางบันทึกผล
130 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1
รายการประเมิน
เกณฑการใหคะแนน
อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรอง
อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไดถูกตอง
คะแนนเต็ม
คะแนนที่ได
5
ให 5 คะแนน อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไมถูกตอง ให 0 คะแนน 2
อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรอง
อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไดถกู ตอง
5
ให 5 คะแนน อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไมถกู ตอง ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม
10
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 7 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
131 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบงาน ใบงานที่ 3.3 การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมประเภทรอยกัดแหวง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน รวม 1 ชั่วโมง
3. คํ า ชี้ แ จง จากลั ก ษณะจุ ด บกพร อ งของชิ้ น งานเชื่ อ มที่ มี ร อยกั ด แหว ง (Undercut) ให ผู รั บ การฝ ก อธิ บ ายสาเหตุ และวิธีการแกปญหาจุดบกพรอง แลวบันทึกผลลงในตาราง
ลักษณะจุดบกพรอง
สาเหตุ
วิธีแกปญหา
รอยกัดแหวง
................................................................... ...................................................................
(Undercut)
................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ...................................................................
132 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.3 การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมประเภทรอยกัดแหวง 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.4 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ชิ้นงานเชื่อมที่มีรอยกัดแหวง (Undercut)
จํานวน 1 ชิ้น
133 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมประเภทรอยกัดแหวง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เตรียมชิ้นงานเชื่อม
คําอธิบาย เตรียมตัวอยางชิ้นงานเชื่อมที่มีรอยกัดแหวง
ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มที่มรี อยกัดแหวง
2. สังเกตลักษณะจุดบกพรอง
สั ง เกตลั ก ษณะของรอยกั ด แหว ง บริ เ วณ โดยรอบชิ้นงาน
ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มที่มรี อยกัดแหวง
3. บันทึกผลลงในตาราง
อธิ บ ายสาเหตุ และวิ ธี ก ารแก ป ญ หา จุดบกพรอง ลงในตารางบันทึกผล
134 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1
รายการประเมิน
เกณฑการใหคะแนน
อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรอง
อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไดถูกตอง
คะแนนเต็ม
คะแนนที่ได
5
ให 5 คะแนน อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไมถูกตอง ให 0 คะแนน 2
อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรอง
อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไดถกู ตอง
5
ให 5 คะแนน อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไมถกู ตอง ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม
10
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 7 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
135 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
3. นายธวัช
เบญจาทิกุล
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
4. นายสุรพล
พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา
ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน
ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก
7. นายวัชรพงษ
มุขเชิด
ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ
คําเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพสาลี
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกลา
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กําภู ณ อยุธยา
สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงควัฒนานุรักษ
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
11. นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 136 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 8
นายวราวิช
กําภู ณ อยุธยา
สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
137 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน