หนาปก
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
คูมือครูฝก 0920164170203 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3
ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝกที่ 10 09217321 การประหยัดพลังงานไฟฟา การคํานวณหา กําลังไฟฟาของมอเตอร การคํานวณหาความเร็วรอบ ของมอเตอร การคํานวณคาใชจายคากระแสไฟฟาที่ เครื่องปรับอากาศใช กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
คํานํา
คูมือ ครูฝ ก สาขาชา งเครื ่อ งปรับ อากาศในบา นและการพาณิช ยข นาดเล็ก ระดับ 3 โมดูล 10 การประหยัด พลังงานไฟฟา การคํา นวณหากํา ลังไฟฟา ของมอเตอร การคํานวณหาความเร็วรอบของมอเตอร การคํานวณคาใชจาย คา กระแสไฟฟา ที ่เ ครื ่อ งปรับ อากาศใชฉบั บนี้ เป นส วนหนึ่ งของหลั ก สู ต รฝ ก อบรมฝ มื อ แรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่ ง พั ฒนาขึ้นเพื่ อใช เป นเอกสารประกอบการจั ดการฝ กอบรมกั บชุ ดการฝ กตาม ความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ด ว ยระบบการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมี วัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ อบรมผูรับการฝก ใหสามารถนําความรูเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟา การคํานวณหากําลังไฟฟาของมอเตอร การคํานวณหาความเร็ว รอบของมอเตอร การคํ า นวณคา ใชจ า ยคา กระแสไฟฟา ที ่เ ครื ่อ งปรับ อากาศใชไ ปใชไ ดอ ยา งถูก ตอ ง และติด ตาม ความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
เรื่อง
สารบั ญ
หนา
คํานํา
ก
สารบัญ
ข
ขอแนะนําสําหรับครูฝก
1
โมดูลการฝกที่ 1 09217321 การประหยัดพลังงานไฟฟา การคํานวณหากําลังไฟฟาของมอเตอร การคํานวณหาความเร็วรอบของมอเตอร การคํานวณคาใชจายคากระแสไฟฟาที่ เครื่องปรับอากาศใช หัวขอวิชาที่ 1 0921732101 การประหยัดพลังงานไฟฟา หัวขอวิชาที่ 2 0921732102 การคํานวณเกี่ยวกับการทํางานของมอเตอร หัวขอวิชาที่ 3 0921732103 การคํานวณคาใชจายในการใชเครื่องปรับอากาศ คณะผูจัดทําโครงการ
12 21 31 38
ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้
1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝ กฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข อวิ ชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชงานระบบ แบง สว นการใชงานตามความรับ ผิดชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
2. ผังการฝกอบรม
3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถั ด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝ กกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับ การฝกแกผูรับ การฝกที่ศูน ยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม 4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning - ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร
5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก
4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูป แบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
5. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมิ นผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝ ก และแบบทดสอบภาคทฤษฎี หลังฝ ก โดยกํ าหนดเกณฑ การให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70
เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)
ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว
6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก
7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและ การพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920164170203
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางเครื่องปรับอากาศในบาน และการพาณิชยขนาดเล็ก เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชาง เครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3 ดังนี้ 1.1 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับสัญลักษณสากลของอุปกรณ และเขียนแบบรางเพื่อแสดงแผนผังการติด ตั้ง เครื่องปรับอากาศ 1.2 มีความรูความสามารถในการใชเครื่องมือวัดตาง ๆ ที่ใชในเครื่องปรับอากาศ 1.3 มี ความรู เ กี่ ย วกั บ การทํ า ความเย็ น ด ว ยระบบระเหยตรง (Direct Expansion System) และระบบน้ํ าเย็ น (Chilled Water System) 1.4 มี ความรู เ กี่ ย วกั บ ระบบสารทํา ความเย็ น ทว ม (Flooded System) และไดเร็กเอ็กซ แพนชั่น วาลว (Direct Expansion Valve) 1.5 มีความรูเกี่ยวกับองคประกอบที่มีผลตอสมรรถนะของคอนเดนเซอร และแฟนคอยลแบบครีบ 1.6 มีความรูเกี่ยวกับองคประกอบที่มีผลตอสมรรถนะของคอนเดนเซอรแบบระบายความรอนดวยน้ํา 1.7 มีความรูเกี่ยวกับพื้นผิวถายเทความรอนผานชั้นตัวนําความรอนลําดับตาง ๆ 1.8 มีความรูความสามารถในการแขวนหรือยึดทอใหมั่นคง 1.9 มีความรูเกี่ยวกับผลกระทบของสารเจือปนในสารทําความเย็น 1.10 มีความรูเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟา การคํานวณหากําลังไฟฟาของมอเตอร การคํานวณหาความเร็วรอบ ของมอเตอร การคํานวณคาใชจายคากระแสไฟฟาที่เครื่องปรับอากาศใช 1.11 มีความรูเกี่ยวกับหลักความปลอดภัยในการทํางาน
8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงาน ที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 50 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรไดหนวยฝก จึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบันพัฒนา ฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขา ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขา ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3 4.3 ผู รั บ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ า นการฝ ก ครบทุ ก หน ว ยความสามารถ จะได รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขา ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3
9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 10 1. ชื่อหลักสูตร 2. ชื่อโมดูลการฝก
รหัสหลักสูตร
สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3
0920164170203
การประหยัดพลังงานไฟฟา การคํานวณหากําลังไฟฟา
รหัสโมดูลการฝก
ของมอเตอร การคํานวณหาความเร็วรอบของมอเตอร
09217321
การคํานวณคาใชจายคากระแสไฟฟาที่เครื่องปรับอากาศใช 3. ระยะเวลาการฝก
รวม 1 ชั่วโมง 45 นาที
4. ขอบเขตของหน วย
หน ว ยการฝ กนี้ พั ฒ นาขึ้น ใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับ การฝ ก
การฝก
ทฤษฎี 1 ชั่วโมง 45 นาที
ปฏิบัติ - ชัว่ โมง
เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายการประหยัดพลังงานไฟฟาได 2. อธิบายและคํานวณหากําลังไฟฟาของมอเตอรได 3. อธิบายและคํานวณหาความเร็วรอบของมอเตอรได 4. อธิบายและคํานวณคาใชจายคากระแสไฟฟาที่ใชในเครื่องปรับอากาศได
5. พื้นฐาน
ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้
ความสามารถของ
1. มี ความรู พื้น ฐานเกี่ย วกับ การประหยัด พลัง งานไฟฟ า การคํานวณหากําลั ง ไฟฟ า
ผูรับการฝก
ความเร็วรอบของมอเตอรและคาใชจายคากระแสไฟที่ใชในเครื่องปรับอากาศหรื อ ผานการฝกอบรมที่เกี่ยวของจากหนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานระดับ 2 มาแลว 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 9 มาแลว
6. ผลลัพธการเรียนรู :เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายการประหยัดพลังงาน
(ชั่วโมง: นาที)
ชื่อหัวขอวิชา หัวขอที่ 1 : การประหยัดพลังงานไฟฟา
ไฟฟาได 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ทฤษฎี ปฏิบัติ
รวม
0:30
0:30
-
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
2. อธิบายและคํานวณหา
หัวขอที่ 2 : การคํานวณเกี่ยวกับการทํางานของ
กําลังไฟฟาของมอเตอรได
0:45
-
0:45
0:30
-
0:30
1:45
-
1:45
มอเตอร
3. อธิบายและคํานวณหา ความเร็วรอบของมอเตอรได 4. อธิบายและคํานวณคาใชจาย หัวขอที่ 3 : การคํานวณคาใชจายในการใช คากระแสไฟฟาที่ใชใน
เครื่องปรับอากาศ
เครื่องปรับอากาศได รวมทั้งสิ้น
11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921732101 การประหยัดพลังงานไฟฟา (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายการประหยัดพลังงานไฟฟาได
2. หัวขอสําคัญ - การประหยัดพลังงานไฟฟา
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน. 2556. ระบบการทําความเย็น. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www2.dede.go.th/bhrd/old/web_display/websemple/Industrial(PDF)/Bay29%20Refrigeration.pdf ฤชากร จิรกาลวสาน. 2550. ภาระและประสิทธิภาพมอเตอร. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.acat.or.th/download/acat_or_th/journal-11/11%20-%2006.pdf
13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 การประหยัดพลังงานไฟฟา 1. การประหยัดพลังงานไฟฟา ปจจุบันประเทศไทยกําลังประสบปญหาเกี่ยวกับพลังงานที่มีจํานวนลดนอยลง เนื่องจากมีประชากรเพิ่มมากขึ้น และมี เทคโนโลยีมากขึ้น ทําใหประชากรมีความตองการในการใชพลังงานมีมากขึ้น สงผลใหเกิดปญหาการขาดแคลนพลังงาน และการทําลายทรัพยากรที่เพิ่มมากขึ้นเพื่อผลิตเปนพลังงานสําหรับใชในครัวเรือนและธุรกิจอุตสาหกรรม เชน ระบบปรับอากาศ ระบบแสงสวาง อุปกรณไฟฟาอิเล็กทรอนิกส และเครื่องจักรตาง ๆ เปนตน ดังนั้นจึงเปนเรื่องจําเปนสําหรับทุกคนในการรวมมือกัน ประหยัดการใชพลังงานและเลือกใชอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากเครื่องประอากาศเปนอุปกรณไฟฟาที่ใชพลังงานไฟฟามาก แตมีความจําเปนตอประชาชนไมวาจะเปนการใชในบาน ที่อยูอาศัย อาคารสํานักงานหรือแมแตโรงงานอุตสาหกรรม จึงตองคํานึงถึงการใชงานอยางประหยัดพลังงาน โดยแนวทาง การประหยัดพลังงานในระบบทําความเย็น มีดังตอไปนี้ ตารางที่ 1.1 แสดงแนวทางการประหยัดพลังงานและวิธีดําเนินการที่เหมาะสม แนวทางการประหยัดพลังงาน
วิธีดําเนินการ
1. ลดภาระการทํ า ความเย็ น - เลือ กใชว ัส ดุที่มีคุณ สมบัติเ ปน ฉนวนความร อ นที่ด ีสํ า หรับ ผนั ง จากภายนอกให เหลื อ น อย ที่สุด
และมีการตรวจสอบสม่ําเสมอ - ลดการรั่วไหลอากาศภายนอกเขาสูภายในระบบหองเย็น
2. ลดภาระการทํ า ความเย็ น - ปองกันมิใหแสงแดดกระทบผนังโดยตรง ภายในใหนอยที่สุด
- สอบเทียบเครื่องวัดและปรับตั้งอุณหภูมิใหเหมาะสมกับการใชงาน - ปรับปรุงระบบแสงสวางภายในหองใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น - เลือกใชอุปกรณไฟฟาภายในหองเย็นที่มีประสิทธิภาพสูง
3. เพิ่มสัมประสิทธิ์สมรรถนะ - ควบคุมปริมาณสารทําความเย็นในระบบใหเหมาะสม (COP) ใหสูงสุด
- ทําความสะอาดพื้นที่ผิวแลกเปลี่ยนความรอนระหวางสารทําความเย็น กับน้ําหรืออากาศ - ควบคุมปริมาณน้ําหรืออากาศใหไหลผานขดทอแลกเปลี่ยนความรอน ในอัตราที่เหมาะสม - เพิ่มขนาดพื้นที่ผิวแลกเปลี่ยนความรอน 14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
แนวทางการประหยัดพลังงาน
วิธีดําเนินการ - ปรับตั้งหรือเลือกใชลิ้นลดความดันที่มีขนาดเหมาะสม - ปรับตั้งอุณหภูมิการทําความเย็นใหเหมาะสม - ใชน้ําหรืออากาศที่มีอุณหภูมิต่ําเขาระบายความรอน - ใชระบบระบายความรอนดวยน้ําแทนอากาศ - เลือกใชเครื่องอัดที่มีประสิทธิภาพสูง
4. เ พิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง - เมื่อมอเตอรไหมหรือมีอายุการใชงานมากกวา 5 ป ควรเปลี่ยนใหม มอเตอรที่คอมเพรสเซอรให โดยเลือกใชคอมเพรสเซอรประสิทธิภาพสูง สูงสุด - คอมเพรสเซอร ข นาดใหญ ค วรซ อ มมอเตอร ไ ม เ กิ น 3 ครั้ ง เพราะมอเตอรไหมแตละครั้งประสิทธิภาพจะลดลง 4% - อัดจารบีหรือสารหลอลื่นเปนประจํา - เปลี่ยนลูกปนเมื่อหมดอายุการใชงาน - เปลี่ยนไปใชมอเตอรประสิทธิภาพสูง 5. เพิ่มประสิทธิภาพระบบ
- ปรับความตึงสายพานใหเหมาะสม
สงกําลังระหวางเครื่องอัด
- เปลี่ยนสายพานเมื่อหมดอายุการใชงาน
สารทําความเย็นกับ
- ใสสายพานใหครบตามจํานวนที่ออกแบบ
มอเตอรใหสูงที่สุด
- เลือกใชสายพานที่มีประสิทธิภาพสูง
6. ลดชั่วโมงการใชงาน
- เปดใชงานใหชาที่สุด - ปดกอนเลิกใชงานเร็วที่สุด - ลดจํานวนเดิน เครื่องทํ าความเย็ น เมื่อภาระการทํ าความเย็ น ของ ระบบต่ํา
7. ลดพลังงานไฟฟาทีใ่ ชกับ
- เปดใชงานในจํานวนที่เหมาะสม
อุปกรณประกอบของระบบ - เลือกใชงานอุปกรณชุดที่มีประสิทธิภาพสูงเปนหลัก เชน ปมน้ํา หอผึ่งเย็น - ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอุปกรณใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น เครื่องสงหรือจายลมเย็น - ใชงานอุปกรณในจุดที่มีประสิทธิภาพสูงสุด
15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
แนวทางการประหยัดพลังงาน
วิธีดําเนินการ
8. ลดชั่ ว โมงการใช ง านของ - ควบคุมชุดระบายความรอนใหทํางานตามการทํางานของเครื่องอัด อุปกรณประกอบ - เดินอุปกรณประกอบใหเหมาะสมกับภาระ - ควบคุมเวลาการเปดโดยไมเปดกอนเวลาทํางานนานเกินไป และปดทันที เมื่อเลิกงาน ทั้ ง นี้ ร ะบบทํ า ความเย็ น อุ ต สาหกรรมเป น ระบบที่ ใ ช พ ลั ง งานไฟฟ า ขนาด 380 Volt 3 Phase 50 Hz ซึ่ ง ถื อ ว า ใชกําลังไฟฟาที่สูง แมวารูปแบบระบบการทําความเย็นนั้นไมไดตางจากรูปแบบการทําความเย็นของเครื่องปรับอากาศขนาด เล็กที่ใชในครัวเรือน หากแตมีหลักการตางกันเล็กนอยคือ เมื่ออาคารหรือพื้นที่ใชงานมีขนาดใหญ การใหอีวาพอเรเตอร ทําความเย็นโดยตรงอาจมีความเย็นไมเพียงพอหรืออาจทําใหเครื่องปรับอากาศทํางานหนักเกินไป จึงเปลี่ยนไปทําความเย็น ใหกับ น้ํา ก อ น เมื่ อ น้ํา เย็ น แล ว จึ ง ใช น้ํา เป น ตั ว กลางถ า ยทอดความเย็น ต อ ไปยัง อุป กรณต า ง ๆ การเพิ่ม ประสิท ธิ ภ าพ และการประหยัดพลังงานใหระบบทําความเย็นอุตสาหกรรมนั้น ใชหลักการพื้นฐานในการดูแลควบคุมอุปกรณหลัก 4 อยาง ดังตอไปนี้ 1.1 คอมเพรสเซอร (Compressor)
ภาพที่ 1.1 มอเตอรคอมเพรสเซอร 1) ติดตั้งระบบจัดการคอมเพรสเซอร เพื่อจัดลําดับการทํางานของคอมเพรสเซอรใหเปนไปตามภาระความเย็น และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด 2) ขนาดและชุดควบคุมคอมเพรสเซอรตองถูกตองเหมาะสมกับภาระความเย็น 3) หมั่นบํารุงรักษาคอมเพรสเซอรอยางสม่ําเสมอ 4) เลือกใชมอเตอรที่มีประสิทธิภาพสูง
16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
1.2 คอนเดนเซอร (Condenser)
ภาพที่ 1.2 คอนเดนเซอร 1) ลดความดันที่คอนเดนเซอร โดยการเพิ่มขนาดหรือจํานวนคอนเดนเซอรเพื่อลดภาระการทํางานของ คอมเพรสเซอร 2) อุณหภูมิการควบแนนควรต่ําที่สุดเทาที่จะทําได เพื่อลดการใชพลังงาน 3) เดินพัดลมคอนเดนเซอรและเครื่องสูบน้ําใหมากตัวที่สุด เพื่อใหอุณหภูมิควบแนนต่ําสุด 4) ทําความสะอาดหัวฉีด (Spray Nozzles) ของคอนเดนเซอรอยางสม่ําเสมอ 5) รักษาพื้นผิวของคอนเดนเซอรใหสะอาดและน้ําที่ใชตองผานการปรับสภาพแลว 6) ไลอากาศและแกสที่ไมกลั่นตัวออกจากคอนเดนเซอรใหหมด 1.3 อุปกรณควบคุมสารทําความเย็น (Expansion Valve)
ภาพที่ 1.3 อุปกรณควบคุมสารทําความเย็น 1) ใชระบบควบคุมการปอนสารทําความเย็นแทนการปรับหรี่วาลวดวยมือ เพื่อใหการสงจายสารความเย็น ตรงตามภาระความเย็น 2) เปลี่ยนการควบคุมแรงดันในอีวาพอเรเตอรดวยการหรี่วาลวมาเปนการควบคุมแบบปอนน้ํายาตามภาระความเย็น 17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
1.4 อีวาพอเรเตอร (Evaporator)
ภาพที่ 1.4 อีวาพอเรเตอร (ชิลเลอร) 1) ติ ดตั้ งระบบแยกไอสารทํ าความเย็ นบางส วนกลั บไปอั ดที่ ช องความดั นด านกลางของคอมเพรสเซอร แบบสกรู ทําใหเพิ่มความสามารถในการทําความเย็นของอีวาพอเรเตอร 2) เพิ่มอุณหภูมิในอีวาพอเรเตอร การถายน้ํามันหรือสิ่งสกปรกออกจากระบบน้ํายาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ของการเปลี่ยนความรอนเปนการเพิ่มอุณหภูมิของอีวาพอเรเตอร 3) พื้นผิวของอีวาพอเรเตอรตองมากพอ เพื่อใหการถายเทความรอนทําไดสูงสุด 4) ใชพัดลมและมอเตอรที่มีประสิทธิภาพสูงในหองเย็นและหองแชแข็ง 5) ควบคุมความรอนภายนอกไมใหเขามาในหองเย็นมากเกินไป
18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดเป็นการเพิ่มสัมประสิทธิ์สมรรถนะใหสูงที่สุด ก. เลือกใชเครื่องอัดที่มีประสิทธิภาพสูง ข. ปองกันมิใหแสงแดงกระทบผนังโดยตรง ค. เพิ่มขนาดพื้นที่ผิวแลกเปลี่ยนความรอน ง. เลือกใชวัสดุที่มีคุณสมบัติเปนฉนวนความรอน 2. เมื่อมอเตอรมีอายุการใชงานเกิน 5 ป ควรทําอะไร ก. ซอม ข. เปลี่ยน ค. อัดจาระบี ง. ตรวจสอบ 3. ขอใดเป็นการลดใชพลังงานมากที่สุด ก. เปิดใชงานเทาที่จําเป็น ข. เปิดใชงานในจํานวนที่เหมาะสม ค. ปรับปรุงอุปกรณในจุดทีมีประสิทธิภาพสูงสุด ง. เลือกใชงานอุปกรณชุดที่มีประสิทธิภาพสูงเป็นหลัก
19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3
20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921732102 การคํานวณเกี่ยวกับการทํางานของมอเตอร (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายและคํานวณหากําลังไฟฟาของมอเตอรได 2. อธิบายและคํานวณหาความเร็วรอบของมอเตอรได
2. หัวขอสําคัญ 1. การคํานวณกําลังมอเตอรไฟฟา 2. การคํานวณหาความเร็วรอบของมอเตอร
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม ฤชากร จิรกาลวสาน. 2550. ภาระและประสิทธิภาพมอเตอร. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.acat.or.th/download/acat_or_th/journal-11/11%20-%2006.pdf
22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 การคํานวณเกี่ยวกับการทํางานของมอเตอร มอเตอรไฟฟาเปนอุปกรณที่นิยมใชกันอยางแพรหลาย เนื่องจากเปนอุปกรณที่ใชควบคุมเครื่องจักรกลตาง ๆ ในงาน อุตสาหกรรมมอเตอรมีหลายแบบหลายชนิดที่ใชใหเหมาะสมกับงานดังนั้นเราจึงตองเลือกใชมอเตอรไฟฟาใหเหมาะสม โดย นอกจากคุณสมบัติของมอเตอรแตละชนิดแลว ตองทราบถึงกําลังและความเร็วรอบของมอเตอรเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ในการใชงานของมอเตอรนั้น ๆ 1. การคํานวณกําลังมอเตอรไฟฟา ในการคํานวณกําลังของมอเตอรไฟฟา ผูปฏิบัติงานตองทราบถึง แรงมา ซึ่งเปนหนวยวัด “พลังงาน” ตัวอยางเชน 1 แรงมา เทากับ 550 ฟุต – ปอนด / วินาที หมายความวา พลังงาน ที่สามารถยกน้ําหนักขนาด 1 ปอนด ขึ้นในแนวดิ่งเปนระยะทาง ได 550 ฟุต ภายในเวลา 1 วินาที นอกจากนั้น 1 แรงมา ยังมีคาที่แปลงเปนหนวยตาง ๆ ได ดังนี้ 1 แรงมา = 2,545 บี.ที.ยู./ชั่วโมง = 746 วัตต ทั้งนี้ การคํานวณคาของแรงมามาจากสูตร งาน(W)
= แรง (F) X ระยะทาง (S)
พลังงาน(P) = งาน (W )ตอหนวยเวลา(วินาที) มีชื่อหนวย วัตต (Watt) โดย1 วัตต = 1 จูลตอวินาที หรือ = งาน (W) X ความเร็ว (V) เมตรตอวินาที (P = W x V) จากขอมูลของเครื่องยนตที่เรามักจะเห็นไดจาก สเปค (Catalogue) หรือปายบอกขอมูล (Name Plate) ของมอเตอรไฟฟา กรณีที่ใชมอเตอรเปนตนกําลัง เราก็จะสามารถคํานวณหากําลังเครื่องจักรได ตัวอยางการคํานวณ เครื่องยนตมีกําลัง 1,500 วัตต จะประเมินแรงมาไดเทากับเทาไร เครื่องยนตมีกําลัง เมื่อ 1 แรงมา ดังนั้น
= 1,500 วัตต = 746 วัตต = 1,500 / 746 = 2.01 แรงมา
23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
เมื่อทราบถึงการคํานวณแรงมาแลว จะสามารถประเมินแรงมาเปรียบเทีย บโดยนํามาใช กับมอเตอรไฟฟาได กรณี ที่ มอเตอรไฟฟามี Name Plate และ Catalogue รวมถึงผลิตไดตามมาตรฐานที่กระทรวงอุตสาหกรรมยอมรับ ทั้งนี้ ปกติมอเตอร จะมีปายที่ระบุ แรงม า (HP) ไวโดยตรงซึ่งใหถือเอาคาแรงม านั้น แตหากระบุเป น กิโลวัต ต หรือวัตต (KW หรือ W) ก็จ ะ สามารถคํานวณหาแรงมาไดดังนี้ จากสูตร แรงมา (HP) = กิโลวัตต (KW) 0.746 หรือ
= วัตต (W) 746
สูตรหากําลังไฟฟาของมอเตอรไฟฟา 1 เฟส P1Ø = VpIp cosθ P
= กําลังไฟฟา (วัตต)
V
= แรงดันไฟฟา (โวลต)
I
= กระแสไฟฟา (แอมแปร)
cosθ = คาตัวประกอบกําลังไฟฟา สูตรหากําลังไฟฟาของมอเตอรไฟฟา 3 เฟส P3Ø = √3 VI Ilcosθ
ตัวอยางการคํานวณหาคากําลังไฟฟาของมอเตอร 1 เฟส และ 3 เฟส ตัวอยางที่ 1
มอเตอรไฟฟา 1 เฟส 220 V 50 Hz กินกระแส 4.5 A คาตัวประกอบกําลัง (P.F.) = 0.8 จงหาวา
มอเตอรตัวนี้มีขนาดกี่วัตต และคิดเปนกี่แรงมา (H.P.) P1Ø = VpIp cosθ = 220 x 4.5 x 0.8 = 792 วัตต คิดเปนแรงมา (H.P.)
=
792
746
= 1.06 แรงมา
24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
ตัวอยางที่ 2
มอเตอรไฟฟา 3 เฟส 380 V 50 Hz มอเตอรตัวนี้กินกระแส 5 A คาตัวประกอบกําลัง (P.F.) = 0.75
จงหาวามอเตอรตัวนี้มีขนาดกี่วัตต และคิดเปนกี่แรงมา (H.P.) P3Ø = √3 VI Ilcosθ
= √3 x 380 x 5 x 0.75 = 2,468.2 วัตต
คิดเปนแรงมา (H.P.)
=
2,468.2 746
= 3.309 แรงมา
หมายเหตุ ถาเครื่องจักรมีมอเตอรขับหลายตัว แรงมาเครื่องจักรคือผลรวมแรงมาของมอเตอรทุกตัว แตในกรณีที่มอเตอรไฟฟาเกาไมมี Name Plate และ Catalogue หรือผลิตไมตรงตามมาตรฐานที่กระทรวงอุตสาหกรรมยอมรับ การคํานวณหาแรงมาเปรียบเทียบสามารถทําไดโดยการวัดคา Frame Size ของมอเตอรแลวเปรียบเทียบคาแรงมาจากตารางที่ 2.1 ตารางที่ 2.1 แสดงการเปรียบเทียบคา Frame Size ของมอเตอรกับคาแรงมา Distance Between of Frame Size
HP At Freq.50 Hz
Bolts
Height Of Bhaft "H"
Side View
Front
(mm.)
"D"
View "A"
(mm.)
(mm.)
3000 RPM
1500 RPM
1000 RPM
750 RPM
(2 Poles)
(4 Poles)
(6 Poles)
(8 Poles)
90 S
90
100
140
2
1.5
1
0.5
90 L
90
125
140
3
2
1.5
0.75
100 L
100
140
160
4
3,4
2
1,1.5
112 M
112
140
190
5.5
5.5
3
2
132 S
132
140
216
7.5, 10
7.5
4
3
132 M
132
178
216
-
10
5.5, 7.5
4
160 M
160
210
254
15, 20
15
10
5.5, 7.5
160 L
160
254
254
25
20
15
10
180 M
180
241
279
30
25
-
-
180 L
180
279
279
-
30
20
15
200 L
200
305
318
40, 50
40
25, 30
20
225 S
225
286
356
-
50
-
25
225 M
225
311
356
60
60
40
30
25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
Frame Size
Height Of
Distance Between of Bolts
Bhaft "H"
Side View
Front
(mm.)
"D"
View "A"
(mm.)
(mm.)
HP At Freq.50 Hz 3000 RPM
1500 RPM
1000 RPM
750 RPM
(2 Poles)
(4 Poles)
(6 Poles)
(8 Poles)
250 S
250
311
406
-
-
-
40
250 M
250
349
406
75
75
50
40
280 S
280
368
457
100
100
60
50
280 M
280
419
457
125
125
75
60
315 S
315
406
508
150
150
100
75
315 M
315
457
508
180
180
125
100
315 L
315
711
508
220
220
150
150
355 S
355
500
610
270
270
180
150
355 M
355
560
610
270
340
220
180
355 L
355
630
610
340
340
270
220
400 S
400
560
686
430
430
340
270
400 M
400
630
686
545
545
430
340
400 L
400
710
686
-
610
480
380
450 M
450
840
760
680
680
480
380
450 L
450
950
760
820
820
545
455
500 M
500
910
860
-
-
680
545
500 L
500
1050
860
-
-
-
680
26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
ตัวอยาง
ภาพที่ 2.1 ตัวอยางมอเตอร มอเตอรมีระยะความสูงระหวางจุดกึ่งกลางแกนเพลากับฐานมอเตอร 100 มม. ระยะหางระหวางจุดยึดฐานมอเตอร ดานขาง 140 มม. และดานหนา 160 มม. ความเร็วรอบ 1500 รอบ/นาที ที่ความถี่ 50 Hz (เปนความถี่ปกติของกระแสไฟฟา ที่ใช) เมื่อเทียบกับตารางที่ 2.1 จะไดแรงมาเปรียบเทียบ เทากับ 3, 4 แรงมา โดยเลือกใชที่แรงมาสูงสุดคือ 4 แรงมา 2. การคํานวณหาความเร็วรอบของมอเตอร มอเตอรมีความเร็วรอบตามทฤษฎี (Synchronous Speed) Ns ดังตอไปนี้ Ns
= 120F/P......................................................(1)
Ns
= ความเร็วรอบ รอบ/นาที (RPM)
F
= ความถี่ประเทศไทย ญี่ปุน และอังกฤษใช 50 Hz สวนสหรัฐอเมริกาใช 60 Hz
P = ขั้ว (Poles) แมเหล็กไฟฟา 2, 4, 6, ………… ตัวอยางการคํานวณหาความเร็วรอบของมอเตอรไฟฟา มอเตอรไฟฟา 3 เฟสตัวหนึ่ง ใชกับแรงดันไฟฟา 380 V 50 Hz มีจํานวนขั้วแมเหล็ก 4 ขั้ว จงหาความเร็วรอบของมอเตอรตัวนี้ Ns
=
=
120F P
120 x 50 4
= 1500 รอบ/นาที
ทางปฏิบตั ิหรือรอบจริงของมอเตอรจะมีคา Slip ทางไฟฟาที่ทําใหความเร็วลดลง 1% - 4% ซึ่งผูผลิตจะบอกมาทางออมนั่นคือ บอกความเร็วรอบมอเตอรตามพิกัดมา ในแผนปายบอกคุณสมบัติเชน 7.5 kW, 380/50/1,450 RPM แสดงวาเปนมอเตอร 4 ขั้ว 27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
ความเร็วรอบตามทฤษฎี 1500 RPM คา Slip ทางไฟฟาคือ (1500 – 1450)/1500 = 3.3% ในการใชงานจริงมักจะใชไมถึงพิกัด (ทํางานเบา) ดังนั้น ความเร็วจะเพิ่มขึ้นเล็กนอย เชน มอเตอรขนาดพิกัด 10HP (7.5 kW), 1450 RPM ถานํามาใชฉุดป ม ที่ตองการกําลังเพลา 5 HP ก็จะเรียกวาทํางาน 50% ของภาระพิกัด (50% Load) ความเร็วที่วัดไดจริงอาจจะเปน (1450 RPM) อยางไรก็ ต ามความเร็ว รอบที่ เ ปลี่ย นเนื่ องจากภาระคิด เปน รอ ยละ ถือวานอยมาก เชน ในกรณีขา งตน เปลี่ย นไปแค (1470 – 1450)/1450 x 100 = 1.4% เทานั้น ดังนั้นในทางปฏิบัติตองมองวาคงที่ ตัวอยางเชน พัดลมระบายอากาศแบบตอขับตรง ดวยมอเตอร 4 ขั้ว ขนาด 1 แรงมา จะเปลี่ยนเปนมอเตอร 4 ขั้ว 2 แรงมา จะไมสามารถทําใหดูดลมมากขึ้นไดเลย เพราะความเร็วรอบ เปลี่ยนนอยมาก ไมมีความหมาย การเปลี่ยนรอบมอเตอรเหนี่ยวนําทําไดโดยการพันมอเตอรแบบหลาย ๆ ขั้ว ความเร็วจึงเปลี่ยนไดในชวงที่จํากัดซึ่งก็ยังใชกันอยู ในพัดลมของเครื่องปรับอากาศขนาดเล็ก สมัยกอนการเปลี่ยนรอบมอเตอรอยางละเอียดจะทําไดยาก ปจจุบันมีการผลิต VSD (Variable Speed Drive) ทําใหสามารถทําไดงายแตลงทุนสูง VSD แบบที่ใชมากก็โดยการเปลี่ยนความถี่ (F) นั่นคือเปลี่ยนจาก 50 Hz เปนความถี่อื่น ๆ ไดอยางละเอียด เพราะความเร็วรอบ = 120F/P นั่นคือความเร็วรอบเปนสัดสวนโดยตรงกับความถี่
28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ตูเย็นหลังหนึ่งใชพลังงานไฟฟาไป 200 จูลในเวลา 10 วินาที ตูเย็นหลังนี้มีกำลังไฟฟาเทาไร ก. 15 วัตต ข. 20 วัตต ค. 25 วัตต ง. 30 วัตต 2. ขอใดคือความเร็วรอบมอเตอร ตามทฤษฎี ก. 12F/P ข. 20F/P ค. 120F/P ง. 200F/P 3. จากทฤษฎีความเร็วรอบ F คืออะไร ก. ความถี่ ข. ขั้วแมเหล็ก ค. รอบในการหมุน ง. ขนาดของมอเตอร
29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3
30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3 0921732103 การคํานวณคาใชจายในการใชเครื่องปรับอากาศ (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายและคํานวณคาใชจายคากระแสไฟฟาที่ใชในเครื่องปรับอากาศได
2. หัวขอสําคัญ - การคํานวณคาใชจายในการใชเครื่องปรับอากาศ
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน. 2556. ระบบการทําความเย็น. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www2.dede.go.th/bhrd/old/web_display/websemple/Industrial(PDF)/Bay29%20Refrigeration.pdf ดิ แอร คอน. 2553. วิธีการคํานวณคาไฟ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www2.dede.go.th/bhrd/old/web_display/websemple/Industrial
32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 การคํานวณคาใชจายในการใชเครื่องปรับอากาศ 1. การคํานวณคาใชจายในการใชเครื่องปรับอากาศ เครื่องปรับอากาศเปนอุปกรณไฟฟาที่ใชพลังงานมากและสิ้นเปลืองคาใชจายสูง โดยเห็นจากพลังงานไฟฟาโดยรวมของ เครื่องใชไฟฟาในบาน ซึ่ง 50-80 % มาจากพลังงานที่ใชกับเครื่องปรับอากาศ ดังนั้น จึงควรทราบและทําความเขาใจ เรื่องคาใชจายเพื่อนําไปพิจารณาประกอบการเลือกซื้อและใชเครื่องปรับอากาศ การคํานวณคาไฟฟาจากเครื่องปรับอากาศ สามารถคํานวณโดยใชคากําลังไฟฟาของเครื่องปรับอากาศคูณจํานวนชั่วโมง การใชงานจริง ดังสูตร W=Pxh W = พลังงานไฟฟา (กิโลวัตต – ชั่วโมง) P = กําลังไฟฟา (วัตต) h = ชั่วโมงการใชงาน (ชั่วโมง) ซึ่งเมื่อไดคาพลังงานไฟฟาใชงานจริงใน 1 เดือนแลว ใหนําคาพลังงานไฟฟาที่เปน (ยูนิต) มาคิดตามอัตราการคิดคาไฟฟา ซึ่งการคิดคาไฟฟาของการไฟฟานครหลวงจะคิดคาไฟออกเปน 3 สวน ดังนี้ สวนที่ 1 คาไฟฟาฐาน แบงออกเปน 2 สวน 1) คาพลังงานไฟฟาที่ใชงานจริง 2) คาบริการ ดังนั้น คาไฟฟาฐาน = คาพลังงานไฟฟาที่ใชงานจริง + คาบริการ สวนที่ 2 คาไฟฟาผันแปร จํานวนพลังงานไฟฟา x คา Ft
(ซึ่งคา Ft นี้ การไฟฟาจะเปนผูกําหนด)
สวนที่ 3 คาภาษีมูลคาเพิ่ม 7% [คาไฟฟาฐาน + คา Ft ]x7 100
ดังนั้น คาไฟฟา = คาไฟฟาฐาน + คาไฟฟาผันแปร + คาภาษี 7%
33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
อัตราคาไฟฟาประเภทที่ 1 บานอยูอาศัย 1.1 อัตราปกติปริมาณการใชพลังงานไฟฟาไมเกิน 150 หนวยตอเดือน คาพลังงานไฟฟา 15 หนวย (กิโลวัตตชั่วโมง) แรก (หนวยที่ 1 - 15)
หนวยละ
2.3488 บาท
10 หนวยตอไป (หนวยที่ 16 – 25)
หนวยละ
2.9882 บาท
10 หนวยตอไป (หนวยที่ 26 – 35)
หนวยละ
3.2405 บาท
65 หนวยตอไป (หนวยที่ 36 – 100)
หนวยละ
3.6237 บาท
50 หนวยตอไป (หนวยที่ 101 – 150)
หนวยละ
3.7171 บาท
250 หนวยตอไป (หนวยที่ 151 – 400)
หนวยละ
4.2218 บาท
เกินกวา 400 หนวย (หนวยที่ 401 เปนตนไป)
หนวยละ
4.4217 บาท
คาบริการ (บาท/เดือน) :
8.19
1.2 อัตราปกติปริมาณการใชพลังงานไฟฟาเกินกวา 150 หนวยตอเดือน คาพลังงานไฟฟา 150 หนวย (กิโลวัตตชั่วโมง) แรก (หนวยที่ 1 - 150)
หนวยละ
3.2484 บาท
250 หนวยตอไป (หนวยที่ 151 – 400)
หนวยละ
4.2218 บาท
เกินกวา 400 หนวย (หนวยที่ 401 เปนตนไป)
หนวยละ
4.4217 บาท
คาบริการ (บาท/เดือน) :
38.22
ตัวอยางการคํานวณเครื่องปรับอากาศขนาด 24,000 BTU 220 V 50 Hz มีขอมูลจากเนมเพลตวาใชกําลังไฟฟา 1,450 วัตต ใน 1 วันจะเปดใชงานเปนเวลาประมาณ 8 ชั่วโมง จงคํานวณหาคาไฟฟาของเครื่องปรับอากาศ W=Pxh ใน 1 วัน เครื่องปรับอากาศใชพลังงานไฟฟา ใน 1 เดือน เครื่องปรับอากาสใชพลังงานไฟฟา แปลงเปนยูนิต
= 1,450 x 8 = 11,600 ชั่วโมงวัตต = 11,600 x 30 = 348,000 วัตต – ชั่วโมง =
34,800 1,000
= 348 กิโลวัตต – ชั่วโมง หรือ 348 ยูนิต
นํ า จํ า นวนพลั ง งานไฟฟ า ที่ เ ครื่ อ งปรั บ อากาศใช ไ ปทั้ ง หมดไปคิ ด ตามอั ต ราการคิ ด ค า ไฟฟ า ของการไฟฟ า โดยตัวอยางนี้ คิดที่บานอยูอาศัยอัตรา 1.2
34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
ประเภทที่ 1
บานอยูอาศัยอัตรา 1.1 (อัตราปกติ แบบกาวหนา) บานอยูอาศัยอัตรา 1.2 (อัตราปกติ แบบกาวหนา) บานอยูอาศัยอัตรา 1.3 (อัตรา TOU)
ผูใชไฟฟามีปริมาณการใชไฟฟาพลังงาน
348
หนวยตอเดือน
การปรับอัตราคาไฟฟาโดยอัตโนมัติ (Ft)
-15.90 สตางค/หนวย
สวนที่ 1 คาไฟฟาฐาน 1) คาพลังงานไฟฟา 150 หนวย (หนวยที่ 1 - 150)
487.26
บาท
250 หนวยตอไป (หนวยที่ 151 - 400)
835.92
บาท
เกินกวา 400 หนวย (หนวยที่ 401 เปนตนไป) รวม
บาท 1,323.18
บาท
38.22
บาท
1,361.40
บาท
-55.33
บาท
(คาไฟฟาฐาน + คา Ft) x 7/100
91.42
บาท
รวมเงินคาไฟฟา
1,397.49
บาท
2) คาบริการ รวมคาไฟฟาฐาน สวนที่ 2 คาไฟฟาผันแปร (Ft) จํานวนพลังงานไฟฟา x คา Ft สวนที่ 3 คาภาษีมูลคาเพิ่ม 7%
35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. เครื่องปรับอากาศ มอก. ขนาด 34,000 BTU ใชคาไฟตอเดือนประมาณเทาไร ก. 1,800 ข. 2,000 ค. 2,450 ง. 3,600 2. เครื่องปรับอากาศ เบอร 5 ขนาด 6,000 BTU ใชคาไฟตอเดือนประมาณเทาไหร ก. 300 ข. 250 ค. 500 ง. 850 3. เครื่องปรับอากาศรุน GC-S06LC มีขนาดทําความเย็น 5.5 kW ชั่วโมงที่ใชงานโดยประมาณ 6 ชัว่ โมง คาไฟตอหนวย 3 บาท COP (Coefficient of Performance) 3.46 ใชคาไฟตอเดือนประมาณเทาไหร ก. 1,200 บาทตอเดือน ข. 800 บาทตอเดือน ค. 858.38 บาทตอเดือน ง. 1,2541 บาทตอเดือน
36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3
37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
3. นายธวัช
เบญจาทิกุล
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
4. นายสุรพล
พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา
ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน
ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก
7. นายวัชรพงษ
มุขเชิด
ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ
คําเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพสาลี
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกลา
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กําภู ณ อยุธยา
สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงควัฒนานุรักษ
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
ปกหลัง
39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน