คู่มือครูฝึก ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 3 โมดูล 11

Page 1

หนาปก



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

คูมือครูฝก 0920164170203 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 11 09217322 หลักความปลอดภัยในการทํางาน

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

คํานํา

คูมือครูฝกสาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3 โมดูล 11 หลักความปลอดภัย ในการทํางานฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใต โครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือ ในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ อบรมผูรับการฝกใหสามารถนําความรูเกี่ยวกับวิธีการเลื อก อุป กรณปอ งกัน ทางไฟฟา วิธีก ารตั้ง คา อุป กรณค วบคุม การใชก ระแสไฟฟา กอ นเริ่ม เดิน เครื่อ งปรับ อากาศ การเลือ ก ขนาดสายไฟฟากํา ลัง และสายไฟฟา ควบคุม ตามมาตรฐานการติดตั้ง และติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน น ผลลั พธ การฝ กอบรมในการที่ทําใหผูรับ การฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงาน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเ คราะหงานอาชี พ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชี พ จะถูกกําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝน จนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส ง มอบการฝ ก สามารถดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวกของตน หรื อ ตามแผนการฝ ก หรื อ ตามตารางการนั ด หมาย การฝ ก หรื อ ทดสอบประเมิ น ผลความรู ความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียม และดํา เนิ น การทดสอบ ประเมิ น ผลในลั ก ษณะต า ง ๆ อั น จะทํา ให ส ามารถเพิ่ ม จํา นวนผู รั บ การฝ ก ได ม ากยิ่ ง ขึ้ น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึ งถื อเป น รู ป แบบการฝ ก ที่ มี ความสํา คั ญต อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน ทั้งในปจ จุบัน และอนาคต ซึ่งหากมี ก ารนํา ระบบ การฝกอบรมตามความสามารถมาใชในการพัฒนาฝ มือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชน อยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

เรื่อง

สารบั ญ

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับครูฝก

1

โมดูลการฝกที่ 11 09217322 หลักความปลอดภัยในการทํางาน หัวขอวิชาที่ 1 0921732201 การเลือกอุปกรณปองกันทางไฟฟา 15 หัวขอวิชาที่ 2 0921732202 การตั้งคาอุปกรณควบคุมการใชกระแสไฟฟา 25 หัวขอวิชาที่ 3 0921732203 การเลือกขนาดสายไฟฟากําลัง และสายไฟฟาควบคุมตามมาตรฐานการติดตั้ง 45 คณะผูจัดทําโครงการ 59

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับการฝกตองเรียนรูและฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูลและรหัสหัวขอวิชาเปนตัวกําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑการประเมิน การฝกอบรม ทําใหผูรับ การฝกอบรมมีความสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึง่ ใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขารับ การฝกอบรมออนไลน ระบบการฝกอบรมภาคทฤษฎีผานอุปกรณอิเล็กทรอนิกสหรืออุปกรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชงานระบบ แบงสวนการใชงานตามความรับ ผิดชอบของผูมีสวนไดสวนเสียดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับ การฝกเรียนรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝกเปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝ กกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อถึงวัน ฝกภาคปฏิบัติ ครูฝกใหใบงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝกปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับการฝกแกผูรับการฝกที่ศูนยฝกอบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

- ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อถึงวัน ฝกภาคปฏิบัติ ครูฝกใหใบงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝกปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning - ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหาแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝกที่ใชคอมพิว เตอร ระบบปฏิบัติการ Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเค ชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อถึงวัน ฝกภาคปฏิบัติ ครูฝกใหใบงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝกปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

- สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

5. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบาน และการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164170203

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางเครื่องปรับอากาศใน บานและการพาณิชยขนาดเล็กเพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชาง เครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3 ดังนี้ 1.1 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับสัญลักษณสากลของอุปกรณ และเขียนแบบรางเพื่อแสดงแผนผังการติด ตั้ง เครื่องปรับอากาศ 1.2 มีความรูความสามารถในการใชเครื่องมือวัดตาง ๆ ที่ใชในเครื่องปรับอากาศ 1.3 มี ความรู เ กี่ ย วกั บ การทํ า ความเย็ น ด ว ยระบบระเหยตรง (Direct Expansion System) และระบบน้ํ าเย็ น (Chilled Water System) 1.4 มี ความรู เ กี่ ย วกั บ ระบบสารทํา ความเย็ น ทว ม (Flooded System) และไดเร็กเอ็กซ แพนชั่น วาลว (Direct Expansion Valve) 1.5 มีความรูเกี่ยวกับองคประกอบที่มีผลตอสมรรถนะของคอนเดนเซอร และแฟนคอยลแบบครีบ 1.6 มีความรูเกี่ยวกับองคประกอบที่มีผลตอสมรรถนะของคอนเดนเซอรแบบระบายความรอนดวยน้ํา 1.7 มีความรูเกี่ยวกับพื้นผิวถายเทความรอนผานชั้นตัวนําความรอนลําดับตาง ๆ 1.8 มีความรูความสามารถในการแขวนหรือยึดทอใหมั่นคง 1.9 มีความรูเกี่ยวกับผลกระทบของสารเจือปนในสารทําความเย็น 1.10 มีความรูเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟา การคํานวณหากําลังไฟฟาของมอเตอร การคํานวณหาความเร็วรอบ ของมอเตอร การคํานวณคาใชจายคากระแสไฟฟาที่เครื่องปรับอากาศใช 1.11 มีความรูเกี่ยวกับหลักความปลอดภัยในการทํางาน

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงาน ที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 50 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรไดหนวยฝก จึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบันพัฒนา ฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก

11 โมดูล

4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขา ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขา ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3 4.3 ผู รั บ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ า นการฝ ก ครบทุ ก หน ว ยความสามารถ จะได รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขา ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 11 1. ชื่อหลักสูตร 2. ชื่อโมดูลการฝก

รหัสหลักสูตร

สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3

0920164170203

หลักความปลอดภัยในการทํางาน

รหัสโมดูลการฝก 09217322

3. ระยะเวลาการฝก

รวม 5 ชั่วโมง 30 นาที

4. ขอบเขตของหน วย

หน ว ยการฝ กนี้ พั ฒ นาขึ้น ใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับ การฝ ก

การฝก

ทฤษฎี 1 ชั่วโมง 30 นาที

ปฏิบัติ 4 ชั่วโมง

เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายวิธีการเลือกอุปกรณปองกันทางไฟฟาได 2. อธิบายวิธีการตั้งคาอุปกรณควบคุมการใชกระแสไฟฟากอนเริ่มเดิน เครื่องปรับอากาศได 3. ตั้งคาอุปกรณควบคุมการใชกระแสไฟฟากอนเริ่มเดินเครื่องปรับอากาศได 4. อธิบายการเลือกขนาดสายไฟฟากําลัง และสายไฟฟาควบคุมตามมาตรฐาน การติดตั้งได

5. พื้นฐาน ความสามารถของ ผูรับการฝก

ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1. มีค วามรูพื้น ฐานเกี่ย วกับ วิธีก ารเลือ กอุป กรณปอ งกัน ทางไฟฟา วิธีก ารตั้ ง ค า อุป กรณ ค วบคุม การใชก ระแสไฟฟา กอ นเริ่ม เดิน เครื่อ งปรับ อากาศการเลื อ ก ขนาดสายไฟฟา กํา ลั ง และสายไฟฟาควบคุมตามมาตรฐานการติดตั้งได หรือผาน การฝกอบรมที่เกี่ยวของ จากหนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานระดับ 2 มาแลว 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 10 มาแลว

6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ระยะเวลาฝก ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายวิธีการเลือกอุปกรณ

(ชั่วโมง: นาที)

ชื่อหัวขอวิชา

ทฤษฎี ปฏิบัติ

รวม

หัวขอที่ 1 : การเลือกอุปกรณปองกันทางไฟฟา

0:30

-

0:30

หัวขอที่ 2 : การตั้งคาอุปกรณควบคุมการใช

0:30

4:00

4:30

0:30

-

0:30

1:30

4:00

5:30

ปองกันทางไฟฟาได 2. อธิบายวิธีการตั้งคาอุปกรณ ควบคุมการใชกระแสไฟฟา

กระแสไฟฟา

กอนเริ่มเดินเครื่องปรับอากาศได 3. ตั้งคาอุปกรณควบคุมการใช กระแสไฟฟากอนเริ่มเดิน เครื่องปรับอากาศได 4. อธิบายการเลือกขนาด

หัวขอที่ 3 : การเลือกขนาดสายไฟฟากําลัง และ

สายไฟฟากําลัง และสายไฟฟา

สายไฟฟาควบคุมตามมาตรฐาน

ควบคุมตามมาตรฐานการติดตั้ง

การติดตั้ง

ได รวมทั้งสิ้น

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921732201 การเลือกอุปกรณปองกันทางไฟฟา (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายวิธีการเลือกอุปกรณปองกันทางไฟฟาได

2. หัวขอสําคัญ - การเลือกอุปกรณปองกันทางไฟฟา

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจน เขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม วิทยาลัยสารพัดชางกําแพงเพชร. อุปกรณปองกันไฟฟา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/book-16.html

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 การเลือกอุปกรณปองกันทางไฟฟา 1. การเลือกอุปกรณปองกันทางไฟฟา 1.1 เซอร กิ ต เบรกเกอร (Curcuit Breaker) เซอร กิ ต เบรกเกอร จ ะทํา งานเกี่ ย วกั บ การป อ งกั น เมื่ อ กระแสไฟฟ า เกิ น โดยแบ ง ออกเป น 3 ประเภท 1.1.1 Molded Case Circuit Breaker (MCCB) มีหนาที่เปนสวิตชเปดปดดวยมือ และเปนตัวเปดวงจรอัตโนมัติเมื่อมีกระแสเกิน MCCB ที่ขายอยูทั่วไป มี 2 ชนิด ไดแก 1) Thermal Magnetic MCCB มี โ ครงสร า งการทํา งาน 2 ส ว น ได แ ก Thermal Unit ทํา หน า ที่ ปลดวงจรเมื่อมี โ หลด เกิน ความรอ นจะทํา ใหแ ผน ไบเมทอลโคง งอไปปลดวงจรออกและMagnetic Unit ทํา หน า ที่ ป ลดวงจรเมื่ อ มี ก ารลั ด วงจร หรื อ มี ก ระแสสู ง 8 – 10 เท า ไหลผ า น ทํ า ใ ห เ กิ ด สนามแม เ หล็ ก ไปดึ ง ปลดวงจรออก

ภาพที่ 1.1 Thermal Magnetic MCCB

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

2) Electronic Trip MCCB เปนวงจรอิเล็กทรอนิกสที่มีไมโครโปรเซสเซอร ทําหนาที่วิเคราะหคากระแสไหลผาน เมื่อมีคา สูงกวากําหนดจะไปดึงปลดวงจร โดยสามารถปรับตั้งคากระแสและเวลาปลดวงจรได

ภาพที่ 1.2 Electronic Trip MCCB 1.1.2 Air Circuit Breaker (ACB) เหมาะสํ าหรั บระบบที่ แรงดั นไฟฟ าน อยกว า 1,000 V โครงสร างทํ าด วยเหล็ กมี น้ํ าหนั กมาก ใช วงจร อิเล็กทรอนิกสในการสั่งปลดวงจร

ภาพที่ 1.3 Air Circuit Breaker 1.1.3 Miniature Circuit Breaker มีขนาดเล็ก ใชติดตั้งเปนอุปกรณปองกันในแผงวงจรยอย นิยมใชปองกันวงจรแสงสวาง เครื่องปรับอากาศ และเครื่องทําน้ํารอน

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ภาพที่ 1.4 Miniature Circuit Breaker 1.2 ฟ ว ส (Fuse) เปนอุปกรณปองกันกระแสเกิน เนื่องจากโหลดเกินและการลัดวงจร เมื่อเกิดการโหลดเกินจะทําใหเกิดความรอน ซึ่ง จะไปหลอมละลายฟวสจนขาด และตัดวงจรการไหลของไฟฟา ฟวสแรงดันต่ําจะใชกับไฟฟากระแสสลับที่มีแรงดันต่ํากวา 600 โวลต ไดแก 1) ฟ ว ส ต ะกั่ ว ทํา จากส ว นผสมของตะกั่ ว กั บ ดี บุ ก ซึ่ ง มี จุ ด หลอมละลายต่ํา มั ก จะใช กั บ คั ต เอาต (Cut out) ฟวสตะกั่วจะมีหลายขนาดตามเบอร ซึ่งจะมีอัตราการทนกระแสตางกัน

ภาพที่ 1.5 ฟวสตะกั่ว 2) ฟวสกามปู มีลักษณะแบนเรียบ หัวทายทําดวยแผนทองแดงสําหรับขันสกรู ใชติดตั้งรวมกับคัตเอาต โดยดูพิกัดกระแสไดที่แผนทองแดง

ภาพที่ 1.6 ฟวสกามปู 19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

3) ปลั๊กฟวส หรือ เรียกอีกอยางว า ฟวสหลอด เนื่องจากฟวสบรรจุ ไวในหลอดกระเบื้ องที่ มีทรายบรรจุ ไว รอบ ๆ เพื่อระบายความรอน

ภาพที่ 1.7 ปลั๊กฟวส 4) คารทริดจฟวส (Cartridge Fuse) เรียกวา ฟวสกระบอก ใชติดตั้งในเซฟตี้สวิตช มีอยูดวยกัน 2 แบบ คือ - แบบปลอก มีขนาดเล็ก ทนกระแสไดตั้งแต 10 A – 60 A - แบบใบมีด มีขนาดใหญ ทนกระแสไดตั้งแต 70 A ขึ้นไป สามารถเปลี่ยนไสฟวสได 1.3 เซฟตี้สวิ ตช (Safety Switch) ทําหน าที่ป องกั นกระแสไฟฟ าไหลเกิน ในวงจร และสามารถใชเป ดป ดวงจรเซฟตี้สวิตช มีสวนประกอบ ดังนี้ 1) ตูสวิตช ทํามาจากโลหะแข็งแรง ทนตอแรงระเบิดของฟวสได 2) ฝาตู 3) ฐานยึดฟวส ตองยึดติดกับตูใหแนน เพื่อใหกระแสไฟฟาไหลสะดวกและทนตอแรงดึงในการถอด และใสฟวส 4) ฟวส ใชคารทริดจฟวส 5) คันโยกสวิตช เปนตัวเปดปดวงจรไฟฟา 6) ขั้วตอสาย ตอสายเมนที่มาจากระบบจายไฟของการไฟฟา และเปนขั้วตอไปยังโหลดเซ็นเตอร 7) ขั้วตอสายดิน ใชเปนขั้วตอสายดินของวงจร

ภาพที่ 1.8 เซฟตี้สวิตช 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

1.4 โหลดเซ็ น เตอร (Load Center) ทําหนาที่เปนศูนยรวมการควบคุมโหลดใหตัดและตอวงจรของแตละวงจรยอย

ภาพที่ 1.9 โหลดเซ็นเตอร 1.5 สวิตชทิชิโน (Ticino) ใชในการควบคุมวงจรเฉพาะชุด เชน ปมน้ํา มอเตอร ตูเย็น เปนตน อาศัยการทํางานแผนโลหะ ที่เรียกวา ชั้นทคอยลทริป (Shunt Coil Trip) เพื่อปรับอัตราการไหลของกระแสไฟฟา

ภาพที่ 1.10 สวิตชทิชิโน 1.6 อุ ป กรณ ป อ งการลั ด วงจรลงดิ น เบรกเกอรกันไฟดูด ELCB จะมีคาความไวในการตรวจจับกระแสไฟรั่วหรือที่เรียกวาคา Sensitive มีหนวยเปน มิลลิแอมแปร : mA หลักการทํางานของ ELCB คือการเปรียบเทียบกระแสไฟฟาระหวางสายไฟ 2 สาย โดยที่ในสภาวะ ปกตินั้น กระแสไฟฟาที่ไหลไปกลับตองมีคาเทากัน ผลรวมของคากระแสไฟฟาที่ไหลไปและกลับจะมีคาเทากับ 0 แตหากมีกระแสรั่วออกจากระบบหรือมีคนถูกไฟดูด ผลรวมของกระแสไฟฟาที่ไหลไปและกลับจะไมเปน 0 และผลตาง ที่เ กิด ขึ้น นี้หากมีคามากพอถึงจุดที่กําหนด ก็จ ะถูกสงเขาวงจรขยายสัญญาณ และสั่งการใหคอยลแมเ หล็กภายใน ปลดวงจรออกทันที

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ภาพที่ 1.11 วงจรของอุปกรณปองกันอันตรายจากไฟฟาดูด 1.7 รีเลยปองกันทางไฟฟา เปนอุปกรณควบคุมสภาวะผิดปกติที่จะทําใหเกิดความเสียหายตอวงจรไฟฟา โดยจะสงสัญญาณใหเซอรกิต เบรกเกอรตัดวงจรที่มีปญหาทันที แตระบบใหญยังสามารถทํางานตอไปได โดยมีรีเลยหลายชนิดดังนี้ 1) รีเลยระยะไกล (Distance Relay) ใชตรวจสอบระยะทางในการเกิดฟอลต 2) รีเลยตรวจจับแรงดันต่ําเกิน (Under Voltage) ทํางานเมื่อแรงดันมีคาต่ําลงกวาพิกัด 3) รีเลยตรวจจับแรงดันสูงเกิน (Over Voltage) ทํางานเมื่อแรงดันมีคาสูงเกินพิกัด

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. การเลือกใชอุปกรณปองกันทางไฟฟาไมจําเปนตองคํานึงถึงสิ่งใด ก. กระแสไฟฟาที่ใชงาน ข. คุณภาพของอุปกรณปองกันทางไฟฟา ค. ลักษณะการใชงาน ง. เวลาในการใชงาน 2. ขอใดเปนอุปกรณปองกันทางไฟฟา ก. ฟวส ข. เทอรมินอล ค. สายไฟ THW ง. สวิตช 3. พิกัดกระแสไฟของฟวสกามปู สามารถสังเกตไดที่ใด ก. แผนทองแดงที่ฟวส ข. แผนปายปะเก็น ค. ขั้วเบรกเกอร ง. ตูควบคุม

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921732202 การตั้งคาอุปกรณควบคุมการใชกระแสไฟฟา (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายวิธีการตั้งคาอุปกรณควบคุมการใชกระแสไฟฟากอนเริ่มเดินเครื่องปรับอากาศได 2. ตั้งคาอุปกรณควบคุมการใชกระแสไฟฟากอนเริ่มเดินเครื่องปรับอากาศได

2. หัวขอสําคัญ - การตั้งคาอุปกรณควบคุมทางไฟฟา

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) เครื่องควบคุมการใชกระแสไฟฟา 2) ระบบวงจรไฟฟาที่พรอมใชงาน

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจน เขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

7. บรรณานุกรม ศิลารีเสิรช. Real Time Controller. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.es.co.th/Schemetic/PDF/SILA-TMX-28.PDF

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 การตั้งคาอุปกรณควบคุมการใชกระแสไฟฟา 1. การตั้งคาอุปกรณควบคุมทางไฟฟา 1.1 ระบบทําน้ําเย็นระบายความรอนดวยน้ํา ระบบทําน้ําเย็นระบายความรอนดวยน้ํา มีสวนประกอบสําคัญ คือ เครื่องทําน้ําเย็น (Chiller) เครื่องสูบน้ําเย็น (Chiled Water Pump) เครื่ องสู บ น้ํ า ระบายความร อน (Condenser Water Pump) หอผึ่งน้ํา (Cooling Tower) เครื่ อ งส ง ลมเย็ น (Air Handintg Unit, Fan Coil Unit) ระบบปรั บ อากาศเมื่ อ ใช ง านไประยะเวลาหนึ่ ง จะทํ า ให สมรรถนะลดลง ทําใหเกิดการใชพลังงานสูงขึ้น หรือถามีการใชงานไมถูกตองก็ทําใหเกิดการใชพลังงานสูงเชนกัน ดังนั้น ผูดูแลระบบปรับอากาศจะตองศึกษาถึงการใช การดูแลรักษา และปรับปรุงระบบเพื่อใหเกิดการใชพลังงานได อยาง มีประสิทธิภาพสูงสุด 2 สวนหลัก ดังนี้ 1.1.1 การเปดระบบปรับอากาศและการตรวจสอบการทํางานกอนการใช ระบบปรับอากาศตองมีขอมูล การสํารวจวาอาคารนั้น ๆ ในแตละเวลาของวัน มีภาระความเย็นเทาใด เพื่อจะไดเดินเครื่องปรับอากาศ ตามจํานวนของภาระความเย็นในแตละเวลานั้น เชน เริ่มเดินเครื่องทําน้ําเย็น 1 ชุด ตั้งแตเวลา 7.30 น. และเพิ่มขึ้นอีก 1 ชุด เวลา 10.00 น. และปดเครื่องแรกกอนเลิกใชอาคาร 1 ชั่วโมง และเครื่องที่ 2 ปดในเวลาเลิกงาน โดยผูดูแลจะตองเปนผูวัดอุณหภูมิภายในอาคารวาจะใชชวงเวลาการปดและ เปดเครื่องปรับอากาศแตละชุดเทาใด จึงจะไมทําใหสภาวะความสุขสบายของผูอยูอาศัยเสียไป ลําดับขั้นตอน การเปดอุปกรณในระบบตาง ๆ ควรดําเนินการ ดังนี้ 1) เปดหอผึ่งน้ําในขนาดที่เหมาะสมกับเครื่องทําน้ําเย็นที่จะเปด 2) เปดปมน้ําระบายความรอนตามจํานวนที่เปดหอผึ่งน้ํา 3) เปดปมน้ําเย็นในขนาดเทากับเครื่องทําน้ําเย็น 4) เปดเครื่องทําน้ําเย็นในขนาดที่เหมาะสมกับภาระการปรับอากาศของอาคารขณะนั้น 5) ตรวจสอบอุณหภูมิของน้ําเย็นไดตามตองการแลวจึงเปด FCU และ AHU กรณีถาความเย็น ยังไมเพียงพอ จะตองเปดหอผึ่งน้ําเพิ่มขึ้น โดยดําเนินการตามขั้นตอนที่กลาวแลว ในการเปด อุปกรณตางๆ ไมควรใหอยูภายใน 15 นาทีเดียวกัน เนื่องจากจะทําใหเกินความตองการไฟฟาสูงสุด ของอาคารได และในการเปดเครื่องทําน้ําเย็นเพิ่มนั้นตองตรวจสอบอุณหภูมิน้ําเย็นใหแนใจวา อุณหภูมิน้ําเย็นไมไดตามที่ตั้งไวและควรจะเปดหอผึ่งน้ําเพิ่มหรือไม

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

6) ควรตรวจดูอุณหภูมิน้ําระบายความรอนที่เขาเครื่องไดตามที่กําหนดไวหรือไมหลังจากระบบ ทํางานปกติแลวควรตรวจสอบดูคาตาง ๆ ตอไปนี้ - CHILLED WATER LEAVING POINT ป ก ติ เ มื่ อ เ ค รื่ อ ง ทํ า ง า น ไ ด ถู ก ต อ ง แ ล ะ เ ป ด ไ ด เพียงพอกับภาระการปรับอากาศ และอานอุณหภูมิได 44 °F หรือ 45 °F คาที่อานได สูงกวานี้จะแสดงผลวาภาระการปรับอากาศยังสูง - CHILLED WATER ENTERING POINT ปกติ จ ะอ า นค า ได สู ง พอควร และจะได คาประมาณตั้งแต 52 °F จน 58 °F ถึง คาที่อานไดสูงขึ้นแสดงผลวาภาระของระบบ ปรับอากาศของอาคารยังสูง - ENTERING CONDENSER TEMPERATURE ปกติจะอานคาประมาณตั้งแต 85 °F จนถึง 90 °F อุณหภูมิที่สูงกวานี้แสดงผลวาเปดหอผึ่งน้ํานอยเกินไป - LEAVING CONDENSER TEMPERATURE ปกติควรจะอานคาไดโดยประมาณที่ชวง 95100 °F อุณหภูมิที่สูงกวา 100 °F แสดงวาเปดหอผึ่งน้ํานอยเกินไป ควรเปดเพิ่ม เพื่อลดคาการใชพลังงานไฟฟาที่เครื่องทําน้ําเย็น - CHILLED WATER SET POINT ควรตั้งคาไวที่ 45°F - CURRENT LIMITING SET POINT ควรตั้งคาไวที่ 80 - 90% - CAPACITY CONTROL โดยปกติจ ะสามารถเลือ กการใชง านไดเ ปน 2 แบบ ขึ้นอยูกับวิจารณญาณและประสบการณของชางควบคุม - OIL PRESSURE คาความดันของน้ํามันหลอลื่นชุดคอมเพรสเซอรของระบบทั่ว ๆ ไป จะมีคาประมาณ 45 - 60 psi - คาอื่น ๆ เชน EVAPORATOR PRESSURE, ONDENSER PRESSURE OIL TEMPERATURE ของเครื่องทําน้ําเย็นแตละประเภทจะแตกตางกัน ในที่นี้จะไมแสดงคาไว - POWER CONSUMPTION เปนคาที่แสดงการใชพลังงานไฟฟาของเครื่องทําน้ําเย็น หมายเหตุ ในการเดินอุปกรณที่ใชไฟฟาของระบบปรับอากาศในแตละขั้นตอนควรจะเดินโดยเวนชวงหางกันประมาณ 2-3 นาที และถาเปนไปไดโหลดใหญๆควรเดินใหหางกันเกิน 15 นาที

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

1.1.2 การปดระบบปรับอากาศ การปดอุปกรณตาง ๆ ควรปดใหเร็วที่สุดโดยไมจําเปนตองเวนชวงหางในการปด โดยเริ่มปดเครื่องทํา น้ําเย็น ปดปมน้ําระบายความรอนและปดหอผึ่งน้ํา ในสวนปมน้ําเย็นและอุปกรณสงลมเย็น (AHU / FCU) สามารถเดินไดอีกประมาณ 15 - 30 นาที แลวจึงปด ดังนั้นจะเห็นวากอนเลิกงานประมาณ 15 - 30 นาที อุปกรณบางชุดสามารถหยุดไดแลว แตทั้งนี้ควรตรวจสอบอุณหภูมิภายในบริเวณปรับอากาศ หลังจากทําการหยุด เดินเครื่องทําน้ําเย็นแลว เนื่องจากอาคารบางลักษณะไมสามารถเก็บความเย็นไวไดนาน เพราะอาคารใชวัสดุ ประกอบอาคารเปนวัสดุที่ทําใหความรอนจากภายนอกเขาสูอาคารไดมาก ดังนั้นบางอาคารอาจหยุดเครื่องทํา น้ําเย็นกอนเลิกงานมากกวา 30 นาที 1.2 ระบบทําน้ําเย็นแบบระบายความรอนดวยอากาศ (Air Cooled Water Chiller) ระบบทําน้ําเย็นระบายความรอนดวยอากาศ จะมีสวนประกอบสวนใหญเหมือนกับระบบน้ําเย็นระบายความรอน ด วยน้ํ า เพี ย งแต ขาดป มน้ํ า ระบายความร อนและหอผึ่งน้ํา ดังนั้ น สารทําความเย็น ในคอนเดนเซอรจ ะถูกระบาย ความรอนออกโดยใชอากาศแวดลอม 2 สวนหลัก ดังนี้ 1.2.1 การเปดระบบปรับอากาศ เริ่มจากการเปดปมน้ําเย็น แลวเปดเครื่องทําน้ําเย็นเพื่อทําความเย็นแกน้ําในระบบทอกอน แลวจึงทยอยเปด AHU และ FCU พร อ ม ๆ กั บ การเพิ่ ม เปอร เ ซนต โ หลดเอง เครื่ อ งทํ า น้ํ า เย็ น ในการตรวจสอบนั้ น ปฏิ บั ติ เชนเดียวกับเครื่องทําน้ําเย็นแบบระบายความรอนดวยน้ํา เรื่องการระบายความรอนนั้น เครื่องปรับอากาศแบบ ระบายความรอนดวยอากาศ จะมีประสิทธิภาพในการระบายความรอนที่ต่ํากวาแบบระบายความรอนดวยน้ํ า เนื่องจากความจุความรอนของอากาศต่ํากวาของน้ําจึงสงผลใหอากาศมีความสามารถในการพาความรอนออกจาก ทอคอนเดนเซอรไดนอยกวา ดังนั้น เครื่องทําน้ําเย็นที่มีขนาดเทากัน เครื่องที่ระบายความรอนดวยอากาศ จะมีความดันคอนเดนเซอรสูงกวาแบบระบายความรอนดวยน้ํา จึงทําใหใชพลังไฟฟาสูง 1.2.2 การปดระบบปรับอากาศ เริ่ม จากการปด เครื่อ งทํา น้ํา เย็น ตอ จากนั้น เวน ชว งหา งประมาณ 15-20 นาที แลว คอ ยปด ปม น้ํ า เย็น และ AHU หรือ FCU เนื่องจากน้ําในระบบท อและความเย็ นในอาคารยังคงหลงเหลื อที่ จะใช ไปได อี กช วง ระยะเวลาหนึ่ง

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ในการเปดระบบทําน้ําเย็นระบายความรอนดวยน้ํา ตองเปดอุปกรณใดเปนลําดับแรก ก. เครื่องทําน้ําเย็น ข. ปมน้ําระบายความรอน ค. เปดปมน้ําเย็น ง. หอผึ่งน้ํา 2. คาความดันของน้ํามันหลอลื่นชุดคอมเพรสเซอรอยูที่ประมาณเทาใด ก. 45-60 psi ข. 100-150 psi ค. 150 -200 psi ง. 60-70 psi 3. AHU ใชนําเย็นจากสวนใดในการทําความเย็น ก. FCU ข. ปมน้ําเย็น ค. คอมเพรสเซอร ง. เครื่องสูบน้ําระบายความรอน

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบงาน ใบงานที่ 2.1 การตั้งคาอุปกรณควบคุมการใชกระแสไฟฟา 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ตั้งคาอุปกรณควบคุมการใชกระแสไฟฟากอนเริ่มเดินเครื่องปรับอากาศได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน รวม 2 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับ การฝ กตั้ ง คาโปรแกรมการเปด – ปด เครื่ องปรั บอากาศแบบระบายความร อนดวยน้ํา เพื่ อการประหยั ดพลั งงาน

แบบบันทึกขอมูลพื้นฐาน Chilled Water Set Point

………………………………………………………………… °F

Current Limit Set Point

………………………………………………………………… %

Chilled Water Entering Point

………………………………………………………………… °F

Chilled Water Leaving Point

………………………………………………………………… °F

Condenser Water Entering Point ………………………………………………………………… °F Condenser Water Leaving Point ………………………………………………………………… °F 33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 การตั้งคาอุปกรณควบคุมการใชกระแสไฟฟา 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวาง กีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - ชุดเครื่องปรับอากาศแบบระบายความรอนดวยน้ําขนาด 150 - 500 ตัน

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ดินสอ/ปากกา

จํานวน 1 แทง

2. แบบบันทึกผล

จํานวน 1 แผน

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

2. ลําดับการปฏิบัติงาน 2.1 การเปดการทํางานเครื่องปรับอากาศแบบระบายความรอนดวยน้ํา ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ศึกษาขอมูลจากคูมือการใชงาน

คําอธิบาย ศึกษาคูมือการใชงาน เครื่องปรับอากาศแบบระบาย ความรอนดวยน้ําชนิดนั้น ๆ

2. เปดหอผึ่งน้ํา

เป ด หอผึ่ ง น้ํ า (Cooling Tower) ใน ขนาดที่เหมาะสมกับเครื่องทําน้ําเย็น ที่จะเปด

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. เปดปมน้ํา

คําอธิบาย เปดปมน้ําเย็นในขนาดเทากับเครื่อง ทําน้ําเย็น (Condenser Water Pump)

4. เปดปมน้ําเครื่องทําน้ําเย็นและเปดเครื่อง เปดปมน้ําเครื่องทําน้ําเย็นและเปด ทําน้ําเย็น

เครื่องทําน้ําเย็นในขนาดที่เหมาะสม กับภาระการปรับอากาศของอาคาร ขณะนั้น

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ตรวจอุณหภูมิน้ําเย็นที่หนาจอ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตรวจอุณหภูมิน้ําเย็นที่หนาจอ แสดงผล

6. เปด FCU และหรือ AHU

เปด FCU และ/หรือ AHU

กรณีถ า น้ํ า เย็น ไมพ อจะต อ ง เ ป ด ห อ ผึ ่ง น้ํ า เ พิ ่ ม ขึ ้ น โ ด ย ดํ า เ น ิน ก า ร ตามข อ ขั้ น ตอน เบื้ อ งต น ที ล ะขั้ น ตอน ในการ พิจารณาวาควรเปดหอผึ่งน้ําเพิ่ม หรือไมนั้น ตองตรวจดูอุณหภูมิ น้ําระบายความรอนที่เขาเครื่อง วาไดตามที่ตั้งคาไวหรือไม

7. ตรวจคาตาง ๆ จากหนาจอของอุปกรณ

หลังจากระบบทํางานตามปกติแลว ให

ตาง ๆ

ตรวจคาตาง ๆ ตอไปนี้จากหนา จอแสดงผลของเครื่องปรับอากาศ

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ตรวจคา Chilled Water Entering Point

คําอธิบาย ตรวจ Chilled Water Entering Point ปกติจะอานคาไดสูงพอควร โดยจะมีคาประมาณ 52-58 °F (ฟาเรนไฮต) คาที่อานไดสูงแสดงวา ภาระของระบบปรับอากาศของ อาคารยังสูง

9. ตรวจคา Chilled Water Leaving Point

ตรวจ Chilled Water Leaving Point ปกติเมื่อเครื่องทํางานแลวจะ อานคาได 44-46 °F

10. ตรวจคา Entering Condenser

ตรวจ Entering Condenser

Temperature

Temperature ปกติจะอานคาได ประมาณ 85-90 °F อุณหภูมิที่สูงกวา นี้แสดงวาเปดหอผึ่งน้ํานอยเกินไป

11.ตรวจคา Leaving Condenser

ตรวจ

Leaving Condenser

Temperature

Temperature ป ก ติ อ า น ค า ไ ด ที่ ประมาณ 95-100 °F อุ ณ หภู มิ ที่ สู ง กวา 100 ฟาเรนไฮต แสดงวาเปดหอ ผึ่งน้ํานอยเกินไป ควรเปดเพิ่มเพื่อลด

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย การใช พ ลั ง งานไฟฟ า ที่ เ ครื่ อ งทํ า น้ําเย็น

12. ตรวจคา Chilled Water Set Point

ตรวจ Chilled Water Set Point ควรตั้งไวที่ 45 °F

13. ตรวจคา Current Limiting Set Point

ตรวจ Current Limiting Set Point ควรตั้งไวที่ 80-90%

14. ตรวจคา Capacity Control

ตรวจ Capacity Control โดยปกติ จะสามารถเลือกการใชงานไดเปน 2 แ บ บ ขึ้ น อยู กั บ วิ จ ารณญาณ และ ประสบการณของชางควบคุม

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 15. ตรวจคา Oil Pressure

คําอธิบาย ตรวจ Oil Pressure คาความดันของ น้ํ า มั น หล อ ลื่ น คอมเพรสเซอร ข อง ระบบทั่ว ๆ ไปจะมีคาประมาณ 4560 Psi

16. บันทึกคาต าง ๆ ที่นอกเหนื อจากนี้ ล ง บั น ทึ ก ค า ต า ง ๆ เช น Evaporator ใบบันทึก

Pressure, Condenser Pressure, Oil Temperature ของเครื่องทําน้ําเย็น แตละประเภทจะแตกตางกัน

17. ตรวจ Power Consumption

ตรว จ Power Consumption เป น คาที่แสดงการใชพลังงานของเครื่องทํา น้ําเย็น

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 18. สงผลการบันทึก

คําอธิบาย สงผลการบันทึกใหครูฝกประเมิน

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

2.2 การปดการทํางานเครื่องปรับอากาศแบบระบายความรอนดวยน้ํา ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ศึกษาคูมือการใชงาน

คําอธิบาย ศึกษาคูมือการใชงาน เครื่องปรับอากาศแบบระบาย ความรอนดวยน้ําชนิดนั้น ๆ

2. ปดเครื่องทําความเย็น

ปดเครื่องทําน้ําเย็น (Chiller)

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. ปดปมน้ําระบายความรอน และหอผึ่งน้ํา

คําอธิบาย ปดปมน้ําระบายความรอน และ

ปมน้ําเย็นและอุปกรณสงลมเย็น

หอผึ่งน้ํา โดยยังคงใหปมน้ําเย็น

(AHU,FCU) สามารถเดินไดอีก

ทํางานตออี กระยะหนึ่ง

ประมาณ 15-30 นาทีแลวจึงปด

4. ปดปมน้ําเย็นและอุปกรณสงลมเย็น เปน ลําดับสุดทายปดปมน้ําเย็นและ ลําดับสุดทาย

ขอควรระวัง

อุปกรณสงลมเย็น (AHU,FCU) สามารถเดินไดอีกประมาณ 15-30 นาทีแลวจึงปด

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เปด – ปด เครื่องปรับอากาศแบบระบายความรอนดวยน้ํา 1.1 เปดเครื่องปรับอากาศแบบระบายความรอนดวยน้ําไดถูกตอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 ปดเครื่องปรับอากาศแบบระบายความรอนดวยน้ําไดถูกตอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 บันทึกขอมูลไดถูกตอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ ได

1

การปฏิบัติงาน

15

1.1 เปดเครื่องปรับอากาศแบบระบายความ

- เป ด เครื ่อ งปรับ อากาศตามลํ า ดับ ขั ้น ตอนการทํ า งานทุ ก

รอนดวยน้ําไดถูกตอง

ขั้ น ตอน ให คะแนน 5 คะแนน

5

- เป ด เครื่ อ งปรั บ อากาศผิ ด ลํ า ดั บ ขั้ น ตอน หั ก คะแนนจุ ด ละ 1 คะแนน 1.2 ปดเครื่องปรับอากาศแบบระบายความ

- ปด เครื่ อ งปรั บ อากาศตามลํา ดับ ขั้นตอนการทํา งานทุก ขั้นตอน

รอนดวยน้ําไดถูกตอง

ให คะแนน 5 คะแนน

5

- ปดเครื่องปรับอากาศผิดลําดับขั้นตอน หักคะแนนจุดละ 1 คะแนน 1.3 บันทึกขอมูลไดถูกตอง

- บันทึกขอมูลไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- บั น ทึ ก ข อ มู ล ผิ ด พลาด หรื อ ไม ไ ด บั น ทึ ก หั ก คะแนนจุ ด ละ 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตอง

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

และครบถวน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบตั ิงาน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

1

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํา

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

20

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 14 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3 0921732203 การเลือกขนาดสายไฟฟากําลัง และสายไฟฟาควบคุมตามมาตรฐานการติดตั้ง (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายการเลือกขนาดสายไฟฟากําลัง และสายไฟฟาควบคุมตามมาตรฐานการติดตั้งได

2. หัวขอสําคัญ 1. การเลือกขนาดสายไฟฟากําลัง 2. การเลือกขนาดสายไฟฟาควบคุม

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูร ับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจน เขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ธํารงศักดิ์ หมินกาหรีม. 2559. กฎและมาตรฐานทางไฟฟา. พิมพครั้งที่ 2. นนทบุรี : ศูนยหนังสือเมืองไทย. ลือชัย ทองนิล. มาตรฐานการติดตั้ง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : ttp://www.technologymedia.co.th/articledetail .asp?arid=2492&pid=257

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 การเลือกขนาดสายไฟฟาตามมาตรฐานการติดตั้ง การเลือกขนาดของสายไฟฟามีความสําคัญกับวงจรไฟฟามาก เนื่องจากขนาดของสายไฟฟาจะเปนตัวบงชี้ถึงปริมาณมากนอย ที่สามารถรับกระแสไฟฟาได ดังนั้น การเลือกขนาดสายไฟตองเลือกใหมีขนาดเหมาะสม ซึ่งสายไฟฟามีอยู 2 ประเภท ไดแก สายไฟฟากําลัง และสายไฟฟาควบคุม สําหรับการเลือกขนาดของสายไฟทั้งสองประเภทมีลักษณะคลายคลึงกัน และอิงตามมาตรฐาน เดียวกันได 1. การเลือกขนาดสายไฟฟากําลัง มาตรฐานที่กําหนดของสายไฟฟาหุมฉนวนนั้นจะแบงตามลักษณะของสายไฟฟา ซึ่งมีดังนี้ 1) สายไฟฟาทองแดงหุมฉนวน พีวีซี ตาม มอก.11 – 2553 สายไฟชนิดนี้จะมีตัวนําไฟฟาเปนทองแดง และมีพีวีซี เปนฉนวนหุม โดยมีมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมควบคุมบังคับใช 2) สายไฟฟาอะลูมิเนียมหุมฉนวน พีวีซี ตาม มอก. 293 -2541 สายไฟชนิดนี้จะมีตัวนําไฟฟาเปนอะลูมิเนียม และมีพีวีซีเปนฉนวนหุม มีน้ําหนักเบาแตมีขนาดใหญกวาสายตัวนําทองแดงในขนาดกระแสเทากัน จึงนิยมใช ในงานไฟฟาชั่วคราว ไมอนุญาตใหใชกับระบบสายแรงต่ําภายใน 3) สายไฟฟาตามมาตรฐานการไฟฟานครหลวงหรือการไฟฟ าสวนภูมิภาค คือ สายไฟฟาที่ไมไดผลิ ตตาม มาตรฐาน มอก. เชน สายไฟฟา ทองแดงหุ มฉนวนแข็ง แบบดรอสลิ ง คโ พลีเ อทีลีน สายเคเบิล เอ็ ม ไอ (MI-Mineral Insulated) ซึ่งเปนสายชนิดทนอุณหภูมิสูงสีฉนวนตามมาตรฐาน มอก. 11-2553 ดังตารางที่ 3.1 ตารางที่ 3.1 การเทียบเคียงสีฉนวนสายไฟฟา ชื่อสายไฟ

สีฉนวน

สีฉนวน

มอก.11-2531

มอก.11-2553

L1

ดํา

น้ําตาล

L2

แดง

ดํา

L3

น้ําเงิน

เทา

N

เทา หรือ ขาว

ฟา

G

เขียวแถบเหลือง

เขียวแถบเหลือง

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

สีฉนวน ตามมาตรฐาน มอก.11-2553 1 แกน : ไมกําหนดสี 2 แกน : สีฟาและสีน้ําตาล 3 แกน : สีฟา สีน้ําตาล และสีเขียวแถบเหลือง หรือ สีน้ําตาล สีดํา และสีเทา 4 แกน : สีน้ําตาล สีดํา สีเทา และสีเขียวแถบเหลือง หรือ สีฟา สีน้ําตาล สีดํา และสีเทา 5 แกน : สีฟา สีน้ําตาล สีดํา สีเทา และสีเขียวแถบเหลือง หรือ สีฟา สีน้ําตาล สีดํา สีเทา 2. การเลือกขนาดสายไฟฟาควบคุม ขนาดกระแสของสายไฟฟาจะขึ้นอยูกับพื้นที่หนาตัดของตัวนําที่จะยอมใหกระแสไหลผานได นอกจากนี้ สายไฟฟาแตละ ชนิดมีวิธีการเดิน สายที่ตางกัน ซึ่งสงผลตอขนาดกระแสของสายที่มีพื้นที่หนาตัดเทากัน และอีกปจ จัยที่มีผลตอขนาด กระแสของสายไฟฟา คือ ความรอนของตัว นําไฟฟา เนื่องจากกระแสไฟฟาที่ไหลผานทําใหอุณหภูมิของตัว นําสูงขึ้ น หากระบายความรอนไมดีอาจทําใหเกิดการไหมได ดังนั้น การเลือกใชสายไฟฟาตองเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด โดยขนาด กระแสไฟฟาตามมาตรฐานจะกําหนดใหใชงานที่อุณหภูมิโดยรอบ 40 องศาเซลเซียส แตถาหากบริเวณที่ใชงานที่มีอุณหภูมิสูง กวาขางตนควรลดขนาดกระแสของสายไฟฟา และในกรณีสายไฟฟาที่มีระยะความยาวของสายมากจะสงผลใหแรงดันตกในสาย ปญหานี้สามารถแกไขไดโดย ใชสายไฟฟาที่มีขนาดพื้นที่หนาตัดใหญขึ้นหรือใชสายมากกวา 1 เสนตอเฟส เพื่อลดความ ตานทานของสายไฟฟา การเดิน สายไฟฟ า ในช อ งเดิน สายไฟฟานั้น กรณีที่มีจํา นวนสายไฟฟา มากกว า 3 เสน ในท อ รอยสายหรื อ มากกว า 30 เสน ในรางเดินสายเดียวกัน โดยไมนับสายดิน จะตองใชตัวคูณลดขนาดกระแสของสายไฟฟา เนื่องจากอุณหภูมิในชองเดินสายที่สูงขึ้นเพราะจํานวนสายที่มากขึ้น ตารางที่ 3.2 ตัวคูณคากระแสของสายเนื่องจากจํานวนสายหลายเสนในชองเดินสายเดียวกัน จํานวนสาย

ตัวคูณ

4–6

0.82

7–9

0.72

10 – 20

0.56

21 – 30

0.48

31 – 40

0.44

เกิน 40

0.38

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

- ขนาดของสายไฟและการเลือกใชขนาดสายไฟสําหรับอาคารและโรงงาน ซึ่งใชกระแสไฟที่ 380 โวลต ตองใชสายไฟที่สามารถรองรับกระแสไฟฟาที่มีแรงดันสูง ซึ่งมีคุณสมบัติที่แตกตางกันดังนี้ ชนิดของสายไฟฟาและลักษณะการติดตั้ง สายไฟฟาตาม มอก. 11-2553 ซึ่งเปนตัวนําทองแดงเทานั้น โดยแตละชนิดจะมีขอกําหนดและลักษณะการใชงาน ที่ตางกันไป ดังนั้นจําเปนตองเลือกใชงานใหถูกตองและเหมาะสม 1) สายไฟฟาชนิดทีเอสดับบลิว (THW) ภาพที่ 3.1 ลักษณะสายทีเอสดับบลิว โครงสราง - ตัวนําทองแดง - ไมกําหนดสีของฉนวน การติดตั้ง - เดิน ลอยตอ งยึด ดว ยวัส ดุฉ นวน เอนในชอ งเดิน สา ยในสถานที่แ หง หา มฝง ดิน โดยตรง สามารถเดิ น ร อ ยฝง ดิน แตต อ งปอ งกัน น้ํ า ไม ใ ห เ ขา ภายในทอ และไมใ หส ายแชน้ํ า แรงดันไฟฟา ที่กําหนด 750 โวลต ตารางที่ 3.3 ขนาดสายไฟฟาชนิดทีเอสดับบลิว ขนาดสาย (มม.2)

เสนผาศูนยกลางสายไฟฟา (มม.)

พื้นที่หนาตัดสายไฟฟา (มม.2)

0.5

3

7.07

1

3.3

8.55

1.5

3.6

10.18

2.5

4

12.57

4

4.8

18.10

6

5.8

26.42

10

7.2

40.72

16

8.4

55.42

25

10.5

86.59

35

11.5

103.87 50

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขนาดสาย (มม.2)

เสนผาศูนยกลางสายไฟฟา (มม.)

พื้นที่หนาตัดสายไฟฟา (มม.2)

50

13.5

143.14

70

15.5

188.69

95

18

254.47

120

19.5

198.65

150

21.5

363.05

185

24

452.56

240

27

572.56

300

30

706.86

400

33.5

881.41

500

38

1,134.11

2) สายไฟฟาชนิดเอ็นวายวาย (NYY) ภาพที่ 3.2 ลักษณะสายเอ็นวายวาย โครงสราง - ตัวนําทองแดง - สีของฉนวนตามตารางที่ 3.1 - เปลือกในพีวีซีสีดํา - เปลือกนอกพีวีซีสีดํา การติดตั้ง - ใชงานทั่วไป เดินรอยทอฝงดิน ฝงดินโดยตรงแรงดันไฟฟาที่กําหนด 750 โวลต

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ตารางที่ 3.4 ขนาดสายไฟฟาชนิดเอ็นวายวาย ขนาดสาย

พื้นที่หนาตัดสายไฟฟา (มม.2)

เสนผาศูนยกลางสายไฟฟา (มม.)

(มม.2)

แกนเดียว

2 แกน

3 แกน

4 แกน

แกนเดียว

2 แกน

3 แกน

4 แกน

1

8.6

12

12.5

13.5

58.09

113.10

122.72

143.14

1.5

9

12.5

13

14

63.62

122.72

132.73

1533.94

2.5

9.4

13.5

14

15

69.40

143.14

153.94

176.71

4

10

15

15.5

17

78.54

176.71

188.69

226.98

6

11

17

18

19

95.03

226.98

254.47

283.53

10

12

19.5

20.5

23

113.10

298.65

330.06

415.48

16

13

22.5

24.5

26.5

132.73

397.61

471.11

551.55

25

14.5

27

28.5

31

165.13

572.56

637.94

754.77

35

16

29.5

31.5

35

201.06

683.49

779.31

962.11

50

17

33.5

36

39.5

226.98

881.41

1,017.88

1,225.42

70

19

38

40.5

44.5

283.53

1,134.11

1,288.25

1,555.28

95

21.5

42.5

46

51.5

363.05

1,418.63

1,661.90

2,083.07

120

23

46.5

50.5

56

415.48

1,698.23

2,002.96

2,463.01

150

26

52

56

62

530.96

2,123.72

2,463.01

3,019.07

185

28

57

61.5

68

615.75

2,551.76

2,970.57

3,631.68

240

31.5

64

69

76.5

779.31

3,216.99

3,739.28

4,596.35

300

35

70.5

76

85

962.11

3,903.63

4,536.46

5,674.50

400

38.5

-

-

-

1,164.16

-

-

-

500

43

-

-

-

1,452.20

-

-

-

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

3) สายไฟฟาชนิดวีซีที (VCT)

ภาพที่ 3.3 ลักษณะสายไฟฟาชนิดวีซีท โครงสราง - ตัวนําทองแดง - สีของฉนวนตามตารางที่ 3.1 - เปลือกพีวีซีสีดํา การติดตั้ง - ใชงานทั่วไป เดินรอยทอฝงดิน ฝงดินโดยตรง ใชตอเขาเครื่องใชไฟฟา และอุปกรณไฟฟา แรงดันไฟฟาที่กําหนด 750 โวลต ตารางที่ 3.5 ขนาดสายไฟฟาชนิดวีซีที ขนาดสาย

พื้นที่หนาตัดสายไฟฟา (มม.2)

เสนผาศูนยกลางสายไฟฟา (มม.)

(มม.2)

แกนเดียว

2 แกน

3 แกน

4 แกน

แกนเดียว

2 แกน

3 แกน

4 แกน

0.5

5.4

8.8

9.2

10.5

22.90

60.82

66.48

86.59

0.75

5.6

9.2

9.6

11

24.63

66.48

72.38

95.03

1

6.2

9.6

10.5

12

30.19

72.38

86.59

113.10

1.5

6.6

11

11.5

12.5

34.21

95.03

103.87

122.72

2.5

7.4

12.5

13

15

43.01

122.72

132.73

176.71

4

8.6

14.5

15.5

17

58.09

165.13

188.69

226.98

6

9.4

16

17.5

19.5

69.40

201.06

240.53

298.65

10

12

20

21.5

24

113.10

312.16

363.05

452.39

16

13.5

23

25

28

143.14

415.48

490.87

615.75

25

16

27

30

33

201.06

593.96

706.86

855.30

35

17.5

31

33.5

37

240.53

754.77

811.41

1,075.21

50

21

-

-

-

346.36

-

-

-

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขนาดสาย

พื้นที่หนาตัดสายไฟฟา (มม.2)

เสนผาศูนยกลางสายไฟฟา (มม.)

(มม.2)

แกนเดียว

2 แกน

3 แกน

4 แกน

แกนเดียว

2 แกน

3 แกน

4 แกน

70

23

-

-

-

415.48

-

-

-

95

26.5

-

-

-

551.55

-

-

-

การเลือกสายไฟฟาและเซอรกิตเบรกเกอรใหเหมาะสมกับโหลด การเลือกสายไฟฟาใหเหมาะสมกับการใชกระแสไฟฟา จะตองพิจารณาที่พิกัดการทนกระแสของสายไฟฟา ถาอุปกรณท่ีใชกระแสไฟฟามากควรใชสายไฟขนาดใหญ ถาอุปกรณใชกระแสไฟฟานอยควรใชสายไฟขนาดเล็ก โดยขั้นตอนการหาขนาดสายไฟฟา มีดังนี้ 1) ตองทราบคากระแสไฟฟาที่อุปกรณไฟฟาใช ในเครื่องปรับอากาศจะมีฉลากติดที่อุปกรณ รุน

DK040S130

Model ประสิทธิภาพการทําความเย็น

114,190 BTU/h

Cooling Capacity ระบบไฟฟา

380 V.

Power Source

3 PH. 50 Hz.

กระแสไฟฟา

กําลังไฟฟา

Current

Power

30 Amps.

ขนาด

34,436 W.

(77×34.5×68.2) inches

Overall Dimensions

ถาหากไมมีฉลากระบุ สามารถคํานวณคากระแสไฟฟาไดจาก I = P/U โดย

I = คากระแสไฟฟาของอุปกรณไฟฟา หนวย แอมป (A) P = คากําลังไฟฟาของอุปกรณไฟฟา หนวย วัตต (W) U = คาแรงดันไฟฟาที่อุปกรณใชงาน หนวย โวลต (V)

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ตัวอยางที่ 1 เครื่องปรับอากาศ กําลังไฟฟา 22,800 วัตต ใชแรงดันไฟฟาในประเทศไทย 380 โวลต แทนคาในสูตรดานบน จะได I

= 34,436 W / 380 V = 90.62 A

2) คิ ด ค า กระแสไฟฟ า เพิ่ มอี ก 25% เนื่ อ งจากอุ ป กรณ ไฟฟ าที่ใช งานติ ดต อกั น เกิ น 3 ชั่ ว โมงขึ้น ไป ส งผลใหป ระสิ ทธิ ภ าพการทนของกระแสของสายไฟฟาลดลง จึงตองคํานวณเผื่อสําหรับอัตราการทน กระแสไฟฟาดวย จากตัวอยางที่ 1 คํานวณคากระแสไฟฟาทั้งหมด ไดดังนี้ คากระแสไฟฟา = 90.62 x 1.25 = 113.27 A 3) เทียบคากระแสไฟฟาที่คํานวณไดกับตารางหาขนาดสายไฟฟา ตารางที่ 3.6 แสดงขนาดกระแสของสายไฟฟา ขนาดกระแส (แอมแปร) วิธีการเดินสาย (ดูหมายเหตุ)

ขนาดสาย (ตร.มม.)

0.5

9

1

ทอโลหะ

ทอโลหะ

ทอโลหะ

ทอโลหะ

8

8

7

10

9

-

14

11

11

10

15

13

21

1.5

17

15

14

13

18

16

26

2.5

23

20

18

17

24

21

34

4

31

27

24

23

32

28

45

6

42

35

31

30

42

36

56

10

60

50

43

42

58

50

75

16

81

66

56

54

77

65

97

25

111

89

77

74

103

87

125

35

137

110

95

91

126

105

50

50

169

-

119

114

156

129

177

70

217

-

148

141

195

160

216

95

271

-

187

180

242

200

259

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขนาดกระแส (แอมแปร) ขนาดสาย

วิธีการเดินสาย (ดูหมายเหตุ)

(ตร.มม.)

120

316

150

ทอโลหะ

ทอโลหะ

ทอโลหะ

ทอโลหะ

-

214

205

279

228

294

364

-

251

236

322

259

330

185

424

-

287

269

370

296

372

240

509

-

344

329

440

352

431

300

592

-

400

373

508

400

487

400

696

-

474

416

599

455

552

500

818

-

541

469

684

516

623

ตามตารางคาทนกระแสไฟฟาของสายไฟฟาจะแตกตางกันไปขึ้นกับวิธีการเดินสาย ดังนี้ - แบบ ก หมายถึง สายแกนเดียวหุมฉนวนเดินในอากาศ - แบบ ข หมายถึง สายแบบหุมฉนวนมีเปลือกเดินเกาะผนัง - แบบ ค หมายถึง สายแกนเดียวหุมฉนวนไมเกิน 3 เสน หรือสายหุมฉนวนมีเปลือกไมเกิน 3 แกน เดินในทอ ในอากาศ ในทอฝง ในผนังปูน ในทอ หรือในฝาเพดาน - แบบ ง หมายถึง สายแกนเดียวหุมฉนวนไมเกิน 3 เสน หรือสายหุมฉนวนมีเปลือกไมเกิน 3 แกน เดินในทอฝงดิน - แบบ จ หมายถึง สายแกนเดียวหุมฉนวนมีเปลือกไมเกิน 3 แกนฝงดินโดยตรง ในกรณี ตั ว อย า งที่ 1 ถ า ต องการเดิ น สายไฟฟ า แบบ ค โดยที่มีคาการใช กระแส 113.27 จากตารางพบว า สายไฟฟาที่เหมาะสม คือ ขนาด 50 ตร.มม. ซึ่งมีคาทนกระแสไฟฟาถึง 114 A เพื่อปองกันการเกิดอัคคีภัย เนื่องจาก ความรอนของสายไฟฟามากเกินไป สวนเซอรกิตเบรกเกอร ซึ่งมีหนาที่ปองกันการลัดวงจร จะพิจารณาจากคากระแสไฟฟาที่เครื่องปรับอากาศใช ในกรณีตัว อยางที่ 1 คากระแสไฟฟาที่เครื่องปรับอากาศใช เทากับ 113.27 A ดังนั้น เซอรกิตเบรกเกอรที่เหมาะสม ควรเปนขนาด 120 A

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

สายตอหลักดิน สายตอหลักดิน เปนตัวนําที่อยูระหวางขั้วตอสายดินกับหลักดิน ซึ่งเปนตัวนําทองแดงเปลือยหรือหุมดวยฉนวน โดยขนาดของสายตอหลักดินจะตองทนกระแสลัดวงจร ตารางที่ 3.7 ขนาดต่ําสุดของสายตอหลักดิน ขนาดตัวนําประธาน (ตัวนําทองแดง) (มม.2)

ขนาดต่ําสุดของสายตอหลักดิน (มม.2)

ไมเกิน 35

10

เกิน 35 แตไมเกิน 50

16

เกิน 50 แตไมเกิน 95

25

เกิน 95 แตไมเกิน 185

35

เกิน 185 แตไมเกิน 300

50

เกิน 300 แตไมเกิน 500

70

เกิน 500

95

โดยสายตอหลักดินที่มีขนาด 10 มม.2 ควรติดตั้งในทอโลหะหนา ปานกลาง บาง เพื่อเปนการปองกันความเสียหาย ทางกายภาพ

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ในกรณีที่มีสายไฟจํานวน 12 สายในตองในชองเดินสายเดียวกันจะใชตัวคูณที่จํานวนเทาใด ก. 0.44 ข. 0.56 ค. 0.48 ง. 0.38 2. ตามมาตรฐาน มอก. 11-2553 สายไฟ 2 แกน มีฉนวนสีอะไรบาง ก. สีฟาและสีน้ําตาล ข. สีเขียวและสีดํา ค. เขียว ง. ดํา 3. หากสายไฟมีความรอนมากเกินไปจะเกิดผลอยางไร ก. นํากระแสไฟไดนอยลง ข. ไมสามารถทนน้ําได ค. ฉนวนอาจเกิดสนิม ง. สายอาจไหมได

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 11

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.