คู่มือครูฝึก ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 3 โมดูล 1

Page 1

หน้าปก



คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

คู่มือครูฝึก 0920164170203 สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3

ชุดการฝึกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝึกที่ 1 09217209 สัญลักษณ์สากลของอุปกรณ์เครื่องปรับอากาศ วิธีการเขียนแบบร่างเพื่อแสดงแผนผังการติดตั้ง เครื่องปรับอากาศ กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

คานา คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ านและการพาณิ ช ย์ ขนาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล ที่ 1 สั ญ ลั ก ษณ์ ส ากล ของอุปกรณ์เครื่องปรับอากาศ วิธีการเขียนแบบร่างเพื่อแสดงแผนผังการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของ หลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใช้เป็นเอกสาร ประกอบการจัดการฝึกอบรมกับชุดการฝึกตามความสามารถ โดยได้ดาเนินการภายใต้โครงการพัฒนาระบบฝึกและชุดการฝึก ตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้วยระบบการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ครูฝึกได้ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการการฝึกอบรมให้เป็นไป ตามหลั ก สู ต ร กล่ า วคื อ อบรมผู้ รั บ การฝึ ก ให้ ส ามารถอธิ บ ายสั ญ ลั ก ษณ์ ส ากล เขี ย นแบบร่ า งแสดงแผนผั ง การติ ด ตั้ ง เครื่องปรั บ อากาศ และติดตามความก้าวหน้ าของผู้รับการฝึ กอบรม ในด้านความสามารถหรือสมรรถนะให้ เป็นไปตาม มาตรฐานที่กาหนด ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่งเสริมให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถฝึกฝนเรียนรู้ได้ ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลายไปให้แก่ ผู้ รับการฝึ กอบรม และต้องการให้ ผู้ รั บ การฝึ ก อบรมเกิด การเรี ยนรู้ ด้ว ยตนเอง การฝึ กปฏิบัติจะด าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเน้นผลลัพธ์การฝึกอบรมในการที่ทาให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต้องการ โดยยึดความสามารถของผู้รับ การฝึกเป็นหลัก การฝึกอบรมในระบบดังกล่าว จึงเป็นรูปแบบการ ฝึกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ละสาขาอาชีพ จะถูก กาหนดเป็นรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับการฝึกอบรมจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึกจะต้องเรียนรู้และฝึกฝนจนกว่าจะ สามารถปฏิบัติเองได้ ตามมาตรฐานที่กาหนดในแต่ละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การส่งมอบการฝึก สามารถดาเนินการได้ ทั้งรูปแบบการเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Paper Based) และผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ (Computer Based) โดยผู้รับการฝึกสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Learning) ที่บ้านหรือที่ทางาน และเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติตามความพร้อม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถกับหน่วยฝึก โดยมีครูฝึกหรือผู้สอนคอยให้คาปรึกษา แนะนาและจัดเตรียมการฝึกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดาเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่าง ๆ อันจะทาให้สามารถเพิ่มจานวนผู้รับการฝึกได้มากยิ่งขึ้น ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ดงบประมาณค่าใช้จ่ ายในการพัฒ นาฝี มือแรงงานให้ แก่กาลั งแรงงานในระยะยาว จึงถือเป็นรูปแบบการฝึ กที่มี ความสาคัญต่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนาระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยทาให้ประชาชน ผู้ใช้แรงงานผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และผู้ประกอบอาชีพอิสระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

สารบัญ เรื่อง

หน้า

คานา

สารบัญ

ข้อแนะนาสาหรับครูฝกึ

1

โมดูลการฝึกที่ 1 09217209 สัญลักษณ์สากลของอุปกรณ์เครื่องปรับอากาศ วิธีการเขียน แบบร่างเพื่อแสดงแผนผังการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ หัวข้อวิชาที่ 1 0921720901 การเขียนแผนผังการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ คณะผู้จัดทาโครงการ

14 39

ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

ข้อแนะนาสาหรับครูฝึก ข้อแนะนาสาหรับครูฝึก คือ คาอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคู่มือ และขั้นตอนการเข้ารับการฝึก ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 6 ข้อ ดังนี้

1. รายละเอียดของคู่มือ 1.1 โมดูลการฝึก / หัวข้อวิชา หมายถึง โมดูลการฝึกที่ครูฝึกต้องจัดการฝึกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด้วย หัวข้อวิชาที่ผู้รั บ การฝึ กต้องเรี ย นรู้ และฝึกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข้อวิชาเป็นตัว กาหนดความสามารถ ที่ต้องเรียนรู้ 1.2 ระยะเวลาการฝึก หมายถึง จานวนชั่วโมงในการฝึกอบรม เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของแต่ละโมดูล 1.3 ระบบการฝึกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝึกที่เกิดจากการนาความรู้ ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จาเป็นสาหรับการทางานมาเป็นฐาน (Based) ของการจัดฝึกอบรม หรือนามากาหนดเป็นเนื้อหา (Content) และเกณฑ์ก ารประเมิน การฝึก อบรม ทาให้ผู้รับ การฝึก อบรมมีค วามสามารถ ( Competency) ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด และตามความสามารถในการเรียนรู้ของผู้รับการฝึกเป็นหลัก 1.4 ชุดการฝึก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้สาหรับเป็นอุปกรณ์ช่วยฝึก โดยแต่ละโมดูลประกอบด้วย คู่มือครูฝึก คู่มือผู้รับการฝึก คู่มือประเมิน สื่อวีดิทัศน์ 1.5 ระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนาระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใช้ในการจัดการเรียนรู้และฝึกอบรม เช่น ระบบรับสมัครออนไลน์ ระบบลงทะเบียน เข้า รับ การฝึก อบรมออนไลน์ ระบบการฝึก อบรมภาคทฤษฎีผ่านอุปกรณ์อิเล็ก ทรอนิก ส์ห รือ อุปกรณ์สื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน์ การบันทึกผลการฝึกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น โดยการเข้าใช้งานระบบ แบ่ง ส่ว นการใช้งานตามความรับผิดชอบของผู้มีส่ว นได้ส่ว นเสียดังภาพในหน้าที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใช้งานได้จากลิงค์ดังต่อไปนี้ - ผู้ดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผู้พัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝึก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

2. ผังการฝึกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

3. วิธีการฝึกอบรม 3.1 ครูฝึก ทาความเข้าใจการฝึกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถส่งมอบการฝึกอบรมให้แก่ผู้รับการฝึกได้ 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) โดยในแต่ละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกต่างกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) คือ การฝึก อบรมที่ผู้รับ การฝึกเรียนรู้ภ าคทฤษฎี (ด้า นความรู้) ด้ว ยตนเอง โดยครูฝึก เป็นผู้ส่งมอบ คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) แก่ผู้รับการฝึก และฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ครูฝึกส่งมอบให้ การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝึก มอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อ นฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ ของคู่มือการประเมินที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเข้า รับ การฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้า มี) หรือ เข้า รับ การฝึก ในโมดูล ถัด ไป หรือเข้ารับการฝึ กในโมดูล ที่ครูฝึ กกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึ กศึกษาเนื้อหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 4) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องฝึกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันฝึกและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องฝึก - ครูฝึกกาหนดวันฝึกให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝึกแจ้งวันฝึกภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก

4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

3) ก่อนวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ครูฝึกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝึก ภาคปฏิบัติ ครูฝึก ให้ใ บงานแก่ผู้รับการฝึก อธิบ ายขั้น ตอนการฝึก ปฏิบัติงาน และให้คาแนะนาช่วยเหลือผู้รับการฝึกตลอดระยะเวลาในการฝึกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝึกประเมินผลงานการฝึกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันสอบและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องสอบ - ครูฝึกกาหนดวันสอบให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ก่อนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝึกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 3) ครูฝึกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบให้คะแนนการตรวจสอบของคู่มือการประเมิน ที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 5) ครูฝึกประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสาร โครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 6) ครูฝึกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึก และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ครูฝึกใช้คู่มือครูฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) เป็นสื่อช่วยในการฝึก ภาคทฤษฎี โดยส่งมอบคู่มือผู้รับการฝึกแก่ผู้รับการฝึกที่ศูนย์ฝึก อบรม และฝึกภาคปฏิบัติ ที่ศูนย์ฝึกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝึก มอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อ นฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ ของคู่มือการประเมินที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก

5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

- ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 4) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องฝึกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันฝึกและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องฝึก - ครูฝึกกาหนดวันฝึกให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝึกแจ้งวันฝึกภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก 3) ก่อนวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ครูฝึกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝึก ภาคปฏิบัติ ครูฝึก ให้ใ บงานแก่ผู้รับการฝึก อธิบ ายขั้น ตอนการฝึก ปฏิบัติงาน และให้คาแนะนาช่วยเหลือผู้รับการฝึกตลอดระยะเวลาในการฝึกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝึกประเมินผลงานการฝึกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันสอบและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องสอบ - ครูฝึกกาหนดวันสอบให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ก่อนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝึกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 3) ครูฝึกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบให้คะแนนการตรวจสอบของคู่มือการประเมิน ที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 5) ครูฝึกประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสาร โครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 6) ครูฝึกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก

6 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเองผ่านระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่เป็นสื่อออนไลน์ในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม วิธีดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning - ครูฝึกอธิบายวิธีการดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ให้แก่ผู้รับการฝึก ซึ่งวิธีการ ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบ่งออกเป็น 3 ช่องทางตามแต่ละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ iOS ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ 2) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ Android ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว้ 3) ผู้รับ การฝึก ที่ใ ช้ค อมพิว เตอร์ ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวน์โ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเข้าเว็บไซต์ mlearning.dsd.go.th แล้วเข้าใช้งาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ ให้กดปุ่ม Download DSD m-learning เพื่อดาวน์โหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร์ การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง จากคู่มือผู้รับการฝึก ซึ่งเป็นสื่อออนไลน์บนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจแล้วจึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก

7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องฝึกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันฝึกและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องฝึก - ครูฝึกกาหนดวันฝึกให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝึกแจ้งวันฝึกภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึกในระบบ 3) ก่อนวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ครูฝึกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝึก ภาคปฏิบัติ ครูฝึก ให้ใ บงานแก่ผู้รับการฝึก อธิบ ายขั้น ตอนการฝึก ปฏิบัติงาน และให้คาแนะนาช่วยเหลือผู้รับการฝึกตลอดระยะเวลาในการฝึกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝึกประเมินผลงานการฝึกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันสอบและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องสอบ - ครูฝึกกาหนดวันสอบให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ก่อนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝึกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 3) ครูฝึกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบให้คะแนนการตรวจสอบของคู่มือการประเมิน ที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 5) ครูฝึกประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสาร โครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 6) ครูฝึกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก 3.2 ครูฝึกชี้แจงรูปแบบการฝึกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแก่ผู้รับการฝึก เพื่อทาการตกลงรูปแบบการฝึกอบรมร่วมกับผู้รับการฝึก โดยให้ผู้รับการฝึกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝึกวางแผนการฝึกตลอดหลักสูตรร่วมกันกับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึกและช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึก ครูฝึกสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ช่วยฝึกได้ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝึก ด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) โดยมีช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึกแต่ละรูปแบบแตกต่างกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึก เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก 8 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

- สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คู่มือครูฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์รูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม

5. การวัดและประเมินผล ครูฝึกมีหน้าที่มอบหมายให้ผู้รับการฝึกทดสอบความรู้ภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) และภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) โดยใช้ คู่มือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผู้รับการฝึก โดยแบ่งการประเมินผลได้ดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีก่อนฝึ ก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝึ ก โดยกาหนดเกณฑ์การให้ คะแนนและการระบุความสามารถด้านความรู้ ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ต่ากว่าร้อยละ 70

เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)

5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และการระบุความสามารถด้านทักษะ ดังนี้ เกณฑ์การประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทาได้ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน ต่ากว่าร้อยละ 70 หรือ ไม่สามารถทาได้ ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน

เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)

ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูลนั้น ๆ ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนั้น และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการฝึกนั้น ๆ แล้ว 9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

6. เงื่อนไขการผ่านการฝึก ผู้รับการฝึกที่จะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบหลังฝึก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนามาคิดแบ่งเป็นสัดส่วน ภาคทฤษฎี คิดเป็นร้อยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเป็นร้อยละ 80 เมื่อนาคะแนนมารวมกัน ผู้รับการฝึกจะต้องได้ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านเกณฑ์ ทั้งนี้ ผู้รับการฝึกจะต้องทาคะแนนผ่านเกณฑ์ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผ่านโมดูลการฝึก

10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและ การพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164170203

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒ นาขึ้น ให้ครอบคลุมด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึกในสาขาช่างเครื่องปรับอากาศ ในบ้านและการพาณิชย์ ขนาดเล็ก เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 ดังนี้ 1.1 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับสัญลักษณ์สากลของอุปกรณ์ และเขียนแบบร่างเพื่อแสดงแผนผังการติดตั้ง เครื่องปรับอากาศ 1.2 มีความรู้ความสามารถในการใช้เครื่องมือวัดต่าง ๆ ที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ 1.3 มีความรู้ เกี่ย วกับ การทาความเย็ น ด้ว ยระบบระเหยตรง (Direct Expansion System) และระบบน้าเย็ น (Chilled Water System) 1.4 มีความรู้ เกี่ย วกับ ระบบสารทาความเย็ นท่ว ม (Flooded System) และไดเร็กเอ็กซ์ แพนชั่นวาล์ ว (Direct Expansion Valve) 1.5 มีความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์ และแฟนคอยล์แบบครีบ 1.6 มีความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์แบบระบายความร้อนด้วยน้า 1.7 มีความรู้เกี่ยวกับพื้นผิวถ่ายเทความร้อนผ่านชั้นตัวนาความร้อนลาดับต่าง ๆ 1.8 มีความรู้ความสามารถในการแขวนหรือยึดท่อให้มั่นคง 1.9 มีความรู้เกี่ยวกับผลกระทบของสารเจือปนในสารทาความเย็น 1.10 มีความรู้เกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟ้า การคานวณหากาลังไฟฟ้าของมอเตอร์ การคานวณหาความเร็วรอบ ของมอเตอร์ การคานวณค่าใช้จ่ายค่ากระแสไฟฟ้าที่เครื่องปรับอากาศใช้ 1.11 มีความรู้เกี่ยวกับหลักความปลอดภัยในการทางาน

11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

2. ระยะเวลาการฝึก ผู้รับการฝึกจะได้รับการฝึกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถใช้ระยะเวลาในการฝึก 50 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป็ น การฝึ ก ที่ ขึ้ น อยู่ กั บ พื้ น ฐานความรู้ ทั ก ษะ ความสามารถและความพร้ อ มของผู้ รั บ การฝึ ก แต่ละคน มีผลให้ผู้รับการฝึกจบการฝึ กไม่พร้ อมกัน สามารถจบก่อนหรือเกินระยะเวลาที่กาหนดไว้ในหลั กสูตรได้ หน่วยฝึกจึงต้องบริหารระยะเวลาในการฝึกให้เหมาะสมตามความจาเป็น ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือผู้อานวยการสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หน่วยความสามารถและโมดูลการฝึก จานวนหน่วยความสามารถ 11 หน่วย จานวนโมดูลการฝึก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 4.2 ชื่อย่อ : วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 4.3 ผู้ รั บ การฝึ ก ที่ ผ่ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ่ า นการฝึ ก ครบทุ ก หน่ ว ยความสามารถ จะได้ รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3

12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

รายละเอียดโมดูลการฝึกที่ 1 1. ชื่อหลักสูตร

สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก รหัสหลักสูตร ระดับ 3 0920164170203 2. ชื่อโมดูลการฝึก สัญลักษณ์สากลของอุปกรณ์เครื่องปรับอากาศ วิธีการเขียน รหัสโมดูลการฝึก แบบร่างเพื่อแสดงแผนผังการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ 09217209 3. ระยะเวลาการฝึก รวม 11 ชั่วโมง 15 นาที ทฤษฎี 1 ชั่วโมง 15 นาที ปฏิบัติ 10 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหน่วย หน่ ว ยการฝึ กนี้ พัฒ นาขึ้นให้ ครอบคลุ มด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้ รับการฝึ ก การฝึก เพื่อให้มีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายสัญลักษณ์สากลของอุปกรณ์เครื่องปรับอากาศได้ 2. เขียนแบบร่างแสดงแผนผังการติดตั้งเครื่องปรับอากาศได้ 5. พื้นฐาน ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ สามารถอธิบายสัญลักษณ์สากล เขียนแบบร่างแสดงแผนผัง ผู้รับการฝึก การติดตั้งเครื่องปรับอากาศ หรือผ่านการฝึกอบรมที่เกี่ยวข้องจากหน่วยงานหรือ สถาบันที่เชื่อถือได้ 2. ผู้รับการฝึกผ่านระดับ 2 มาแล้ว 6. ผลลัพธ์การเรียนรู้ : เมื่อสาเร็จการฝึกในโมดูลนี้แล้วผู้รับการฝึกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรู้ความสามารถและใช้ ระยะเวลาฝึก ดังนี้ ระยะเวลาฝึก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธ์การเรียนรู้ ชื่อหัวข้อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบ ายสั ญลั กษณ์ส ากล หัวข้อที่ 1 : การเขียนแผนผังการติดตั้ง 1:15 10:00 11:15 ของอุปกรณ์เครื่องปรับ อากาศ เครื่องปรับอากาศ ได้ 2. เขียนแบบร่างแสดงแผนผัง การติดตั้งเครื่องปรับอากาศได้ รวมทั้งสิ้น 1:15 10:00 11:15

13 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 1 0921720901 การเขียนแผนผังการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายสัญลักษณ์สากลของอุปกรณ์เครื่องปรับอากาศได้ 2. เขียนแบบร่างแสดงแผนผังการติดตั้งเครื่องปรับอากาศได้

2. หัวข้อสาคัญ - การเขียนแผนผังการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ

3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับครูฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก 1. สื่อการฝึกอบรม ครูฝึกสามารถเลือกใช้งานสื่อได้ 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึก เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม

14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

2. วัสดุและอุปกรณ์ประกอบการจัดฝึกอบรมต่อผู้รับการฝึก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) ดินสอ 2) สมุดเขียนแบบ 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ์ - เครื่องควบคุมการใช้กระแสไฟฟ้า

จานวน 1 แท่ง จานวน 1 เล่ม จานวน 1 เครื่อง

5. ขั้นตอนการฝึกอบรม 1. ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก ประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ทาแบบทดสอบ หลังฝึก (Post-Test) และประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝึกชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝึกให้ผู้รับการฝึกทาการฝึก โดยครูฝึกต้องคอยสอบถาม ชี้แนะ และให้คาแนะนาเมื่อผู้รับการฝึกมีข้อสงสัย 6. ครูฝึกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พร้อมวิเคราะห์ผลงานร่วมกับผู้รับการฝึกและแนะนาวิธีแก้ไข 7. ครูฝึกแนะนาผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ให้ทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึก

6. การวัดผล 1. ครูฝึกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3. ครูฝึกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึกโดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนด ในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้

15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

7. บรรณานุกรม ฉัตรชาญ ทองจับ. 2557. เครื่องทาความเย็นและปรับอากาศ. ปทุมธานี : สกายบุ๊กส์. วิทยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขันธ์. 2560. การเขียนแบบงานติดตั้งไฟฟ้าบ้านพักอาศัย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.pktc.ac.th/mnfile/branch4/file/CHOT/1102Unit11-4.pdf

16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 1 การเขียนแผนผังการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ 1. การเขียนแผนผังการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ 1.1 องค์ประกอบในการเขียนแผนผังการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ 1) สัญลักษณ์ การอ่านและเขียนวงจรไฟฟ้า ส่วนที่สาคัญที่สุด คือ จะต้องเข้าใจสัญลักษณ์ที่ใช้ระบุแทนส่วนประกอบ และอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถระบุชนิด และการทางานพื้นฐานของอุปกรณ์นั้น ๆ ได้ โดยสัญลักษณ์ พื้นฐานที่ใช้กันทั่วไปในประเทศไทยนั้น เป็นมาตรฐานสัญลักษณ์มาตรฐานทางไฟฟ้านานาชาติของทวีปยุโรป (International Electrotechnical Commission) ซึ่งมีลักษณะของสัญลักษณ์ ดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 1.1 สัญลักษณ์ไฟฟ้าในระบบเครื่องทาความเย็น และเครื่องปรับอากาศ ลาดับ

สัญลักษณ์

ความหมาย

1

ตัวนาไฟฟ้า (ติดตั้งจากโรงงาน)

2

สายไฟฟ้าพาดผ่านกัน

3

สายไฟฟ้าเชื่อมกัน

4

อุปกรณ์อยู่ภายในชุดเดียวกัน

5

มอเตอร์พัดลม 3 เฟส

17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

ลาดับ

สัญลักษณ์

ความหมาย

6

มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ 3 เฟส

7

หลอดไฟ

8

ตัวนาไฟฟ้า (เดินสายขณะติดตั้ง)

9

สายไฟฟ้าเชื่อมต่อกัน

10

ปลายสาย

11

อุปกรณ์ที่ทางานร่วมกัน

12

มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ 1 เฟส

13

มอเตอร์พัดลม

14

ขดลวด

18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

ลาดับ

สัญลักษณ์

ความหมาย

15

โซลีนอยด์

16

สวิตช์

17

ตัวต้านทาน

18

ต่อลงกราวด์

19

อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน

20

สวิตช์แบบ 1 ขั้ว 1 ทาง

21

สวิตช์แบบ 2 ขั้ว 2 ทาง

22

ขดลวดความร้อนอุ่นน้ามันหล่อลื่น

23

สวิตช์ควบคุมอุณหภูมิ

19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

ลาดับ

สัญลักษณ์

ความหมาย

24

สวิตช์ควบคุมระดับของเหลว

25

หน้าสัมผัสชนิด manual reset

26

ฟิวส์

27

คาปาซิเตอร์ *ขั้วที่อยู่ใกล้เปลือกนอก

28

ไดโอด

29

หม้อแปลงไฟฟ้า

30

สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติ

31

สวิตช์แบบ 1 ขั้ว 2 ทาง

32

สวิตช์แบบ 2 ขั้ว 2 ทาง

20 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

ลาดับ

สัญลักษณ์

ความหมาย

33

สวิตช์ควบคุมความดัน

34

สวิตช์ควบคุมอัตราการไหล

35

สวิตช์ควบคุมความชื้น

36

หน้าสัมผัสชนิดปกติเปิด หน้าสัมผัสชนิดปกติปิด

37

สวิตช์ชนิด manual reset

38

หน้าสัมผัสหน่วงเวลาชนิด delay reset

39

สวิตช์ชนิด auto reset

40

หน้าสัมผัสหน่วงเวลาชนิด time delay

1.2 แบบแปลนไฟฟ้า แบบแปลนไฟฟ้าเป็นแบบที่ใช้สาหรับเขี ยนตาแหน่งและสัญลักษณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ เช่น เขียนตาแหน่งดวงโคม เต้ารับ สวิตช์ วงจรไฟฟ้า และสัญลักษณ์ไฟฟ้าอื่น ๆ ของแต่ละชั้นบ้าน เพื่อแสดงให้เห็นตาแหน่งการติดตั้ง อุปกรณ์ไฟฟ้า ในห้องต่าง ๆ ของอาคาร ดังตัวอย่าง

21 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

ภาพที่ 1.1 ตัวอย่างแบบแปลนไฟฟ้าบ้านพักอาศัย ชั้นที่ 1

ภาพที่ 1.2 ตัวอย่างแบบแปลนไฟฟ้าบ้านพักอาศัย ชั้นที่ 2 จากภาพแบบแปลนไฟฟ้าในบ้านพักอาศัย ชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 จะเห็นว่ามีการเดินสายไฟฟ้าในตาแหน่งต่าง ๆ ซึ่งพิจารณาได้จากสัญลักษณ์ที่เป็นเส้นสีแดง โดยอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ จะระบุด้วยสีน้าเงิน เพื่อให้เห็นความแตกต่าง ได้ชัดเจน การเขียนแบบแปลนไฟฟ้าจะช่วยให้ผู้ติดตั้งระบบไฟฟ้าสามารถดาเนินการติดตั้งให้เป็นไปตามแบบที่ผู้ออกแบบ หรือวิศวกรที่ออกแบบไว้ 22 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

1.3 แบบวงจรเส้นเดียว แบบวงจรเส้นเดียวเป็นแบบที่เขียนแสดงรายละเอียดในลักษณะของภาพรวมในการจัดแบ่งวงจรย่อยต่าง ๆ ของระบบไฟฟ้าในแผงควบคุมไฟฟ้า ซึ่งแบบวงจรเส้นเดียวจะประกอบไปด้วยเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า เมนสวิตช์ ขนาดของสายไฟฟ้าที่ต่อเข้าแผงควบคุมไฟฟ้า อุปกรณ์ตัดตอนอัตโนมัติภายในแผงควบคุ มไฟฟ้า รวมทั้งแสดงวงจร ย่อยของวงจรในแผงจ่ายไฟฟ้า

ภาพที่ 1.3 ตัวอย่างแบบวงจรเส้นเดียว เมื่อพิจารณาแบบวงจรเส้นเดียวตั้งแต่ด้านบนลงล่าง พบว่า แหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าเริ่มต้น เป็นระบบไฟฟ้า 3 เฟส 220/380 โวลต์ ความถี่ 50 เฮิร ตช์ จ่า ยผ่า นเมนสวิต ช์เ ข้า แผงควบคุม ซึ่งประกอบไปด้วยเซอร์กิตเบรกเกอร์ย่อย ทั้งหมด 12 ตัว ซึ่งควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าแต่ละชนิด 10 ตัว และเป็นวงจรย่อยสารองอีก 2 วงจร โดยที่เส้นสัญลักษณ์ แสดงสายไฟจะมีขนาดของสายไฟระบุไว้ เพื่อให้สามารถติดตั้งระบบไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง 1.4 ตารางโหลด ตารางรายการโหลดเป็นตารางที่ใช้สาหรับแสดงรายละเอียดของวงจรย่อยแต่ละวงจร เช่น รายการโหลด ขนาดโหลด ขนาดสายไฟ ชนิดสายไฟ ขนาดอุปกรณ์ป้องกันวงจร เป็นต้น โดยสามารถเขียนดังตารางที่ 1.2

23 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

ตารางที่ 1.2 แสดงโหลดของระบบไฟฟ้า วงจร

รายละเอียด

ที่

7

A เครื่องปรับอากาศ 12000 BTU/H เครื่องปรับอากาศ 12000 BTU/H เครื่องปรับอากาศ 12000 BTU/H แสงสว่างและ เต้ารับ ชั้น 1 แสงสว่างและ เต้ารับ ชั้น 2 เต้ารับ วัตถุประสงค์พิเศษ ห้องครัว ไฟรั้วบ้าน

8

เครื่องทาน้าอุ่น

9

เครื่องซักผ้า

10

มอเตอร์ เปิด-ปิด ประตู

1 2 3 4 5 6

โหลดวัตต์ (VA) Phase Phase Phase B C 2200 2200 2200 3388 3155 3000

296 3000 3000 373

ขนาดและ (CB) วงจรย่อย ชนิดตัวนา ขั้ว AT AF ไฟฟ้า 2.5 mm2 1 15 50 (THW) 2.5 mm2 1 15 50 (THW) 2.5 mm2 1 15 50 (THW) 4 mm2 1 20 50 (THW) 4 mm2 1 20 50 (THW) 4 mm2 1 20 50 (THW) 1.5 mm2 (THW) 4 mm2 (THW) 4 mm2 (THW) 2.5 mm2 (THW)

1

5

1

20 50

1

20 50

1

10 50

แผนภาพ

50

การอ่านแบบไฟฟ้า เป็ น สิ่ ง สาคัญ ที่ผู้ ป ฏิบัติงานจะต้องเข้าใจ และเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่าง สั ญลั กษณ์ แบบแปลนไฟฟ้า แบบวงจรเส้นเดียว และตารางรายการโหลดให้ได้ เพื่อให้การดาเนินการติดตั้งอุปกรณ์ฟ้า และระบบปรับอากาศ เป็นไปอย่างถูกต้องตามที่ลูกค้าต้องการ

24 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

2. แบบร่างแสดงการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ในการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ผู้ปฏิบัติงานควรทราบขนาดและรูปแบบของห้องที่ต้องการติดตั้ง โดยวัดขนาดความกว้าง ความยาว และความสูงของห้อง และร่างแบบของห้องเพื่อให้ง่ายต่อการหาตาแหน่งที่เหมาะสมในการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ซึ่งตาแหน่งที่เหมาะสมคือกึ่งกลางของห้อง แต่หากพื้นที่ห้องไม่อานวย ผู้ปฏิบัติงานสามารถย้ายตาแหน่งการจัดวางได้ตามสมควร ทั้งนี้ การวัดขนาดของห้องยังมีความจาเป็นต่อการเลือกขนาดเครื่องปรับอากาศที่เหมาะสมกับขนาดของห้องอีกด้วย

ภาพที่ 1.4 ตัวอย่างแบบร่างแสดงการติดตั้งเครื่องปรับอากาศภายในห้อง นอกจากการวัดขนาดของห้อง ผู้ปฏิบัติงานควรคานึงถึงการเว้นระยะห่างของพื้นที่ในการติดตั้งเครื่องปรับอากาศให้เหมาะสม ดังภาพที่ 1.5 และ 1.6

ภาพที่ 1.5 การเว้นระยะห่างของพื้นที่ภายในอาคาร

25 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

ภาพที่ 1.6 การเว้นระยะห่างของพื้นที่ภายนอกอาคาร 3. การเลือกขนาดเครื่องปรับอากาศ 3.1 ความหมายของ BTU BTU หรือ British Thermal Unit เป็นขนาดของการทาความเย็น ในเครื่องปรับอากาศ ซึ่ง 1 ตันความเย็น เท่ากับ 12000 BTU ผู้ปฏิบัติงานควรเลือกขนาดของเครื่องปรับอากาศให้เหมาะสมกับห้อง หากเลือกขนาด BTU ที่สูงเกินความจาเป็น จะส่งผลให้คอมเพรสเซอร์ตัดการทางานถี่ขึ้น ความชื้นภายในห้องเพิ่มขึ้น อาจทาให้ไม่สบายตัว ราคาสูง และสิ้นเปลืองพลังงาน แต่ถ้าเลือกขนาด BTU ต่าไป คอมเพรสเซอร์จะทางานตลอดเวลา เนื่องจากความเย็น ไม่ได้ตามอุณหภูมิที่ตั้งไว้ ส่งผลให้อายุการทางานลดลง โดยการพิจารณาขนาดของ BTU ที่เหมาะสมสามารถดูจาก ตารางดังต่อไปนี้ ตารางที่ 1.3 การเปรียบเทียบการเลือกขนาด BTU กับพื้นที่ห้อง บีทียู 9,000 12,000 18,000 21,000 24,000 26,000 30,000 36,000

ขนาดห้อง (ตารางเมตร) ห้องปกติ

ห้องที่โดนแดด

12-14 16-20 20-28 28-35 32-40 35-44 40-50 48-60

11-13 14-18 21-27 25-32 28-35 30-39 35-45 42-54

26 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

บีทียู

ขนาดห้อง (ตารางเมตร)

40,000 48,000 60,000

ห้องปกติ

ห้องที่โดนแดด

56-65 64-80 80-1000

52-60 56-72 70-90

หมายเหตุ : เป็นการเปรียบเทียบโดยประมาณ จะต้องพิจารณาปัจจัยอื่นเพิ่มเติม ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกขนาดบีทียูเครื่องปรับอากาศ 1) ขนาดและจานวนของหน้าต่าง 2) ทิศที่แดดส่องหรือทิศที่ตั้งของห้อง 3) วัสดุหลังคา ฉนวนกันความร้อน 4) จานวนคนที่อาศัยภายในห้อง 5) ประเภท และจานวนของเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น ๆ ภายในห้อง เช่น พัดลม หรือเตารีด เป็นต้น 3.2 การคานวณหาค่าบีทียู การคานวณหาค่าบีทียูของเครื่องปรับอากาศ สามารถคานวณได้จากสมการดังต่อไปนี้ BTU = พื้นที่ห้อง (กว้าง x ยาว) x ค่าตัวแปร โดยค่าตัวแปรแบ่งออกได้ 4 ค่า ดังนี้ 1) 800 แทนค่ากรณีที่เป็น ห้องนอน ห้องที่โดนแสงแดดเล็กน้อย ฝ้าต่า หรือห้องที่ เปิดเครื่องปรับอากาศ ช่วงกลางคืน 2) 900 แทนค่ากรณีที่เป็นห้องรับแขก ห้องที่โดนแดดปานกลาง อยู่ทิศตะวันตก หรือใช้เครื่องปรับอากาศ ในช่วงกลางวัน 3) 1,000 แทนค่ากรณีที่เป็นห้องทางาน ห้องที่มีความร้อนหรือฝ้าสูง อยู่ในทิศตะวันตกหรือชั้นสูงสุด เช่น ห้องอบซาวน่า หรือห้องที่เปิดเครื่องปรับอากาศช่วงกลางวัน เป็นต้น 4) 1,200 แทนค่ากรณีที่เป็นร้านสะดวกซื้อ ร้านอาหารที่ติดตั้งประตูอัตโนมัติ ร้านเสริมสวยหรือสานักงาน ที่มีคนทางานเป็นจานวนมาก 5) หากฝ้าเพดานสูงกว่า 2.5 เมตร หรือมีจานวนคนในห้องมาก ควรบวกค่าบีทียู เพิ่มขึ้น 5% จากค่าปกติ

27 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

ตัวอย่างที่ 1 ห้องนอนมีความกว้าง 4 เมตร ยาว 5.5 เมตร ต้องใช้เครื่องปรับอากาศขนาดเท่าไร กาหนดให้ ห้องอยู่ทางทิศตะวันตก มีเครื่องใช้ไฟฟ้า โทรทัศน์ และหลอดไฟฟ้า จากโจทย์เลือกใช้ค่าตัวแปร 800 ใช้สูตร BTU

= พื้นที่ห้อง (กว้าง x ยาว) x ค่าตัวแปร

แทนค่า

= (4 เมตร x 5.5 เมตร) x 800 = 17,600

ห้องนอนมีขนาดกว้าง 4 เมตร ยาว 5.5 เมตร ต้องใช้เครื่องปรับอากาศขนาด 17,600 บีทียู หรืขนาดมากกว่า 18,000 บีทียู การคานวณหาค่าบีทียูในกรณีห้องมีฝ้าสูง

ตัวอย่างที่ 2 ห้องนอนกว้าง 5.5 เมตร ยาว 6 เมตร สูง 4.5 เมตร ต้องใช้เครื่องปรับอากาศขนาดเท่าไร กาหนดให้ ห้องอยู่ทางทิศเหนือ มีเครื่องใช้ไฟฟ้า โทรทัศน์ และหลอดไฟฟ้า จากโจทย์เลือกใช้ค่าตัวแปร 800 ใช้สูตร แทนค่า

= = 39,600

ห้องนอนมีขนาดกว้าง 5.5 เมตร ยาว 6 เมตร สูง 4.5 เมตร ต้องใช้เครื่องปรับอากาศขนาด 39,600 บีทียู หรือขนาดมากกว่า 40,000 บีทียู การเลือกเครื่องปรับอากาศ ควรคานึงถึงเรื่องบีทียูเป็นหลัก เพื่อป้องกันการเสียค่าไฟที่เกินควร หรือ สิ้นเปลือง พลังงานเกินความจาเป็น

28 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่า ถูก หรือ ผิด และทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบ ถูก

ผิด

ข้อความ 1.

คือ เต้ารับไฟฟ้ามีขาดิน

2. ขนาดของพื้นที่ห้องจะปรากฏในแบบวงจรเส้นเดียว 3. ขนาดของวัตต์ที่อุปกรณ์ต่าง ๆ ใช้จาเป็นต้องใส่ในตารางโหลด 4. ทิศที่แดดส่อง มีผลต่อการเลือกขนาด BTU 5. จานวนของหน้าต่างไม่มีผลต่อการเลือกขนาด BTU 6. BTU ที่สูงเกินจาเป็นส่งผลให้ผู้อาศัยไม่สบายตัว 7. แบบวงจรเส้นเดียวเป็นแบบที่เขียนแสดงรายละเอียดในลักษณะของภาพรวมใน การจัดแบ่งวงจรย่อยต่าง ๆ ของระบบไฟฟ้าในแผงควบคุมไฟ

8.

เป็นสัญลักษณ์ ไดโอด

9. ถ้าเลือกขนาด BTU ต่าไป คอมเพรสเซอร์จะทางานตลอดเวลา ส่งผลให้มีอายุ การใช้งานน้อยลง 10. ห้องขนาด 35-44 ตารางเมตร ควรใช้เครื่องปรับอากาศตั้งแต่ 40,000 BTU ขึ้นไป

29 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

เฉลยใบทดสอบ ข้อ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

30 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การเขียนแผนผังการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - เขียนแบบร่างแสดงแผนผังการติดตั้งเครื่องปรับอากาศได้

2. ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน รวม 2 ชั่วโมง

3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกออกแบบแผนผังการติดตั้งเครื่องปรับอากาศและอุปกรณ์ไฟฟ้า ในหอประชุมความกว้าง 10 เมตร ความยาว 30 เมตร มีค่าตัวแปรที่ 1,200

31 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 การเขียนแผนผังการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้าวาง กีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. ดินสอ/ปากกา

จานวน 1 แท่ง

2. แบบบันทึกผล

จานวน 1 แผ่น

32 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

2. ลาดับการปฏิบัติงาน การเขียนแผนผังการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

1. คานวณหาขนาด BTU ที่เหมาะสมกับห้อง

คานวณหาขนาด BTU ของ

หรือสถานที่นั้น ๆ โดยคิดจากสูตร

เครื่องปรับอากาศ จากสูตร BTU = พื้นที่ห้อง (กว้าง x ยาว) x ค่าตัวแปร

2. พิจารณาค่าตัวแปรซึ่งมีรายละเอียด

สาหรับค่าตัวแปรนั้น อาจแตกต่างกันไป

แตกต่างกันออกไป เช่น

ตามตาแหน่งที่ตั้ง รวมทั้งสิ่งแวดล้อม โดยรอบ ซึ่งมีรายละเอียดที่แตกต่างกัน ไปเช่น

33 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

3. ค่าตัวแปร 800 ใช้กับที่พักทั่วไป หรือ

ค่าตัวแปร 800 ใช้กับห้องที่โดนแสงแดด

ห้องที่โดนแสงแดดน้อย ฝ้าต่า

น้อย ฝ้าต่า เปิดเครื่องปรับอากาศในเวลา

เปิดเครื่องปรับอากาศในเวลากลางคืน

กลางคืน

4. ค่าตัวแปร 900 ใช้กับห้องรับแขก

ค่าตัวแปร 900 ใช้กับห้องรับแขก

ห้องนั่งเล่น เปิดเครื่องปรับอากาศในเวลา

ห้องนั่งเล่น โดนแดดปานกลาง อยู่ทิศ

กลางวัน

ตะวันตก เปิดเครื่องปรับอากาศในเวลา กลางวัน

5. ค่าตัวแปร 1,200 ใช้กับร้านค้าสะดวกซื้อ ค่าตัวแปร 1,200 ใช้กับร้านสะดวก สานักงานที่มีคนมาก

ซื้อ ใช้ประตูเปิดปิดอัตโนมัติ สานักงาน ที่มีคนมาก เปิดเครื่องปรับอากาศตลอด วัน

34 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. คานวณหาค่า BTU

คาอธิบาย คานวณหาค่า BTU โดยแทนค่าสูตร ตัวอย่างที่ 1 หอประชุม มีความกว้าง 10 เมตร มีความยาวประมาณ 30 เมตร และใช้ค่า ตัวแปรที่ 1,200 จะได้ค่าประมาณ เริ่มต้นที่ 360,000 BTU

7. นาค่า BTU ที่ได้มาคิดหาจานวน

เมื่อผู้รับการฝึกได้เลข BTU เป็นที่

เครื่องปรับอากาศ แล้วออกแบบจุดติดตั้ง

เรียบร้อยแล้ว ให้พิจารณาขนาดความ ต้องการใช้ BTU แล้วออกแบบระบบติดตั้ง โดยคานึงถึงปัจจัยทางด้านการเงิน สถานที่ ติดตั้ง ความสวยงาม ความสะดวกในการ บริการ

8. กรณีศึกษาที่ 360,000 BTU เมื่อ

ในกรณีศึกษานี้ มีความต้องการ

ออกแบบระบบ จะใช้เครื่องปรับอากาศ

ใช้เครื่องปรับอากาศที่ 360,000 BTU

ขนาด 60,000 BTU จานวน 6 ชุด

จึงแบ่งออกเป็นเครื่องปรับอากาศขนาด 60,000 BTU จานวน 6 ตัว

35 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

ข้อควรระวัง

9. ออกแบบจุดติดตั้งแฟนคอยล์ยูนิต และ

วางแผนการติ ดตั้ง โดยวาดแบบห้ อง ผู้รับการฝึกสามารถอ่าน

คอนเดนซิ่งยูนิต เพื่อออกแบบ

และกาหนดจุดติ ดตั้ง แฟนคอยล์ ยูนิ ต รายละเอียดเพิ่มเติมได้จากใบ

การเดินท่อ การเชื่อมต่อเมนไฟฟ้า และ

และคอนเดนซิ่งยูนิ ต จุดติ ด ตั้งท่ อ

พื้นที่บริการของเครื่องปรับ อากาศแต่ล ะ

จุ ดติดตั้ งไฟฟ้า รวมทั้งระยะห่างระหว่าง

ชุด

เครื่ องปรั บอากาศ พื้น กาแพงที่ติดตั้ง และระยะเว้นระหว่า ง เครื่ องปรั บอากาศแต่ละตัว ให้ เหมาะสม มีพื้นที่มากพอสาหรับการ บริการ

10. ตรวจสอบความถูกต้อง

ตรวจสอบความถูกต้องของแบบแปลน การติดตั้งอีกครั้ง

11. ส่งชิ้นงาน

ส่งชิ้นงานการออกแบบให้ครูฝึกตรวจ ประเมิน

36 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อมูล


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑ์การพิจารณา

การเขียนแผนผังการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ 1.1 คานวณหาขนาด BTU ได้อย่างถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 เขียนแผนผังการติดตั้งเครื่องปรับอากาศได้อย่างถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

37 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ลาดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 คานวณหาขนาด BTU ได้อย่างถูกต้อง

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได้

10 - คานวณหาค่า BTU ได้ถูกต้อง ได้จานวนเครื่องปรับอากาศที่เหมาะสม ให้คะแนน 5 คะแนน

5

- คานวณหาค่า BTU ไม่ถูกต้อง หรือ ได้จานวนเครื่องปรับอากาศไม่ เหมาะสม ได้คะแนน 3 คะแนน - คานวณหาค่า BTU ไม่ถูกต้อง และได้จานวนเครื่องปรับ อากาศไม่ เหมาะสม ได้คะแนน 1 คะแนน 1.2 เขียนแผนผังการติดตั้งเครื่องปรับอากาศได้

- เขียนแผนผังได้ถูกต้อง สวยงาม รายละเอียดจุดติดตั้งครบถ้วน (จุด

อย่างถูกต้อง

ติดตั้งแฟนคอยล์ยูนิต คอนเดนซิ่งยูนิต ระบบท่อ จุดติดตั้งตู้ควบคุม ไฟฟ้า ) ให้คะแนน 5 คะแนน

5

- เขียนแผนผังได้แต่ขาด รายละเอียดจุดติดตั้ง (จุดติดตั้งแฟนคอยล์ ยูนิต คอนเดนซิ่งยูนิต ระบบท่อ จุดติดตั้งตู้ควบคุมไฟฟ้า ) หักคะแนนจุดละ 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน ครบถ้วน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

1

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

1

2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 15

หมายเหตุ หากผู้เข้ารับการฝึกได้รับคะแนน 11 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70) ให้ผู้เข้ารับการฝึก ขอเข้ารับการทดสอบภาคปฏิบัติได้

38 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

คณะผู้จัดทาโครงการ คณะผู้บริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

5. ว่าที่ร้อยตรี สมศักดิ์ พรหมดา

ผู้อานวยการสานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน์

ผู้อานวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก

7. นายวัชรพงษ์

มุขเชิด

ผู้อานวยการสานักงานรับรองความรู้ความสามารถ

คาเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ์

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพ์สาลี

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกล้า

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กาภู ณ อยุธยา

สานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน์

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงค์วัฒนานุรักษ์

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค์

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 39 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1

ปกหลัง

40 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.