คู่มือครูฝึก ช่างไฟฟ้าอุตสาหกรรม ระดับ 3 โมดูล 8

Page 1

1



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

คูมือครูฝก 0920164150303 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 8 09215219 การเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟา

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

คํานํา

คูมือครูฝก สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 โมดูล 8 การเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟา ตามหลักสูตร ฝ ก อบรมฝ มื อ แรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) นี้ ได พั ฒ นาขึ้ น เพื่ อ ใช เ ป น เอกสาร ประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3ซึ่ ง ได ดํา เนิ น การภายใต โครงการพั ฒ นาระบบฝ ก และชุ ด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงานด ว ยระบบการฝ ก ตาม ความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมี วั ตถุ ประสงค เพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลั ก สู ต ร กล า วคื อ การเลื อ กชนิ ด ของ สายไฟฟ า การกํ า หนดขนาดของสายไฟฟ า ให เ หมาะสมกั บ งาน รวมไปถึงติดตามความกาวหนาของผูรั บ การ ฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาวจึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส ง มอบการฝ ก สามารถ ดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผู รั บ การฝ ก สามารถเรี ย นรู ไ ด ด ว ยตนเอง (Self-Learning) ที่ บ า นหรื อ ที่ ทํา งานและเข า รั บ การฝ ก ภาคปฏิ บั ติ ตามความ พรอม ตามความสะดวกของตน หรือตามแผนการฝกหรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรู ความสามารถกั บ หน ว ยฝ ก โดยมี ค รู ฝ ก หรื อ ผู ส อนคอยให คํา ปรึ ก ษา แนะนํา และจั ด เตรี ย มการฝ ก ภาคปฏิ บั ติ รวมถึง จัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวย ประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึ ง ถื อ เป น รู ป แบบการฝ ก ที่ มี ค วามสํา คั ญ ต อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงานทั้ ง ในป จ จุ บั น และอนาคต ซึ่งหากมีการนํา ระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใชในการพัฒ นาฝมือ แรงงาน จะชว ยทําใหป ระชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษาและผู ป ระกอบอาชี พ อิ ส ระ สามารถเข า ถึ ง การฝ ก อบรมเพื่ อ พั ฒ นาตนเองได อ ย า งสะดวก และได รั บ ประโยชน อย า งทั่ ว ถึ ง มากยิ่ ง ขึ้ น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

สารบั ญ

เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับครูฝก

1

โมดูลการฝกที่ 309215219 การเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟา หัวขอวิชาที่ 1 0921521901 ชนิดของสายไฟฟา

11

หัวขอวิชาที่ 2 0921521902 การกําหนดขนาดของสายไฟฟา

30

คณะผูจัดทําโครงการ

47

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝ กฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข อวิ ชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชงานระบบ แบง สว นการใชงานตามความรับ ผิด ชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถั ด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝ กกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับ การฝกแกผูรับ การฝกที่ศูน ยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม 4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูป แบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

5. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมิ นผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝ ก และแบบทดสอบภาคทฤษฎี หลังฝ ก โดยกํ าหนดเกณฑ การให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ได ตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164150303

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชา งไฟฟา อุต สาหกรรม เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับระบบการสงจายไฟฟากําลังในประเทศไทย 1.2 มีความรูเกี่ยวกับระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม และรีเลยปองกัน 1.3 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับหมอแปลงไฟฟากําลัง 1.4 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับมอเตอรไฟฟาและการควบคุมมอเตอร 1.5 มีความรูเกี่ยวกับอุปกรณตัดวงจรอัตโนมัติ 1.6 มีความรูเกี่ยวกับการตอลงดิน และกับดักเสิรจ 1.7 มีความรูเกี่ยวกับการแกตัวประกอบกําลังของระบบไฟฟาแรงดันไฟฟาต่ํา 1.8 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟา 1.9 มีความรูเกี่ยวกับดวงโคมไฟฟาชนิดตาง ๆ 1.10 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาไดอยางถูกตองตามขอกําหนด 1.11 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาอุตสาหกรรม 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนาฝมือ แรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 90 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรได หนวย ฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูใน ดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบัน พัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 8 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920164150303 2. ชื่อโมดูลการฝก การเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟา รหัสโมดูลการฝก 09215219 3. ระยะเวลาการฝก รวม 3 ชั่วโมง ทฤษฎี 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ -ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝก เพื่อใหมี การฝก ความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายเกี่ยวกับการเลือกชนิดของสายไฟฟาได 2. อธิบายเกี่ยวกับการกําหนดขนาดของสายไฟฟาใหเหมาะสมกับงานได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของผูรับ 1. มีความรูพื้นฐานงานไฟฟาเบื้องตน หรือผานการฝกอบรมเกี่ยวกับการเลือกชนิดและ การฝก ขนาดของสายไฟฟาจากหนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานระดับ 2 มาแลว 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 7 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู :เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถ และใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง: นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิ บ ายเกี่ ย วกั บ การเลือก หัวขอที่ 1 : ชนิดของสายไฟฟา 1:30 1:30 ชนิดของสายไฟฟาได 2. อธิบายเกี่ยวกับการ หัวขอที่ 2 : การกําหนดขนาดของสายไฟฟา 1:30 1:30 กําหนดขนาดของสายไฟฟาให เหมาะสมกับงานได รวมทั้งสิ้น 3:00 3:00 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรมระดับ 3

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921521901 ชนิดของสายไฟฟา (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายเกี่ยวกับการเลือกชนิดของสายไฟฟาได

2. หัวขอสําคัญ - การเลือกชนิดของสายไฟฟา 3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online)เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ลือชัย ทองนิล. มาตรฐานการติดตั้ง.[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.technologymedia.co.th/articledetail.asp?arid=2492&pid=257 ธนบูรณ ศศิภานุเดช. 2530. การออกแบบระบบไฟฟา. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น. ธํารงศักดิ์ หมินกาหรีม. 2559. กฎและมาตรฐานทางไฟฟา. พิมพครั้งที่ 2. นนทบุรี:ศูนยหนังสือเมืองไทย. พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ และคณะ. 2558. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. 2558. วงจรยอยและสายปอนมอเตอร.[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://montri.rmutl.ac.th/assets/ee08.pdf

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ชนิดของสายไฟฟา สายไฟฟา มีหนาที่สําหรับนําพลังงานไฟฟาจากแหลงจายไฟฟาไปยังบริภัณฑไฟฟาตาง ๆ ลักษณะสําคัญของสายไฟฟา มีหลายประการ เชน ประสิทธิภาพในการยอมใหกระแสไฟฟาไหลผาน หรือคาแรงดันไฟฟาตกในสาย เปนตน โดยในปจจุบัน วัสดุที่นิยมใชทําตัวนําไฟฟาภายในสายไฟคือ ทองแดงและอะลูมิเนียม 1. การเลือกชนิดของสายไฟฟา เนื่องจากสายไฟฟามีหนาที่สําคัญในการเปนสื่อนําหรือตัวนํากําลังไฟฟาจากแหลงจายไปยังสถานที่หรือบริภัณฑไ ฟฟ า ปจจุบันไดมีการผลิตสายไฟฟ ามากมายหลายชนิด เพื่ อใหเหมาะสําหรับ การใชงานในแตล ะลักษณะ ดังนั้น การเลื อกใช สายไฟฟาอยางเหมาะสม ปลอดภัย และคุมคา จึงตองพิจารณาจากปจจัยหลายประการ ดังตอไปนี้ 1.1 พิกัดแรงดัน ในการพิจารณาใชงานสายไฟฟา สิ่งที่จะตองพิจารณาเปนอันดับแรก คือ พิกัดขนาดแรงดันของสาย ซึ่งสายไฟฟา ตามมาตรฐาน มอก.11-2531 นั้นจะระบุแรงดันพิกัดไว 2 ระดับ คือ 300 โวลต และ 750 โวลต ดังนั้น ในการเลือกชนิด ของสายไฟฟาจะตองคํานึงถึงพิกัดแรงดันที่ตองการใชงานใหถูกตอง 1.2 พิกัดกระแส ความสามารถในการนํากระแส กลาวคือ สายไฟฟาสามารถยอมใหไหลผานไดอยางตอเนื่องในภาวะการใชงาน โดยไมทําใหพิกัดอุณหภูมิเกินคาที่กําหนดไว ทั้งนี้ ในการใชงานจะตองเลือกขนาดของสายไฟฟาใหเหมาะสม ไมใหเกิน ความสามารถของสาย ซึ่งจะตองคํานึงถึงปจจัยที่มีผลทําใหความสามารถในการนํากระแสของสายเปลี่ยนไปดวย ไดแก ลักษณะการติดตั้ง และอุณหภูมิแวดลอมที่ใชงาน 1.2.1 ลักษณะการติดตั้ง ลักษณะการติดตั้งสายไฟฟาทําไดหลายวิธีดวยกัน เชน การเดินสายในทอรอยสายไฟฟา การเดินสาย แบบฝงดินโดยตรง การเดินลอยในอากาศ เปนตน ซึ่งสายไฟฟาในการติดตั้งแตละวิธีนั้นจะมีคาพิกัดกระแส ไมเ ทากัน อัน เปน ผลมาจากการระบายความรอนออกของสายขณะใชงาน เชน การเดิน สายลอยในอากาศ จะมีพิกัด กระแสสูง กวาการเดิน สายดว ยวิธีอื่น เนื่อ งจากสามารถใชอ ากาศเปน ตัว ถา ยเทความรอนในสาย ออกไดดีกวา นอกจากนี้ การดิน สายในทอ รอ ยสายไฟฟาก็ยังมีปจ จัย ในเรื่อ งจํานวนสายในทอ รอยสายอีก โดยอาจจะมีจํานวนสายในทอรอยสายไฟฟามาก อาจทําใหการระบายความรอนของสายไมสะดวก จึงทําให ความสามารถในการนํากระแสของสายไฟลดลง เปนตน

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

1.2.2 อุณหภูมิแวดลอมที่ใชงาน ในการใช ง านสายไฟฟ า บางครั้ง อาจจะตอ งมีก ารติด ตั้ง ในสถานที่ซึ่ ง มีอุ ณ หภูมิสูง กวา ปกติ เชน การเดินสายผานหองเครื่องในโรงงานอุตสาหกรรม เปนตน ทําใหความสามารถในการนํากระแสของสายลดลง เนื่องจากการระบายความรอนไมดีเทาที่ควร ดังนั้น ในการพิจารณาเลือกใชสายไฟฟาจึงตองคํานึงถึงลักษณะ สภาพแวดลอมที่ติดตั้งสายไฟฟาดวย ตามมาตรฐานของ ว.ส.ท.ไดจัดทําเปนตารางแสดงถึงคาพิกัดกระแสของสายไฟฟาตามวิธีการเดินสายตาง ๆ ดัง ตารางที่ 1.1 ถึง 1.6 ทั้ง นี้ ในเวลาเลือ กใชง านจะตอ งคํา นึง ถึงคาตัว คูณลดกระแสในหมายเหตุตาง ๆ ทายตารางดวย เนื่องจากคาในตารางจะเปนคาที่ใชสําหรับอุณหภูมิโดยรอบ 30 และ 40 องศาเซลเซียสแลวแต กรณีเทานั้น แตถาเปนในกรณีที่มีการเดินสายในชองเดินสายไฟฟาเดียวกันมากกวา 3 เสน (สายเคเบิลหลายแกน ใหกําหนดจํานวนเสน จากจํานวนแกน) โดยไมนับ ตัว นําสําหรับตอลงดิน แลว จะตองใชคาตัว คูณลดกระแส นอกจากนี้การนับจํานวนสายไฟในชองเดินสายใหเปน ดังนี้ 1) ไมใหนับตัวนํานิวทรัลของระบบ 3 เฟส เนื่องจากไดออกแบบใหมีโหลดสมดุล แตบางขณะ มีกระแสโหลดไมสมดุลไหลผาน 2) ใหนับตัวนํานิวทรัลดวยในระบบ 3 เฟส ซึ่งโหลดสวนใหญ (มากกวารอยละ 50) ประกอบดวย หลอดชนิดปลอยประจุ (Electric Discharge) เชนหลอดฟลูออเรสเซนต เปนตน อุปกรณเกี่ยวกับ การประมวลผลขอมูล (Data Processing) หรืออุปกรณอื่นที่มีลักษณะคลายกันที่ทําใหเกิด กระแสฮารมอนิคส (Harmonic) ในตัวนํานิวทรัล

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ตารางที่ 1.1 ขนาดกระแสของสายไฟฟาทองแดงหุมฉนวนพีวีซีตาม มอก.11-2531 อุณหภูมิตัวนํา70 องศาเซลเซียส ขนาดแรงดัน 300 หรือ 750 โวลต อุณหภูมิโดยรอบ 40 องศาเซลเซียส (สําหรับวิธีการ เดินสาย ก-ค) และ 30 องศาเซลเซียส (สําหรับวิธีการเดินสาย ง และ จ)

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

หมายเหตุ : จากตารางที่ 1.1 1) D = เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา 2) ชนิดของตัวนําและรูปแบบการติดตั้งเปนไป ดังนี้

หมายเหตุ : จากตารางที่ 1.1 (ตอ) 3) อุณหภูมิโดยรอบที่แตกตางจาก 40 องศาเซลเซียส (สําหรับวิธีการเดินสาย ก-ค) หรือ 30 องศาเซลเซียส (สําหรับวิธีการเดินสาย ง และ จ) ใหคุณคาขนาดกระแสดวยตัวคูณ ดังนี้ 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ตัวคูณ

อุณหภูมิโดยรอบ

วิธีการเดินสาย ก-ค

วิธีการเดินสาย ง และ จ

(การเดินสายในอากาศ)

(การเดินสายใตดิน)

21-25

-

1.06

26-30

-

1

31-35

1.08

0.94

36-40

1

0.87

41-45

0.91

0.79

46-50

0.82

0.71

51-55

0.71

-

56-60

0.58

-

(องศาเซลเซียส)

4) สําหรับที่ที่มีการเดินสายผสมระหวางการเดินสายในอากาศหรือเกาะผนัง วิธีการเดินสาย ก หรือ ข และการเดินสายในทอ วิธีการเดินสาย ค หากความยาวสายที่เดินในทอไมเกินครึ่งหนึ่งของความยาวสาย ทั้ง หมด และสายที่เ ดิ น ในท อ ยาวไมเ กิน 6 เมตร อนุญ าตให ใ ช ค า ขนาดกระแสตามวิธี ก ารเดิ น สายในอากาศหรือเกาะผนังได

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ตารางที่ 1.2 ขนาดกระแสของสายไฟฟาทองแดงหุมฉนวน พีวีซี ตาม มอก. 11-2531 อุณหภูมิตัวนํา 70 องศา เซลเซียส ขนาดแรงดัน 300 หรือ 750 โวลต อุณหภูมิโดยรอบ 40 องศาเซลเซียส วางบนรางเคเบิล (Cable Tray)

หมายเหตุ: ตารางที่ 1.2 1)

D = เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา

2)

ชนิดของตัวนําและรูปแบบการติดตั้งเปนไปดังนี้

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

3)

อุณหภูมิโดยรอบที่แตกตางจาก 40 องศาเซลเซียส ใหคุณคาขนาดกระแสดวยตัวคูณ เชนเดียวกับหมายเหตุ 3) ของตารางที่ 2.2

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ตารางที่ 1.3 ขนาดกระแสของสายไฟฟาทองแดงหุมฉนวน ครอสลิงคโพลีเอทที่อื่น อุณหภูมิตัวนํา 90 องศาเซลเซียส ขนาดแรงดัน 600 โวลต อุณหภูมิโดยรอบ 40 องศาเซลเซียส (สําหรับการเดินสายใน อากาศ) และ 30 องศาเซลเซียส สําหรับการเดินสายใตดิน ขนาดกระแส (แอมแปร) วิธีการเดินสาย ก

ขนาดสาย สายแกนเดียว สายแกนเดียว 3 (ตร.มม.) เดินในอากาศ เสน หรือสายหลาย

สายแกนเดียว 3 เสนเดินใน สายแกนเดียวไมเกิน ทอฝงดิน

แกนไมเกิน 3 เสน

ทอโลหะ

3 เสนหรือสายหลาย

ทออโลหะ

เดินในทอโลหะใน

แกนไมเกิน 3 แกน ฝงดินโดยตรง

อากาศ 2.5

36

25

31

28

44

4

47

33

41

36

57

6

60

42

52

46

71

10

82

56

70

61

94

16

110

76

93

81

122

25

148

100

123

107

156

35

184

123

151

130

187

50

224

153

184

156

221

70

286

191

230

197

270

95

356

239

285

241

325

120

417

275

329

277

368

150

481

322

380

318

413

185

559

368

436

363

466

240

672

440

518

430

539

300

782

510

615

501

607

400

921

604

734

586

687

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขนาดกระแส (แอมแปร) วิธีการเดินสาย ก

ขนาดสาย สายแกนเดียว สายแกนเดียว 3 (ตร.มม.) เดินในอากาศ เสน หรือสายหลาย

สายแกนเดียว 3 เสนเดินใน สายแกนเดียวไมเกิน ทอฝงดิน

แกนไมเกิน 3 เสน

ทอโลหะ

3 เสนหรือสายหลาย

ทออโลหะ

เดินในทอโลหะใน

แกนไมเกิน 3 แกน ฝงดินโดยตรง

อากาศ 500

1080

686

855

685

773

หมายเหตุ ตารางที่ 1.3 อุณหภูมิโดยรอบที่ แตกตางจาก 40 องศาเซลเซี ยส (สําหรับการเดิ นสาย ในอากาศ) หรือ 30 องศาเซลเซี ย ส (สําหรับการเดินสายใตดิน) ใหคุณคาขนาดกระแสดวยตัวคูณ ดังนี้ อุณหภูมิโดยรอบ (องศาเซลเซียส)

ตัวคูณ วิธีการเดินสาย ก-ค

วิธีการเดินสาย ง และ จ

(การเดินสายในอากาศ)

(การเดินสายใตดิน)

21-25

-

1.06

26-30

-

1

31-35

1.08

0.94

36-40

1

0.87

41-45

0.91

0.79

46-50

0.82

0.71

51-55

0.71

-

56-60

0.58

-

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ตารางที่ 1.4 ขนาดกระแสของสายไฟฟาทองแดงหุมฉนวน ครอสลิ้งคโพลีเอททีลีน อุณหภูมิตัวนํา 90 องศาเซลเซียส ขนาดแรงดัน 11 ถึง 33 เควี อุณหภูมิโดยรอบ 40 องศาเซลเซียส (สําหรับการเดินสายใน อากาศ) และ 30 องศาเซลเซียส สําหรับการเดินสายใตดิน ขนาดกระแส(แอมแปร) วิธีการเดินสาย ขนาดสาย

สายแกนเดียว

สายแกนเดียว

(ตร.มม.)

3 เสน

3 เสน

เดินในทอโลหะใน

เดินในทอฝงดิน

สายแกนเดียว 1 วงจร ฝงดินโดยตรง

อากาศ

ทอโละหะ

ทออโลหะ

35

148

176

149

209

50

175

209

178

247

70

215

259

218

302

95

265

315

265

361

120

303

361

303

410

150

348

413

341

460

185

396

469

386

519

240

478

563

454

601

300

551

650

521

679

400

636

751

607

772

500

730

869

706

878

หมายเหตุ : ตารางที่ 1.4 อุ ณหภู มิโ ดยรอบที่ แตกต า งจาก 40 องศาเซลเซีย ส (สําหรับ การเดิน สายในอากาศ) หรือ 30 องศาเซลเซีย ส (สําหรับการเดินสายใตดิน) ใหคุณคาขนาดกระแสดวยตัวคูณเชนเดียวกับหมายเหตุของตารางที่ 1.3

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ตารางที่ 1.5 ขนาดกระแสของสายทองแดงหุมฉนวน ครอสลิ้งคโพลีเอททีลีน มีชีลด อุณหภูมิตัวนํา 90 องศาเซลเซียส ขนาดแรงดัน 11 ถึง 33 เควี อุณหภูมิโดยรอบ 30 องศาเซลเซียส เดินในดัก แบงค (Duct Bank) ไมเกิน 8 ทอ ขนาดสาย

ขนาดกระแสตอ 1 วงจร (แอมแปร)

(ตร.กม)

จํานวนวงจรทั้งหมด 1

2

3

4

5

6

7

8

35

175

160

147

137

130

122

116

110

50

210

191

175

162

153

144

136

130

70

251

228

208

193

182

171

161

154

95

313

282

256

236

222

208

196

187

120

357

322

292

270

254

238

224

213

150

405

362

327

300

282

263

248

235

185

461

410

369

339

318

296

278

264

240

535

475

427

392

367

342

321

305

300

611

539

481

440

411

382

358

339

400

694

619

553

507

473

440

412

391

500

797

695

616

560

522

483

451

427

หมายเหตุ: ตารางที่ 1.5 1)

อุณหภูมิโดยรอบที่แตกตางจาก 30 องศาเซลเซียส ใหคุณคาขนาดกระแสดวยตัวคูณเชนเดียวกับ หมายเหตุของตารางที่ 1.3

2)

การคํานวณอางอิงจากมาตรฐาน IEC 287-1982 ตามสภาพเงื่อนไขดังตอไปนี้ - โหลดแฟคเตอร 100% - 5 Soil Thermal Resistivity = 1.0 K-ทา//W - Concrete Thermal Resistivity = 1.0 K-กา//

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ตารางที่ 1.6 ตัวคูณลดคากระแสเนื่องจากจํานวนสายหลายเสนในชองเดินสายไฟฟาเดียวกัน

จํานวนสาย

ตัวคูณ

4-6

0.82

7-9

0.72

10-20

0.56

21-30

0.48

31-40

0.44

เกิน40

0.38

1.3 แรงดันตก ตามมาตรฐานของ ว.ส.ท. ฉบับ ใหมไ มไ ดก ลา วถึง ขอ กํา หนดดา นแรงดัน ตกเอาไว แตใ นการใชง านจํา เปน จะตองคํานึงถึงคาของแรงดันตกดวย เนื่องจากคาแรงดันตกจะสงผลใหความสามารถในการทํางานของโหลดเปลี่ยนไป จึงจะใชมาตรฐานของ NEC ในการพิจารณาแทนแรงดันตก (Voltage Drop) แรงดันดังกลาวเปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นเสมอ ในการใชงานอุปกรณไฟฟา ซึ่งมีการสงผานพลังงานไฟฟาผานสายตัวนํา เมื่อมีการใชงานอุปกรณไฟฟาจะมีกระแสไหล ผานสายตัวนํา โดยในสายตัวนําจะมีคาความตานทานอยูในตัวอยูคาหนึ่ง จึงเสมือนวาสายตัวนําก็จะเปนโหลดตัวหนึ่ง ในวงจรไฟฟาตออนุกรมอยูกับโหลดจริง และจะแบงแรงดันสวนหนึ่งไวในสายตัวนําทําใหแรงดันตกครอมที่โหลดจริงต่ํากวา แรงดันที่จายมาจากแหลงจาย สามารถเขียนเปนวงจรสมมูลและเวกเตอรไดอะแกรมไดดังภาพที่ 1.1 หรืออาจกลาวไดวา สภาวะแรงดันตก คือ สภาวะที่แรงดันไฟฟา ณ จุดรับไฟฟาปลายทางมีคาต่ํากวาแรงดันไฟฟา ณ แหลงจายไฟฟาตนทาง เกินกวาคามาตรฐานที่ยอมรับได

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ก) วงจรสมมูล

ข) เวกเตอรไดอะแกรม

ภาพที่ 1.1 การพิจารณาคาแรงดันตก ตามมาตรฐานของ NEC 210-19 (a) FPN 4 และ 215-2 FPN 2 มีขอกําหนดสําหรับแรงดันตกไว ดังนี้ 1) แรงดันตกในวงจรยอย (Branch Circuit) มีคาไมเกิน 3 เปอรเซ็นต 2) แรงดันตกในสายปอน (Feeder) มีคาไมเกิน 3 เปอรเซ็นต 3) แรงดันตกรวมในวงจรทั้งสายปอนและวงจรยอย มีคาไมเกิน 5 เปอรเซ็นต พิจารณาไดจากภาพที่ 1.2

ภาพที่ 1.2 การพิจารณาแรงดันตกตามมาตรฐาน NEC 25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

1.4 สายควบ ในการพิจารณาเลือกขนาดสายไฟฟานั้น บางครั้งมีความจําเปนที่จะตองมีการนําสายมาเดินควบกันหลาย ๆ เสนตอเฟส ทั้ ง นี้ อ าจจะมาจากค า พิ กั ด กระแสของสายเส น เดี ย วไมเ พี ย งพอที่ จ ะรองรั บ กระแสได ดั ง ที่ พ บเห็น ไดบอ ย ๆ คือ การเดิน สายเมนแรงต่ํา จากหลั งหม อ แปลงไฟฟา ไปยัง ตูควบคุม ไฟฟาหลัก ของอาคาร นอกจากนี้ในบางกรณี การเดิน สายควบอาจจะทํา ใหร ะบบมีป ระสิท ธิภ าพ และราคาประหยัด กวา การเดิน สายขนาดใหญเ สน เดีย วได สําหรับการเลือกใชงานสายควบนั้น จะตองมีวิธีการพิจารณาตามมาตรฐานดวย ทั้งนี้ เนื่องจากวาสายไฟฟาแตละขนาดนั้น จะมีคาความตานทานในสายหรือคาอิมพีแดนซไมเทากัน ทําใหพิกัดความสามารถในการนํากระแสไมเทากัน โดยดูจาก คาพิกัดกระแสของสายไฟดังตารางที่ 1.1–1.5 จะพบวา ขนาดพิกัดกระแสของสายไฟฟาไมไดเพิ่มขึ้นเปนสัดสวนเดียวกัน กั บ ขนาดของสายไฟฟ า ดัง นั้ น ในการเลื อ กขนาดของสายไฟฟ า ควบโดยเฉพาะในวงจรที่ มี ก ระแสสู ง ๆ นั้ น จะตองพิจารณาประสิทธิภาพความสามารถในการนํากระแสของสายไฟและชองเดินสายไฟฟา รวมทั้งจะตองคํานึงถึง ความยากงายในการติดตั้งและเงินลงทุนเริ่มตนดวย ในการพิจารณาใชสายควบนั้นตามขอกําหนดในมาตรฐานของ ว.ส.ท. ไดกําหนดใหเปนไป ดังนี้ - สายไฟฟาที่จะใชเดินควบกันไดนั้นจะตองมีความยาวเทากัน - สายไฟฟ า ที่ ใ ช จ ะต อ งเป น สายชนิ ด เดีย วกัน เชน ตอ งเปน สายตัว นํา ทองแดงเหมื อ นกัน เท า นั้ น หามใชสายตัวนําทองแดงนําไปควบกับสายตัวนําอลูมิเนียม เปนตน - สายไฟฟาที่ใชจะตองมีขนาดเทากัน - ฉนวนของสายไฟฟาจะตองเปนชนิดเดียวกัน - ลักษณะการติดตั้งและการตอสายไฟฟาเหมือนกัน ทั้งนี้ สายไฟฟาที่จะนํามาควบกันไดนั้น จะตองเปนสายที่มีขนาดตั้งแต 50 ตารางมิลลิเมตรขึ้นไป สําหรับการพิจารณา เพื่อเลือกใชสายควบนั้น จะพบปญหาถาหากวามีการเลือกใชสายคนละขนาดแลวนํามาควบกัน กลาวคือ จะเกิดกระแสไหล ในสายที่นํามาควบกันนั้นไมเทากัน ทําใหเกิดกระแสไหลเกินพิกัดในสายได

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

1. การเดินสายไฟในอากาศที่เปนสายแกนเดียวหุมฉนวน จะใชรูปแบบการติดตั้งในขอใด

ก.

ข.

ค.

ง.

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2.

หากใชรูปแบบการติดตั้งดังภาพ จะตองเลือกใชสายไฟและในขอใด ก. สายแกนเดียวหุมฉนวน ข. สายแบนหุมฉนวนมีเปลือก ค. สายแกนเดียวหุมฉนวนไมเกิน 3 เสน ง. สายหุมฉนวนมีเปลือกไมเกิน 3 แกน

3. ขอใด เปนการเลือกสายควบตามขอกําหนดในมาตรฐานของ ว.ส.ท. ที่ถูกตอง ก. ใชสายตัวนําทองแดงไปควบกับสายตัวนําเงิน ข. ใชสายตัวนําอลูมิเนียมไปควบกับสายตัวนําเงิน ค. ใชสายตัวนําทองแดงไปควบกับสายตัวนําทองแดง ง. ใชสายตัวนําทองแดงไปควบกับสายตัวนําอลูมิเนียม 4. ขนาดของสายไฟฟาที่จะนํามาควบกัน ตองมีขนาดเทาใด ก. 20 - 25 ตารางมิลลิเมตร ข. 25 - 40 ตารางมิลลิเมตร ค. 34 - 50 ตารางมิลลิเมตร ง. ตั้งแต 50 ตารางมิลลิเมตร ขึ้นไป

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921521902 การกําหนดขนาดของสายไฟฟา (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายเกี่ยวกับการกําหนดขนาดของสายไฟฟาใหเหมาะสมกับงานได

2. หัวขอสําคัญ 1. การกําหนดขนาดของสายไฟฟาใหเหมาะสมกับวงจรมอเตอรไฟฟา 2. การกําหนดของสายปอน สายประธาน และสายวงจรยอย

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ลือชัย ทองนิล. มาตรฐานการติดตั้ง.[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.technologymedia.co.th/articledetail.asp?arid=2492&pid=257 ธนบูรณ ศศิภานุเดช. 2530. การออกแบบระบบไฟฟา. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น. ธํารงศักดิ์ หมินกาหรีม. 2559. กฎและมาตรฐานทางไฟฟา. พิมพครั้งที่ 2. นนทบุรี:ศูนยหนังสือเมืองไทย. พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ และคณะ. 2558. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. 2558. วงจรยอยและสายปอนมอเตอร.[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://montri.rmutl.ac.th/assets/ee08.pdf

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 การกําหนดขนาดของสายไฟฟา ในสวนนี้จะกลาวถึงการกําหนดขนาดของสายไฟฟาใหเหมาะสมกับวงจรมอเตอรไฟฟาตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟา สําหรับประเทศไทย 1. การกําหนดขนาดของสายไฟฟาใหเหมาะสมกับวงจรมอเตอรไฟฟา มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย ไดระบุเกี่ยวกับการกําหนดขนาดขนาดสายไฟฟาของวงจรมอเตอรไว ดังตอไปนี้ 1.1 สายสําหรับมอเตอรตัวเดียว 1.1.1 สายของวงจรยอยที่จายใหมอเตอรตัวเดียว ตองมีขนาดกระแสไมต่ํากวารอยละ 125 ของพิกัดกระแส โหลดเต็มที่ของมอเตอร ยกเวนมอเตอรชนิดความเร็วหลายคาที่นํามาใชงาน ประเภทใชงานระยะสั้น จะใชงานเปนระยะ ใชงานเปนคาบ และใชงานที่เปลี่ยนแปลง สายตองมีขนาดกระแสไมต่ํากวาจํานวนรอยละ ของพิกัดกระแสบนแผนปายประจําเครื่องตามตารางที่ 2.1 1.1.2 สายของวงจรยอยมอเตอรตองมีขนาดไมเล็กกวา 1.5 ตารางมิลลิเมตร ทั้งนี้ การกําหนดขนาดสาย ของวงจรมอเตอร จะกําหนดจากพิกัดกระแสโหลดเต็มที่ของมอเตอร เนื่องจากการกําหนดขนาดสายไฟฟา จากเครื่องปองกันกระแสลัดวงจรจะทําใหตองใชสายไฟฟาใหญเกินไป โดยมอเตอรใชเครื่องปองกันโหลดเกิน เป น ตั ว ป อ งการการใช ง านเกิ น กํา ลัง ของมอเตอร ดัง นั้น ปกติก ารปรับ ตั้ง เครื่อ งปอ งกัน โหลดเกิน จะตั้งที่ ประมาณ 115 เปอร เซ็ นต ถึง 125 เปอรเซ็ นต ของพิ กัดกระแสโหลดเต็ มที่ ในการกําหนดขนาด สายไฟฟา จึงเลือกใชสายที่มีขนาดกระแสไมต่ํากวา 125 เปอรเซ็นตของพิกัดกระแสโหลดเต็มที่ของมอเตอร ตัวอยางการกําหนดขนาดกระแสของสายไฟฟา มอเตอรเ หนี่ ย วนํ าขนาด 10 แรงมา กระแสโหลดเต็มที่เทากับ 18 แอมแปร ตองการหาวา สายไฟฟาที่ใชตองมีขนาดกระแสไมต่ํากวาเทาไร วิธีทํา สายไฟฟาตองมีขนาดกระแสไมต่ํากวา 125 เปอรเซ็นตของพิกัดกระแสโหลดเต็มที่ของมอเตอร ดังนั้น สายไฟฟาตองมีขนาดกระแสไมต่ํากวา 1.25 x 18 = 22.5 แอมแปร

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

1.2 สายดานทุติยภูมิของมอเตอรแบบวาวดโรเตอร (Wound-Rotor) เนื่องจากมอเตอรชนิดวาวดโรเตอรประกอบดวยขดลวด 2 สวน คือ ขดลวดดานปฐมภูมิ (Primary) และดานทุติยภูมิ (Secondary) ดังนั้น มอเตอรจึงมีแผนปายประจําเครื่องที่กําหนดพิกัดกระแสเปน 2 คา คือ กระแสดานปฐมภูมิ และ กระแสดานทุติยภูมิ สําหรับมอเตอรที่ใชงานตอเนื่อง ขนาดกระแสของสายไฟฟาตองไมต่ํากวา 125 เปอรเซ็นตของพิกัด กระแสของแตละดาน 1.3 สายสําหรับมอเตอรที่ใชงานประเภทตอเนื่อง มอเตอรที่ใชงานไมตอเนื่อง เปนการแยกมอเตอรตามการใชงาน ไมใชแยกตามพิกัดของมอเตอร ดังนั้น มอเตอรที่ นํามาใชงานจึงเปนไดทั้งมอเตอรพิกัดใชงานตอเนื่องและไมตอเนื่อง การกําหนดขนาดกระแสของสายไฟฟาจึงแตกตางกัน ออกไป ตามที่กําหนดในตารางที่ 2.1 ตารางที่ 2.1 ขนาดกระแสของสายสําหรับมอเตอรที่ใชงานไมตอเนื่อง รอยละของพิกัดกระแสบนแผนปายประจําเครื่อง ประเภทการใชงาน ใชงานระยะสั้น เชน มอเตอร หมุนปด – เปด วาลว ฯลฯ

มอเตอรพิกัด

มอเตอรพิกัด

มอเตอรพิกัด

มอเตอรพิกัด

ใชงาน 5 นาที

ใชงาน 15 นาที

110

120

150

-

85

85

90

140

85

90

95

140

110

120

150

200

ใชงาน 30 และ 60 นาที ใชงาน ตอเนื่อง

ใ ช ง า น เ ป น ร ะ ย ะ เ ช น มอเตอรลิฟต มอเตอรปด – เปดสะพาน ฯลฯ ใชงานเปนคาบ เชน มอเตอร หมุนลูกกลิ้ง ฯลฯ ใชงานที่เปลี่ยนแปลง

1.4 สายสําหรับมอเตอรมีตัวตานทานอยูแยกจากเครื่องควบคุม สายที่ ต อ ระหว า งเครื่อ งควบคุ ม และตั ว ต า นทาน ต อ งมี ข นาดกระแสไม ต่ํา กว า ที่ กํา หนดในตารางที่ 2.2 ขนาดสายระหวางเครื่องควบคุมมอเตอร และตัวตานทานในวงจรทุติยภูมิของมอเตอรแบบวาวดโรเตอร

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ตารางที่ 2.2 ขนาดสายระหวางเครื่องควบคุมมอเตอร และตัวตานทานในวงจรทุติยภูมิของมอเตอรแบบวาวดโรเตอร ประเภทการใชงานของตัวตานทาน

ขนาดกระแสของสายคิ ด เป น ร อ ยละ ของกระแสดานทุติยภูมิที่โหลดเต็มที่

เริ่มเดินอยางเบา

35

เริ่มเดินอยางหนัก

45

เริ่มเดินอยางหนักมาก

55

ใชงานเปนระยะหางมาก

65

ใชงานเปนระยะหางปานกลาง

75

ใชงานเปนระยะถี่

85

ใชงานตอเนื่องกัน

110

1.5 สายสําหรับวงจรมอเตอรหลายตัว สายไฟฟาซึ่งจายกระแสใหแกมอเตอรมากกวา 1 ตัว ตองมีขนาดกระแสไมต่ํากวาผลรวมของพิกัดกระแสโหลดเต็มที่ ของมอเตอรทุกตัว บวกกับรอยละ 25 ของพิกัดกระแสโหลดเต็มที่ของมอเตอรตัวใหญที่สุดในวงจร ในกรณีที่มอเตอร ตัวใหญที่สุดมีหลายตัวใหบวกรอยละ 25 เพียงตัวเดียว ในกรณีที่มีมอเตอรแบบใชงานไมตอเนื่องปนอยูดวย ในการหา ขนาดสายใหดําเนินการ ดังนี้ 1.5.1 หาขนาดกระแสของสายสําหรับมอเตอรแบบใชงานไมตอเนื่องตามตารางที่ 2.1 1.5.2 หาขนาดกระแสของสายสําหรับ มอเตอรแบบใชงานตอเนื่อง โดยใชคารอยละ 100 ของพิกัดกระแส โหลดเต็มที่ของมอเตอร 1.5.3 ตรวจคากระแส เมื่อพบวาคาดังกลาวของมอเตอรตัวใดสูงสุดใหคูณดวย 1.25 แลวบวกดวยคาขนาดกระแส ของสายสําหรับมอเตอรตัวอื่นที่เหลือทั้งหมด จะไดกําหนดขนาดกระแสของสายที่จายไฟใหแกมอเตอร เหลานั้น ตัวอยางการกําหนดขนาดสายไฟฟาสําหรับวงจรที่มีมอเตอรหลายตัว ตอ งการหาขนาดกระแสของสายไฟฟา ที่จา ยไฟใหม อเตอรใ ชง านตอ เนื่อ งจํา นวน 3 ตัว มอเตอรตัวที่ 1 ขนาด 50 แรงมา กระแส 80 แอมแปร ตัวที่ 2 ขนาด 30 แรงมา กระแส 50 แอมแปร และตัวที่ 3 ขนาด 25 แรงมา กระแส 30 แอมแปร วิธีทํา

มอเตอรตัวใหญที่สุดคือตัวที่กันกระแส 80 แอมแปร

ขนาดกระแสของสายไฟฟา = (1.25 x 80) + 50 + 30 = 180 แอมแปร 34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ตัวอยางการกําหนดขนาดสายไฟฟาวงจรที่มีมอเตอรใชงานไมตอเนื่องปนอยูดวย วงจรสายปอนมอเตอร 3 เฟส 380 โวลต ประกอบดวย - มอเตอร M1 ขนาด 50 แรงมา กระแส 79 แอมแปร พิกัดใชงาน 5 นาที ใชสําหรับลูกกลิ้งบดแปง - มอเตอร M2 ขนาด 30 แรงมา กระแส 49 แอมแปร พิกัดใชงาน 5 นาที ใชเปนมอเตอรปด – เปดวาลว - มอเตอร M3 ขนาด 40 แรงมา กระแส 50 แอมแปร พิกัดใชงานตอเนื่อง ใชงานตามพิกัด ตองการหาขนาดกระแสของสายปอน วิธีทํา

มอเตอร M1 ขนาดกระแสของสายไฟฟา (ตารางที่ 2.1) = 0.85 x 79 = 67 แอมแปร มอเตอร M2 ขนาดกระแสของสายไฟฟา (ตารางที่ 2.1) = 1.1 x 49 = 54 แอมแปร มอเตอร M3 ใชงานตอเนื่อง กระแส 50 แอมแปร

ขนาดกระแสของสายไฟฟาของสายปอน = (1.25 x 67) + 54 + 50 = 187.75 แอมแปร 2. การกําหนดขนาดของสายประธานสายปอน และสายวงจรยอย ในการลือกสายประธานสายปอนและสายวงจรยอยเหมาะสมกับงานไฟฟานั้น ผูปฏิบัติงานจะตองศึกษาและทําความเขาใจ มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟา สําหรับประเทศไทยไดระบุขนาดและขอกําหนดของสายประธาน สายปอน และสายวงจรยอยไว ดังตอไปนี้ 2.1 สายประธาน สายประธาน หรือ ตัวนําประธาน (Service Conductor) หมายถึง สายไฟฟาในระบบ ซึ่งมีหนาที่สงกําลังไฟฟา จากระบบไฟฟาของการไฟฟาฯ สูวงจรสายปอน โดยสายประธานตองมีขนาดเพียงพอที่จะรับโหลดทั้งหมด และจายไฟฟ า ใหกับอาคารหนึ่งหลัง โดยขนาดตัวนํานิวทรัลตองมีกระแสเพียงพอที่จะรับกระแสที่ไมสมดุล และตองมีขนาดเล็กกวา ขนาดสายตอ หลัก ดิน และไมเ ล็ก กวารอ ยละ 12.5 ของตัว นําประธานใหญสุด แตไ มจํา เปน ตอ งใหญกวาสายเฟส ยกเวนแตจะยอมใหมีสายประธานมากกวา 1 ชุด ซึ่งมีขอกําหนด ดังนี้ 1) ใชสําหรับระบบไฟฟาฉุกเฉินและระบบสํารอง 2) ใชสําหรับเครื่องสูบน้ําดับเพลิง ซึ่งตองแยกระบบประธาน 3) ใชเปนอาคารที่ไดรับหมอแปลงไฟฟามากกวา 1 ลูก 4) ใชเมื่อตองการตัวนําประธานที่ระดับแรงดันตางกัน 5) ใชกับอาคารชุด อาคารสูง หรืออาคารใหญ ซึ่งตองไดรับความเห็นชอบจากการไฟฟา 6) ใชในกรณีที่ผูใชไฟฟามีอาคารมากกวา 1 หลังในบริเวณเดียวกัน และจําเปนตองใชตัวนําประธานแยกกัน โดยมีเงื่อนไข ดังนี้ 35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

- อาคารทุกหลังตองมีบริภัณฑประธาน โดยมีขนาดกระแสรวมไมเกินพิกัดเครื่องปองกันกระแสเกิน ของเครื่องวัด - ขนาดตัวนําประธานจากเครื่องวัดถึงจุดตอแยกเขาแตละอาคาร ตองมีขนาดกระแสไมนอยกวา เครื่องปองกันกระแสเกินของอาคารทุกหลังรวมกัน - จุดตอแยกตัวนําประธานตองอยูในบริเวณของผูใชไฟฟา 2.1.1 การติดตั้งตัวนําประธานสําหรับระบบแรงต่ํา 1) ตัวนําประธานอากาศสําหรับระบบแรงต่ํา ตองเปนสายทองแดงหุมฉนวนขนาดไมเล็กกวา 4 ตารางมิลลิเมตร 2) ตัวนําประธานใตดินสําหรับระบบแรงต่ํา ตองเปนสายทองแดงหุมฉนวนที่เหมาะกับการติดตั้ง และมีขนาดไมเล็กกวา 10 ตารางมิลลิเมตร การติดตั้งใตดินตองมีผังแสดงแนวสายไฟไวเพื่อตรวจสอบได และตองทําปายระบุแนวของสายไฟฟาที่ ระบุความลึกของสายบนสุด ปายตองเห็นชัดเจน ระยะหางระหวางปายไมเกิน 50 เมตร ถาการ ติ ด ตั้ ง ใต ดิ น มี ห ลายวงจร ตอ งมีเ ครื่อ งหมายแสดงวงจรติ ด อยู อ ย า งถาวรที่ปลายสายและสายที่ อยูในชวงชองเปด 2.1.2 การติดตั้งตัวนําประธานสําหรับระบบแรงสูง 1) ตัวนําประธานอากาศสําหรับระบบแรงสูง สามารถใชสายเปลือยหรือสายหุมฉนวนได 2) ตัวนําประธานใตดินสําหรับระบบแรงสูง ต อ งเป น สายหุ ม ฉนวนชนิ ด ที่เ หมาะกั บ การติ ด ตั้ ง โดยตอ งมีปา ยแสดงแนวสายไฟฟ า ที่ร ะบุค วามลึก ของสายบนสุด ไมเ กิน 50 เมตร และผัง แสดงแนวสายใตดิน ไว เพื่อ ตรวจสอบ และเก็บรักษา 2.1.3 บริภัณฑประธาน อาคารหรือสิ่งปลูกสรางตองติดตั้งบริภัณฑประธาน เพื่อปลดวงจรทุกสายไฟออกจากตัวนําประธาน ซึ่งบริภัณฑประธาน จะประกอบดวยเครื่องปลดวงจรและเครื่องปองกันกระแสเกิน โดยอาจจะประกอบเปนชุดเดียว หรือตัวเดียวกันก็ได

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

เครื่องปลดวงจร เครื่องปองกันกระแสเกิน

ภาพที่ 2.1 บริภัณฑประธาน

ภาพที่ 2.2 ตําแหนงตัวนําประธานและบริภัณฑประธานในระบบจําหนาย สําหรับอาคารหรือสิ่งปลูกสรางที่ตองรับ ไฟฟาแรงต่ําจากการไฟฟาฯ ตองติดตั้งบริภัณฑแรงต่ําหรือ แผงสวิตชแรงต่ําที่หลังเครื่องวัดหนวยไฟฟา เพื่อปลดวงจรทุกสายเสนไฟออกจากตัวนําประธาน และมีการปองกัน กระแสเกินสําหรับระบบจายไฟฟาของผูใชไฟฟา ทั้งนี้ตองติดตั้งในตําแหนงที่เขาถึงไดสะดวก โดยมีขอกําหนด การติดตั้ง ดังนี้ 1) เครื่องปลดวงจรของบริภัณฑประธาน - เครื่องปลดวงจรหนึ่งเฟสที่มีขนาด 50 แอมแปรขึ้นไป และชนิดสามเฟสทุกขนาดตอง เปน ชนิดสวิตชสําหรับตัดโหลด ขนาดที่ต่ํากวาที่กําหนดขางตนไมบังคับใหเปนชนิด สวิตชสําหรับตัดโหลด

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

- เครื่องปลดวงจร ตองปลดวงจรทุกสายเสนไฟไดพรอมกัน และตองมีเครื่องหมายแสดง ตํา แหน ง การปลดหรือ สับ ใหเ ห็น ไดอ ยา งชัด เจน กรณีที่ส ายตัว นํา ประธานมีการ ตอลงดิน เครื่องปลดวงจรตองปลดสายเสนไฟและสายนิวทรัลทุกเสนพรอมกัน - เครื่องปลดวงจร ตองมีพิกัดไมนอยกวาพิกัดของเครื่องปองกันกระแสเกิน - หา มตอ บริภัณ ฑไ ฟฟาทางดานไฟเขา เครื่อ งปลดวงจร ยกเวน ตอ เพื่อ เขา เครื่องวัด คาปาซิ เ ตอร สัญ ญาณตา ง ๆ หรือ เพื่อ ใชใ นวงจรควบคุม ของบริภัณ ฑป ระธาน ที่ ตองมีไฟเมื่อเครื่องปลดวงจรอยูในตําแหนงปลด 2) เครื่องปองกันกระแสเกินของบริภัณฑประธานแตละสายเสนไฟที่ตอออกจากเครื่องปลดวงจรของ บริภัณฑประธาน ตองมีเครื่องปองกันกระแสเกินสําหรับการไฟฟานครหลวงดังตารางที่ 2.3 และ สําหรับการไฟฟาสวนภูมิภาคดังตารางที่ 2.4 ตารางที่ 2.3 พิกัดสูงสุดของเครื่องปองกันกระแสเกินและโหลดสูงสุด ตามขนาดเครื่องวัดหนวยไฟฟาสําหรับการไฟฟานครหลวง ขนาดเครื่องวัดหนวยไฟฟา

พิกัดสูงสุดของเครื่องปองกัน

(แอมแปร)

กระแสเกิน (แอมแปร)

5 (15)

16

10

15 (45)

50

30

30 (100)

100

75

50 (150)

125

100

200

150

250

200

300

250

400

300

500

400

200

400

โหลดสูงสุด (แอมแปร)

หมายเหตุ พิกัดของเครื่องปองกันกระแสเกิน มีคาต่ํากวาที่กําหนดในตารางได แตตองไมนอยกวา 1.25 เทาของโหลด ที่คํานวณได

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ตารางที่ 2.4 ขนาดสายไฟฟา เซฟตี้สวิตช คัตเอาต และคารทริดจฟวสสําหรับตัวนําประธาน สําหรับการไฟฟาสวนภูมิภาค ขนาดตัวนําประธานเล็ก ที่สุดที่ยอมใหใชได

บริภัณฑประธาน (แอมแปร)

(ตร.มม.)

ขนาดเครื่องวัดหนวย ไฟฟา (แอมแปร)

เซฟตีสวิตชหรือ

คัตเอาตใชรวมกับ

เซอรกิต

โหลดสูงสุด

โหลดเบรกสวิตช

คารทริดจฟวส

เบรกเกอร

(แอมแปร)

สายอะลูมิเนียม สายทองแดง

ขนาด

ขนาด

สวิตช

ฟวส

ต่ําสุด

สูงสุด

ขนาดคัต

ขนาดฟวส

เอาตต่ําสุด

สูงสุด

ขนาด ปรับตั้ง สูงสุด

5 (15)

12

10

4

30

15

20

165

15-16

15 (45)

36

25

10

60

40-50

-

-

40-50

30 (100)

80

50

35

100

100

-

-

100

หมายเหตุ สําหรับตัวนําประธานภายในอาคารใหใชสายทองแดง ขนาดสายไฟในตารางเหมาะสําหรับ การเดินสายลอยในอากาศบนวัสดุฉนวนภายนอก อาคาร ขนาดตัวนําประธานตองรับกระแสไมนอยกวา 1.25 เทาของโหลดตามตาราง (ก) ไมอ นุญ าตใหต ิด ตั ้ง เครื ่อ งป อ งกัน กระแสเกิน ในสายที ่ม ีก ารต อ ลงดิ น ยกเวน เครื่องปองกันกระแสเกินที่เปนเซอรกิตเบรกเกอร ซึ่งตัดวงจรทุกสายของวงจรออก พรอมกันเมื่อกระแสไหลเกิน (ข) อุปกรณปองกันกระแสเกินตองปองกันวงจรและอุปกรณทั้งหมด อนุญาตใหติดตั้ง ทางดานไฟเขาของเครื่องปองกันกระแสเกิน เฉพาะวงจรของระบบฉุกเฉินตาง ๆ เชน เครื่องแจงไฟไหม เครื่องสูบน้ําดับเพลิง เปนตน (ค) เครื่ องป องกันกระแสเกิน ตองมี คาพิกัดกระแสลัดวงจรไมต่ํากวา 10 กิโลแอมแปร ยกเวนพื้นที่ที่การไฟฟาฯ กําหนดเปนกรณีพิเศษ (ง) กรณีระบบนิวทรัลของระบบวายตอลงดินโดยตรง บริภัณฑประธานแรงต่ําที่มีขนาด ตั้งแต 1,000 แอมแปรขึ้นไป ตองติดตั้งเครื่องปองกันกระแสรั่วลงดินของบริภัณฑ

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2.2 สายปอน สายปอน (Feeder) หมายถึง ตัวนําในวงจรระหวางบริภัณฑประธานกับอุปกรณปองกันกระแสเกินของวงจรยอย โดยสายปอนตองมีขนาดกระแสไมนอยกวาโหลดสูงสุดที่คํานวณได และไมนอยกวาขนาดพิกัดเครื่องปองกันกระแสเกิน ซึ่งกําหนดใหขนาดตัวนําของสายตองไมเล็กกวา 4 ตารางมิลลิเมตร 2.2.1 การคํานวณโหลดสําหรับสายปอนตองคํานวณตามที่กําหนด ดังนี้ 1) สายปอนตองมีกระแสเพียงพอในการจายโหลด และไมนอยกวาผลรวมของโหลดในวงจรยอย เมื่อใชดีมานดแฟกเตอร 2) โหลดแสงสวาง ใหใชดีมานแฟกเตอรตามตารางที่ 2.5 ตารางที่ 2.5 ดีมานแฟกเตอรสําหรับโหลดแสงสวาง ชนิดของอาคาร

ขนาดของไฟแสงสวาง

ดีมานตแฟคเตอร

ที่พักอาศัย

ไมเกิน 2,000

100

เกิน 2,000

35

ไมเกิน 50,000

40

เกิน 50,000

20

โรงแรมรวมถึงหองชุดที่ไมมีสวน

ไมเกิน 20,000

50

ใหผูอยูอาศัยประกอบอาหารได

20,000 – 100,000

40

เกิน 100,000

30

ไมเกิน 12,500

100

เกิน 12,500

50

ทุกขนาด

100

โรงพยาบาล

โรงเก็บพัสดุ อาหารประเภทอื่น

หมายเหตุ ดีมานแฟกเตอรตามตารางนี้ หามใชสําหรับ โหลดแสงสวางในสถานที่บางแหงของโรงพยาบาลหรือโรงแรม ซึ่งบางขณะจําเปนตองใชไฟฟาแสงสวางพรอมกัน เชน ในหองผาตัด หองอาหาร หรือหองโถง ฯลฯ 3) โหลดเตารับสถานที่ ซึ่งไมใชที่อยูอาศัย อนุญาตใหใชตามดีมานแฟกเตอรดังแสดงในตารางที่ 2.6 ซึ่งสามารถใชไดเฉพาะโหลดของเตารับที่มีการคํานวณแตละเตารับไมเกิน 180 โวลต-แอมแปร

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ตารางที่ 2.6 ดีมานแฟกเตอรสําหรับโหลดของเตารับสถานที่ ซึ่งไมใชที่อยูอาศัย โหลดของเตารับความ

ดีมานตเฟกเตอร

คํานวณเตารับละ 180 โวลต-แอมแปร

(รอยละ)

10 กิโลโวลต-แอมแปร แรก

100

เกิน 10 กิโลโวลต-แอมแปร

50

4) โหลดเครื่องใชไฟฟาทั่วไป อนุญาตใหใชตามดีมานแฟกเตอรดังแสดงในตารางที่ 2.7 ตารางที่ 2.7 ดีมานแฟกเตอรสําหรับโหลดโหลดเครื่องใชไฟฟาทั่วไป ชนิดของสาร

ประเภทของโหลด

ดีมานดแฟกเตอร (รอยละ)

1.อาคารที่พักอยูอาศัย

เครื่องหุงตมอาหาร

10 A + 30% ของสวนที่เกิน 10 A

เครื่องทําน้ํารอน

กระแสใชงานจริงของ 2 ตัวแรก + 20 % ของตัวที่เหลือ

2.อาคารสํานักงานและ

เครื่องปรับอากาศ

100%

เครื่องหุงตมอาหาร

กระแสใชงานจริงของตัวที่ใหญที่สุด

รานคารวมถึง

+ 80 % ของตัวที่ใหญลองลงมา

หางสรรพสินคา

+ 60 % ของตัวที่เหลือทั้งหมด เครื่องทําน้ํารอน

100 % ของสารสองตัวแรกที่ใหญที่สุด + 25% ของตัวที่เหลือทั้งหมด

3. โ ร ง แ ร ม ห รื อ อ า ห า ร ประเภทอื่น

เครื่องปรับอากาศ

100%

เครื่องหุงตมอาหาร

เหมือนขอ 2

เครื่องทําน้ํารอน

เหมือนขอ 2

เครื่องปรับอากาศประเภท

75%

แยกแตละหอง 5) เตา รับ ในอาคารที่อ ยูอ าศัย ที่ตอ กับ เครื่อ งใชไ ฟฟา ที่ท ราบโหลดแนน อน ใหคํา นวณโหลด จากเตารับที่มีขนาดสูงสุด 1 เครื่องรวมกับรอยละ 40 ของขนาดโหลดเตารับที่เหลือ 6) ดีมานดแฟกเตอรสามารถใชกับการคํานวณสายปอนเทานั้น หามใชในการคํานวณวงจรยอย 41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2.2.2 ขนาดตัวนํานิวทรัลตองเพียงพอที่จะรับกระแสไมสมดุลสูงสุดที่เกิดขึ้น และตองไมเล็กกวาขนาดสายดิน ของบริภัณฑไฟฟา กรณีขนาดตัวนํานิวทรัลระบบไฟฟา 3 เฟส 4 สาย มีขอกําหนด ดังนี้ 1) สายเสน ที่มีก ระแสโหลดไมส มดุล สูง สุด ไมเ กิน 200 แอมแปร ขนาดกระแสตัว นํา นิว ทรัล ตองไมนอยกวากระแสโหลดไมสมดุลสูงสุด 2) สายเสน ที่มีกระแสโหลดไมส มดุล สูงสุดมากกวา 200 แอมแปร ขนาดกระแสตัว นํานิวทรัล ตองไมนอยกวา 200 แอมแปร บวกดวยรอยละ 70 ของสวนเกิน 200 แอมแปร 3) ไมอ นุญ าตใหคํา นวณลดขนาดกระแสในตัว นํา นิว ทรัล ของโหลดไมส มดุล ที่ป ระกอบดว ย หลอดชนิดประจุ อุปกรณเกี่ยวกับการประมวลผลขอมูล หรืออุปกรณที่ทําใหเกิดกระแสฮารมอนิก ในตัวนิวทรัล 2.3 สายวงจรยอย วงจรยอย (Branch Circuit) หมายถึง สว นของวงจรไฟฟาที่ตอมาจากอุป กรณปองกัน กระแสเกิน ตัว สุด ทาย กับจุดจายไฟ ใชกับวงจรยอยสําหรับไฟฟาแสงสวางหรือเครื่ องใชไฟฟาหรื ออาจใชรวมกัน ยกเวนวงจรยอยสําหรั บ มอเตอรไฟฟา 2.3.1 ขนาดพิกัดวงจรยอย เรียกตามขนาดพิกัดของเครื่องปองกันกระแสเกิน ที่ใชตัดกระแสสําหรับวงจรนั้น ๆ ซึ่งมีจุดจายไฟ 2 จุดขึ้นไป และตองมีขนาดไมเกิน 50 แอมแปร ยกเวน อนุญาตใหวงจรยอยที่มีจุดจายไฟฟา ตั้งแต 2 จุดขึ้นไปมีพิกัดเกิน 50 แอมแปร ไดเฉพาะโรงงานอุตสาหกรรมที่มีบุคคลคอยดูแลบํารุงรักษา 2.3.2 ขนาดตัวนําของวงจรยอย ตองมีขนาดกระแสไมนอยกวาโหลดสูงสุดที่คํานวณได และตองไมนอยกวา พิกัดเครื่องปองกันกระแสเกิน โดยกําหนดใหขนาดตัวนําของวงจรยอยมีขนาดไมเล็กกวา 2.5 ตารางมิลลิเมตร ทั้งนี้ วงจรยอยตองมีการปองกันกระแสเกิน โดยขนาดเครื่องตองสอดคลองกับโหลดสูงสุดที่คํานวณได 2.3.3 การปองกันกระแสเกิ นสําหรับอาคารที่ มีความสูงเกิน 1 ชั้น ตองแยกวงจรย อยอยางน อยชั้นละ 1 วงจร กลาวคือ สําหรับวงจรยอยชั้นลางควรแบงวงจรเปนไฟฟาแสงสวางภายในอาคาร เตารับภายในอาคาร และภายนอกอาคาร ซึ่งวงจรยอยตองมีการปองกันกระแสเกิน โดยขนาดพิกัดตองสอดคลองและไมต่ํากวา โหลดที่คํานวณได

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2.3.4 โหลดสําหรับวงจรยอย วงจรยอยมีจุดตอไฟฟาตั้งแต 2 จุดขึ้นไป ลักษณะของโหลดตองเปนตามที่กําหนด ดังนี้ 1) วงจรยอยไมเกิน 20 แอมแปร โหลดของเครื่องใชไฟฟาที่ใชเตาเสียบแตละเครื่องตองไมเกินขนาด พิกัดวงจรยอย กรณีเครื่องใชไฟฟาที่ใชเตาเสียบรวมกับโหลดที่ตั้งถาวรรวมกันแลวตองไมเกิน ขนาดพิกัดวงจรยอย 2) วงจรยอยขนาด 25 ถึง 32 แอมแปร ใชกับโคมไฟฟาที่ติดตั้งถาวร ขนาดดวงโคมละไมต่ํากวา 250 วัตต หรือใชกับเครื่องใชไฟฟาชนิดเตาเสียบ ซึ่งแตละเครื่องตองไมเกินขนาดพิกัดวงจรยอย 3) วงจรยอยขนาดเกินกวา 50 แอมแปร ใหใชกับโหลดที่ไมใชแสงสวางเทานั้น 2.3.5 การคํานวณโหลดสําหรับวงจรยอยตองคํานวณตามที่กําหนด ดังนี้ 1) วงจรยอยตองมีขนาดไมนอยกวาผลรวมของโหลดทั้งหมดที่อยูในวงจร 2) โหลดแสงสวางและเครื่องใชไฟฟาที่ทราบแนนอนใหคํานวณตามที่ติดตั้งจริง 3) โหลดของเตารับที่ใชงานทั่วไปใหคํานวณโหลดจุดละ 180 โวลต-แอมแปร ทั้งชนิดเตาเดี่ยว เตาคูและชนิดสามเตากรณีติดตั้งสี่เตา ใหคํานวณโหลดจุดละ 360 โวลต-แอมแปร 4) โหลดของเตารับที่ไมไดใชงานทั่วไป ใหคํานวณโหลดตามขนาดของเครื่องใชไฟฟานั้น ๆ

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. สายของวงจรยอยที่จายใหมอเตอรตัวเดียว ตองมีขนาดกระแสไมต่ํากวารอยละเทาใด ก. รอยละ 120 ของพิกัดกระแส ข. รอยละ 125 ของพิกัดกระแส ค. รอยละ 130 ของพิกัดกระแส ง. รอยละ 135 ของพิกัดกระแส 2. ตัวนํานิวทรัลตองมีขนาดเล็กกวารอยละเทาใด ของตัวนําประธานใหญสุด ก. ไมเล็กกวารอยละ 12.5 ข. มากกวารอยละ 12.5 ค. ไมเล็กกวารอยละ 13.5 ง. มากกวารอยละ 13.5 3. สายทองแดงหุมฉนวนของตัวนําประธานอากาศสําหรับระบบแรงต่ํา ตองมีขนาดเทาใด ก. ขนาดไมเล็กกวา 1 ตารางมิลลิเมตร ข. ขนาดไมเล็กกวา 2 ตารางมิลลิเมตร ค. ขนาดไมเล็กกวา 3 ตารางมิลลิเมตร ง. ขนาดไมเล็กกวา 4 ตารางมิลลิเมตร 4. วงจรยอยขนาด 25 ถึง 32 แอมแปร เหมาะสําหรับอุปกรณไฟฟาประเภทใด ก. เครื่องปรับอากาศ ข. เครื่องหุงตมอาหาร ค. โคมไฟฟาที่ติดตั้งถาวร ง. เตารับภายในอาคาร

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

5. ขอใด ไมใชขอกําหนดของการคํานวณโหลดสําหรับวงจรยอย ก. วงจรยอยตองมีขนาดมากกวาผลรวมของโหลดทั้งหมดที่อยูในวงจร ข. โหลดแสงสวางและเครื่องใชไฟฟาที่ทราบแนนอนใหคํานวณตามที่ติดตั้งจริง ค. โหลดของเตารับที่ใชงานทั่วไปใหคํานวณโหลดจุดละ 180 โวลต-แอมแปร ง. โหลดของเตารับที่ไมไดใชงานทั่วไป ใหคํานวณโหลดตามขนาดของเครื่องใชไฟฟา

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 8

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.