คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
คู่มือครูฝึ 0920164170203 ส ข ช่ งเครื่อง รับอ ศใ บ และ รพ ณิชย์ข ดเล็ ระดับ 3 ชุด รฝึ ต มคว มส ม รถ (CBT)
โมดูล รฝึ ที่ 8 09217319 วิธีแขว รือยึดท่อใ มั่ คง
กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
ค คู่มือครูฝึกสาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 โมดูลที่ 8 วิธีแขวนหรือยึดท่อ ให้มั่นคงฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบการจัดการฝึกอบรมกับชุดการฝึกตามความสามารถ โดยได้ดาเนินการภายใต้โครงการ พั ฒ นาระบบฝึ ก และชุ ด การฝึ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน ด้ ว ยระบบการฝึ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ครูฝึกได้ใช้เป็นเครื่องมือ ในการบริหารจัดการการฝึกอบรมให้เป็นไปตามหลักสูตร กล่าวคือ อบรมผู้รับการฝึกให้สามารถแขวนหรือยึดท่อให้มั่นคงโดย พิจารณาจากการขยายตัว และหดตัว ของท่ อ วิธีการลดการสั่ นสะเทือน และเสี ยงรบกวนที่เกิดขึ้นจากการท างานของ เครื่องปรับอากาศได้ และติดตามความก้าวหน้าของผู้รับการฝึกอบรม ในด้านความสามารถหรือสมรรถนะให้เป็นไปตาม มาตรฐานที่กาหนด ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่งเสริมให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถฝึกฝนเรียนรู้ได้ตาม พื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลายไปให้ แก่ ผู ้รับ การฝึก อบรม และต้องการให้ ผู้ รั บ การฝึ กอบรมเกิด การเรียนรู้ด้ว ยตนเอง การฝึ กปฏิบัติจะดาเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน้นผลลัพธ์การฝึกอบรมในการที่ทาให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต้องการ โดยยึดความสามารถของผู้รับการฝึกเป็นหลัก การฝึกอบรมในระบบดังกล่าว จึงเป็นรูปแบบการฝึกอบรม ที่ ส ามารถรองรั บ การพั ฒ นารายบุ ค คลได้ เ ป็ น อย่ า งดี นอกจากนี้ เนื้ อ หาวิ ช าในหลั ก สู ต รการฝึ ก ตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ละสาขาอาชีพ จะถูก กาหนดเป็นรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับการฝึกอบรมจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึกจะต้องเรียนรู้และฝึกฝนจนกว่าจะ สามารถปฏิบัติเองได้ ตามมาตรฐานที่กาหนดในแต่ละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การส่งมอบการฝึกสามารถดาเนินการได้ทั้ง รูปแบบการเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Paper Based) และผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ (Computer Based) โดยผู้รับการฝึกสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Learning) ที่บ้านหรือที่ทางาน และเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติตามความพร้อม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถกับหน่วยฝึก โดยมีครูฝึกหรือผู้สอนคอยให้คาปรึกษา แนะนาและจัดเตรียมการฝึกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดาเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่าง ๆ อันจะทาให้สามารถเพิ่มจานวนผู้รับการฝึกได้มากยิ่งขึ้นช่วยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ดงบประมาณค่าใช้จ่ ายในการพัฒ นาฝี มือแรงงานให้ แก่กาลั งแรงงานในระยะยาว จึงถือเป็นรูปแบบการฝึ กที่มี ความสาคัญต่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนาระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยทาให้ประชาชน ผู้ใช้แรงงานผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และผู้ประกอบอาชีพอิสระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น รมพัฒ ฝีมือแรงง ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
ส รบัญ เรื่อง ค ส รบัญ
ข
ขอแ ะ ส รับครูฝึ
1
โมดูล รฝึ ที่ 8 09217319 วิธีแขว รือยึดท่อใ มั่ คง วั ขอวิช ที่ 1 0921731901 รแขว ท่อเครื่อง รับอ คณะผูจัดท โครง ร
ศ
ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
18 44
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
ขอแ ะ ส รับครูฝึ ข้อแนะนาสาหรับครูฝึก คือ คาอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคู่มือ และขั้นตอนการเข้ารับการฝึก ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 6 ข้อ ดังนี้
1. ร ยละเอียดของคู่มือ 1.1 โมดูลการฝึก / หัวข้อวิชา หมายถึง โมดูลการฝึกที่ครูฝึกต้องจัดการฝึกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด้วย หัวข้อวิชาที่ผู้รับการฝึกต้องเรียนรู้และฝึกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูลและรหัสหัวข้อวิชาเป็นตัวกาหนดความสามารถ ที่ต้องเรียนรู้ 1.2 ระยะเวลาการฝึก หมายถึง จานวนชั่วโมงในการฝึกอบรม เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของแต่ละโมดูล 1.3 ระบบการฝึกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝึกที่เกิดจากการนาความรู้ ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จาเป็นสาหรับการทางานมาเป็นฐาน (Based) ของการจัดฝึกอบรม หรือนามากาหนดเป็นเนื้อหา (Content) และเกณฑ์การประเมิน การฝึกอบรม ทาให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถ (Competency) ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด และตามความสามารถในการเรียนรู้ของผู้รับการฝึกเป็นหลัก 1.4 ชุดการฝึก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้สาหรับเป็นอุปกรณ์ช่วยฝึก โดยแต่ละโมดูลประกอบด้ วย คู่มือครูฝึก คู่มือผู้รับการฝึก คู่มือประเมิน สื่อวีดิทัศน์ 1.5 ระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนาระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใช้ในการจัดการเรียนรู้และฝึกอบรม เช่น ระบบรับสมัครออนไลน์ ระบบลงทะเบียน เข้ารับ การฝึกอบรมออนไลน์ ระบบการฝึกอบรมภาคทฤษฎีผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรืออุปกรณ์สื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน์ การบันทึกผลการฝึกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น โดยการเข้าใช้งานระบบ แบ่งส่วนการใช้งานตามความรับผิดชอบของผู้มีส่วนได้ส่วนเสี ยดังภาพในหน้าที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใช้งานได้จากลิงค์ดังต่อไปนี้ - ผู้ดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผู้พัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝึก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
2. ผัง รฝึ อบรม
3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
3. วิธี รฝึ อบรม 3.1 ครูฝึก ทาความเข้าใจการฝึกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถส่งมอบการฝึกอบรมให้แก่ผู้รับการฝึกได้ 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) โดยในแต่ละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกต่างกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับ การฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ด้ว ยตนเอง โดยครูฝึกเป็นผู้ส่งมอบ คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) แก่ผู้รับการฝึก และฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ครูฝึกส่งมอบให้ การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ ของคู่มือการประเมินที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเข้า รับ การฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้า มี) หรือ เข้า รับ การฝึก ในโมดูล ถัด ไป หรือเข้ารับการฝึ กในโมดูล ที่ครูฝึ กกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 4) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องฝึกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันฝึกและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องฝึก - ครูฝึกกาหนดวันฝึกให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝึกแจ้งวันฝึกภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก
4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
3) ก่อนวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ครูฝึกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 4) เมื่อถึงวัน ฝึกภาคปฏิบัติ ครูฝึกให้ใบงานแก่ผู้รับการฝึก อธิบายขั้นตอนการฝึกปฏิบัติงาน และให้คาแนะนาช่วยเหลือผู้รับการฝึกตลอดระยะเวลาในการฝึกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝึกประเมินผลงานการฝึกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันสอบและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องสอบ - ครูฝึกกาหนดวันสอบให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ก่อนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝึกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 3) ครูฝึกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบให้คะแนนการตรวจสอบของคู่มือการประเมิน ทีพ่ ิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 5) ครูฝึกประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสาร โครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 6) ครูฝึกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึก และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ครูฝึกใช้คู่มือครูฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) เป็นสื่อช่วยในการฝึก ภาคทฤษฎี โดยส่งมอบคู่มือผู้รับการฝึกแก่ผู้รับการฝึกที่ศูนย์ฝึกอบรม และฝึกภาคปฏิบัติ ที่ศูนย์ฝึกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ ของคู่มือการประเมินที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก
5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
- ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 4) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องฝึกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันฝึกและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องฝึก - ครูฝึกกาหนดวันฝึกให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝึกแจ้งวันฝึกภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก 3) ก่อนวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ครูฝึกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 4) เมื่อถึงวัน ฝึกภาคปฏิบัติ ครูฝึกให้ใบงานแก่ผู้รับการฝึก อธิบายขั้นตอนการฝึกปฏิบัติงาน และให้คาแนะนาช่วยเหลือผู้รับการฝึกตลอดระยะเวลาในการฝึกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝึกประเมินผลงานการฝึกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันสอบและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องสอบ - ครูฝึกกาหนดวันสอบให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ก่อนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝึกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 3) ครูฝึกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝ ึก ตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบให้ค ะแนนการตรวจสอบของคู ่ม ือ การ ประเมินที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 5) ครูฝึกประเมินผลงานของผู้รับการฝึ ก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสาร โครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 6) ครูฝึกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก
6 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเองผ่านระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่เป็นสื่อออนไลน์ในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม วิธีดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning - ครูฝึกอธิบายวิธีการดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ให้แก่ผู้รับการฝึก ซึ่งวิธีการ ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบ่งออกเป็น 3 ช่องทางตามแต่ละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ iOS ค้นหาแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ 2) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ Android ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่ เคยลงทะเบียนไว้ 3) ผู้รับ การฝึกที่ใช้คอมพิว เตอร์ ระบบปฏิบัติการ Windows สามารถดาวน์โ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเข้าเว็บไซต์ mlearning.dsd.go.th แล้วเข้าใช้งาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ ให้กดปุ่ม Download DSD m-learning เพื่อดาวน์โหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร์ การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง จากคู่มือผู้รับการฝึก ซึ่งเป็นสื่อออนไลน์บนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจแล้วจึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก
7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องฝึกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันฝึกและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องฝึก - ครูฝึกกาหนดวันฝึกให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝึกแจ้งวันฝึกภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึกในระบบ 3) ก่อนวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ครูฝึกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 4) เมื่อถึงวัน ฝึกภาคปฏิบัติ ครูฝึกให้ใบงานแก่ผู้รับการฝึก อธิบายขั้นตอนการฝึกปฏิบัติงาน และให้คาแนะนาช่วยเหลือผู้รั บการฝึกตลอดระยะเวลาในการฝึกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝึกประเมินผลงานการฝึกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันสอบและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องสอบ - ครูฝึกกาหนดวันสอบให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ก่อนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝึกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 3) ครูฝึกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบให้คะแนนการตรวจสอบของคู่มื อการประเมิน ที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 5) ครูฝึกประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสาร โครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 6) ครูฝึกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก 3.2 ครูฝึกชี้แจงรูปแบบการฝึกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแก่ผู้รับการฝึก เพื่อทาการตกลงรูปแบบการฝึกอบรมร่วมกับผู้รับการฝึก โดยให้ผู้รับการฝึกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝึกวางแผนการฝึกตลอดหลักสูตรร่วมกันกับผู้รับการฝึก
4. อุ รณ์ช่วยฝึ และช่องท ง รเข ถึงอุ รณ์ช่วยฝึ ครูฝึกสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ช่วยฝึกได้ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝึก ด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) โดยมีช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึกแต่ละรูปแบบแตกต่างกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึก เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก 8 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
- สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คู่มือครูฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์รูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม
5.
รวัดและ ระเมิ ผล
ครูฝึกมีหน้าที่มอบหมายให้ผู้รับการฝึกทดสอบความรู้ภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) และภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) โดยใช้ คู่มือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผู้รับการฝึก โดยแบ่งการประเมินผลได้ดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และการระบุความสามารถด้านความรู้ ดังนี้ เ ณฑ์ รใ คะแ ภ คทฤษฎี ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ต่ากว่าร้อยละ 70
เ ณฑ์ ร ระเมิ คว มส ม รถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)
5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และการระบุความสามารถด้านทักษะ ดังนี้ เ ณฑ์ ร ระเมิ ภ ค ฏิบัติ ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทาได้ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน ต่ากว่าร้อยละ 70 หรือ ไม่สามารถทาได้ ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน
เ ณฑ์ ร ระเมิ คว มส ม รถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)
ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูลนั้น ๆ ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนั้น และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการฝึกนั้น ๆ แล้ว 9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
6. เงื่อ ไข รผ่
รฝึ
ผู้รับการฝึกที่จะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบหลังฝึก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนามาคิดแบ่งเป็นสัดส่วน ภาคทฤษฎี คิดเป็นร้อยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเป็นร้อยละ 80 เมื่อนาคะแนนมารวมกัน ผู้รับการฝึกจะต้องได้ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านเกณฑ์ ทั้งนี้ ผู้รับการฝึกจะต้องทาคะแนนผ่านเกณฑ์ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผ่านโมดูลการฝึก
10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
ร ยละเอียด ลั สูตร ลั สูตรฝึ อบรมฝีมือแรงง ต มคว มส ม รถ ส ข ช่ งเครื่อง รับอ
ศใ บ
และ รพ ณิชย์ข ดเล็ ระดับ 3 รมพัฒ ฝีมอื แรงง ระทรวงแรงง
ร ัส ลั สูตร 0920164170203
1. ขอบเขตของ ลั สูตร หลักสูตรนี้พัฒ นาขึ้น ให้ครอบคลุมด้านความรู้ ทั กษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึกในสาขาช่างเครื่องปรับอากาศ ในบ้านและการพาณิชย์ ขนาดเล็ก เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 ดังนี้ 1.1 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับสัญลักษณ์สากลของอุปกรณ์ และเขียนแบบร่างเพื่อแสดงแผนผังการติดตั้ง เครื่องปรับอากาศ 1.2 มีความรู้ความสามารถในการใช้เครื่องมือวัดต่าง ๆ ที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ 1.3 มีความรู้ เกี่ย วกับ การทาความเย็ น ด้ว ยระบบระเหยตรง (Direct Expansion System) และระบบน้าเย็ น (Chilled Water System) 1.4 มีความรู้ เกี่ย วกับ ระบบสารทาความเย็ นท่ว ม (Flooded System) และไดเร็กเอ็กซ์ แพนชั่นวาล์ ว (Direct Expansion Valve) 1.5 มีความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์ และแฟนคอยล์แบบครีบ 1.6 มีความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์แบบระบายความร้อนด้วยน้า 1.7 มีความรู้เกี่ยวกับพื้นผิวถ่ายเทความร้อนผ่านชั้นตัวนาความร้อนลาดับต่าง ๆ 1.8 มีความรู้ความสามารถในการแขวนหรือยึดท่อให้มั่นคง 1.9 มีความรู้เกี่ยวกับผลกระทบของสารเจือปนในสารทาความเย็น 1.10 มีความรู้เกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟ้า การคานวณหากาลังไฟฟ้าของมอเตอร์ การคานวณหาความเร็วรอบ ของมอเตอร์ การคานวณค่าใช้จ่ายค่ากระแสไฟฟ้าที่เครื่องปรับอากาศใช้ 1.11 มีความรู้เกี่ยวกับหลักความปลอดภัยในการทางาน
11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
2. ระยะเวล รฝึ ผู้รับการฝึกจะได้รับการฝึกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถใช้ระยะเวลาในการฝึก 50 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป็ น การฝึ ก ที่ ขึ้ น อยู่ กั บ พื้ น ฐานความรู้ ทั ก ษะ ความสามารถและความพร้ อ มของผู้ รั บ การฝึ ก แต่ละคน มีผลให้ผู้รับการฝึกจบการฝึกไม่พร้อมกัน สามารถจบก่อนหรือเกินระยะเวลาที่กาหนดไว้ในหลักสูตรได้หน่วยฝึก จึงต้องบริหารระยะเวลาในการฝึกให้เหมาะสมตามความจาเป็น ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการสถาบันพัฒนา ฝีมือแรงงาน หรือผู้อานวยการสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3.
ว่ ยคว มส ม รถและโมดูล รฝึ จานวนหน่วยความสามารถ 11 หน่วย จานวนโมดูลการฝึก 11 โมดูล
4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 4.2 ชื่อย่อ : วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 4.3 ผู้ รั บ การฝึ ก ที่ ผ่ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ่ า นการฝึ ก ครบทุ ก หน่ ว ยความสามารถ จะได้ รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3
12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
ร ยละเอียดโมดูล รฝึ ที่ 8 1. ชื่อ ลั สูตร
สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก
2. ชื่อโมดูล รฝึ
ร ัส ลั สูตร
ระดับ 3
0920164170203
วิธีแขวนหรือยึดท่อให้มั่นคง
ร ัสโมดูล รฝึ 09217319
3. ระยะเวล
รฝึ
4. ขอบเขตของ ่ว ย รฝึ
รวม 11 ชั่วโมง 15 นาที
ทฤษฎี 1 ชั่วโมง 15 นาที
ปฏิบัติ 10 ชั่วโมง
หน่ ว ยการฝึ กนี้ พัฒ นาขึ้นให้ ครอบคลุ มด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้ รับการฝึ ก เพื่อให้มีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายขั้นตอนการแขวนหรือยึดท่อให้มั่นคงโดยพิจารณาจากการขยายตัวและ หดตัวของท่อ วิธีการลดการสั่นสะเทือน และเสียงรบกวนที่เกิดขึ้นจากการทางาน ของเครื่องปรับอากาศได้ 2. แขวนหรือยึดท่อให้มั่นคงโดยพิจารณาจากการขยายตัวและหดตัวของท่อ วิธีการลดการสั่นสะเทือน และเสียงรบกวนที่เกิดขึ้นจากการทางานของ เครื่องปรับอากาศได้
5. พื้ ฐ คว มส ม รถของ ผูรับ รฝึ
ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ 1. มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ สามารถขั้นตอนการแขวนหรือยึดท่อให้มั่นคงโดยพิจารณา จากการขยายตัวและหดตัวของท่อ วิธีการลดการสั่นสะเทือน และเสียงรบกวนที่เกิดขึ้น จากการท างานของเครื่ อ งปรั บ อากาศ หรื อ ผ่ า นการฝึ ก อบรมที่ เ กี่ ย วข้ อ งจาก หน่วยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได้ 2. ผู้รับการฝึกผ่านระดับ 2 มาแล้ว 3. ผู้รับการฝึกผ่านโมดูลที่ 7 มาแล้ว
6. ผลลัพธ์ รเรีย รู : เมื่อสาเร็จการฝึกในโมดูลนี้แล้วผู้รับการฝึกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรู้ความสามารถและใช้ ระยะเวลาฝึก ดังนี้
13 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
ระยะเวล ฝึ ผลลัพธ์ รเรีย รู 1. อธิบายขั้นตอนการแขวนหรือ
(ชั่วโมง: นาที)
ชื่อ ัวขอวิช หัวข้อที่ 1: การแขวนท่อเครื่องปรับอากาศ
ทฤษฎี
ฏิบัติ
รวม
1:15
10:00
11:15
1:15
10:00 11:15
ยึดท่อให้มั่นคงโดยพิจารณาจาก การขยายตัวและหดตัวของท่อ วิธีการลดการสั่นสะเทือน และเสี ยงรบกวนที่เกิดขึ้น จากการทางานของ เครื่องปรับอากาศได้ 2. แขวนหรือยึดท่อให้มั่นคงโดย พิจ ารณาจากการขยายตัว และหดตัว ของท่อ วิธีการลด การสั่นสะเทือน และเสียงรบกวน ที่เกิดขึ้นจากการทางานของ เครื่องปรับอากาศได้ รวมทั้งสิ้
14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
ร ยละเอียด ัวขอวิช ที่ 1 0921731901 รแขว ท่อเครื่อง รับอ (ใบเตรียม รสอ )
ศ
1. ผลลัพธ์ รเรีย รู 1. อธิบายขั้นตอนการแขวนหรือยึดท่อให้มั่นคงโดยพิจารณาจากการขยายตัวและหดตัวของท่อ วิธีการลดการสั่นสะเทือน และเสียงรบกวนที่เกิดขึ้นจากการทางานของเครื่องปรับอากาศได้ 2. แขวนหรือยึดท่อให้มั่นคงโดยพิจารณาจากการขยายตัวและหดตัวของท่อ วิธีการลดการสั่นสะเทือน และเสียงรบกวน ที่เกิดขึ้นจากการทางานของเครื่องปรับอากาศได้
2. ัวขอส คัญ - ขั้นตอนการแขวนท่อเครื่องปรับอากาศ
3. วิธี รฝึ อบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับครูฝึก
4. อุ รณ์ช่วยฝึ 1. สื่อการฝึกอบรม ครูฝึกสามารถเลือกใช้งานสื่อได้ 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึก เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก 15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
- สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณ์ประกอบการจัดฝึกอบรมต่อผู้รับการฝึก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) AHU ชุด 2) ขาแขวน AHU/ขาสปริง (หากมี) 3) นอต 4) พุกเหล็ก, ตะกั่ว 5) สกรู 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ์ 1) ไขควง 2) ค้อน 3) คีม 4) ผ้าเทป 5) สว่าน
5. ขั้ ตอ
จานวน 1 ชุด จานวน 4 ชุด จานวน 1 ชุด จานวน 1 ชุด จานวน 1 ชุด จานวน 1 อัน จานวน 1 อัน จานวน 1 อัน จานวน 1 อัน จานวน 1 เครื่อง
รฝึ อบรม
1. ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ทาแบบทดสอบ หลังฝึก (Post-Test) และประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝึกชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝึกให้ผู้รับการฝึกทาการฝึก โดยครูฝึกต้องคอยสอบถาม ชี้แนะ และให้คาแนะนาเมื่อผู้รับการฝึกมีข้อสงสัย 6. ครูฝึกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พร้อมวิเคราะห์ผลงานร่วมกับผู้รับการฝึกและแนะนาวิธีแก้ไข 7. ครูฝึกแนะนาผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ให้ทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึก
16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
6.
รวัดผล 1. ครูฝึกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจน เข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3. ครูฝึกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึกโดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนด ในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้
7. บรรณ ุ รม ฉัตรชาญ ทองจับ. 2557. เครื่องท คว มเย็ และ รับอ
ศ. ปทุมธานี : สกายบุ๊กส์.
17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
ใบขอมูล ัวขอวิช ที่ 1 รแขว ท่อและยึดท่อส รับระบบ รับอ 1. ขั้ ตอ
รแขว ท่อเครื่อง รับอ
ศข ดใ ญ่
ศ
1.1 ส่ว ระ อบของระบบ ้ เย็ เพื่อ ร รับอ
ศ
ส่วนประกอบของระบบน้าเย็นเพื่อการปรับอากาศองค์ประกอบสาคัญเริ่มที่ต้นทางคื อ น้าถูกปั๊มผ่านเครื่องทาน้า เย็น(Chiller) เพื่อทาอุณหภูมิลงที่ประมาณ 5-8 องศาเซลเซียส จากนั้นจึงจ่ายตามระบบท่อไปยังเครื่องจ่ายลมเย็นโดยมี วาล์วควบคุมที่เครื่องจ่ายลมเย็นแต่ละตัว คอยเปิด-ปิด (หรือหรี่) ให้อัตราการไหลของน้าเย็นเหมาะสมกับภาระการทา ความเย็น 1.1.1 ปั๊มน้าเย็น ปั๊มน้าเย็น (Chilled Water Pump) มักเป็นปั๊มหอยโข่ง โดยทาหน้าที่หมุนเวียนน้าผ่านเครื่องทาน้าเย็น เข้าสูร่ ะบบ อุณหภูมิของน้าเย็นเพื่อการปรับอากาศจะอยู่ในช่วง 5-8 องศาเซลเซียส 1.1.2 เครื่องทาน้าเย็น เครื่องทาน้าเย็นมีหน้าที่ทาน้าเย็นโดยใช้การแลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างสารทาความเย็นกับน้าเย็น ที่ไหลผ่าน เครื่องทาน้าเย็นมีทั้งแบบระบายความร้อนด้วยอากาศ และระบายความร้อนด้วยน้า 1.1.3 ระบบท่อน้าเย็น ระบบน้าเย็นจัดเป็นระบบปิดเนื่องจากน้าเย็นจะไหลอยู่ในท่อตลอดเวลาโดยไม่มีการนามาปนเปื้อนกับ สิ่งแวดล้อม ท่อน้าเย็นนิยมใช้เป็นท่อเหล็กดา โดยมีการหุ้มฉนวน เนื่องจากอุณหภูมิน้าเย็นกับอุณหภูมิบรรยากาศ ต่างกัน ท่อจะมีการยืดตัวเมื่อระบบหยุดทางานและหดตัวเมื่อระบบทางาน ดังนั้นในกรณีที่ท่อเดินตรงเป็นระยะทาง ยาวจะต้องมีข้อต่อขยายเพื่อป้องกันความเค้นในท่อ นอกจากนี้น้าเย็นในระบบเองก็ยังมีการขยายปริมาตรเมื่อ อุณหภูมิสูงขึ้นขณะที่ระบบหยุดทางาน จึงต้องมีถังรองรับการขยายตัว (Expansion Tank) ต่อไว้กับระบบท่อด้วย 1.1.4 เครื่องจ่ายลมเย็น เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่แลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างอากาศกับน้าเย็น โดยที่เครื่องจ่ายลมเย็นจะมี วาล์ว ควบคุม คอยเปิด -ปิด (หรือ หรี่) ให้อัต ราไหลของน้าเย็น เหมาะสมกับ ภาระการทาความเย็น ด้ ว ย การออกแบบระบบจะเริ่มที่การประเมินความต้องการน้าซึ่งจะต้องสัมพันธ์กับ อุณหภูมิของน้าเย็น และภาระ การทาความเย็น โดยผู้ออกแบบระบบปรับอากาศจะป็นผู้กาหนดอุณหภูมิน้าเย็น และคานวณอัตราการไหลรวม ของระบบและอัตราการไหลไปยังเครื่องจ่ายลมเย็นต่าง ๆ นอกจากนี้ ในกรณีที่เครื่องทาความเย็นมีการระบาย ความร้อนด้วยน้า ก็ยังต้องมีการคานวณอัตราการไหลของน้าหล่อเย็นด้วย จากนั้นจึงออกแบบในภาพรวม 18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
ซึ่งระบบท่อสามารถเดินได้หลายแบบ เช่น ระบบพื้นฐานที่ต่อวงจรแบบขนานหรือเป็นแบบปฐมภูมิและทุติยภูมิ ซึ่งในขั้นตอนนี้เป็นสิ่งที่ผู้ออกแบบระบบปรับอากาศต้องเป็นผู้เลือกใช้ตามความเหมาะสม ในการกาหนดขนาดท่อ ส่วนต่าง ๆ ผู้ออกแบบสามารถระบุขนาดท่อให้เหมาะสมกับอัตราการไหล
ภาพที่ 1.1 วงจรระบบน้าเย็นขั้นพื้นฐาน
ภาพที่ 1.2 วงจรระบบน้าเย็นแบบปฐมภูมิและทุติยภูมิ 1.1.5 ฉนวนท่อน้าเย็น ท่อน้าเย็นจาเป็นต้องถูกหุ้มฉนวนเพื่อป้องกันการถ่ายเทความร้อนจากภายนอก ซึ่งในการเลือกฉนวน นอกจากจะต้องพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์การนาความร้อนแล้ว ยังต้องพิจารณาปัจจัยอื่น ๆ ประกอบด้วย เช่น ความหนาแน่นและความต้านทานการแทรกซึมของน้าที่อาจแทรกเข้าไปในฉนวน ซึ่งจะทาให้ค่าสัมประสิทธิ์ การนาความร้อนของฉนวนสูงขึ้น
19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
1.2
รแขว เครื่องส่งลม
ภาพที่ 1.3 การแขวนเครื่องส่งลมหรือเครื่องควบคุมอากาศ การติดตั้งเครื่องส่งลมในปัจจุบันมีความสะดวกมากขึ้น เนื่องจากบริษัทผู้ผลิตจะให้แผ่นแบบมาด้วยในบรรจุภัณฑ์ ซึ่งช่วยให้ผู้ติดตั้งสามารถกาหนดจุดติดตั้งเครื่องส่งลมได้ง่ายขึ้น อย่างไรก็ตาม สาหรับงานออกแบบระบบปรับอากาศ ในอาคาร โรงงานขนาดใหญ่ การกาหนดจุดติดตั้งเครื่องและอุปกรณ์ปรับอากาศต่าง ๆ ต้องอยู่ภายใต้การควบคุม ของวิศวกรผู้ออกแบบซึ่งได้คานวณกระแสลมและทิศทางลมสาหรับงานพื้นที่บริการนั้น ๆ ไว้ ซึ่งจะรวมไปถึงการกาหนด จุดติดตั้งเครื่องส่งลม สาหรับขั้นตอนในการติดตั้งเครื่องส่งลม ซึ่งจะทาการติดตั้งก่อนปฏิบัติงานแขวนหรือยึดท่อ มีขั้นตอนหลักดังนี้ 1) ก่อนเริ่มติดตั้งตรวจเช็คอุปกรณ์ที่มากับเครื่องให้เรียบร้อยก่อน 2) วัดพื้นที่ที่ติดตั้ง โดยให้ตัวเครื่อง AHU อยู่สูงจากพื้นหรือทางลาดอย่างน้อย 2.5 เมตร 3) การเจาะช่องติดตั้งตัวเครื่องให้ใช้แผ่นแบบที่ติดมากับตัวเครื่องทาบกับฝ้าเพดาน 4) ระบุตาแหน่งบนแผ่นแบบทั้ง 4/6/8 จุด เพื่อแขวนสลักเกลียว โดยให้จุดกึ่งกลางของเครื่องตรงกับ ช่องเปิดฝ้าเพดานให้ช่องว่างทุกด้านห่างเท่ากัน (จานวนจุดแขวนขึ้นอยู่กับขนาดของ AHU) 5) เจาะช่องเปิดฝ้าเพดาน โดยพื้นที่ระหว่างช่องฝ้าเพดานและตัวพื้นหรือโครงหลังคาต้องมีความลึกไม่น้อยกว่า 25.8 เซนติเมตร 6) ใช้ลูกดิ่งหาตาแหน่งเพื่อเจาะรูแขวนสลักเกลียว
20 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
ภาพที่ 1.4 การใช้ลูกดิ่งหาตาแหน่ง 7) ใช้สว่านเจาะเพดานทั้ง 4/6/8 จุด ตามแบบที่ให้มา 8) ประกอบชุดสลักเกลียวสาหรับแขวน (ขนาดชุดและจานวนสลักเกลียวขึ้นอยู่กับขนาดและน้าหนัก เครื่องปรับอากาศ)
ภาพที่ 1.5 ชุดสลักเกลียวสาหรับแขวน 9) ยึดสลักเกลียวเข้ากับเพดาน ขันให้แน่นทุกจุด 10) ตรวจเช็คให้แน่ใจว่าสลักเกลียวแน่นมากพอเพื่อไม่ให้เครื่องที่จะติดตั้งร่วงหล่น 11) ยกตัวเครื่องหลักขึ้นแขวน อย่าให้ฝุ่นผงเข้าในตัวเครื่อง ยกเครื่องให้สูงพอที่จะสอดแผ่นเหล็กยึด ระหว่างสลักเกลียวสาหรับแขวนกับวงแหวนสวมเกลียว 12) ขันนอตสลักเกลียวเข้ากับเครื่องหลักให้แน่นทั้ง 4/6/8 จุด 13) ขันชุดแฟร์เข้ากับตัวเครื่อง 14) ต่อระบบไฟฟ้า 21 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
15) ต่อระบบท่อน้ายาและท่อน้าทิ้ง 16) ใช้วัสดุหุ้มห่อที่ให้มาพร้อมกับตัวเครื่องหุ้มบริเวณรอยต่อแฟร์พร้อมใช้สายรัดให้แน่นเพื่อป้องกันน้าหยด 17) ในการติดตั้งท่อน้าทิ้งแอร์ ส่วนมากจะใช้ท่อพีวีซี หรือท่อ S-LON โดยต่อออกจากตัวเครื่องทาความเย็น ด้านใน การต่อท่อน้าทิ้งนั้นควรจะหุ้มฉนวน ในจุดที่จะเกิดการควบแน่นของไอน้าด้วย (Condensate) และถ้าเดินท่ออยู่บนฝ้าเพดานจาเป็นต้องใส่ฉนวนหุ้มตลอดทั้งแนวในกรณีที่จาเป็นต้องต่อท่อน้าทิ้ง ลงท่อระบายน้า ควรป้องกันกลิ่นและแมลงโดยการทา TRAP ที่ท่อน้าทิ้งด้วย (การทา Trap คือ การ เดินท่อให้โค้งขึ้นก่อนแล้วโค้งลง คล้ายตัว n เพื่อกักน้าให้ขังไว้ในท่อน้าทิ้งเล็กน้อย และเพื่อป้องกันเสียงที่ เกิดจากการสั่นสะเทือนควรใช้ Spring Isolator เป็นอุปกรณ์ช่วยแขวน)
ภาพที่ 1.6 Spring Isolator แบบแขวน ช่วยลดแรงสั่นสะเทือน 1.3
รแขว และยึดท่อ 1.3.1 ท่อและอุปกรณ์ 1) ท่อน้าทั้งหมดถ้าไม่ได้ระบุเป็นอย่างอื่นจะต้องใช้ท่อเหล็กดา (Black Steel Pipe) ชนิดมีตะเข็บ มีคุณสมบัติตามมาตรฐาน API-5L หรือ ASTM A-53 ความหนาไม่น้อยกว่า ERW Schedule 40 ข้ อ ต่ อ เป็ น แบบเชื่ อ มท่ อ ทุ ก ท่ อ จะต้ อ งท าปลายท่ อ แบบ End และพิ ม พ์ ร หั ส เครื่ อ งหมาย มาตรฐานท่อและขนาด ระบุบนตัวท่อสาหรับท่อที่มีขนาดเกินเส้นผ่านศูนย์กลาง 15 มิลลิเมตร
ภาพที่ 1.7 ท่อเหล็กดามีตะเข็บ 22 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
2) ท่อน้าเติม (Make Up Water Piping) และท่อน้าทิ้งจากหอผึ่งน้า (Cooling Tower Drain) วั ส ดุ ที่ ใช้ ประกอบระบบท่ อน้าเติ มและท่ อน้าทิ้ งจากจุดต่อของระบบประปาของอาคารจนถึง Expansion Tank หรือหอผึ่งน้าให้ใช้ท่อเหล็กอาบสังกะสี (Galvanized Steel Pipe) ที่ผลิตขึ้น ตามมาตรฐาน BS 1387 : 1967, Class Medium อุปกรณ์ประกอบท่อ (Pipe Fitting) ใช้แบบ มีเกลียว ทาด้วย Malleable Iron หรือ Mild Steel
ภาพที่ 1.8 ท่อน้าเติม 3) ท่อน้าทิ้ง (Condensate Drain) ใช้ท่อ PVC สีฟ้าตามมาตรฐาน มอก. “Class 8.5” และให้หุ้มด้วย ฉนวน Closed Cell ขนาด 3/8 4) อุปกรณ์ประกอบท่อเหล็ก (Pipe Fitting) ใช้ Standard Weight Fitting แบบเชื่อมหรือแบบ ต่อเกลียวหน้าแปลนใช้ Forged-Steel แบบ Slip-On Welding-Neck หรือ Socket Welding มาตรฐาน BS 10 Table F หรือ Class 150 lb มาตรฐาน ANSI B 16.5 (BS1650) ปะเก็นใช้ Natural Rubber หรื อ Asbestos อุ ป กรณ์ ป ระกอบท่ อ แบบ Union ใช้ แ บบ Ground Joint Bronze or Brass to Iron Seat 5) ข้อต่อแบบเชื่อม (Welded Fittings) ข้อต่อแบบเชื่อมจะต้องมีลักษณะดังนี้ - หน้าแปลน (Flanges) เป็นเหล็กกล้า สามารถทนความดันไม่น้อยกว่าวาล์วที่ใช้ติดตั้ง - ข้อโค้ง (Elbows) Tees Laterals และข้อลด (Reducers) ต้องเป็นเหล็กกล้า (Steel) ขนาดเท่ากับท่อน้าที่ใช้ในการต่อท่อกิ่ง (Branch) ซึ่งมีขนาดเล็กกว่า ส่วนท่อเมนใหญ่ ให้ใช้ Shaped Welding Fitting จาพวก Weld lets Tee lets หรือThread lets เชื่อมต่อ ห้ามใช้ข้อต่อแบบ Miter Elbow หรือแบบทาขึ้นเองโดยเด็ดขาด - ข้ อ ต่ อ แบบขั น เกลี ย ว ( Screwed Fittings) ต้ อ งเป็ น ชนิ ด Malleable Iron Threaded Standard Weigh Bonded
23 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
- ปะเก็น (Gasket) หน้าแปลนทุกตัวจะต้องมีปะเก็นทาจากแผ่น Asbestos คั่นอยู่กลาง ความหนาที่ใช้ต้องไม่น้อยกว่า 1/16 นิ้ว นอกจากจะได้กาหนดเป็นอย่างอื่น - สารอั ด เกลี ย ว (Pipe Joint Compound) การต่ อ ท่ อ โดยใช้ข้อ ต่ อ เกลี ยวต้ องใช้ Teflon Tape หรือสารประกอบของ Graphite พันหรือทาบนเกลียวตัวผู้ก่อนเข้าเกลียว ให้ แน่ น ปลายเกลี ยวที่เหลื อจะต้ องทาความสะอาดก่ อนทาสี Sine Chromate อย่างน้อย 1 ครั้ง และต้องเหลือไม่มากกว่าสองเกลียว 1.3.2 การติดตั้งท่อน้าและอุปกรณ์ การเดินท่อน้าต่าง ๆ ที่ปรากฏในแบบเป็นเพียงแนวทางเบื้องต้นเท่านั้น ผู้ดาเนินการติดตั้งจะต้องทา การตรวจสอบแนวทางการเดินท่อน้ากับแบบสถาปัตยกรรม โครงสร้างไฟฟ้าและสุขาภิบาล เพื่อให้แน่ใจว่าไม่มี ปัญหาในการติดตั้ง ผู้ติดตั้งจะต้องใช้วิธีการติดตั้งระบบท่อให้ เหมาะสมกับสภาพการก่อสร้างจริงและให้ความ สะดวกในการติดตั้งและซ่อมบารุงรักษาท่อได้มากที่สุด ท่อส่วนใดที่ระบุในแบบว่าจะต้องเดินผ่านผนัง คานเสา Pipe Shaft และ Trench ผู้ติดตั้งจะต้องทาตามโดยเคร่งครัด โดยจัดทา Offset ข้อต่อ Sleeve หรืออื่น ๆ แนว ทางการเดินท่อจริงจะต้องเป็นไปตาม Shop Drawing ที่ได้รับอนุมัติแล้วเท่านั้น ดังนั้นการติดตั้งท่อน้าจะต้อง เป็นไปโดยถูกต้องจากการวัดขนาดความยาวแท้จริง ณ สถานที่ติดตั้ง เมื่อติดตั้งท่อแล้วจะต้องไม่เกิดแรง เครียด (Stress) ภายในท่อซึ่งอาจให้ระบบท่อหรืออาคารเสียหายได้ โดยมีข้อพิจารณาดังนี้ 1) การติดตั้งระบบท่อน้าจะต้องปล่อยให้มีการยืดและหดตัว โดยไม่เกิดความเสียหายต่อข้อต่อต่าง ๆ โดยให้จัดทา Offsets และ Loops ตามความเหมาะสมเพื่อใช้รับการขยายตัวของท่อ การต่อท่อ น้าเข้ากับอุปกรณ์ที่มีการสั่นสะเทือน หากในกรณีที่ในแบบไม่ได้ระบุให้มีข้อต่ออ่อน (Flexible Connection) ต่อประกอบอยู่จะต้องจัดระนาบการเดินท่อน้า การทา Offset ให้เหมาะสม กับขนาดท่อและความยาวของท่อทางตรงเพื่อช่วยลดการสั่นสะเทือนและแรงเครียด (Stress) ที่ถ่า ยทอดไปยัง ระบบท่อ น้าการต่อ ท่อ เข้ากับ อุปกรณ์ต่า ง ๆ และวาล์ว ต้อ งเป็น Union หรือ Flange เสมอ 2) จะต้องไม่มีแนวท่อน้าเดินอยู่เหนือแผงไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้า หรืออุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ โดยเด็ดขาด 3) ผงตะไบ ฝุ่นต่าง ๆ จะต้องกวาดออกจากภายในท่อ ผิวภายนอกของท่อเหล็กดาและชิ้นส่วน ที่เป็นเหล็กทั้งหมดต้องทาสีตามรายละเอียดในการทาสีป้องกันการผุกร่อนและรหัสสี
24 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
4) การเปลี่ยนแนวทางเดินท่อ เปลี่ ยนขนาดต้องใช้ข้อต่อมาตรฐานเสมอ ท่อแยก (Branch) ที่ต่อ ออกจากท่อ เมน (Main) ให้ใ ช้ Tee มาตรฐาน นอกจากท่อ แบบเชื่อ มขนาด 8 นิ้ว และใหญ่กว่า หากท่อแยกมีขนาดไม่เกินครึ่งหนึ่งของท่อเมนยอมให้ใช้เจาะเชื่อมได้ 5) ในกรณีที่ใช้ข้อลดสาหรับท่อในแนวนอน (Horizontal) ให้ใช้ข้อลดเบี้ยว (Eccentric Reducer) โดยติดตั้งให้ด้านหลังท่ออยู่ในระดับเดียวกัน ด้านลดขนาดอยู่ด้านล่าง ทิ้งท่อน้าส่งและนากลับ เพื่อไม่ให้อากาศค้างอยู่ภายใน 6) ข้อลดของท่อแบบเกลียว ห้ามใช้แบบลดเหลี่ยม (Bushing) ต้องใช้ข้อลดมาตรฐาน (Reducer) เท่านั้น 7) ติดตั้ง Automatic Air Vent พร้อม Gate Valve และต่อท่อจาก Air Vent ไปยังจุดทิ้งน้าที่ใกล้ ที่สุด ตาแหน่งที่ต้องติดตั้งคือ 1) Main Header ในห้องเครื่องทาน้าเย็น และ 2) จุดบนสุด ของท่อ Chilled Water Risers 8) จุดยึดท่อ (Clamp) ในแนวดิ่ง (Vertical Riser) และข้อต่อไม่ควรอยู่สูงกว่า 1.50 เมตร จากพื้น ของแต่ละชั้น 9) จุดต่าสุดของท่อแนวดิ่ง (Riser) ทุกท่อต้องติดตั้ง Drain Valve ไว้ถ่ายน้าทิ้งและจากวาล์วต่อท่อ สั้น ๆ ขนาดเท่าวาล์วพร้อมมี Cap ปิดปลายขนาดของวาล์วถ่ายน้าทิ้ง ถ้าไม่ได้ระบุไว้เป็นอย่างอื่น ให้เป็นดังนี้ ต ร งที่ 1.1 ข ดว ล์วถ่ ย ้ ทิ้ง ข ดท่อแ วดิ่ง
ข ดว ล์วถ่ ย ้ ทิ้ง
( ิ้ว)
( ิ้ว)
4
½
6-8
1
10-12
1½
14-16
2
ใหญ่กว่า 16
2½
25 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
10) ท่อในแนวตรงต้องต่อท่อให้มีข้อต่อน้อยที่สุด ห้ามใช้เศษท่อต่อกัน 11) ท่อระบายน้าทิ้งจากเครื่องปรับอากาศต้องมี Trap และลาดเอียงไปทางปลายทาง (Slope) ไม่น้ อยกว่า 1 ต่อ 100 หาก Slope น้อยกว่า 1 ต่อ 100 ให้ เลื อกขนาดท่ อ ใหญ่ ขึ้น ถั ด ไป ขนาดท่อใช้ตามตารางดังนี้ ต ร งที่ 1.2 ข ดท่อถ่ ย ้ ทิ้ง ข ดท่อแ วดิ่ง
ข ดว ล์วถ่ ย ้ ทิ้ง
( ิ้ว)
( ิ้ว)
1
½
1½
1
2
1½
2½
2
3
2½
3½
3
4½
4
มากกว่า 5 ½
มากกว่า 5
1.4 ที่แขว และรองรับ ้
ั ท่อ (Hanger and Support)
ที่แขวน (Hangers) ที่รองรับท่อ (Saddles) Pipe Rollers และประกับยึดท่อ (Clamps) ท่อน้าทุกท่อต้องมีการรองรับ อย่างแข็งแรงโดยมีหลักการพิจารณา 13 ประการดังนี้
ภาพที่ 1.9 Hangers 1.4.1 ท่อที่เดินตามแนวนอนให้ใช้ที่แขวนท่อแบบ Clevis ชนิดปรับได้ ยึดติดกับโครงสร้างอาคารด้วยก้านเหล็ก อย่างมั่นคง แต่อาจ ใช้ Trapeze Hanger แทนได้ ในกรณีที่ท่อเดินขนานกันหลายท่อ ท่อที่เดินใกล้ระดับพื้น 26 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
ให้ ใช้ Pipe Stanchions ที่มี Base Flanges และ Top Yodels ที่ส ามารถปรับระดับได้ หรือจะใช้ Roller Supports ตั้งบนฐานคอนกรีตหรือแบบอื่น ที่ได้รับ ความเห็นชอบจากผู้ดาเนิน การติด ตั้ ง ท่อที่เดินใกล้กาแพงให้ใช้ท้าวแขน เหล็กกล้า (Steel Brakes) ที่เหมาะสมรองรับ ท่อที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง ขนาด 1 ½ หรือเล็กกว่าอาจใช้ประกับยึดท่อเพียงอันเดียว การแขวนหรือรองรับท่อต้องไม่เกิน 1.50 เมตร จากชิ้นส่วนที่หนัก เช่น ข้อต่อ หรือวาล์ว สาหรับบริเวณท่อแยกทั้งต้นท่อและปลายท่อต้องยึดห่าง ไม่เกิน 0.9 เมตร ส่วนบริเวณที่หักเลี้ยวต้องไม่มากกว่า 0.3 เมตร ท่อส่วนที่นอกเหนือจากนั้นจะต้อง รองรับไม่ห่างเกินที่กาหนดในตารางข้างล่างนี้ ต ร งที่ 1.3 ระยะ ่ งจุดที่แขว ท่อ ข ดท่อ (Nominal Size)
ระยะ ่ งสูงสุดของช่วงท่อ
( ิ้ว)
(เมตร)
1
2.00
1½
2.00
1½
2.00
2
2.50
2½
2.50
3
3.00
4 และใหญ่กว่า
3.50
ที่แขวนหรือรองรับท่อแต่ละอันต้องสามารถปรับระยะในแนวดิ่งได้ไม่น้อยกว่า 2 นิ้ว
ภาพที่ 1.10 Pipe Stanchions 1.4.2 Pipe Hanger ทุกตัว ที่อยู่ ใน Cooling Tower & Pump Room จะต้องแขวนด้ว ย Spring Isolator ทุกตัว 27 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
ภาพที่ 1.11 อุปกรณ์ Spring Isolator ลดแรงสั่นสะเทือน 1.4.3 Protection Shields การป้องกันมิให้เนื้อฉนวนบริเวณที่แขวนท่อถูกน้าหนักท่อกดทับจนเสียหาย ผู้ติดตั้ง จะต้อ งใช้ Protection Shield ที่ทาด้ว ยวัส ดุซึ่ง มีค วามหนาและความยาวพอเหมาะ เพื่อ ใช้รอง ระหว่างที่แขวนท่อกับฉนวน 1.4.4 การรองรับท่อตามแนวดิ่ง (Vertical Piping Supports) ท่อที่เดินในแนวดิ่งจะต้องมี Guide หรือที่รองรับ บริเวณกึ่งกลางของ Riser แต่ละชั้นโดยมีระยะห่างกันไม่เกิน 5 เมตร และจะต้องทาที่รองรับเพิ่มเติม ที่ฐานของบริเวณข้อโค้ง (Elbow) หรือท่อแยก (Tee) ด้วย Pipe Stand ในบริเวณที่มีท่อเดินในแนวดิ่ง อยู่ใกล้กัน หลายท่ออาจจะใช้ Guide ที่เหมาะสมร่ว มกันได้ Guide และ Spacers จะต้องทาด้ว ย เหล็กโครงสร้างและตรึงยึดให้อยู่กับที่อย่างมั่นคง 1.4.5 การแขวน ยึดท่อ ต้องคานึงถึงลักษณะการใช้งาน สถานที่ตั้งและน้าหนักของท่อน้าในท่อรวมทั้งอุปกรณ์ ที่ติดตั้งบนท่อเป็นหลักในการพิจารณาเลือกชนิดและขนาดของ Hanger และ Support การยึดกับคอนกรีต เสริมเหล็กให้ใช้ Expansion Bolt ห้ามใช้ปืนยิงตะปูยึด (Power Actuated Pin) 1.4.6 ห้ามใช้ Sleeve เป็นตัวรองรับน้าหนักท่อโดยเด็ดขาด 1.4.7 หลังจากการติดตั้งระบบท่อทั้งหมดและเติมน้าเข้าจนเต็มแล้ว ต้องทาการตรวจสอบ และปรับระดับให้ท่อ อยู่ในระดับที่ถูกต้อง 1.4.8 ปลอกท่อลอดและแผ่นปิด (Sleeve and Escutcheon) 1.4.9 ผู้ติดตั้งต้องติดตั้งปลอกท่อลอด (Sleeve) ก่อนการเทพื้น คาน และผนังคอนกรีต เสริมเหล็กรวมทั้ ง ผนังบ่ออิฐ ก่อนการติดตั้งให้ร่วมปรึกษากับผู้คุมงานและวิศวกรโครงสร้างท่อที่ติดตั้ง ก่อนทาผนังหรือ หล่อคอนกรีตต้องสวม Sleeve ไว้ก่อนเสมอ 1.4.10 ขนาดภายในของ Sleeve ต้องใหญ่กว่าขนาดท่อ และฉนวนหุ้มท่อที่ลอดผ่านไม่ต่ากว่า 25 มิลลิเมตร ปลายทั้งสองด้านต้องตัดขอบเรียบใต้ฉากกับผนังและความยาวเท่ากับความหนาของผนัง
28 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
1.4.11 ช่องว่างระหว่าง Sleeve กับท่อและฉนวนที่ติดตั้งภายในอาคารต้องอุดให้แน่นด้วยฉนวน Mineral Wool แผ่นปิด (Escutcheon) ทั้งสองด้านด้วยแผ่นเหล็กเหนียว 1.4.12 ขนาดของแผ่นปิดมีดังนี้ 1) ท่อขนาด 15 มิลลิเมตร (1/2 นิ้ว) ถึง 100 มิลลิเมตร (4 นิ้ว) ความหนาของแผ่นปิด 2 มิลลิเมตร ความกว้างโดยรอบท่อ 10 เซนติเมตร (4 นิ้ว) 2) ท่อขนาด 5 นิ้วและใหญ่กว่า ความหนาของแผ่นปิด 3 มิลลิเมตร ความกว้างโดยรอบท่อ 4 นิ้ว 3) ท่อที่ติดตั้งผ่านผนังออกสู่ภายนอกอาคาร Exterior Wall Sleeve ทาด้วยแผ่นเหล็กเหนียวม้วน และเชื่อมภายนอกตลอดแนว ความหนาของแผ่นเหล็กไม่น้อยกว่า 5 มิลลิเมตร หรือท่อเหล็กดา Standard Weight มี Water Stop เชื่อมติดกับ Sleeve ตลอดแนวความหนาของแผ่นเหล็ก ของ Water Stop ไม่น้อยกว่า 3 มิลลิเมตร และอุดช่องว่างด้วยเชือกปอดิบอัดแน่น และสารอุด กันซึมพร้อมแผ่นปิดทั้งสองด้านพร้อมทาสีภายนอกใหัเข้ากับสีของอาคาร 4) ท่อ ที่ติด ตั้ง ผ่า นพื้น และคานคอนกรีต เสริม เหล็ก Sleeve ทาด้ว ยแผ่น เหล็ก เหนีย ว ม้ว น และเชื่อ มตลอดแนว ความหนาของแผ่ นเหล็ กไม่น้อยกว่า 3 มิล ลิ เมตร หรือท่อเหล็ กดา Standard Weight ส าหรับ Sleeve ที ่พื ้น ให้ต ิด ตั ้ง ยาวสูง พ้น พื ้น หลัง จากแต่ง ผิว แล้ว (Finish Floor) 10 เซนติเมตร อุดช่องว่างด้ ว ย Mineral Wool แล้ ว อุดช่องหั ว -ท้ า ยด้ ว ย Sealant หรือ Caulking Compound 1.4.13 อุปกรณ์เพื่อการขยายตัว (Expansion Joints) 1) ในกรณีที่แบบระบุให้ผู้ติดตั้งจัดหาอุปกรณ์เพื่อการขยายตัวของท่อที่เกิดขึ้นเนื่องจาก Offsets หรือ Loops ของท่อที่มีอยู่ไม่สามารถลดการขยายหรือหดตัวอย่างได้ผล ผู้ติดตั้งจะต้องใช้ Expansion Joint ชนิด Axial Bellow Type ทาด้วย Stainless Steel ซึ่งเหมาะสมที่จะใช้กับน้า อุณ หภูม ิร ะหว่า ง 33-350 องศาฟาเรนไฮต์ และสามารถทนความดัน ขณะใช้ง าน (Operating Pressure) ได้ไม่น้อยกว่า Valve ที่ใช้ติดตั้งส่ ว นนั้น มีคุณสมบัติล ดแรงเค้น (Stress) อัน เกิด จากการ ขยายหรือ หดตัว ของท่อ ได้ทั้ง หมด โดยถือ ว่า น้าที่ใ ช้อุณ หภูมิ 95 องศาฟาเรนไฮต์ เป็นเกณฑ์การเลือกขนาดที่เหมาะสม ตลอดจนการติดตั้งต้องเป็นไป ตามที่ผู้ผลิตแนะนาเท่านั้น 2) ในกรณีที่การขยายตัวของท่อ จะทาให้เกิดการสั่นสะเทือนหรือยกตัว ผู้ติดตั้งจะต้องทาที่แขวนท่อ แบบให้สปริงโดยได้รับการพิจารณาเรื่องรูปแบบจากผู้ดาเนินการติดตั้งเสียก่อน
29 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
1.4.14 ความลาดเอียงของท่อน้า (Pipe Pitch) 1) แนวท่อน้าเย็น (Chilled Water Line) แนวท่อที่เดินต้องมีความลาดเล็กน้อยเพียง พอที่จะสามารถ ระบายน้าทิ้งออกจากระบบได้เมื่อต้องการ ท่อที่เป็น Trap หรือ Loop จะต้องจัดเตรียม วาล์วระบายน้าทิ้งไว้ทุกแห่ง 2) แนวท่อระบายน้าทิ้งของเครื่องเป่าลมเย็น (Condensate Drain Line) แนวท่อต้องมีความลาด ตามทิศทางการไหลของน้าเล็กน้อยเพียงพอที่จะระบายน้าทิ้งออกได้โดยสะดวก 3) แนวท่อน้ าระบายความร้อน (Condenser Water Line) แนวท่อต้องมีความลาดเล็ กน้อย เพีย งพอที่จ ะสามารถระบายน้าทิ้ง ออกจากระบบได้มีที่สาหรับ Bleed-off น้าส่ว นหนึ่ง ที่ไหลกลับเข้า Cooling Tower ออกทิ้งอย่างสม่าเสมอ 4) แนวท่อระบายน้าทิ้ง (Drainage Piping) ความลาดของแนวท่อควรจะมีความลาด 1 : 50 และต้องไม่น้อยกว่า 1 : 100 1.5
รเชื่อมต่อท่อ 1.5.1 ท่อแบบเกลียว (Threaded Joint)
ภาพที่ 1.12 การต่อท่อแบบเกลียว 1) เกลียวท่อโดยทั่วไปใช้แบบ Parallel Thread เว้นแต่ท่อส่วนที่ระบุให้สามารทนความดันเกินกว่า 10 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร (150 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว) เกลียวต้องเป็นแบบ Taper Thread ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม มอก. หรือ BS 21 : 1973 2) ปลายท่อที่ตัดทาเกลียวเสร็จแล้วจะต้องคว้านปาดเอาเศษที่ติดอยู่โดยรอบทิ้งออกให้หมด 3) ใช้ Pipe Joint Compound หรือ Teflon Tape b พันเฉพาะเกลียวตัวผู้ เมื่อขันเกลียวแน่นแล้ว เกลียวจะต้องเหลือให้เห็นได้ไม่เกิน 2 เกลียวเต็ม
30 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
1.5.2 การต่อแบบเชื่อม (Welded Joint)
ภาพที่ 1.13 การต่อแบบเชื่อม 1) Pipe Connection ท่อที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 นิ้ว และเล็กกว่าต้องใช้ต่อแบบเกลียว ท่อที่มีขนาด 2 ½ นิ้ว และใหญ่กว่า ให้ใช้ข้อต่อแบบเชื่อมทั้งหมด ผู้ติดตั้งต้องปฏิบัติตามนี้ โดยเคร่งครัด นอกจากจะได้ระบุในแบบเป็นอย่างอื่น 2) การลบมุมท่อ (Pipe Beveling) ท่อทุกท่อก่อนที่จะนามาเชื่อมติดกันต้องลบมุม ทั้งสองข้าง ให้เรียบร้อยประมาณ 20-40 องศา ซึ่งอาจทาโดยใช้เครื่องจักรหรือใช้เปลวไฟตัดท่อขาดก่อน แล้วใช้ตะไบถูแต่งขอบให้เรียบร้อยอีกทีหนึ่ง 3) ลวดเชื่อม (Welding Rods) ต้องเหมาะสมกับเนื้อโลหะที่ใช้เชื่อมตามมาตรฐาน AWS 4) การเชื่อมท่อ (Pipe Welding) ก่อนเชื่อมต้องทาความสะอาดปลายท่อให้เรียบร้อย วางท่อ ให้อยู่ในแนวที่ต้องการ แล้วค้ายันให้มั่นคงด้วยท่อส่วนอื่น ๆ ทาการเชื่อมแต้มยึดเป็นจุด ๆ (Tack Weld) ก่อ นเชื่อ มจริง ขณะเชื่อ มต้อ งพยายามให้เนื้ อ โลหะจากลวดเชื่อ มและท่อ หลอมละลายเป็นเนื้อเดียวกันตลอดแนวเชื่อมลึกลงไปถึงผิวภายในของตัวท่อทุกส่ วน 5) การเชื่อมท่อโดยทั่วไปเป็นแบบ Butt-Welding ใช้วิธีการเชื่อมด้วยไฟฟ้า รอยเชื่อมจะต้อง เป็นไปอย่างสม่าเสมอตลอดแนวเชื่อมให้โลหะที่นามาเชื่อมละลายเข้ากันได้อย่างทั่วถึง 1.5.3 การต่อแบบหน้าแปลน (Flanged Joints)
ภาพที่ 1.14 การต่อแบบหน้าแปลน 31 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
1) เลื อกมาตรฐานขนาดหน้าแปลนและการเจาะรู ให้ เหมาะสมกับมาตรฐานท่ อ (Out-Side Diameter) ที่เลือกใช้งานและหน้าแปลนที่ติดประกอบมากับอุปกรณ์ต่าง ๆ หน้าแปลนที่ใช้ ประกอบกับท่อโดยทั่วไปจะต้องเป็นแบบเชื่อม 2) การยึดจับหน้าแปลนจะต้องจัดให้หน้าสัมผัส (Facing Flange) ได้แนวขนานกันและตั้งฉาก กับท่อ การเชื่อมหน้าแปลนกับท่อให้เชื่อมอย่างน้อย 2 รอยทับกัน 3) สลั กเกลี ย ว (Bolt) และนอต (Nut) ที่ใช้กับหน้าแปลนโดยทั่ว ไปเป็นแบบ Carbon Steel ยกเว้น ที่ใช้กับ ระบบท่อชุบสั ง กะสี จะต้อ งใช้แ บบ Galvanized or Cadmium plate Bolt and Nut และที่ใช้กับระบบท่ อฝังดินจะต้องทาด้วย Stainless Steel สลักเกลียวจะต้องมี ความยาวพอเหมาะกับการยึดหน้าแปลน เมื่อขันเกลียวต่อแล้วจะต้องมีปลายโผล่จากเกลียว ไม่น้อยกว่า ½ ของเส้นผ่านศูนย์กลางของสลักเกลียว 1.5.4 การต่อแบบปัดกรี (Solder Joints)
ภาพที่ 1.15 การต่อแบบบัดกรี 1) ปลายท่อทองแดงที่จะนามาต่อเชื่อมจะต้องตัดให้ได้ฉาก ลบเศษคมออกให้หมด ทาความสะอาด ปลายท่อภายนอกและภายใน 2) ใช้ แ ปรงทา Solder Flux ที่ ป ลายท่ อ และ Fitting รวมต่ อ ท่ อ แล้ ว ท าการเชื่ อ มประสาน อุณหภูมิการเผาและปริมาณ Flux ที่ใช้จะต้องเป็นไปตามคาแนะนาของผู้ผลิตโดยเคร่งครัด โดยเฉพาะการใช้ Solder แบบ Silver Brazing น้าบัดกรีส่วนเกินจะต้องเช็ดออกให้หมดก่อน จะปล่อยให้เย็นตัวลง
32 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
1.5.5 การต่อท่อน้าของคูลลิ่งทาวเวอร์ การต่อท่อน้าสาหรับคูลลิ่งทาวเวอร์เป็นการต่อท่อน้าสาหรับวงจรเปิดหมายความว่า มีทางที่น้าเปิดออก สู่บรรยากาศโดยตรง และนอกจากนี้ก็ยังมีท่อที่ต่อกับคูลลิ่งทาวเวอร์จานวนหลายท่อด้วยกัน ซึ่งควรจะทาความ เข้าใจดังต่อไปนี้ 1) ท่อน้าเข้าคูลลิ่งทาวเวอร์ เป็นท่อน้าที่รับน้าจากคอนเดนเซอร์ที่ถูกปั๊มส่งมายังคูลลิ่งทาวเวอร์ เพื่อ ทาการลดอุณหภูมิลง 2) ท่อน้าออกจากคูลลิ่งทาวเวอร์ไปยังคอนเดนเซอร์ จะเป็นท่อน้าที่รับน้าที่ได้รับการลดอุณหภูมิลง แล้ว ออกจากตัว คูล ลิ่ง ทาวเวอร์ไ ปเข้า สู่ด้า นดูด (Suction) ของเครื่อ งสูบ น้าที่จ ะปั๊ม น้า ผ่านคอนเดนเซอร์ต่อไป 3) ท่อน้าเติม (Make Up Water) เนื่องจากน้าที่ถูกหมุนเวียนที่คูลลิ่งทาวเวอร์จะเกิดการสูญเสียไป จึงต้องมีการเติมน้าทดแทนเข้าไป การนาน้าเข้ามาเติมนั้นส่วนใหญ่แล้วจะใช้วิธีการนาน้า จากท่อประปามาผ่านการควบคุมคุณภาพเพื่อลดตะกรันและสารจุลชีพอื่น ๆ และหลังจากนั้น ก็จะเติมเข้าสู่คูลลิ่งทาวเวอร์โดยการผ่านวาล์วลูกลอย (Float Valve) มีข้อควรระวังว่าระดับ ส่วนที่เติมน้านี้ ควรจะอยู่สูงกว่าระดับท่อน้าล้น (Over Flow Pipe) นอกจากนี้ท่อน้าเติม ควรจะต่อเข้ากับ ส่วนใจกลางของตัวถังน้าของคูลลิ่ง ทาวเวอร์ เพื่อให้การกระจายของน้า ในตัว อ่างรับน้าเป็นไปอย่างสม่าเสมอ 4) ท่อน้าทิ้งและท่อน้าล้น (Drain Or Overflow Pipe) ท่อน้าทิ้งเป็นท่อที่ต่อจากส่วนล่างสุด ของตัว คูลลิ่งทาวเวอร์ เพื่อระบายน้าออกจากตัวคูลลิ่ง ทาวเวอร์ได้หมด ซึ่งใช้ในกรณีที่เรา ต้องการระบายน้าออกจากคูลลิ่ง ทาวเวอร์ เพื่อทาการซ่อมแซมคูลลิ่ง ทาวเวอร์นั้น ตัวท่อนี้ จะต้องต่อจากคูลลิ่งทาวเวอร์และต่อปลายท่อไปยังจุดระบายน้าที่ใกล้ที่สุดและมีวาล์วสาหรับ ทาการปิดเปิดได้ตามความต้องการ โดยปกติวาล์วนี้จะปิดอยู่ แต่เมื่อต้องการระบายน้าก็จะ เปิดวาล์วให้เต็มที่และน้าก็จะระบายออกไป ส่วนท่อน้าล้นเป็นท่อที่มีปากทางเข้าอยู่เหนือ ระดับน้าสูงสุดที่ยอมให้ได้ หมายความว่าในกรณีที่น้าระบายออกจากคูลลิ่งทาวเวอร์ไม่ทัน น้านี้ก็จะไหลออกตามท่อระบายน้าล้น ปกติท่อระบายน้าล้นนี้จะต่อเข้ากับท่อน้าทิ้งบริเวณ หลัง วาล์ว หมายความว่าตัว ท่อ ระบายน้าล้น จะไม่มีว าล์ว เลย เพื่อ มิใ ห้เกิดการปิดวาล์ว โดยไม่ได้ตั้งใจซึ่งจะทาให้น้าระบายออกจากท่อน้าล้น ไม่ได้ เพราะปกติถ้าคูลลิ่ ง ทาวเวอร์ ทางานอย่างถูกต้องแล้วก็จะไม่เกิดปัญหาเรื่องน้าล้นเหนือถัง ซึ่งถ้าเกิดปัญหาดังกล่าวขึ้น น้าที่ล้นดังกล่าวก็จะต้องถูกระบายออกไปอย่างรวดเร็ว 33 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
5) ท่อรักษาระดับน้าสมดุล (Equalizer) ในกรณีที่มีการต่อคูลลิ่งทาวเวอร์เข้าด้วยกัน มากกว่า สองตัวจะต้องมีการต่อท่อน้าระหว่างอ่างรับน้าของคูลลิ่งทาวเวอร์เหล่านี้ เพื่อรักษาระดับน้า ของคูลลิ่งทาวเวอร์ให้อยู่ในระดับเดียวกัน นอกเหนือจากพวกท่อชนิดต่าง ๆ ที่ต่อเข้ากับคูลลิ่งทาวเวอร์แล้ว อุปกรณ์อีกชนิดหนึ่งที่ขาดไม่ได้ก็คือ วาล์ว ส่วนใหญ่วาล์วที่ใช้กับคูลลิ่ง ทาวเวอร์จะเป็นวาล์วชนิดปิดหรือเปิดเท่านั้น สาหรับท่อน้าที่เข้าและออก จากคูลลิ่งทาวเวอร์เนื่องจากเป็นท่อขนาดใหญ่ จึงนิยมใช้วาล์วชนิดปีกผีเสื้อ (Butterfly Valve) ส่วนท่ออื่น ๆ ที่มีขนาดเล็กลงไปก็จะใช้พวกเกทวาล์ว (Gate Valve) สาหรับท่อเข้าและออกจากคูลลิ่ง ทาวเวอร์ ในบางครั้ง เพื่อให้การปิดเปิดน้าที่เข้าออกจากคูลลิ่งทาวเวอร์แต่ละตัวเป็นไปได้โดยสะดวก (โดยกรณีทั่วไปมักมีการใช้งาน คูลลิ่งทาวเวอร์ หลายตัว) ผู้ติดตั้งจะใช้วาล์วที่ควบคุมด้วยไฟฟ้าหรือที่นิยมใช้กันมากคือวาล์วใช้กาลังลมอัด (Pneumatic Valve) โดยมักจะใช้วาล์วบัตเตอร์ฟลายต่อตัวเปิดวาล์ว (Actuator) ซึ่งทาหน้าที่เป็นนิวแมติก เข้ามาช่วยควบคุมการทางาน
34 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
ใบทดสอบ ค ชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่า ถูก หรือ ผิด และทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบ ถู
ผิด
ขอคว ม 1. วัดพื้นที่ที่ติดตั้ง โดยให้ตัวเครื่อง AHU อยู่สูงจากพื้นหรือทางลาดอย่างน้อย 2.5 เมตร 2. การทา TRAP ที่ท่อน้าทิ้งช่วยแก้ปัญหากลิ่นและแมลงในระบบท่อ 3. น้าจากท่อน้าเติมช่วยทดแทนน้าที่หายไประหว่างการหมุนเวียนน้าในระบบทา ความเย็นด้วยคูลลิ่งทาวเวอร์ 4. ท่อน้าทิ้งเป็นท่อที่ต่อจากส่วน บนสุดของตัวคูลลิ่งทาวเวอร์ เพื่อระบายน้าออก จากตัวคูลลิ่งทาวเวอร์ 5. ในกรณีที่น้าระบายออกจากคูล ลิ่ งทาวเวอร์ไม่ทันน้านี้ก็จะไหลออกตามท่อ ระบายน้าทิ้ง 6. การยึดจับหน้าแปลนจะต้องจัดให้หน้าสัมผัส (Facing Flange) ได้แนวขนานกัน และตั้งฉากกับท่อ การเชื่อมหน้าแปลนกับท่อให้เชื่อมอย่างน้อย 2 รอยทับกัน 7. ท่อที่ติดตั้งก่อนทาผนังหรือหล่อคอนกรีตต้องสวม Sleeve ไว้ก่อนเสมอ 8. ระบบน้าเย็นจัดเป็นระบบเปิดเนื่องจากน้าเย็นจะไหลอยู่ในท่อ 9. ปั๊มน้าเย็น (Chilled Water Pump) มักเป็นปั๊มหอยโข่ง โดยทาหน้าที่ผลักน้า ผลักน้าเย็นออกจากระบบ 10. ในการต่อท่อแบบเชื่อม ลวดเชื่อมต้องเหมาะสมกับเนื้อโลหะที่ใช้เชื่อมตาม มาตรฐาน AWS
35 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ถู
ผิด
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
36 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
ใบง ใบง ที่ 1.1 รแขว รือยึดท่อเครื่อง รับอ
ศ
1. วัตถุ ระสงค์เชิงพฤติ รรม - แขวนหรือยึดท่อให้มั่นคงโดยพิจารณาจากการขยายตัวและหดตัวของท่อ วิธีการลดการสั่นสะเทือน และเสียง รบกวนที่เกิดขึ้นจากการทางานของเครื่องปรับอากาศได้
2. ระยะเวล
รฝึ ฏิบัติง
- ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน รวม 6 ชั่วโมง
3. ค ชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกแขวนและยึดท่อน้าเย็นจาก AHU 1 และ AHU 2 เข้ากับท่อน้าเย็นหลัก ดังรูป
37 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
ใบขั้ ตอ ใบขั้ ตอ 1.
ร ฏิบัติง
ร ฏิบัติง ที่ 1.1 รแขว รือยึดท่อเครื่อง รับอ
ศ
รเตรียม ร 1.1
รเตรียมอุ รณ์ ้อง ั ส่ว บุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงานได้แก่ - ชุดปฏิบัติการช่าง - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย
1.2 รับฟังค สั่งจ ครูฝึ พรอมรับใบง 1.3
รเตรียมสถ ที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้าวาง กีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น
1.4
รเตรียมเครื่องมือและอุ รณ์ต่อผูรับ รฝึ 1 ค 1. ค้อน
จานวน 1 ตัว
2. คัตเตอร์
จานวน 1 อัน
3. เครื่องเชื่อมไฟฟ้า
จานวน 1 ชุด
4. เครื่องมือทาเกลียวท่อ
จานวน 1 ชุด
5. ชุดประแจปากตาย
จานวน 1 ชุด
6. ตลับเมตร
จานวน 1 อัน
7. ตะไบเหล็ก
จานวน 1 ตัว
8. พู่กัน
จานวน 1 ตัว
9. เลื่อยไฟฟ้า
จานวน 1 เครื่อง
10. สว่านไฟฟ้า
จานวน 1 ตัว
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ 38 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
1.5
รเตรียมวัสดุต่อผูรับ รฝึ 1 ค 1. เครื่อง FCU/AHU
จานวน 2 ชุด
2. ฉนวนหุ้มท่อน้าเย็น
จานวน 1 ชุด
3. ท่อเหล็กดาขนาด 2 นิ้ว
จานวน 2 เส้น
4. ที่แขวนท่อ
จานวน 1 ตัว
5. นอต ตัวผู้-ตัวเมีย พร้อมแหวนรอง 1/2 นิ้ว
จานวน 1 ชุด
6. ประกับยึดท่อ
จานวน 1 ตัว
7. พุกตะกั่ว 1/2 นิ้ว
จานวน 1 ตัว
8. ลวดเชื่อมไฟฟ้า
จานวน 1 ตัว
39 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
2. ล ดับ ร ฏิบัติง รแขว รือยึดท่อเครื่อง รับอ ขั้ ตอ
ศ
ร ฏิบัติง
ค อธิบ ย
1. วัดความยาวจาก AHU1 และ AHU2
วัดความยาวจากตาแหน่ง FCU/AHU1
เพื่อเตรียมเดินท่อ
และ FCU/AHU2 เพื่อเตรียมเดินท่อย่อย ไปหาท่อน้าหลัก
2. ตัดท่อเหล็กดาให้เท่ากับความยาวจาก ตัดท่อเหล็กดาให้เท่ากับความยาวจาก AHU ไปถึงท่อเมนหลัก
FCU/ AHU ไ ป ถ ึง ท ่อ เ ม น ห ล ัก ถ ้า ความยาวท่อ ไม่พ อให้ท าเกลีย วท่อ และทาการต่อท่อให้ได้ความยาวตาม ต้องการ
3. เจาะยึดที่แขวนท่อให้ได้ระยะตาม
เจาะยึ ด ที่ แ ขวนท่ อ ให้ ไ ด้ ร ะยะตาม
มาตรฐาน
มาตรฐานทั้งแนวตั้งหรือแนวนอน
40 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
ขั้ ตอ
ร ฏิบัติง
ค อธิบ ย
ขอควรระวัง
4. หุ้มฉนวนท่อน้าเย็น
หุ้มฉนวนท่อน้าเย็นให้เรียบร้อย
5. ติดตั้งท่อที่หุ้มฉนวนแล้ว โดยใช้
ติดตั้งท่อน้าเย็นที่หุ้มฉนวนเรียบร้อย
ประกับยึดตามระยะมาตรฐาน
แล้วและใช้ประกับยึดท่อ ยึดตามระยะ Spring Isolator เพื่อลดปัญหา มาตรฐาน
หากท่อมีขนาดใหญ่ต้องติดตั้ง แรงสั่นสะเทือน และเสียงรบกวน
41 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
3. ตรวจสอบชิ้ ง ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ล ดับที่ 1
2
ร ย รตรวจสอบ
เ ณฑ์ รพิจ รณ
การแขวนหรือยึดท่อเครื่องปรับอากาศ 1.1 ยึดที่แขวนท่อได้ระยะถูกต้องตามาตรฐาน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.2 ติดตั้งท่อน้าเย็นได้ระยะถูกต้องตามาตรฐาน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
ปฏิบัติงาน
42 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
ใบใ คะแ ล ดับที่ 1
รตรวจสอบ
ร ย ร ระเมิ
เ ณฑ์ รใ คะแ
การปฏิบัติงาน 1.1 ยึดที่แขวนท่อได้ระยะถูกต้องตามาตรฐาน
คะแ เต็ม
คะแ ที่ได
10 - ยึดที่แขวนท่อได้ระยะตามาตรฐาน มีความมั่นคง แข็งแรง สวยงาม ให้คะแนน 5 คะแนน
5
- ยึดท่อไม่มั่นคง หรือ ไม่ได้ระยะ หรือไม่แข็งแรง หักคะแนน จุดละ 1 คะแนน 1.2 ติดตั้งท่อน้าเย็นได้ระยะถูกต้องตา มาตรฐาน
- ติดตั้งท่อน้าเย็นได้ถูกต้อง มีความมั่นคง แข็งแรง น้าไม่รั่ว ให้คะแนน 5 คะแนน
5
- ติดตั้งท่อน้าเย็นไม่ถูกต้อง ไม่มั่นคง ไม่แข็งแรง น้ารั่ว หักคะแนนจุด ละ 1 คะแนน 2
กิจนิสัย
5
2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
1
ครบถ้วน
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
1
2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
1
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
1
2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
1
ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน คะแ เต็ม
15
ม ยเ ตุ หากผู้เข้ารับการฝึกได้รับคะแนน 11 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70) ให้ผู้เข้ารับการฝึก ขอเข้ารับการทดสอบภาคปฏิบัติได้
43 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
คณะผูจัดท โครง ร คณะผูบริ ร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
3. นายธวัช
เบญจาทิกุล
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
4. นายสุรพล
พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
5. ว่าที่ร้อยตรี สมศักดิ์ พรหมดา
ผู้อานวยการสานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน์
ผู้อานวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก
7. นายวัชรพงษ์
มุขเชิด
ผู้อานวยการสานักงานรับรองความรู้ความสามารถ
คาเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์
คณะที่ รึ ษ โครง ร 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ์
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพ์สาลี
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกล้า
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กาภู ณ อยุธยา
สานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน์
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงค์วัฒนานุรักษ์
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค์
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
11. นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 44 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศภ ยใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 8
45 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน