คู่มือครูฝึก ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 3 โมดูล 9

Page 1

Db0dii,

หนาปก



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

คูมือครูฝก 0920164170203 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 9 09217320 ผลกระทบของสารเจือปนในสารทําความเย็น

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

คํานํา

คู ม ือ ครูฝ ก สาขาชา งเครื ่อ งปรับ อากาศในบา นและการพาณิช ยข นาดเล็ก ระดับ 3 โมดูล 9 ผลกระทบ ของสารเจือ ปนในสารทํ า ความเย็น ฉบั บ นี้ เป น ส ว นหนึ่ ง ของหลั ก สู ต รฝ ก อบรมฝ มื อ แรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่ ง พั ฒนาขึ้นเพื่ อใช เป นเอกสารประกอบการจั ดการฝ กอบรมกั บชุ ดการฝ กตาม ความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ด ว ยระบบการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมี วัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ อบรมผูรับการฝก ใหสามารถนําความรูเกี่ยวกับผลกระทบของสารเจือปนในสารทําความเย็นไปใชไดอยางถูกตอง และติดตามความกาวหนา ของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน น ผลลั พธ การฝ กอบรมในการที่ทําใหผูรับ การฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงาน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเ คราะหงานอาชี พ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชี พ จะถูกกําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝน จนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส ง มอบการฝ ก สามารถดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวกของตน หรื อ ตามแผนการฝ ก หรื อ ตามตารางการนั ด หมาย การฝ ก หรื อ ทดสอบประเมิ น ผลความรู ความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียม และดํา เนิ น การทดสอบ ประเมิ น ผลในลั ก ษณะต า ง ๆ อั น จะทํา ให ส ามารถเพิ่ ม จํา นวนผู รั บ การฝ ก ได ม ากยิ่ ง ขึ้ น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึ งถื อเป น รู ป แบบการฝ ก ที่ มี ความสํา คั ญต อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน ทั้งในปจ จุบัน และอนาคต ซึ่งหากมี ก ารนํา ระบบ การฝกอบรมตามความสามารถมาใชในการพัฒนาฝ มือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชน อยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

เรื่อง

สารบั ญ

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับครูฝก

1

โมดูลการฝกที่ 9 09217320 ผลกระทบของสารเจือปนในสารทําความเย็น หัวขอวิชาที่ 1 0921732001 ผลกระทบของสารเจือปนในสารทําความเย็น คณะผูจัดทําโครงการ

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

12 20



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูลและรหัสหัวขอวิชาเปนตัวกําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑการประเมิน การฝกอบรม ทําใหผูรับ การฝกอบรมมีความสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึง่ ใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขารับ การฝกอบรมออนไลน ระบบการฝกอบรมภาคทฤษฎีผานอุปกรณอิเล็กทรอนิกสหรืออุปกรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชงานระบบ แบงสวนการใชงานตามความรับ ผิดชอบของผูมีสวนไดสวนเสียดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับ การฝกเรียนรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝกเปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝ กกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการ ฝกภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับการฝกแกผูรับการฝกที่ศูนยฝกอบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม 4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning - ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับการฝกที่ใชคอมพิวเตอร ระบบปฏิบัติการ Windows สามารถดาวนโหลดแอป พลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

5. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมิ นผลการฝ กจากครูฝ ก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต ละโมดู ลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบาน และการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164170203

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒ นาขึ้ น ให ครอบคลุ มด า นความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับ การฝก ในสาขาชางเครื่องปรับ อากาศ ในบานและการพาณิช ยขนาดเล็กเพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขา ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3ดังนี้ 1.1 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับสัญลักษณสากลของอุปกรณ และเขียนแบบรางเพื่อแสดงแผนผังการติด ตั้ง เครื่องปรับอากาศ 1.2 มีความรูความสามารถในการใชเครื่องมือวัดตาง ๆ ที่ใชในเครื่องปรับอากาศ 1.3 มี ความรู เ กี่ ย วกั บ การทํ า ความเย็ น ด ว ยระบบระเหยตรง (Direct Expansion System) และระบบน้ํ าเย็ น (Chilled Water System) 1.4 มี ความรู เ กี่ ย วกั บ ระบบสารทํา ความเย็ น ทว ม (Flooded System) และไดเร็กเอ็กซ แพนชั่น วาลว (Direct Expansion Valve) 1.5 มีความรูเกี่ยวกับองคประกอบที่มีผลตอสมรรถนะของคอนเดนเซอร และแฟนคอยลแบบครีบ 1.6 มีความรูเกี่ยวกับองคประกอบที่มีผลตอสมรรถนะของคอนเดนเซอรแบบระบายความรอนดวยน้ํา 1.7 มีความรูเกี่ยวกับพื้นผิวถายเทความรอนผานชั้นตัวนําความรอนลําดับตางๆ 1.8 มีความรูความสามารถในการแขวนหรือยึดทอใหมั่นคง 1.9 มีความรูเกี่ยวกับผลกระทบของสารเจือปนในสารทําความเย็น 1.10 มีความรูเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟา การคํานวณหากําลังไฟฟาของมอเตอร การคํานวณหาความเร็วรอบ ของมอเตอร การคํานวณคาใชจายคากระแสไฟฟาที่เครื่องปรับอากาศใช 1.11 มีความรูเกี่ยวกับหลักความปลอดภัยในการทํางาน

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงาน ที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 50 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรไดหนวยฝก จึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบันพัฒนา ฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขา ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขา ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3 4.3 ผู รั บ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ า นการฝ ก ครบทุ ก หน ว ยความสามารถ จะได รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขา ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 9 1. ชื่อหลักสูตร

สาขาช า งเครื่ องปรั บ อากาศในบานและการพาณิช ย รหัสหลักสูตร 0920164170203 ขนาดเล็ก ระดับ 3

2. ชื่อโมดูลการฝก

ผลกระทบของสารเจือปนในสารทําความเย็น

3. ระยะเวลาการฝก รวม 1 ชั่วโมง 15 นาที 4. ขอบเขตของหนวย การฝก

5. พื้นฐาน

รหัสโมดูลการฝก 09217320

ทฤษฎี 1 ชั่วโมง 15 นาที ปฏิบัติ - ชัว่ โมง

หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝก เพื่อให มีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายผลกระทบจากการที่น้ํามันเจือปนในสารทําความเย็นได 2. อธิบายผลกระทบจากการที่มีความชื้น หรือแกสที่ไมสามารถควบแนนเจือปนในสารทํา ความเย็นได ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้

ความสามารถของ

1. มีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับ สามารถอธิบายผลกระทบจากการที่นํ้ามัน และความชื้นเจือปน

ผูรับการฝก

ในสารทํ า ความเย็น หรื อผานการฝกอบรมที่ เกี่ย วข องจากหนว ยงานหรือสถาบันที่ เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานระดับ 2 มาแลว 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 8 มาแลว

6. ผลลัพธการเรียนรู :เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก ผลลัพธการเรียนรู

(ชั่วโมง: นาที)

ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี

ปฏิบัติ

รวม

1:15

-

1:15

1. อธิบ ายผ ล กระท บ จ า ก หัวขอที่ 1: ผลกระทบของสารเจือปน การที่น้ํามัน เจือปนในสาร

ในสารทําความเย็น

ทําความเย็นได 2. อ ธิ บ า ย ผ ล ก ร ะ ท บจาก การที่มีความชื้น หรือแกส

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ที่ไมสามารถควบแนนเจือปน ในสารทําความเย็นได รวมทั้งสิ้น

1:15

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

1:15


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 09217320 ผลกระทบของสารเจือปนในสารทําความเย็น (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายผลกระทบจากการที่น้ํามันเจือปนในสารทําความเย็นได 2. อธิบายผลกระทบจากการที่มีความชื้น หรือแกสที่ไมสามารถควบแนนเจือปนในสารทําความเย็นได

2. หัวขอสําคัญ 1. ผลกระทบจากการที่มีน้ํามันเจือปน 2. ผลกระทบจากการที่มีความชื้นเจือปน

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจน เขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ฉัตรชาญ ทองจับ. 2557. เครื่องทําความเย็นและปรับอากาศ. ปทุมธานี : สกายบุกส. นุกูล แกวมะหิงษ. 2558. เครื่องปรับอากาศ (ภาคทฤษฎี). กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมอาชีวะ.

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ผลกระทบของสารเจือปนในสารทําความเย็น สารทําความเย็นที่ใชในระบบปรับอากาศทั้งในอาคารและงานพาณิชยรวมถึงโรงงานอุตสาหกรรม มีดวยกันหลายชนิด ทั้งที่เปนสารบริสุทธิ์และสารผสม โดยแบงตามสูตรเคมีดังนี้ 1) CFC (chlorofluorocarbon) ประกอบดวย คลอรีน ฟลูออรีน และคารบอน เชน R-11 R-12 หรือเรียกวา CFC11, CFC-12 2) HCFC (hydrochlorofluorocarbon) ประกอบดวย ไฮโดรเจน คลอรีน ฟลูออรีน และคารบอน เชน R-22 หรือเรียกวา HCFC-22 แตสารตัวนี้มีคลอรีนผสมอยูยกเลิกการผลิตเครื่องปรับอากาศ R-22 ที่มีขนาด ต่ํากวา 50,000 Btu/hrตนป 2560 3) HFC (hydrofluorocarbon) ประกอบดวย ไฮโดรเจน ฟลูออรีน และคารบอน เชน R-407C หรือเรียกวา HFC-407C และ R-134a หรือเรียกวา HFC-134a R-410A และ R-32 สารทําความเย็นกลุม HFC จะถูกเอามาใชทดแทนสารทําความเย็นกลุม HCFC 4) HC (hydrocarbon) ประกอบดวย ไฮโดรเจน และคารบอน เชน R-290 หรือเรียกวา HC-290 R-600a Propane 5) HFO (hydrofluoroolefin) ประกอบดวย ไฮโดรเจน ฟลูออรีน และคารบอน เชน R-1234yf หรือเรียกวา HFO-1234yf 1. ผลกระทบจากการที่มีน้ํามันเจือปน ในระบบทําความเย็นสวนที่เคลื่อนไหวตาง ๆ ของคอมเพรสเซอรนี้ จําเปนตองมีสารหลอลื่นใหกับชิ้นสวนเหลานั้น สารหลอลื่น นั้นก็คือ น้ํามันคอมเพรสเซอร ซึ่งแบงไดเปน 2 ประเภท คือ 1) น้ํามันธรรมชาติ (Mineral Oil) และ 2) น้ํามันสังเคราะห (Polyolester Oil, POE) โดยกรดอินทรีย (Organic Acid) เกิดจากการแตกตัวของน้ํามันหลอลื่นคอมเพรสเซอร 1.1 น้ํามันธรรมชาติ (Mineral Oil) สามารถเกิดการแตกตัวได 2 แบบ 1) การที่น้ํามันทําปฏิกิริยากับโมเลกุลของน้ําโดยมีความรอนเปนตัวเรงปฏิกิริยา ซึ่งมักจะเกิดที่ทางดานอัด ของคอมเพรสเซอร เนื่องจากเปนสวนที่มีอุณหภูมิสูงที่สุดในระบบทําความเย็น (ประมาณ 80°C - 100°C) 2) การที่น้ํามันทําปฏิกิริยากับโมเลกุลของออกซิเจน หรือปฏิกิริยาออกซิเดชั่น 1.2 น้ํามันสังเคราะห (Polyolester Oil, POE) โมเลกุลของน้ํามัน POE นั้นจะมีโมเลกุลที่ใหญกวา Mineral Oil ซึ่งกรดคารบอกซิลิกที่ไดจากการแตกตัวของ POE นั้นจะมีโมเลกุลที่ใหญตามไปดวย ถาในระบบมีความชื้นอยูมากพอ POE จะทําปฏิกิริยากับโมเลกุลของน้ําไดในสภาวะปกติ

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

คือไมจําเปน ตองมีตัว เรงปฏิกิริย า เชน ความรอนมาชว ย เรีย กปฏิกิริย านี้วา ไฮโดรไลซิส และจะไดผ ลลัพธเปน กรดคารบอกซิลิกเพีย งตัว เดียว

ภาพที่ 1.1 น้ํามันคอมเพรสเซอรที่ถูกเจือปนจะมีตะกอนและสีขุนเขมมากขึ้น 2. ผลกระทบจากการที่มีความชื้นเจือปน กรดอนินทรีย (Inoraganic Acid) เกิดจากการแตกตัวของสารทําความเย็นที่มีสวนประกอบของคลอรีนหรือฟูลออรีน เชน CFC, HCFC หรือ HFC เปนตน กรดอนิ น ทรียเมื่อทําปฏิกิริย ากับ ความชื้น หรือโมเลกุล ของน้ําที่ป นเปอนอยู ใ น ระบบทํา ความเย็น จะทําใหเกิดอนุมูลของกรดหรือไฮโดรเนียม ซึ่งสามารถทําใหชิ้นสวนที่เปนโลหะเกิดความเสียหายได ผลกระทบจากกรดอินทรียและกรดอนินทรียจะกัดทําลายสวนที่เปนโลหะภายในระบบ ซึ่งทําใหเกิดเปนออกไซดของโลหะ จนเกิดการอุดตันบริเวณตะแกรงของเอ็กซแพนชั่นวาลว

ภาพที่ 1.2 ออกไซดที่เกิดกับทอน้ํายาแอร ดังนั้น การเลือกใชฟลเตอรดรายเออรใหเกิดประโยชนสูงสุด ควรพิจารณาถึงประเภทของสารทําความเย็นและชนิดของ น้ํามันหลอลื่นคอมเพรสเซอร ที่ใชใหเหมาะสมกับระบบทําความเย็นแตละประเภท

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ภาพที่ 1.3 ฟลเตอรดรายเออร (Filter Drier) ตาราง 1.1 ขอแนะนําในการเลือกใชฟลเตอรดรายเออร

สารทําความเย็น

ฟลเตอรดรายเออรที่มี

ฟลเตอรดรายเออรที่ไมมี

สวนผสมของ Activated

สวนผสมของ Activated

Alumina

Alumina

CFC (R-12, R502)

แนะนําใหใช

ไมแนะนําใหใช

HCFC (R-22)

แนะนําใหใช

สามารถใชได

สามารถใชได

แนะนําใหใช

HFC (R-134a, R407C, R-404a/R-507,…etc)

น้ํามันหลอลื่น

Mineral Oil

แนะนําใหใช

สามารถใชได

คอมเพรสเซอร

POE Oil

ไมแนะนําใหใช

แนะนําใหใช

3. ผลกระทบจากการมีแกสที่ไมสามารถควบแนนเจือปน ในกรณี ที่มีแ ก ส ที่ ซึ่ง ไม ส ามารถควบแน น เจื อ ปนในสารทํ าความเย็น ได นั้น จะทําใหแรงดัน ในระบบทํ า ความเย็ น คลาดเคลื่อน เนื่องจากแกสขวางการไหลของสารทําความเย็น สงผลใหระบบทําความเย็นมีประสิทธิภาพลดลง สําหรับ แนวทางการแกไข คือ ดูดสารทําความเย็นที่มีสารเจือปนออกจากระบบจนหมด จากนั้นจึงบรรจุสารทําความเย็นใหม เขาไปในระบบทําความเย็น

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ภาพที่ 1.4 กราฟแสดงอุณหภูมิที่สูงแตกระแสต่ําทําให Inner Protecter ไมทํางาน

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดเปนสาเหตุที่ทําใหน้ํามันธรรมชาติเกิดการแตกตัว ก. การทําปฏิกิริยากับน้ํา ข. ทําปฏิกิริยากับความเย็น ค. การทําปฏิกิริยากับเหล็กการ ง. การทําปฏิกิริยากับกับความรอนที่อุณหภูมิ 40 องศาเทานั้น 2. เครื่องมือใดใชสําหรับกรองสิ่งสกปรกในระบบทําความเย็น ก. มอเตอรคอมเพรสเซอร ข. ฟลเตอรดรายเออร ค. เครื่องทําน้ําเย็น ง. เครื่องปมน้ํา 3. วิธีการใดดีที่สุดเมื่อเกิดความชื้นในระบบทําความเย็น ก. ดูดสารทําความเย็นที่มีสารเจือปนออกจากนั้นใชน้ํามันธรรมชาติเปลาบริสุทธิ์ไล ข. ดูดสารทําความเย็นที่มีสารเจือปนออกจากนั้นใชน้ําเปลาบริสุทธิ์ไล ค. ดูดสารทําความเย็นที่มีสารเจือปนออกจากนั้นจึงบรรจุสารทําความเย็นใหม ง. เติมสารทําความเย็นใหมเพื่อเจือจาง

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.