คู่มือการประเมิน ช่างบำรุงรักษารถยนต์ ระดับ 1 โมดูล 7

Page 1

หนาปก



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

คูมือการประเมิน 0920163100501 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 7 09210301

การบํารุงรักษารถยนต

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

คํานํา คูมือการประเมิน สาขาชา งบํา รุงรักษารถยนต ระดับ 1 โมดูล 7 การบํารุงรักษารถยนต ฉบับ นี้ ไดพัฒนาขึ้น ภายใต โ ครงการพั ฒ นาระบบฝ ก และชุ ด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําไปใชเปนระบบการฝกอบรมตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 เพื่อใหตอบสนองความตองการของกําลังแรงงานและตลาดแรงงานไดอยางเหมาะสม มากยิ่งขึ้น และเพื่อรองรับระบบการรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติและระบบการรับรองความรูความสามารถใน อนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ใหแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมายตางๆ ใหกวางขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแงของ ขอบเขตของการใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผู รับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตางๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

5

แบบทดสอบกอนฝก

6

แบบทดสอบหลังฝก

10

กระดาษคําตอบ

14

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

15

แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หัวขอวิชาที่ 1 0921030101 การบํารุงรักษารถยนตตามที่ผูผลิตกําหนด

16

หัวขอวิชาที่ 2 0921030102 การบํารุงรักษารถยนต เมื่อเกิดความเสียหายเบื้องตน

86

หัวขอวิชาที่ 3 0921030103 การบํารุงรักษารถยนตประจําวัน

107

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ

140

บันทึกผลการประเมินความสามารถ

146

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการ ฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการ ประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่อ อิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงราง หลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัตแิ กผูรับการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 7 09210301 การบํารุงรักษารถยนต 1. อธิบายวิธีการบํารุงรักษารถยนตตามที่ผูผลิตกําหนดได 2. บํารุงรักษารถยนตตามที่ผูผลิตกําหนดได 3. อธิบายวิธีการบํารุงรักษารถยนต เมื่อเกิดความเสียหายเบื้องตนได 4. บํารุงรักษารถยนต เมื่อเกิดความเสียหายเบื้องตนได 5. อธิบายวิธีการบํารุงรักษารถยนตประจําวันได 6. บํารุงรักษารถยนตประจําวันได

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

แบบทดสอบกอนฝก คําชี้แจง: 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 7 09210301 การบํารุงรักษารถยนต 1. ถาตรวจสอบพบวายางรถยนตมีรอยฉีกขาดยาวไมเกิน 6 มิลลิเมตร สามารถแกไขไดดวยวิธีใด ก. วัดแรงดันลมยาง ข. เปลี่ยนยาง ค. ปะยาง ง. เติมลมยาง 2. ควรตรวจสอบระดับน้ํามันพวงมาลัยเพาเวอรใหอยูในระดับใด ก. เกินขีด Max ข. ต่ํากวาขีด Min ค. ระหวางขีด Max และ Min ง. คอนไปทาง Max หรือ Min สลับไปมา 3. การทดสอบฝาหมอน้ําและหมอน้ํา สามารถทําไดโดยวิธีใด ก. ลดอุณหภูมิ ข. วัดปริมาณน้ํา ค. ตรวจสอบรอยรั่ว ง. สรางแรงดัน 4. ถาขับรถดวยความเร็วสูง ควรเติมลมยางใหมากกวาปกติ 3 – 5 ปอนด/ ตารางนิ้ว เพราะเหตุใด ก. เพื่อชวยยึดเกาะถนน ข. ลดการบิดตัวของโครงยาง ลดความรอน ค. เพื่อใหสมดุลกับความเร็วของรถ ง. ปองกันความเสียหายของผิวหนายาง

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

5. เพราะเหตุใด การตรวจสอบอาการเครื่องยนตรอนผิดปกติ จึงตองสตารทเครื่องยนตแบบเดินเบา ก. เพื่อตรวจสอบการทํางานของพัดลมระบายความรอน ข. เพื่อตรวจสอบรอยรั่วของหมอน้ํา ค. เพื่อปองกันไมใหเครื่องยนตดับ ง. เพื่อปรับอุณหภูมิของเครื่องยนตใหลดต่ําลง 6. ขอใด คือ วิธีการจับหลอดไฟที่ถูกตอง ในกรณีเปลี่ยนหลอดไฟหนารถ ก. จับดวยมือเปลา ข. ใชคีมจับหลอดไฟ ค. สวมถุงมือหนังกอนจับ ง. ใชผาสะอาดจับแทนการใชมือเปลา 7. ถาแบตเตอรี่รถยนต มีคาความถวงจําเพาะต่ํากวาเกณฑที่กําหนด ตองแกไขดวยวิธีใด ก. ทําความสะอาดคราบเกลือที่ขั้วแบตเตอรี่ ข. นําแบตเตอรี่ไปประจุไฟใหม ค. เปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม ง. เติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่ใหอยูในระดับที่เหมาะสม 8. ขอใด คือ การบํารุงรักษารถยนตประจําวัน ก. ตรวจสอบระดับน้ํามันเฟองทาย ข. ตรวจสอบกรองอากาศ ค. ตรวจสอบระดับน้ํามันเครื่อง ง. ตรวจสอบความตึงของสายพาน

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

9. การตรวจสอบความตึงของสายพาน ควรปฏิบัติอยางไร ก. ใชนิ้วกดตรงกึ่งกลางของสายพาน ข. ใชบรรดทัดเหล็กทาบลงบนสายพาน ค. ตรวจดูสภาพของสายพานดวยสายตา ง. ใชประแจขันนอตปรับตั้งความตึงสายพาน 10. ขอใด ไมใช ขอปฏิบัติในการใชรถยนตประจําวันที่ถูกตอง ก. รักษาความเร็วใหไมเกิน 90 กิโลเมตร/ ชั่วโมง ข. ไมบรรทุกน้ําหนักเกินมาตรฐาน ค. ใชเกียรสัมพันธกับความเร็วรอบ ง. วางเทากดคลัตชไวตลอดเวลา

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

แบบทดสอบหลังฝก คําชี้แจง: 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 7 09210301 การบํารุงรักษารถยนต 1. การทดสอบฝาหมอน้ําและหมอน้ํา สามารถทําไดโดยวิธีใด ก. สรางแรงดัน ข. วัดปริมาณน้ํา ค. ตรวจสอบรอยรั่ว ง. ลดอุณหภูมิ 2. ขอใด ไมใช ขอปฏิบัติในการใชรถยนตประจําวันที่ถูกตอง ก. ไมบรรทุกน้ําหนักเกินมาตรฐาน ข. วางเทากดคลัตชไวตลอดเวลา ค. ใชเกียรสัมพันธกับความเร็วรอบ ง. รักษาความเร็วใหไมเกิน 90 กิโลเมตร/ชั่วโมง 3. ถาแบตเตอรี่รถยนต มีคาความถวงจําเพาะต่ํากวาเกณฑที่กําหนด ตองแกไขดวยวิธีใด ก. เปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม ข. เติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่ใหอยูในระดับที่เหมาะสม ค. ทําความสะอาดคราบเกลือที่ขั้วแบตเตอรี่ ง. นําแบตเตอรี่ไปประจุไฟใหม 4. การตรวจสอบความตึงของสายพาน ควรปฏิบัติอยางไร ก. ใชประแจขันนอตปรับตั้งความตึงสายพาน ข. ตรวจดูสภาพของสายพานดวยสายตา ค. ใชนิ้วกดตรงกึ่งกลางของสายพาน ง. ใชบรรดทัดเหล็กทาบลงบนสายพาน

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

5. ถาตรวจสอบพบวายางรถยนตมีรอยฉีกขาดยาวไมเกิน 6 มิลลิเมตร สามารถแกไขไดดวยวิธีใด ก. ปะยาง ข. วัดแรงดันลมยาง ค. เติมลมยาง ง. เปลี่ยนยาง 6. ถาขับรถดวยความเร็วสูง ควรเติมลมยางใหมากกวาปกติ 3 – 5 ปอนด/ ตารางนิ้ว เพราะเหตุใด ก. ปองกันการเสียหายของผิวหนายาง ข. เพื่อชวยยึดเกาะถนน ค. ลดการบิดตัวของโครงยาง ลดความรอน ง. เพื่อใหสมดุลกับความเร็วของรถ 7. การตรวจสอบระดับน้ํามันพวงมาลัยเพาเวอร ในขณะที่เครื่องยนตกําลังทํางาน ใหดูกานวัดดานใด ก. คอนไปทาง Max หรือ Min สลับไปมา ข. ระหวางขีด Max และ Min ค. ต่ํากวาขีด Min ง. เกินขีด Max 8. เพราะเหตุใด การตรวจสอบอาการเครื่องยนตรอนผิดปกติ จึงตองสตารทเครื่องยนตแบบเดินเบา ก. เพื่อปองกันไมใหเครื่องยนตดับ ข. เพื่อปรับอุณหภูมิของเครื่องยนตใหลดต่ําลง ค. เพื่อตรวจสอบรอยรั่วของหมอน้ํา ง. เพื่อตรวจสอบการทํางานของพัดลมระบายความรอน

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

9. ขอใด คือ การบํารุงรักษารถยนตประจําวัน ก. ตรวจสอบระดับน้ํามันเครื่อง ข. ตรวจสอบระดับน้ํามันเฟองทาย ค. ตรวจสอบความตึงของสายพาน ง. ตรวจสอบกรองอากาศ 10. ขอใด คือ วิธีการจับหลอดไฟที่ถูกตอง ในกรณีเปลี่ยนหลอดไฟหนารถ ก. สวมถุงมือหนังไฟกอนจับ ข. ใชผาสะอาดจับแทนการใชมือเปลา ค. จับดวยมือเปลา ง. ใชคีมจับหลอดไฟ

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………......... คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หัวขอวิชาที่ 1 0921030101 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.1 การทําความสะอาดกรองอากาศแบบแหง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. บํารุงรักษารถยนตตามที่ผูผลิตกําหนดได 2. ปฏิบัติงานทําความสะอาดกรองอากาศแบบแหงได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําความสะอาดกรองอากาศแบบแหง

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.1 การทําความสะอาดกรองอากาศแบบแหง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - หนากากชนิดแผนกรองอากาศ - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

3. ปมลม

จํานวน 1 ชุด

4. ปนเปาลม

จํานวน 1 ตัว

5. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน 17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2. ลําดับการทดสอบ การทําความสะอาดกรองอากาศแบบแหง ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร

ขอควรระวัง

กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล 3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไมค้ํายัน

ล็อกไมค้ํายันฝา

และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวนหนา

กระโปรงหนารถทุกครั้ง

รถและบังโคลนซาย-ขวา

เพื่อปองกันไมใหฝา กระโปรงปด ระหวาง ปฏิบัติงาน

4. คลายนอตหวงรัดทอรวมไอดี

ใชไ ขควงปากแบนคลายนอตที ่บ ริ เ วณ หวงรัดทอรวมไอดี

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 5. ปลดคลิปล็อกฝาครอบกรองอากาศ

คําอธิบาย ใชมือปลดคลิปล็อกที่ฝาครอบกรองอากาศ และถอดฝาครอบกรองอากาศออก

6. ตรวจสอบไส ก รองอากาศประกบกั บ ซี ล ของ ตรวจสอบวาไสกรองอากาศประกบกับซีล เสื้อกรองหรือไม

ทั้งสองขางของเสื้อกรองอยางถูกตองหรือไม

7. นําไสกรองอากาศออก

นําไสกรองอากาศออกจากเสื้อกรอง

8. ตรวจสอบสภาพของไสกรองอากาศ

ตรวจสอบสภาพไสกรองอากาศ โดยตอง อยูในสภาพสมบูรณและไมฉีกขาด 19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

9. เคาะฝุนจากไสกรองอากาศ

คําอธิบาย

เคาะไสกรองอากาศกับพื้นราบเบา ๆ ให ระวั ง ฝุ น ปลิ ว เข า ตา ฝุนหลุดออก

10. เปาสิ่งสกปรกออกจากไสกรองอากาศ

ขอควรระวัง

ขณะทําความสะอาด

ใช ป นลมเป าสิ่ งสกปรกออกจากไส ก รอง ระวั ง ฝุ น ปลิ ว เข า ตา อากาศ โดยเปาจากดานในออกสูดานนอก ขณะทําความสะอาด

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 11. ทําความสะอาดเสื้อกรอง

คําอธิบาย

ใชลมเปาฝุนและใชผาเช็ดทําความสะอาด ระวั ง ฝุ น ปลิ ว เข า ตา ดานในของเสื้อกรองอากาศ

12. ตรวจสอบปะเก็นยางบนเสื้อกรองอากาศ

ปะเก็นยางบนขอบเสื้อกรองอากาศจะตอง ไมหลุดออกมา

13. ประกอบไสกรองอากาศ

ขอควรระวัง

ประกอบไสกรองอากาศเข ากั บเสื้อ กรอง อากาศ และปดฝาครอบกรองอากาศ

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขณะทําความสะอาด


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 14. ประกอบคลิปล็อกยึดฝาเสื้อกรองอากาศ

คําอธิบาย ใช มื อ ประกอบคลิ ป ล็ อ กยึ ด ฝาเสื้ อ กรอง อากาศ

15. ขันนอตหวงรัดทอรวมไอดี

ใช ไ ขควงปากแบนขั น ห ว งรั ด บริ เ วณท อ รวมไอดี

16. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบสภาพของกรองอากาศแบบแหง ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การทําความสะอาดกรองอากาศแบบแหง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การประกอบชิ้นสวนกลับเขาที่เดิม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณหลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก........................................................เลขประจําตัวประชาชน........................................

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง หนากากชนิดแผนกรองอากาศ แวนตานิรภัย รองเทานิรภัย ครบทั้ง 5 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่ม

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง

ปฏิบัติงาน

ครบ 4 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง

3

ครบ 3 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 3 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบสภาพของกรองอากาศแบบแหง

ตรวจสอบสภาพของกรองอากาศแบบแหงไดถูกตองและ ครบถวนตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบสภาพของกรองอากาศแบบแหงไมถูกตองตาม ขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบสภาพของกรองอากาศแบบแหงไมถูกตองตาม ขั้นตอนมากกวา 1 ขัน้ ตอน ใหคะแนน 0 คะแนน

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

การทําความสะอาดกรองอากาศแบบแหง

ขอกําหนดในการใหคะแนน

ทําความสะอาดกรองอากาศแบบแหงไดถูกตองและ ครบถวนตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนน เต็ม 5

ทํ า ความสะอาดกรองอากาศแบบแห ง ไม ถู กต อง หรื อ ไมครบถวนตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ทํ า ความสะอาดกรองอากาศแบบแห ง ไม ถู กต อง หรื อ ไมครบถวนตามขั้นตอนมากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การประกอบชิ้นสวนกลับเขาที่เดิม

ประกอบชิ้นสวนกลับเขาที่เดิมไดถูกตองและครบถวนตาม

5

ขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ประกอบชิ้นสวนกลับเขาที่เดิมไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน ตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ประกอบชิ้นสวนกลับเขาที่เดิมไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน ตามขั้นตอนมากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง และไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

33

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หัวขอวิชาที่ 1 0921030101 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.2 การทําความสะอาดหัวเทียน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. บํารุงรักษารถยนตตามที่ผูผลิตกําหนดได 2. ปฏิบัติงานทําความสะอาดหัวเทียนได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําความสะอาดหัวเทียน ทั้ง 4 สูบ

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.2 การทําความสะอาดหัวเทียน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - แวนตานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

3. เครื่องลางหัวเทียน

จํานวน 1 เครื่อง

4. ฟลเลอรเกจปรับตั้งหัวเทียน

จํานวน 1 ชุด

5. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

6. ประแจกระบอกถอดประกอบหัวเทียน

จํานวน 1 ชุด

7. ปนเปาลม

จํานวน 1 ตัว

8. ปมลม

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. หัวเทียน

จํานวน 4 หัว

2. ลําดับการทดสอบ การทําความสะอาดหัวเทียน ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม

คําอธิบาย เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไมค้ํายัน

ขอควรระวัง ล็อกไมค้ํายันฝา

และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวนหนา กระโปรงหนารถทุก รถและบังโคลนซาย-ขวา

ครั้ง เพื่อปองกันไมให ฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

4. ปลดสายหัวเทียน

ใชมือดึงขั้วหัวเทียนออกใหครบทุกขั้ว

ควรระวังไมใหหัวเทียน ชํารุดหรือฉีกขาด เพราะอาจทําใหไฟรั่ว จนเปนอันตรายถึง ชีวิต

5. เปาทําความสะอาดชองหัวเทียน

ใชปน ลมทําความสะอาดภายในช อ งหั ว ระวังฝุนปลิวเขาตา เทียนและบริเวณรอบ ๆ

6. ถอดหัวเทียน

ใชประแจถอดหัวเทียน ถอดหัวเทียนออก จากเครื่องยนต

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

7. ตรวจสอบสภาพหัวเทียน

ตรวจสอบคราบเขมาที่หัวเทียน

8. ทําความสะอาดหัวเทียนดวยเครื่องลาง

ทําความสะอาดโดยใชทราย เสียบปลาย ระวั ง ฝุ น ปลิ ว เข า ตา

หัวเทียน

ของหัวเทียนเขาไปในเครื่องลางหัวเทียน และ หลังทําความสะอาด และกดสวิตช S รอประมาณ 5 นาที จึง หั ว เที ย นเสร็ จ ให นํ า กดปดสวิตช

น้ํ า มั น เบนซิ น ล า งให

เป า ล า งหั ว เที ย นด ว ยลมจากเครื่ อ งล า ง สะอาดอีกครั้ง เพราะ หัวเทียน ซึ่งตอเขากับปมลม โดยการกด น้ํามันเบนซินสามารถ สวิตช A และรอประมาณ 5 นาที จึงกด ระเหยไดงาย จึงทําให ป ด สวิ ต ช A ก อ นนํ า หั ว เที ย นออกจาก หั ว เที ย นสะอาดและ เครื่องลางหัวเทียน 9. เปาลมทําความสะอาดหัวเทียน

ใชปนเปาลมทําความสะอาดหัวเทียนซ้ํา ระวังฝุนปลิวเขาตา อีกครั้งหนึ่ง

10. ปรับตั้งระยะหางเขี้ยวหัวเทียน

แหงเร็ว

ตรวจสอบและปรับตั้งระยะหางเขี้ยวหัว เทียนใหไดตามคาที่คูมือซอมบํารุงประจํา รถยนตกําหนด 31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

11. ประกอบหัวเทียน

คําอธิบาย

ประกอบหัวเทียนเขากับชองหัวเทียน โดย ใชประแจกระบอกขันใหแนนพอตึงมือ

12. ขันหัวเทียนใหไดคาตามที่กําหนด

ใชประแจวัดแรงบิดขันหัวเทียนซ้ํา ใหตรง ค า แรงขั น ที่ กํ า หนดในคู มื อ ซ อ มประจํ า รถยนต

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 13. ใสขั้วหัวเทียน

คําอธิบาย ใสขั้วหัวเทียนกลับใหตรงตามตําแหนงที่ ถอดออก พรอมทั้งใชมือกดขั้วหัวเทียนให แนน

14. ทดสอบการทํางานของหัวเทียน

ติดเครื่องยนตเพื่อทดสอบการทํางานของ หัวเทียน

15. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การทําความสะอาดหัวเทียน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การประกอบหัวเทียน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

หลังปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก........................................................เลขประจําตัวประชาชน........................................

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง แวนตานิรภัย รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยาง ครบทั้ง 4 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 3 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 3 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การทําความสะอาดหัวเทียน

ทําความสะอาดหัวเทียนไดถูกตองและครบถวนตามขั้นตอน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ทํ า ความสะอาดหั ว เที ย นไม ถู กต อง หรื อ ไม ครบถ วนตาม ขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ทํ า ความสะอาดหั ว เที ย นไม ถู กต อง หรื อ ไม ครบถ วนตาม ขั้นตอนมากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การประกอบหัวเทียน

ประกอบหั ว เที ย นได ถู ก ต อ งและครบถ ว นตามขั้ น ตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ประกอบหั ว เที ย นไม ถู กต อง หรื อ ไม ครบถ วนตามขั้ นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ประกอบหั ว เที ย นไม ถู กต อง หรื อ ไม ครบถ วนตามขั้ นตอน มากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง และไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หัวขอวิชาที่ 1 0921030101 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.3 การถายน้ําออกจากกรองดักน้ํา 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. บํารุงรักษารถยนตตามที่ผูผลิตกําหนดได 2. ปฏิบัติงานถายน้ําออกจากกรองดักน้ําได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกถายน้ําออกจากกรองดักน้ํา

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.3 การถายน้ําออกจากกรองดักน้ํา 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - แวนตานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนตเครื่องยนตดีเซล

จํานวน 1 คัน

2. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

3. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

4. กระปองสําหรับรองน้ํา

จํานวน 1 ใบ

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2. ลําดับการทดสอบ การถายน้ําออกจากกรองดักน้ํา ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร

ขอควรระวัง

กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล 3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไมค้ํายัน

ล็อกไมค้ํายันฝา

และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวนหนา กระโปรงหนารถทุกครั้ง รถและบังโคลนซาย-ขวา

เพื่อปองกันไมใหฝา กระโปรงปด ระหวาง ปฏิบัติงาน

4. วางกระปองดานลางกรองดักน้ํา

วางกระปองรองไวดานลางกรองดักน้ําเพื่อ รองน้ําที่จะถายออก

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. คลายปลั๊กถายน้ํา

คําอธิบาย คลายปลั๊กถายน้ําทวนเข็มนาฬิกาประมาณ 2-3 รอบ และถอดปลั๊กถายน้ําออก

6. ปลอยน้ําออกจากกรองดักน้ํา

ปล อ ยน้ํ า ที่ ป นอยู กั บ น้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ใน กรองดักน้ําออกใหหมด

7. ไลน้ําออกจากกรองดักน้ํา

กดปุมปมมือ (ปมแย็ก) ขึ้น ๆ ลง ๆ เพื่อไล เอาน้ําออกกรองจนกระทั่งน้ํามันเชื้อเพลิง ไหลออกมา จึงหยุดปม

8. ล็อกปลั๊กถายน้ํา

ประกอบปลั๊กถายน้ํา และใชมือหมุนตาม เข็มนาฬิกาเพื่อล็อกปลั๊กถายน้ํา

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 9. กดปุมปมมือ (ปมแย็ก)

คําอธิบาย กดปุ ม ป ม มื อ ขึ้ น ๆ ลง ๆ อี ก ครั้ ง เพื่ อ ให น้ํามันเชื้อเพลิงไหลเขามาเติมเต็ม

10. ทดสอบการทํางาน

ติดเครื่องยนตเพื่อทดสอบการทํางาน

11. ดูไฟสัญญาณเตือน

ดู ไ ฟสั ญ ญาณเตื อ นที่ ห น า ป ด รถยนต ว า สัญญาณเตือนดับแลวใชหรือไม

12. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การถายน้ําออกจากกรองดักน้ํา

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

หลังปฏิบัติงาน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก........................................................เลขประจําตัวประชาชน........................................

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง แวนตานิรภัย รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยาง ครบทั้ง 4 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 3 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 3 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การถายน้ําออกจากกรองดักน้ํา

ถ า ยน้ํ า ออกจากกรองดั ก น้ํ า ได ถู ก ต อ งและครบถ ว นตาม

5

ขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ถายน้ําออกจากกรองดักน้ําไมถูกตอง หรือ ไมครบถวนตาม ขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถายน้ําออกจากกรองดักน้ําไมถูกตอง หรือ ไมครบถวนตาม ขั้นตอนมากวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง และไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

23

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หัวขอวิชาที่ 1 0921030101 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.4 การเปลี่ยนถายน้ํามันเครื่องและกรองน้ํามันเครื่อง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. บํารุงรักษารถยนตตามที่ผูผลิตกําหนดได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนถายน้ํามันเครื่องและกรองน้ํามันเครื่องได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเปลี่ยนถายน้ํามันเครื่องและกรองน้ํามันเครื่อง

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.4 การเปลี่ยนถายน้ํามันเครื่องและกรองน้ํามันเครื่อง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

3. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

4. เครื่องมือถอดประกอบกรองน้ํามันเครื่อง

จํานวน 1 อัน

5. ประแจวัดแรงบิด

จํานวน 1 อัน

6. กรวยเติมน้ํามันเครื่อง

จํานวน 1 อัน

7. ถังรองน้ํามันเครื่อง

จํานวน 1 ใบ

8. ลิฟตยกรถแบบ 2 เสา

จํานวน 1 เครื่อง

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํามันเครื่อง

จํานวน 1 แกลลอน

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

3. กรองน้ํามันเครื่อง

จํานวน 1 ลูก

4. แหวนรองนอตถายน้ํามันเครื่อง

จํานวน 1 อัน

2. ลําดับการทดสอบ การเปลี่ยนถายน้ํามันเครื่องและกรองน้ํามันเครื่อง ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม

คําอธิบาย เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไมค้ํายัน

ขอควรระวัง ล็อกไมค้ํายันฝา

และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวนหนา กระโปรงหนารถทุก รถและบังโคลนซาย-ขวา

ครั้ง เพื่อปองกันไมให ฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

4. เปดฝาเติมน้ํามันเครื่อง

เปดฝาเติมน้ํามันเครื่อง ดึงเหล็กวัดระดับ น้ํามันเครื่องออก

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

5. ยกรถขึ้น

ยกรถขึ้นดวยลิฟตยกรถแบบ 2 เสา

6. ทําความสะอาดนอตถายน้ํามันเครื่อง

ทําความสะอาดนอตถายน้ํามันเครื่อง

(กอนถอดนอตถายน้ํามันเครื่อง)

ขอควรระวัง

และเตรียมถังรองรับน้ํามันเครื่องเขาใต ทองรถในตําแหนงที่ตรงกับรูนอตถาย น้ํามันเครื่อง

7. ถอดนอตถายน้ํามันเครื่อง

ถอดนอตถายน้ํามันเครื่องออก ดวย

ระวังน้ํามันเครื่อง

เครื่องมือถอดประกอบกรองน้ํามันเครื่อง กระเด็นเขาตา และรอจนกระทั่งน้ํามันเครื่องไหลออก หมด

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

8. ถอดไสกรองน้ํามันเครื่อง

คําอธิบาย

ถอดไสกรองน้ํามันเครื่อง ดวยเครื่องมือ ถอดประกอบกรองน้ํามันเครื่อง

9. ทําความสะอาดนอตถายน้ํามันเครื่อง (หลังถอดนอตถายน้ํามันเครื่อง)

ทํ า ความสะอาดนอตถ า ยน้ํ า มั น เครื่ อ ง ดวยน้ํามันเบนซิน

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

10. เปลี่ยนแหวนรองใหม

ประกอบแหวนรองตัวใหมเขาไปแทน

11. ขันนอตถายน้ํามันเครื่อง

ประกอบนอตถายน้ํามัน เครื่อง และขัน ตามคาแรงขันที่คูมือซอมประจํารถยนต กําหนดดวยประแจวัดแรงบิด

12. ทําความสะอาดบริเวณหนาแปลนกรอง

ทําความสะอาดบริเวณหนาแปลนกรอง

น้ํามันเครื่อง

น้ํามัน เครื่อง เพื่อเตรีย มประกอบกรอง น้ํามันเครื่องใหม

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 13. ทาน้ํามันเครื่องที่ซีลหรือ O-Ring

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใชน้ํามันเครื่องใหมทาที่ซีลหรื อ O-Ring ที่กรองน้ํามันเครื่องใหมใหทั่ว

14. ประกอบกรองน้ํามันเครื่องใหม

ประกอบกรองน้ํามันเครื่องลูกใหม โดยใช มือหมุนใหแนน ใชเครื่องมือถอดประกอบกรองน้ํามันเครื่อง หามขันนอตถาย ขันซ้ําใหแนน

น้ํามันเครื่องเกิน คาแรงขันที่กําหนด เพราะอาจทําให เกลียวเสียหายได

15. นํารถลงพื้น

ลดระดั บ ลิ ฟ ต ย กรถจนกระทั่ ง รถอยู ใ น ระดับปกติ

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 16. เติมน้ํามันเครื่อง

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เติมน้ํามันเครื่องใหไดระดับ โดยวัดระดับ จากกานวัดระดับน้ํามันเครื่อง

17. ติดเครื่องยนตใหไดอุณหภูมิทํางาน

ติดเครื่องยนตใหไดอุณหภูมิทํางาน ประมาณ 3-5 นาที แลวดับเครื่องยนต

18. วัดระดับน้ํามันเครื่อง

วัดระดับน้ํามันเครื่องที่กานวัดซ้ําอีกครั้ง

หลังเปลี่ยนกรองและ

หากพบวาน้ํามันเครื่องต่ํากวาระดับ ให

ติดเครื่องยนต

เติมซ้ําใหไดระดับ

น้ํามันเครื่องจะซึมเขา ไปอยูในกรอง จึงตอง ตรวจสอบระดับ น้ํามันเครื่องที่กานวัด อีกครั้ง

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

19. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การขันนอตถายน้ํามันเครื่อง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การถายน้ํามันเครื่อง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

หลังปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด 54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก........................................................เลขประจําตัวประชาชน........................................

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การขันนอตถายน้ํามันเครื่องโดยใชประแจวัดแรงบิด

ใชประแจวัดแรงบิดขันนอตถายน้าํ มันเครื่องไดถูกตองตาม

5

คาที่คูมือซอมประจํารถยนตกําหนด ใหคะแนน 5 คะแนน ใชประแจวัดแรงบิดขันนอตถายน้าํ มันเครื่องไมถูกตองตาม คาที่คูมือซอมประจํารถยนตกําหนด ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การเปลี่ยนถายน้ํามันเครื่อง

เปลี่ยนถายน้าํ มันเครื่องไดถูกตองตามขั้นตอน และเติม น้ํามันเครื่องไดระดับที่ถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

เปลี่ยนถายน้าํ มันเครื่องไมเปนไปตามขั้นตอน หรือ เติม น้ํามันเครื่องไมไดระดับที่ถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เปลี่ยนถายน้าํ มันเครื่องไมเปนไปตามขั้นตอน และเติม น้ํามันเครื่องไมไดระดับที่ถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง และไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หัวขอวิชาที่ 1 0921030101 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.5 การตรวจสอบแบตเตอรี่ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. บํารุงรักษารถยนตตามที่ผูผลิตกําหนดได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบแบตเตอรี่ได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูเขารับการฝกตรวจสอบแบตเตอรี่รถยนต

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.5 การตรวจสอบแบตเตอรี่ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - แวนตานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

3. เครื่องประจุไฟแบตเตอรี่

จํานวน 1 เครื่อง

4. มัลติมิเตอร

จํานวน 1 ตัว

5. ไฮโดรมิเตอร

จํานวน 1 เครื่อง

6. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. เบกกิ้งโซดา

จํานวน 1 หอ

2. ลําดับการทดสอบ การตรวจสอบแบตเตอรี่ ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียร ในตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ให เขาเกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

3. ปดสวิตชไฟฉุกเฉิน

ปดสวิตชไฟฉุกเฉินตาง ๆ ภายในรถ

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 4. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เป ด ฝากระโปรงรถพร อ มล็ อ กไม ค้ํายั น ล็อกไมค้ํายันฝา และใช ผ า คลุ ม สํ า หรั บ ซ อ มคลุ ม ที่ ส ว น กระโปรงหนารถทุก หนารถและบังโคลนซาย-ขวา

ครั้ง เพื่อปองกันไมให ฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

5. ตรวจสอบสภาพภายนอกของแบตเตอรี่

ตรวจสอบสภาพภายนอกของแบตเตอรี่ วามีรอยแตกราว หรือมีสิ่งสกปรกจับอยู หรือไม

6. ตรวจสอบระดับน้ํากรดแบตเตอรี่

ตรวจสอบระดับ น้ํากรดแบตเตอรี่ หาก น้ํ า กรดแบตเตอรี่ อ ยู ต่ํ า กว า ระดั บ ต อ ง เติมน้ํากลั่นใหไดระดับดวย

7. เติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่

เติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่ในแตละชองใหอยู ระหวางขีด UPPER LEVEL กับ LOWER LEVEL

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

8. ตรวจสอบแรงเคลื่อนไฟฟา

ตรวจสอบแรงเคลื่ อนไฟฟ า โดยใช มัล ติมิ เตอรใหตั้งยานวัดที่ DCV ×50 จากนั้นนําเข็มปลายแตะที่ขั้วบวกและขั้ว ลบของแบตเตอรี่

9. ตรวจสอบคาความถวงจําเพาะของน้ํากรดแบตเตอรี่

ตรวจสอบค า ความถ ว งจํ า เพาะของ น้ํากรดแบตเตอรี่ โดยใชไฮโดรมิเตอร หากความถว งจํา เพาะที่วั ด ไดมี ค า น อ ย กวา 1.260 ใหนําแบตเตอรี่ ไปประจุ ไฟ ใหม

10. นําแบตเตอรี่ออกจากตัวรถ

คลายนอตยึ ด สายคาดแบตเตอรี่ ปลด สายคาด และนําแบตเตอรี่ออกจากตัวรถ

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 11. ประจุไฟแบตเตอรี่

คําอธิบาย ประจุไฟแบตเตอรี่ใหม โดยปรับตั้งคา ไปที่ 12 โวลต โดยระหวางประจุไฟ ใช ไฮโดรมิเตอรตรวจสอบคาความถวงจําเพาะ จนกวาคาความถวงจําเพาะที่ 1.260

12. วางแบตเตอรี่

ประกอบแบตเตอรี่กลับเขาที่ตําแหนงเดิม

13. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบแบตเตอรี่

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การประจุไฟแบตเตอรี่

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

หลังปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก........................................................เลขประจําตัวประชาชน........................................

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง แวนตานิรภัย รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยาง ครบทั้ง 4 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 3 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 3 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบแบตเตอรี่

ตรวจสอบแบตเตอรีไ่ ดถูกตองและครบถวนตามขั้นตอน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบแบตเตอรี่ไมถูกตอง หรือ ไมครบถวนตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบแบตเตอรี่ไมถูกตอง หรือ ไมครบถวนตามขั้นตอน มากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การประจุไฟแบตเตอรี่ใหม

ประจุไฟแบตเตอรี่ไดถูกตองตามขั้นตอน และไดคาความถวงจําเพาะที่กําหนด ใหคะแนน 5 คะแนน

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ประจุไฟแบตเตอรี่ไมถูกตองตามขั้นตอน หรือ ไดคาความถวงจําเพาะคาดเคลื่อน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ประจุไฟแบตเตอรี่ไมถูกตองตามขั้นตอน และไดคาความถวงจําเพาะคาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดขั้วสายไฟ เครื่องมือ และอุปกรณ ไดสะอาด

3

เรียบรอยและครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดขั้วสายไฟ เครื่องมือ และอุปกรณ ไมสะอาด เรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดขั้วสายไฟ เครื่องมือ และอุปกรณ ไมสะอาด เรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง และไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนด 1-5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หัวขอวิชาที่ 1 0921030101 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.6 การเปลี่ยนและปรับตั้งสายพานอัลเตอเนเตอร 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. บํารุงรักษารถยนตตามที่ผูผลิตกําหนดได 2. ปฏิบัติงานการเปลี่ยนและปรับตั้งสายพานอัลเตอเนเตอรได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูเขารับการฝกเปลี่ยนสายพาน และปรับตั้งสายพานอัลเตอเนเตอร

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.6 การเปลี่ยนและปรับตั้งสายพานอัลเตอเนเตอร 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่นๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

3. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. สายพานอัลเตอเนเตอร

จํานวน 1 เสน

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2. ลําดับการทดสอบ การเปลี่ยนและปรับตั้งสายพานอัลเตอเนเตอร ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร

ขอควรระวัง

กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ ปองกันรถไหล 3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม

เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไมค้ํายัน

ล็อกไมค้ํายันฝา

และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวนหนา กระโปรงหนารถทุกครั้ง รถและบังโคลนซาย-ขวา

เพื่อปองกันไมใหฝา กระโปรงปด ระหวาง ปฏิบัติงาน

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 4. ตรวจสอบสภาพสายพานและพูลเลย

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตรวจสอบสภาพสายพานและพูลเลยดวย สายตา

5. ถอดสายพานอัลเตอเนเตอร

คลายนอตยึ ด และนอตปรั บ ตั้ ง สายพาน ไมควรใชอุปกรณที่มี อัลเตอเนเตอรใหหลวม และถอดสายพาน ความแข็งงัดถอด ออก

สายพาน เชน ไขควง เพราะอาจทําให สายพานเสียหายได

6. ตรวจสอบการทํางานของพูลเลยอัลเตอเนเตอร

ตรวจสอบวาพูลเลยอัลเตอเนเตอรและ พู ล เลย อื่ น ที่ เ กี่ ย วข อ งทํ า งานเป น ปกติ หรือไม

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 7. ประกอบสายพานเสนใหม

คําอธิบาย ประกอบสายพานเสนใหมใหถูกตองตาม ตําแหนงและทิศทางการหมุน

8. ปรับตั้งความตึงสายพาน

ขั น นอตปรั บ ตั้ ง ความตึ ง สายพานให ไ ด ตามที่กําหนด

9. ขันนอตยึดอัลเตอเนเตอร และนอตปรับตั้ง

ขั น นอตยึ ด อั ล เตอเนเตอร และนอต

สายพาน

ปรับ ตั้งสายพานใหแนนตามคาแรงขันที่ กําหนดในคูมือซอมประจํารถยนต

72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 10. ทดสอบการทํางาน

คําอธิบาย ติ ด เครื่ อ งยนต ท ดสอบการทํ า งานของ สายพานและอัลเตอเนเตอร

11. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสภาพสายพานพูลเลยดวยสายตา

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การเปลี่ยนและปรับตั้งสายพาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

อัลเตอเนเตอร 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

หลังปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก........................................................เลขประจําตัวประชาชน........................................

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบทั้ง 4 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 3 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 3 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสภาพสายพานพูลเลยดวยสายตา

ตรวจสภาพสายพานพูลเลยดวยสายตาไดถูกตอง

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสภาพสายพานพูลเลยดวยสายตาไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การเปลี่ยนและปรับตั้งสายพานอัลเตอเนเตอร

เปลี่ยนสายพานอัลเตอเนเตอรไดถูกตองตามขั้นตอน และ ปรับตั้งความตึงสายพานไดระดับตามที่กําหนดในคูมือซอม รถยนต ใหคะแนน 5 คะแนน

75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

เปลี่ยนสายพานอัลเตอเนเตอรไมถูกตองตามขั้นตอน หรือ ปรับตั้งสายพานไมไดระดับตามที่กําหนดในคูมือซอมรถยนต อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เปลี่ยนสายพานอัลเตอเนเตอรไมถูกตองตามขั้นตอน และ ปรับตั้งสายพานไมไดระดับตามที่กาํ หนดในคูมือซอมรถยนต ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง และไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หัวขอวิชาที่ 1 0921030101 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.7 การตรวจสอบไฟเพดานในหองโดยสารรถยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. บํารุงรักษารถยนตตามที่ผูผลิตกําหนดได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบและแกไขอุปกรณไฟฟาได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูเขารับการฝกตรวจสอบไฟเพดานในหองโดยสารรถยนต

78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.7 การตรวจสอบไฟเพดานในหองโดยสารรถยนต 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

3. มัลติมิเตอร

จํานวน 1 ตัว

4. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ฟวสขนาดตาง ๆ

จํานวน 1 ชุด

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

3. หลอดไฟเพดานภายในหองโดยสารรถยนต

จํานวน 1 ชุด

79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2. ลําดับการทดสอบ การตรวจสอบไฟเพดานในหองโดยสารรถยนต ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร

ขอควรระวัง

กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียร ในตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ให เขาเกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ ปองกันรถไหล 3. ตรวจสอบการทํางานของไฟเพดานในหองโดยสาร

ตรวจสอบการทํางานของไฟเพดานใน ห อ งโดยสาร โดยเลื่ อ นสวิ ต ช ไ ปที่ ตําแหนง ON

4. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม

เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไม ค้ํายัน ล็อกไมค้ํายันฝา และใช ผ าคลุ มสํ าหรั บซ อมคลุ มที่ ส ว น กระโปรงหนารถทุกครั้ง หนารถและบังโคลนซาย-ขวา

เพื่อปองกันไมใหฝา กระโปรงปด ระหวาง ปฏิบัติงาน

80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 5. ตรวจสอบฟวสดวยมัลติมิเตอร

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

หากพบว า ไฟไม ติ ด ให ดํ า เนิ น การ ตรวจสอบฟ ว ส ด ว ยมั ล ติ มิ เ ตอร โดย ปรับยานการวัดไปที่คาความตานทาน R x 1 และสังเกตเข็มของมัลติมิเตอร

6. เปลี่ยนฟวส

หากพบว า ฟ ว ส ข าด ต อ งเปลี่ ย นฟ ว ส ไมควรนําอุปกรณอื่นๆ ใหม โดยใชฟวสสํารองจากกลองฟวส

เชน ลวด มาเปลี่ยน แทนฟวสเด็ดขาด เพราะอาจทําใหไฟฟา ลัดวงจร และเกิดไฟไหม

7. ตรวจสอบการทํางานของไฟเพดานในหองโดยสาร ตรวจสอบการทํางานของไฟเพดานใน อีกครั้ง

หองโดยสารอีกครั้ง โดยเลื่อนสวิตชไป ที่ตําแหนง ON

81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

8. เปลี่ยนหลอดไฟ

หากพบว า ไฟยั ง ไม ติ ด ให ดํ า เนิ น การ เปลี่ยนหลอดไฟ

9. ตรวจสอบการทํางานของไฟเพดานในหองโดยสาร เป ด ไฟเพดานในห อ งโดยสารรถยนต หลังเปลี่ยนหลอดไฟ

เพื่อตรวจสอบการทํางานอีกครั้ง

10. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิบัติงาน และจัดเก็บ เครื่องมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบและเปลี่ยนฟวส

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การเปลี่ยนไฟเพดานในหองโดยสาร

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

หลังปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก........................................................เลขประจําตัวประชาชน........................................

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบและเปลี่ยนฟวส

ตรวจสอบฟ ว ส แ ละเปลี่ ย นฟ ว ส ไ ด ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบฟวสและเปลี่ยนฟวสไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบฟ ว ส แ ละเปลี่ ย นฟ ว ส ไ ม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน มากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การเปลี่ยนไฟเพดานในหองโดยสาร

เปลี่ยนหลอดไฟเพดานในหองโดยสารไดถูกตองและ ครบถวนตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

เปลี่ยนหลอดไฟเพดานในหองโดยสารไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน เปลี่ยนหลอดไฟเพดานในหองโดยสารไมถูกตองตามขั้นตอน มากวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง และไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หัวขอวิชาที่ 2 0921030102 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.1 การเปลี่ยนยางรถยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. บํารุงรักษารถยนต เมื่อเกิดความเสียหายเบื้องตนได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนยางรถยนตได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติการเปลี่ยนยางรถยนต

86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.1 การเปลี่ยนยางรถยนต 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่นๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. ลอรถยนตที่มีสภาพพรอมใชงาน

จํานวน 1 เสน

3. แมแรงตะเฆ

จํานวน 1 ตัว

4. ประแจขันนอตลอ

จํานวน 1 อัน

5. ขาตั้งรองรับรถ

จํานวน 1 ตัว

6. ประแจวัดแรงบิด

จํานวน 1 อัน

7. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

8. หมอนรองลอรถกันลื่นไถล

จํานวน 4 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน 87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2. ลําดับการทดสอบ การเปลี่ยนยางรถยนต ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียร ในตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ให เขาเกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ ปองกันรถไหล

3. คลุมผาสําหรับซอม

ใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมสวนบังโคลน ลอ

4. รองลอรถ

นําหมอนรองลอรถไปรองลอคูที่ไมได เปลี่ยนยาง

88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

5. ขึ้นแมแรงตะเฆ (ยางยังติดอยูกับพื้น)

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ขึ้นแมแรงตะเฆ เพื่อใหลอลอยขึ้นจาก ห า มมุ ด เข า ใต ท อ ง พื้นเล็กนอย โดยที่ยางยังติดอยูกับพื้น

ร ถ เ พื่ อ ป อ ง กั น อั น ตรายในกรณี ที่ แม แ รงไม ส ามารถ รองรั บ น้ํ าหนั ก ของ รถได และห า มติ ด รถยนตขณะที่รถถูก ยกอยูบนแมแรง

6. คลายนอตลอ

ใชประแจคลายนอตลอออกทีละตัว ตามลําดับแคพอนอตหลวม

89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 7. ขึ้นแมแรงตะเฆ (ลอลอยขึ้นจากพื้น)

คําอธิบาย ขึ้ น แม แ รงตะเฆ เพื่ อ ยกให ล อ รถยนต ลอยขึ้นจากพื้น

8. วางขาตั้งรองรับรถ

วางขาตั้งรองรับรถตามตําแหนงที่ คูมือ ซอมประจํารถยนตกําหนด

9. ถอดนอตลอ

ใช ป ระแจถอดนอตล อ ออกที ล ะตั ว ตามลําดับ

10. ถอดลอออกจากดุมลอ

ถอดล อออกจากดุ มล อ และนํายางไป ซอมแซมตามวิธีการที่เหมาะสม

90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

11. ประกอบลอเขากับดุมลอ

คําอธิบาย

ประกอบลอที่ไดซอมแซมหรือมี ส ภาพ พร อ มใช ง านเข า กั บ ดุ ม ล อ ด ว ยความ ระมัดระวัง

12. ใชมือขันนอตลอ

ขันนอตลอทีละตัวตามลําดับ โดยใชมือ หมุนนอตลอใหแนนแบบพอตึงมือ

13. ขันนอตลอซ้ําดวยประแจขันนอตลอ

ใชประแจขันนอตลอ ขันนอตซ้ําใหแนน พอตึงมือ

91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

14. นําขาตั้งรองรับรถออก

ขึ้ น แม แ รงตะเฆ อี ก ครั้ ง เพื่ อ นํ า ขาตั้ ง รองรับรถออก

15. ขันนอตลอซ้ําดวยประแจวัดแรงบิด

ใช ป ระแจวั ด แรงบิ ด ขั น นอตล อ ซ้ํ า อี ก ครั้งตามลําดับ โดยตั้งคาแรงบิดใหตรง ตามที่คูมือซอมประจํารถยนตกําหนด

16. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิบัติงาน และจัดเก็บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การคลายนอตลอกอนขึ้นแมแรง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การใชแมแรงและขาตั้งรองรับรถ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การถอดนอตลอหลังขึ้นแมแรง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การขันนอตลอหลังประกอบยางอะไหล

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

10

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก........................................................เลขประจําตัวประชาชน........................................ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

ครบถวน

ใหคะแนน 3 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง

คะแนน เต็ม 3

อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การคลายนอตลอกอนขึ้นแมแรง

คลายนอตลอพอหลวม และปฏิบัติตามขั้นตอนไดอยางถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

คลายนอตลอหลุ ด หรือ ไมปฏิบัติตามขั้นตอน อยางใดอยาง หนึ่งใหคะแนน 3 คะแนน คลายนอตหลุด และไมปฏิบัติตามขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การใชแมแรงและขาตั้งรองรับรถ

ใชเครื่องมือทั้งสองชิ้นไดอยางถูกตองตามขั้นตอน และวาง เครื่องมือถูกตําแหนง ใหคะแนน 5 คะแนน

94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ใช เ ครื่ อ งมื อ ชิ้ น ใดชิ้ น หนึ่ ง ไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน หรื อ วางเครื่องมือผิดตําแหนง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ใช เครื่ อ งมื อ ไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน และวางเครื่ อ งมื อ ผิ ด ตําแหนง ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การถอดนอตลอหลังขึ้นแมแรง

ถอดนอตลอถูกตองตามลําดับ ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ถอดนอตลอไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขัน้ ตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดนอตลอไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขัน้ ตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ถอดนอตลอไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 7

การขันนอตลอหลังประกอบยางอะไหล

ขันนอตลอถูกตองตามลําดับ

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ขันนอตลอไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ขันนอตลอไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ขันนอตลอไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 8

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 9

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยาง ใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ดเก็ บเครื่ องมื อและอุ ปกรณ ไม ถู กต อ ง และไม ครบถ ว น หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 10

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

38

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หัวขอวิชาที่ 2 0921030102 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.2 การวิเคราะหหาสาเหตุที่น้ําในหมอน้ําลดลงตลอดเวลา 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. บํารุงรักษารถยนต เมื่อเกิดความเสียหายเบื้องตนได 2. ปฏิบัติงานวิเคราะหหาสาเหตุที่น้ําในหมอน้ําลดลงตลอดเวลาได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติการวิเคราะหหาสาเหตุที่น้ําในหมอน้ําลดลงตลอดเวลา

97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.2 การวิเคราะหหาสาเหตุที่น้ําในหมอน้ําลดลงตลอดเวลา 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - แวนตานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. เครื่องมือทดสอบหมอน้ํา

จํานวน 1 ชุด

3. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

4. กรวยเติมน้ํา

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. สารหลอเย็นหมอน้ํา

จํานวน 1 กระปอง

98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2. ลําดับการทดสอบ การวิเคราะหหาสาเหตุที่น้ําในหมอน้ําลดลงตลอดเวลา ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง

2. เขาเกียรรถยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร

ขอควรระวัง

กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียร ในตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ให เขาเกียรที่ตําแหนงเกียรวาง และดึง เบรกมือปองกันรถไหล 3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม

เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไมค้ํายัน

ล็อกไมค้ํายันฝา

และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวน

กระโปรงหนารถ

หนารถและบังโคลนซาย-ขวา

ทุกครั้ง เพื่อปองกัน ไมใหฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

4. ตรวจสอบรอยรั่วของระบบระบายความรอน

ตรวจสอบรอยรั่วของระบบระบายความ ระวั ง การสั ม ผั ส กั บ รอนตามจุดตาง ๆ และสภาพทอยางน้ํา ชิ้ น ส ว น ที่ มี ค ว าม ดวยสายตา

99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

รอน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

5. ดับเครื่องยนตและตรวจสอบรอยรั่วของระบบระบาย ดับเครื่องยนตและตรวจสอบรอยรั่วของ ความรอน

ระบบระบายความร อนตามจุ ด ต า ง ๆ และสภาพทอยางน้ําดวยสายตาอีกครั้ง หนึ่ง

6. ลดอุณหภูมิการทํางานของเครื่องยนต

รอใหเครื่องยนตเย็นลง

7. ลดแรงดันที่ฝาหมอน้ํา

คอย ๆ คลายฝาปดหมอน้ําเพื่อลด แรงดันดวยความระมัดระวัง

8. ตรวจสภาพฝาหมอน้ํา

เป ด ฝาหม อ น้ํ า และตรวจสภาพฝา ระวังหากเครื่องยนต หมอน้ํา

ยังรอน จะทําใหลวก มือได

100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

9. เติมน้ําในหมอน้ําและถังพักน้ํา

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เติ ม น้ํ า ในหม อ น้ํ า และถั ง พั ก น้ํ า ให ไ ด ระดับ

10. ติดตั้งเครื่องทดสอบความดัน

ติ ด ตั้ ง เครื่ อ งทดสอบความดั น ระบบ ระบายความรอนเขากับหมอน้ํา

11. สรางความดันเขาไปในระบบระบายความรอน

สร า งความดั น เข า ไปในระบบระบาย หามสรางแรงดันใน ความร อ นตามค า กํ า หนดในคู มื อ ซ อ ม ระบบระบายความ ประจํารถยนต

รอนเกินกวา 1.5 kg/cm2 อาจทําให หมอน้ําหรือทอแตก ได

101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 12. ตรวจสอบการรั่วของหมอน้ํา

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตรวจสอบการรั่ ว ของหม อ น้ํ า จาก หนาปดของเครื่องทดสอบความดัน

13. ติดตั้งฝาหมอน้ําเขากับเครื่องมือทดสอบ

ติ ด ตั้ ง ฝาหม อ น้ํ า เข า กั บ เครื่ อ งมื อ ทดสอบใหถูกตอง

14. สรางความดันใหกับฝาหมอน้ํา

สรางความดันใหกับฝาหมอน้ํา

หามสรางแรงดันใน ระบบระบายความ รอนเกินกวา 1.5 kg/cm2 อาจทําให หมอน้ําหรือทอแตก ได

15. ตรวจสอบการรั่วของหมอน้ํา

ตรวจสอบการรั่ ว ของฝาหม อ น้ํ า จาก หนาปดของเครื่องทดสอบความดัน

102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

16. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ขอควรระวัง

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

หมายเหตุ กรณีระบบระบายความรอนและฝาปดหมอน้ํามีสภาพปกติ (ดูดวยตา) ใหทดลองปดฝาหมอน้ํา ถาปดโดยไมใช แรงกดฝาหมอน้ําเลย ใหเปลี่ยนฝาหมอน้ําใหม

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

วิเคราะหหาสาเหตุไดถูกตอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ตรวจสอบรอยรั่ว

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การติดตั้งอุปกรณและเครื่องมือตามที่กําหนด

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด 103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก........................................................เลขประจําตัวประชาชน........................................

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง แวนตานิรภัย รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยาง ครบทั้ง 4 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 3 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 3 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

ตรวจสอบรอยรัว่ ได

ตรวจสอบหารอยรั่วไดถกู ตองทุกขั้นตอน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบรอยรัว่ ผิดพลาด ขั้นตอนใดขัน้ ตอนหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบรอยรัว่ ไมถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การลดอุณหภูมิของเครื่องยนตและลดแรงดันที่ฝาหมอน้ํา

ลดอุณหภูมิของเครื่องยนตและลดแรงดันที่ฝาหมอน้ําได ถูกตองทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

104 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ลดอุณหภูมิของเครื่องยนตหรือลดแรงดันที่ฝาหมอน้ําผิดพลาด ขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ลดอุณหภูมิของเครื่องยนตและลดแรงดันที่ฝาหมอน้ําผิดพลาด ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การติดตั้งอุปกรณและเครื่องมือตามที่กาํ หนด

ติดตั้งเครื่องทดสอบความดันเขากับหมอน้ํา และติดตั้งฝา หมอน้ําเขากับเครื่องทดสอบ ไดถูกตองตามขั้นตอน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ติดตั้งเครื่องทดสอบความดันเขากับหมอน้ํา หรือ ติดตั้งฝา หมอน้ําเขากับเครื่องทดสอบ ไมถูกตองตามขั้นตอน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ติดตั้งเครื่องทดสอบความดันเขากับหมอน้ํา และติดตั้งฝา หมอน้ําเขากับเครื่องทดสอบ ไมถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง และไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

105 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

33

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

106 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หัวขอวิชาที่ 3 0921030103 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.1 การตรวจสอบสภาพยางและเติมลมยาง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. บํารุงรักษารถยนตประจําวันได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบสภาพยางและเติมลมยางได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติการตรวจสอบสภาพยางและเติมลมยาง

107 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.1 การตรวจสอบสภาพยางและเติมลมยาง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่นๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. ปมลม

จํานวน 1 ชุด

3. หัวเติมลมยาง

จํานวน 1 อัน

4. เกจวัดลมยาง

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

108 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2. ลําดับการทดสอบ การตรวจสอบสภาพยางและเติมลมยาง ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร

ขอควรระวัง

กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ ปองกันรถไหล 3. ตรวจสอบสภาพยางรถยนต

ตรวจสอบสภาพของยางที่ใชงานทั้ง 4 เสน และยางอะไหล วามีรองรอยการชํารุด หรือไม

4. ตรวจสอบความดันลมยาง

เปดฝาปดวาลว ยาง และใชเกจวัดลมยาง ไมควรตรวจสอบคาลม ตรวจสอบแรงดัน (โดยทั่วไปแรงดันลมยาง ยางขณะรถยนตรอน ของรถเก ง ประมาณ 28 -30 ปอนด / เนื่องจากคาความดัน ตารางนิ้ว)

ภายในยางจะสูงขึ้นและ ไมตรงกับคาที่ใชวัดตาม มาตรฐาน

109 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 5. เติมลมยาง

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ถาลมยางต่ํากวามาตรฐาน ใหเติมจนไดตาม หามเติมลมยางเกินกวา คาที่กําหนด และตรวจสอบการรั่วซึม

มาตรฐาน เพราะอาจ ทําใหยางแตก จนเกิด อุบัติเหตุได

6. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

110 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบสภาพยาง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การเติมลมยาง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

หลังปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

111 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก........................................................เลขประจําตัวประชาชน........................................

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบสภาพยาง

ตรวจสอบสภาพยางไดครบถวนและถูกตองตามวิธีการ

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบสภาพยางไมครบถวน หรือ ไมถูกตองตามวิธีการ อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบสภาพยางไมครบถวนและไมถูกตองตามวิธีการ ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การเติมลมยาง

เติมลงยางทั้ง 4 เสน และยางอะไหล ไดครบถวนและถูกตอง ตามคาที่กําหนด ใหคะแนน 5 คะแนน

112 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

เติมลงยางทั้ง 4 เสน และยางอะไหล ไมครบถวน หรือ ไม ถูกตองตามคาที่กําหนด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เติมลงยางทั้ง 4 เสน และยางอะไหล ไมครบถวน และไม ถูกตองตามคาที่กาํ หนด ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง และไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

113 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

114 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หัวขอวิชาที่ 3 0921030103 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.2 การตรวจสอบแบตเตอรี่และเติมน้ํากรดแบตเตอรี่ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. บํารุงรักษารถยนตประจําวันได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบแบตเตอรี่และเติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่ได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติการตรวจสอบแบตเตอรี่และเติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่รถยนต

115 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.2 การตรวจสอบแบตเตอรี่และเติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - แวนตานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. แบตเตอรี่รถยนต

จํานวน 1 ลูก

3. ผาคลุมสําหรับซอมรถ

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกให ทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํากลั่นแบตเตอรี่

จํานวน 1 ขวด

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

3. น้ํารอน

จํานวน 1 ชามใหญ 116 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2. ลําดับการทดสอบ การตรวจสอบแบตเตอรี่และเติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่ ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร

ขอควรระวัง

กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียร ในตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ให เขาเกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ ปองกันรถไหล 3. ปดสวิตชไฟฉุกเฉิน

ปดสวิตชไฟฉุกเฉินตาง ๆ ภายในรถ

4. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม

เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไมค้ํายัน

ล็อกไมค้ํายันฝา

และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวน

กระโปรงหนารถ

หนารถและบังโคลนซาย-ขวา

ทุกครั้ง เพื่อปองกัน ไมใหฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

117 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 5. ตรวจสอบสภาพภายนอกของแบตเตอรี่

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตรวจสอบสภาพภายนอกของแบตเตอรี่ ระวังน้ํากรด วามีรอยแตกราว หรือมีสิ่งสกปรกจับอยู แบตเตอรี่กระเด็น หรือไม

เขาตา หรือโดน รางกาย

6. ตรวจสอบระดับน้ํากรดแบตเตอรี่

ตรวจสอบระดับน้ํากรดแบตเตอรี่ หาก น้ํากรดแบตเตอรี่อยูต่ํากวาระดับ ตอง เติมน้ํากลั่นใหไดระดับดวย

7. เติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่

เติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่ในแตละชอง

หามเติมน้ํากลั่นเกิน ปริมาณที่กําหนด เพราะจะทําให น้ํากรดลนจนสัมผัส กับรางกายได

8. ตรวจสอบสภาพขั้วของแบตเตอรี่ทั้ง 2 ขั้ว

ถาขั้วแบตเตอรี่ ทั้งขั้ว บวกและขั้ ว ลบมี ระวังน้ํารอนลวก คราบเกลือเกาะอยูใหคลายขั้วออก และ ผิวหนัง ใชน้ํารอนลางใหสะอาด จากนั้นใหขัน ขั้วเขาตามเดิม

118 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

10. ทําความสะอาดแบตเตอรี่

ใชผาเช็ดทําความสะอาดแบตเตอรี่

11. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

119 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบระดับน้ํากรดแบตเตอรี่

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การทําความสะอาดขั้วแบตเตอรี่

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

120 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก........................................................เลขประจําตัวประชาชน........................................

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง แวนตานิรภัย รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยาง ครบทั้ง 4 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 3 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 3 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

ตรวจสอบระดับน้ํากรดแบตเตอรี่และเติมน้ํากลั่น

ตรวจสอบระดับน้ํากรด และเติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่ไดถูกตอง

แบตเตอรี่

ตามขั้นตอน และน้ํากรดอยูในระดับที่ถกู ตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ตรวจสอบระดับน้ํากรดไมถูกตอง หรือ เติมน้ํากลั่นในระดับ ไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบระดับน้ํากรดไมถูกตอง และ เติมน้ํากลั่นในระดับ ไมถูกตอง 5

การทําความสะอาดขั้วแบตเตอรี่

ใหคะแนน 0 คะแนน

ทําความสะอาดขั้วแบตเตอรี่ไดถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

121 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ทําความสะอาดขั้วแบตเตอรี่ไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ทํ าความสะอาดขั้ วแบตเตอรี่ ไม ถู กต องตามขั้ นตอนมากกว า 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง และไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

122 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

123 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หัวขอวิชาที่ 3 0921030103 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.3 การตรวจสภาพทั่วไปของรถยนตกอนนําไปใชงาน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. บํารุงรักษารถยนตประจําวันได 2. ปฏิบัติงานตรวจสภาพทั่วไปของรถยนตกอนนําไปใชงานได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสภาพทั่วไปของรถยนตกอนนําไปใชงาน ตารางบันทึกผลการปฏิบัติงาน สภาพการตรวจสอบ

รายการตรวจสอบ

ปกติ

1. ตรวจสอบสภาพภายนอกรถ - สภาพยางและแรงดันลม - รอยขีดขวนรอบตัวถังรถยนต

- สภาพของกระจกมองขาง - การทํางานของไฟหรี่ -

การทํางานของไฟหนา

-

การทํางานของไฟฉุกเฉิน

-

การทํางานของไฟเบรก

-

การทํางานของไฟเลี้ยว

- การทํางานของไฟถอยหลัง

124 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เปลี่ยน

แกไข


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

สภาพการตรวจสอบ

รายการตรวจสอบ

ปกติ

2. ตรวจสอบสภาพภายในหองโดยสารรถยนต -

การทํางานของเบาะนั่ง ฝงคนขับและฝงขางคนขับ

- การทํางานของคันเกียร - การทํางานของระบบปรับอากาศ - การทํางานของวงจรไลฝา - การทํางานของเข็มขัดนิรภัย -

สภาพของกระจกมองหลัง

-

การทํางานของระบบล็อกประตู

-

การทํางานของไฟบนแผงหนาปด และเกจวัด

-

การทํางานของแตร

-

การขึ้นลงของกระจกประตู

-

การทํางานของใบปดน้ําฝน และที่ฉีดน้ําลางกระจก

3. ตรวจสอบสภาพภายในหองเครื่อง -

ระดับน้ํามันเครื่อง

- ระดับน้ํามันเกียร - ระดับน้ํามันเบรก - ระดับน้ํากรดแบตเตอรี่ และสภาพขั้วแบตเตอรี่ - สภาพสายพานและความตึงสายพาน - หมอน้ํา ฝาหมอน้ํา และระดับน้ําหลอเย็น - การทํางานของพัดลมระบายความรอนหมอน้ํา

125 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เปลี่ยน

แกไข


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.3 การตรวจสภาพทั่วไปของรถยนตกอนนําไปใชงาน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - แวนตานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

3. เกจวัดลมยาง

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

หมายเหตุ การตรวจสอบการทํางานของไฟ ไดแก ไฟหรี่ ไฟหนา ไฟเลี้ยว ไฟฉุกเฉิน และไฟถอยหลัง จําเปนตอง ใชผูรับการฝก 2 คน โดยใหคนหนึ่งควบคุมสวิตชไฟที่อยูภายในรถยนต และอีกคนหนึ่งยืนอยูภายนอกรถยนต เพื่อ ตรวจสอบการทํางานของไฟ 126 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2. ลําดับการทดสอบ การตรวจสภาพทั่วไปของรถยนตกอนนําไปใชงาน ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร

ขอควรระวัง

กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ ปองกันรถไหล 3. ตรวจสอบสภาพภายนอกรถยนต 3.1 ตรวจสอบสภาพของยางและแรงดันลม

ตรวจสอบดวยสายตา และใชเกจวัดลมยาง ควรตรวจสอบลมยาง วัดคาแรงกันลมยางใหไดตามที่คูมือซอม บํารุงประจํารถกําหนด

3.2 ตรวจสอบรอยขีดขวนที่สีตัวถังรถยนต

ตรวจสอบดวยสายตาวา สีตัวถังรถยนต มี รอยขีดขวนหรือไม

127 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

อะไหลใหถูกตองทุกเดือน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

3.3 ตรวจสอบสภาพของกระจกมองขาง

กดสวิตชพับกระจกมองขาง ซึ่งอยูที่ประตู ขางคนขับ แลวตรวจสอบวา กระจกพับเก็บ เปนปกติหรือไม

3.4 ตรวจสอบการทํางานของไฟหรี่

บิดสวิตชไฟหรี่ขึ้น จากตําแหนง OFF ไปที่ ตํ า แ ห นง ข อ ง ส ัญ ล ัก ษ ณไ ฟ ห รี ่ แ ล ว ตรวจสอบวาไฟหรี่ทั้งสองขาง ติดเปนปกติ หรือไม

3.5 ตรวจสอบการทํางานของไฟหนา

บิด สวิต ชไ ฟขึ ้น จากตํ า แหนง OFF ไปที่ ตํ า แหนง ของสัญ ลัก ษณไ ฟหนา แลว ตรวจสอบวาไฟหนาทั้งสองขาง ติดเปนปกติ หรือไม

3.6 ตรวจสอบการทํางานของไฟฉุกเฉิน

กดสวิตชไฟฉุกเฉิน แลวตรวจสอบวา ไฟฉุ ก เฉิ น คู ห น า และคู ห ลั ง ติ ด เป น ปกติ หรือไม

3.7 ตรวจสอบการทํางานของไฟเบรก

ใชมือกดที่แปนเหยียบเบรก แลวตรวจสอบ วาไฟเบรก ติดเปนปกติหรือไม

128 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 3.8 ตรวจสอบการทํางานของไฟเลี้ยว

คําอธิบาย บิดสวิตชกุญแจไปที่ตําแหนง ON เปด สัญญาณไฟเลี้ยวทั้งสองขาง แลวตรวจสอบ วาไฟติดเปนปกติหรือไม

3.9 ตรวจสอบการทํางานของไฟถอยหลัง

ติดเครื่องยนต ใชเทาเหยียบที่แปนเหยียบ เบรก เขาเกียรที่ตําแหนง R แลวตรวจสอบ วาไฟถอยหลัง ติดเปนปกติหรือไม

4. ตรวจสภาพภายในหองโดยสาร 4.1 ตรวจสอบเบาะนั่งรถยนต

ทดลองปรับ คัน โยกที ่อ ยู ใ ตฐ านเบาะนั ่ง โดยปรับ พนัก พิง ไปขา งหนา และขางหลัง แลว ตรวจสอบวา พนัก พิง เลื ่อ นเปน ปกติ หรือไม

129 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย ปรับ คัน โยกเพื่อเลื่อนเบาะนั่ง ไปขางหนา และขา งหลัง แลว ตรวจสอบวา เบาะนั ่ง เลื่อนเปนปกติหรือไม

4.2 ตรวจสอบการทํางานของคันเกียร

ใชเ ทาเหยีย บที่แปน เหยีย บเบรก จากนั้น ทดลองเขาเกียรในตําแหนงตาง ๆ ไดแก P, R, N ,D, S และ L

4.3 ตรวจสอบการทํางานของระบบปรับอากาศ เปดแอรที่สวิตช A/C แลวตรวจสอบวาแอร เย็ น หรื อ ไม จากนั้ น ป ด แอร ที่ ส วิ ต ช A/C แลวตรวจสอบวามีลมออกจากแอรหรือไม

4.4 ตรวจสอบการทํางานของวงจรไลฝา

กดสวิตชไลฝา แลวตรวจสอบวาวงจรไฟไล ฝาทํางานหรือไม โดยออกไปนอกรถ แลวใช มือสัมผัสที่กระจกหลัง ดับเครื่องยนต

130 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

4.5 ตรวจสอบการทํางานของเข็มขัดนิรภัย

กระตุกสายเข็ ม ขัด นิร ภัย ดานคนขับ แลว สังเกตวาสายเข็มขัดนิรภัยดึงตัวกลับทันที หรือไม

4.6 ตรวจสอบสภาพของกระจกมองหลัง

ทดลองบิดโยกกระจก วาติดอยูอยางมั่นคง แข็งแรงหรือไม

4.7 ตรวจสอบการทํางานของระบบล็อกประตู ทดลองกดล็อกและปลดล็อกประตูที่ฝง คนขับ เพื่อตรวจสอบวาสามารถเปด ปด ไดตามปกติหรือไม ทดลองกดล็อกและปลดล็อกประตูที่ ประตูบานอื่น ๆ เพื่อตรวจสอบวา สามารถเปด ปดไดตามปกติหรือไม 4.8 ตรวจสอบการทํางานของแผงหนาปด

บิดสวิตชกุญแจไปที่ตําแหนง ON แลว ตรวจสอบวาไฟเตือนตาง ๆ บนแผงหนาปด สามารถทํางานไดเปนปกติหรือไม

131 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

4.9 ตรวจสอบการทํางานของแตร

ทดลองกดแตรและฟงเสียงของแตร

4.10 ตรวจสอบการขึ้นลงของกระจกประตู

กดสวิตชปรับเลื่อนกระจกที่ประตูฝงคนขับ

ขอควรระวัง

แลวตรวจสอบวากระจกแตละบานเลื่อนลง หรือไม

4.11 ตรวจสอบการทํางานของใบป ดน้ํ าฝน โยกคันสวิตชฉีดน้ําเขาหาตัว แลวตรวจสอบ และที่ฉีดน้ําลางกระจก

วาใบปดน้ําฝนและที่ฉีดน้ําทํางานหรือไม ปรับ คัน สวิตชที่ควบคุมการทํางานของใบ ป ด น้ํ า ฝน แล ว ตรวจสอบว า ใบป ด น้ํ า ฝน ทํางานเปนปกติหรือไม

5. ตรวจสภาพภายในหองเครื่องยนต 5.1 เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผา สําหรับซอม

เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไมค้ํายัน และ ล็อกไมค้ํายันฝา ใช ผ า คลุ ม สํ า หรั บ ซ อ มคลุ ม ที่ ส ว นหน า รถ กระโปรงหนารถทุกครั้ง และบังโคลนซาย-ขวา

เพื่อปองกันไมใหฝา กระโปรงปด ระหวาง ปฏิบัติงาน

132 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

5.2 ตรวจสอบรอยรั่วของอุปกรณตาง ๆ

สังเกตคราบกับรอยหยดของน้ํามันหลอลื่น เครื่องยนต และน้ําหลอเย็น วามีรอยคราบ ไหลหรือหยดหรือไม

5.3 ตรวจสอบระดับน้ํามันเครื่อง

ตรวจสอบโดยใชกานวัดระดับน้ํามันเครื่อง

5.4 ตรวจสอบระดับน้ํามันเกียรอัตโนมัติ

ตรวจสอบโดยใชกานวั ดระดับ น้ํามัน เกี ย ร อัตโนมัติ

133 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 5.5 ตรวจสอบระดับของน้ํามันเบรก

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตรวจสอบระดั บ น้ํ า มั น เบรกจากกระปุ ก หากมีน้ําหรือความชื้น น้ํามันเบรก

ปนลงไป อาจทําให น้ํามันเบรกเสื่อมคุณภาพ ลงได

5.6 ตรวจสอบระดับน้ํากรดและสภาพขั้ว แบตเตอรี่

ตรวจสอบระดับน้ํากรดแบตเตอรี่

ควรรักษาความสะอาด

ตรวจสอบความพรอมใชงาน โดยสองดูจาก ขั้ว บนฝา และรอบ ๆ ของแบตเตอรี่ใหสะอาด Indicator Sign ตรวจสภาพขั้ ว บวกและขั้ ว ลบ ว า มี ค ราบ และแหงอยูตลอดเวลา เพื่อยืดอายุการใชงาน สนิมตะกั่วจับอยูหรือไม ของแบตเตอรี่

5.7 ตรวจสอบสภาพสายพานและความตึ ง ตรวจสอบรอยแตกหรื อ ฉี ก ขาด จากนั้ น สายพาน

ทดลองใช นิ้ ว กดสายพาน เพื่ อ ตรวจสอบ ความตึงของสายพาน

134 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

5.8 ตรวจสอบหมอน้ํา ฝาหมอน้ํา และระดับ ตรวจสอบหมอน้ํา วาอยูในสภาพสมบู ร ณ น้ําหลอเย็น

หรือไม เปดฝาหมอน้ํา แลวตรวจสอบสภาพฝาหมอ น้ําวาชํารุดหรือไม ต ร ว จ ส อ บ ร ะ ดั บ น้ํ า ใ น หม อ น้ํ า แ ล ะ ตรวจสอบวามีคราบสนิมในหมอน้ําหรือไม ตรวจสอบระดั บ น้ํ า ให ถั ง พั ก น้ํ า ให อ ยู ใ น ระดับที่เหมาะสม

5.9 ตรวจสอบการทํางานของพั ดลมระบาย ทดลองหมุนใบพัดดวยมือ ขณะดับเครื่องยนต ความรอนหมอน้ํา

ติดเครื่องยนต และสังเกตการหมุนของพัดลม ระบายความร อนหม อ น้ํ า ว า ทํ า งานปกติ หรือไม ดับเครื่องยนต

6. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

135 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบสภาพภายนอกรถยนต

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การตรวจสอบสภาพภายในหองโดยสาร

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

136 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก........................................................เลขประจําตัวประชาชน........................................

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง แวนตานิรภัย รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยาง ครบทั้ง 4 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 3 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 3 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบสภาพภายนอกรถยนต

ตรวจสอบสภาพภายนอกรถยนตตามที่กําหนดไดครบถวน และถูกตองตามวิธีการ ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบสภาพภายนอกรถยนตตามที่กําหนดไมครบถวน หรือ ไมถูกตองตามวิธีการ อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบสภาพภายนอกรถยนตตามที่กําหนดไมครบถวน และไมถูกตองตามวิธีการ ใหคะแนน 0 คะแนน

137 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

การตรวจสอบสภาพภายในหองโดยสาร

ตรวจสอบสภาพภายในห อ งโดยสารตามที่ กํ า หนดได ครบถวนและถูกตองตามวิธีการ ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนน เต็ม 5

ตรวจสอบสภาพภายในหองโดยสารตามที่กําหนดไมครบถวน หรือ ไมถูกตองตามวิธีการ อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบสภาพภายในหองโดยสารตามที่กาํ หนดไมครบถวน และไมถูกตองตามวิธีการ ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง และไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

138 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

139 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี แบบทดสอบ กอนฝก

1. 2.

3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟ 10 7 งายและสารอันตรายได บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได อธิบายกฎของโรงงานและปาย เตือนตาง ๆ ได อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ ได ใชอุปกรณปองกันอันตราย ประเภทตาง ๆ ได อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัย และหลักการดับเพลิงได ปฏิบัติตามวิธีการปองกัน อัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได อธิบายวิธีการปฐมพยาบาล เบื้องตนได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได ประเมินผลภาคทฤษฎี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

140 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 6

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี แบบทดสอบ หลังฝก

1. 2.

3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟ 10 7 งายและสารอันตรายได บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได อธิบายกฎของโรงงานและปาย เตือนตาง ๆ ได อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ ได ใชอุปกรณปองกันอันตราย ประเภทตาง ๆ ได อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัย และหลักการดับเพลิงได ปฏิบัติตามวิธีการปองกัน อัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได อธิบายวิธีการปฐมพยาบาล เบื้องตนได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได ประเมินผลภาคทฤษฎี

141 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 8

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

142 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 4.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 5.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 6.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 6.2

ใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได ปฏิบัติตามวิธีการปองกันอัคคีภัยและ หลักการดับเพลิงได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได

58

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 41

36

25

31

28

20

22

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

33

23

30

คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

155

109

113

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 30

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลว เปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

143 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (รอยละ 20) ภาคปฏิบัติ (รอยละ 80)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

8

2

16

113

0.516

58.308

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 74.308

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

10

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 10

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

8 × 2 = 16

คือ

144 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

=2


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

155 80 = 0.516 155

ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

คือ

113 × 0.516 = 58.308

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 16 + 58.308 = 74.308 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผา น (NYC)

145 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี แบบทดสอบ กอนฝก

ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายวิธีการบํารุงรักษา รถยนตตามที่ผูผลิตกําหนดได 2. อธิบายวิธีการบํารุงรักษา รถยนต เมื่อเกิดความเสียหาย เบื้องตนได 3. อธิบายวิธีการบํารุงรักษา รถยนตประจําวันได

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 10 7

ประเมินผลภาคทฤษฎี

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี แบบทดสอบ หลังฝก

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 1. อธิบายวิธีการบํารุงรักษารถยนต 10 7 ตามที่ผูผลิตกําหนดได 2. อธิบายวิธีการบํารุงรักษารถยนต เมื่อเกิดความเสียหายเบื้องตนได 3. อธิบายวิธีการบํารุงรักษารถยนต ประจําวันได ประเมินผลภาคทฤษฎี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

146 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.4 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.5 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.6 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.7 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.3

บํารุงรักษารถยนตตามที่ผูผลิตกําหนดได

33

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 23

บํารุงรักษารถยนตตามที่ผูผลิตกําหนดได

28

20

บํารุงรักษารถยนตตามที่ผูผลิตกําหนดได

23

16

บํารุงรักษารถยนตตามที่ผูผลิตกําหนดได

28

20

บํารุงรักษารถยนตตามที่ผูผลิตกําหนดได

28

20

บํารุงรักษารถยนตตามที่ผูผลิตกําหนดได

28

20

บํารุงรักษารถยนตตามที่ผูผลิตกําหนดได

28

20

บํารุงรักษารถยนต เมื่อเกิดความเสียหาย เบื้องตนได บํารุงรักษารถยนต เมื่อเกิดความเสียหาย เบื้องตนได บํารุงรักษารถยนตประจําวันได

38

27

33

23

28

20

บํารุงรักษารถยนตประจําวันได

28

20

บํารุงรักษารถยนตประจําวันได

28

20

คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

351

249

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

147 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70

คะแนนที่ได ผาน (C)

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

ไมผาน (NYC)

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (รอยละ 20) ภาคปฏิบัติ (รอยละ 80)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC)

2 0.227

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบนั ทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

148 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

149 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.