หน้าปก
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
คู่มือการประเมิน 0920164170201 สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้าน และการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 1
ชุดการฝึกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝึกที่ 10 09217305 การติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ
กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
คานา คู่มือการประเมิน สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล 10 การ ติ ด ตั้ ง และทดสอบเครื่ อ งปรั บ อากาศ ฉบั บ นี้ ได้พัฒนาขึ้นภายใต้โครงการพัฒนาระบบฝึกและชุดการฝึกตามความสามารถ เพื่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อนาไปใช้เป็นระบบการฝึกอบรมตามความสามารถ สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ก ระดั บ 1 เพื่อให้ตอบสนองความต้องการของกาลังแรงงานและตลาดแรงงานได้อย่างเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และเพื่อรองรับ ระบบการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติและระบบการรับรองความรู้ความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อส่งมอบระบบ การฝึกอบรมนี้ให้แก่กาลังแรงงานกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ให้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแง่ของขอบเขตของการให้บริการและ จานวนผู้รับบริการ ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่งเสริมให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถฝึกฝนเรียนรู้ไ ด้ ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลายไปให้แก่ ผู้ รับการฝึ กอบรม และต้องการให้ ผู้ รั บ การฝึ ก อบรมเกิด การเรี ยนรู้ ด้ว ยตนเอง การฝึ กปฏิบัติจะด าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเน้นผลลัพธ์การฝึกอบรมในการที่ทาให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต้องการ โดยยึดความสามารถของผู้รับการฝึกเป็นหลัก การฝึกอบรมในระบบดังกล่าว จึงเป็นรูปแบบการ ฝึกอบรมที่สามารถรองรับ การพัฒนารายบุคคลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ละสาขาอาชีพ จะถูก กาหนดเป็นรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับการฝึกอบรมจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึกจะต้องเรียนรู้และฝึกฝนจนกว่าจะ สามารถปฏิบัติเองได้ ตามมาตรฐานที่กาหนดในแต่ละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การส่งมอบการฝึก สามารถดาเนินการได้ ทั้งรูปแบบการเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Paper Based) และผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ (Computer Based) โดยผู้รับการฝึกสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Learning) ที่บ้านหรือที่ทางาน และเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติตามความพร้อม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถกับหน่วยฝึก โดยมีครูฝึกหรือผู้สอนคอยให้คาปรึกษา แนะนาและจัดเตรียมการฝึกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดาเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่าง ๆ อันจะทาให้สามารถเพิ่มจานวนผู้รับการฝึกได้มากยิ่งขึ้น ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ดงบประมาณค่าใช้จ่ ายในการพัฒ นาฝี มือแรงงานให้ แก่กาลั งแรงงานในระยะยาว จึ งถือเป็นรูปแบบการฝึ กที่มี ความสาคัญต่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนาระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยทาให้ประชาชน ผู้ใช้แรงงาน ผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และ ผู้ประกอบอาชีพอิสระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
สารบัญ เรื่อง
หน้า
คานา
ก
สารบัญ
ข
ข้อแนะนา
1
ผลลัพธ์การเรียนรู้
4
แบบทดสอบก่อนฝึก
5
แบบทดสอบหลังฝึก
8
กระดาษคาตอบ
11
เฉลยคาตอบแบบทดสอบก่อนฝึก-หลังฝึก แบบทดสอบภาคปฏิบัติ
12
หัวข้อวิชาที่ 7 0921730507 การทดสอบเครื่อง
13
หัวข้อวิชาที่ 8 0921730508 การแก้ไขอาการขัดข้อง
21
หัวข้อวิชาที่ 9 0921730509 การป้องกันความชื่น
28
หัวข้อวิชาที่ 10 0921730510 การบารุงรักษาเครื่อง
34
ตัวอย่างบันทึกผลการประเมินความสามารถ บันทึกผลการประเมินความสามารถ
43 48
ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ข้อแนะนา ข้อแนะนา คือ คาอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใช้คู่มือการประเมิน เพื่อนาไปใช้ในการประเมินผลผ่านการฝึกโมดูลของผู้รับ การฝึก โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. ผังการฝึกอบรม
1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบของคู่มือ การประเมินที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบให้ครู ฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทาบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 4) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันสอบและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องสอบ - ครูฝึกกาหนดวันสอบให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ก่อนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝึกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 3) ครูฝึกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบให้คะแนนการตรวจสอบของคู่มือการประเมินที่พิมพ์ จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 5) ครูฝึกประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครง ร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 6) ครูฝึกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก
3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมิน ผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกาหนดเกณฑ์ การให้คะแนนและการระบุความสามารถด้าน ความรู้ ดังนี้
2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
เกณฑ์การให้คะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ต่ากว่าร้อยละ 70
เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)
3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกาหนดเกณฑ์ การให้คะแนนและการระบุความสามารถด้านทักษะ ดังนี้ เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมิน ภาคปฏิบัติ ความสามารถ ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป หรือทา ผ่าน (C) ได้ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน ต่ากว่าร้อยละ 70 หรือ ไม่ ไม่ผ่าน (NYC) สามารถทาได้ ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูล นั้น ๆ ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนั้น และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการ ฝึกนั้น ๆ แล้ว
4. เงื่อนไขการผ่านการฝึก ผู้รับการฝึกทีจ่ ะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบหลังฝึก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนามาคิดแบ่งเป็นสัดส่วน ภาคทฤษฏี คิดเป็นร้อยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเป็นร้อยละ 80 เมื่อนาคะแนนมารวมกัน ผู้รับการฝึกจะต้องได้ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านเกณฑ์ ทั้งนี้ ผู้รับการฝึกจะต้องทาคะแนนผ่านเกณฑ์ทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผ่านโมดูลการฝึก
3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ผลลัพธ์การเรียนรู้ โมดูลการฝึกที่ 10 09217305 การติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ 1. อธิบายขั้นตอนการเลือกสถานที่ติดตั้ง และข้อควรระวังในการติดตั้งได้ 2. อธิบายขั้นตอนการเดินท่อสารทาความเย็นและท่อน้าทิ้งได้ 3. อธิบายวิธีการเลือกใช้ขนาดของสายไฟฟ้า การปฏิบัติตามกฎข้อบังคับในการเดินสายไฟฟ้าของการไฟฟ้า นครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินและสวิตซ์ตัดตอนอัตโนมัติได้อย่างเหมาะสม 4. อธิบายวิธีการเลือกขนาดสายไฟฟ้าที่เหมาะสม สายดิน และการต่อวงจรไฟฟ้าได้ 5. อธิบายวิธีการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินและสวิตซ์ตัดตอนอัตโนมัติที่เหมาะสม 6. ติดตั้งและเดินสายไฟแบบเดินลอยหรือร้อยท่อได้ 7. อธิบายขั้นตอนการทดสอบการทางานของเครื่องปรับอากาศได้ 8. ทดสอบการทางานของเครื่องปรับอากาศได้ 9. อธิบายขั้นตอนการแก้ไขอาการขัดข้องของเครื่องปรับอากาศเบื้องต้นได้ 10. แก้ไขอาการขัดข้องของเครื่องปรับอากาศเบื้องต้นได้ 11. อธิบ ายขั้นตอนการหุ้มฉนวนท่อเย็น บุฉนวนของท่อส่งลมเย็น ตลอดจนการป้องกันไม่ให้ความชื้นกลั่นตัว เป็น หยด การอุดรอยต่อตามผนังและตามที่แขวนหรือยึดท่อได้ 12. หุ้มฉนวนท่อเย็น บุฉนวนของท่อส่งลมเย็น ตลอดจนการป้องกันไม่ให้ความชื้นกลั่นตัวเป็นหยด การอุดรอยต่อ ตาม ผนังและตามที่แขวนหรือยึดท่อได้ 13. อธิบายขั้นตอนการบารุงรักษาเครื่องปรับอากาศได้ 14. บารุงรักษาเครื่องปรับอากาศได้
4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
แบบทดสอบก่อนฝึก คาชี้แจง: 1. 2. 3. 4. 5.
ผู้รับการฝึกสามารถรับแบบทดสอบก่อนฝึกได้จากครูฝึก อ่านคาชี้แจงหรือคาสั่งให้เข้าใจก่อนทาแบบทดสอบทุกครั้ง ห้ามนาแบบทดสอบออกนอกบริเวณห้องสอบ ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว เมื่อทาแบบทดสอบเสร็จแล้ว ให้ส่งครูฝึกเพื่อตรวจประเมินผล
5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
แบบทดสอบก่อนฝึก โมดูลการฝึกที่ 10 09217305 การติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ 1. ข้อใดเป็นการเลือกตาแหน่งในการติดตั้งชุดคอยล์เย็นได้ถูกต้อง ก. เมื่อติดตั้งตัวเครื่องควรทาลูกกรงล้อมรอบ ข. ติดตั้งให้ห่างจากโทรทัศน์หรือวิทยุอย่างน้อย 1 เมตร ค. ติดตั้งชุดคอยล์เย็นใกล้กับกรงสัตว์ หรือบริเวณที่ปลูกต้นไม้ ง. ติดตัง้ เครื่องในพื้นที่ที่มีคราบน้ามันเครื่อง หรือกระทบกับไอน้าทะเล 2. ข้อใดคือข้อควรระวังในการติดตั้ง ก. ใช้สารทาความเย็นหลายชนิดปนกัน ข. ควรติดตั้งให้ห่างจากตาแหน่งที่มือเด็กเอื้อมถึง ค. ห้ามอัดอากาศหรือออกซิเจนเข้าไปในระบบน้ายา ง. ควรติดตั้งเครื่องปรับอากาศในห้องที่ไม่มีช่องระบายอากาศ 3. ห้ามติดตั้งชุดคอยล์เย็นสูงกว่าคอยล์ร้อนเกินกี่ฟุต ก. 25 ฟุต ข. 30 ฟุต
ค. 35 ฟุต ง. 40 ฟุต
4. ท่อน้าทิ้ง ควรลาดเอียงในอัตราส่วนเท่าไหร่ ก. 1 ต่อ 25 ข. 1 ต่อ 50
ค. 1 ต่อ 75 ง. 1 ต่อ 100
5. สายไฟฟ้าต้องเป็นสายไฟฟ้าตัวนาทองแดงหุ้มฉนวนพีวีซี สามารถทนต่อแรงดันไฟฟ้าได้ไม่ต่ากว่าไหร่ ก. 600 V ค. 700 V ข. 650 V ง. 750 V 6. เครื่องตัดไฟรั่วสามารถป้องกันกระแสไฟรั่วได้ไม่เกินกี่แอมป์ ก. 30 แอมป์ ค. 30 มิลลิแอมป์ ข. 60 แอมป์ ง. 60 มิลลิแอมป์
6 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
7. TIS 11 – 2531 คือสายไฟฟ้าชนิดใด ก. สายไฟฟ้าอะลูมิเนียม ข. สายไฟฟ้าตามมาตรฐาน ค. สายไฟฟ้าอะลูมิเนียมหุ้มฉนวน ง. สายไฟฟ้าทองแดงหุ้มฉนวน พีวีซี 8. ข้อใดกล่าวถึง ขั้นตอนการรัดสายเมื่อเดินสายไฟฟ้าในแนวตั้งได้ถูกต้อง ก. เมื่อยึดสายไฟฟ้าได้ 1-2 ตัว ให้ดึงสายไฟลงพร้อมกันทุกเส้นให้หย่อนเล็กน้อย ข. ใช้เศษผ้ารีดสายให้โค้งเล็กน้อย จากนั้นจัดสายให้เรียงสลับกันไปมา ค. ตอกตะปูเพื่อรับน้าหนักของสายไฟฟ้าให้ห่างจากจุดที่กาลังดาเนินการรัดสายในระยะประมาณ 50-100 เซนติเมตร ง. ใช้มือข้างที่ไม่ถนัดจับสายด้านบนไว้ ให้แนบชิดกับผนัง และใช้มือข้างที่ถนัดจับปลายเข็มขัด สอดเข้ากับรู ที่อยู่บนหัวของเข็มขัดรัดสาย 9. ในการเดินเครื่องเพื่อทดสอบสามารถเริ่มได้ด้วยการปุ่มสวิตช์ใด ก. Emergency Operation ค. Emergency Odain ข. Emergency Optical ง. Emergency Option 10. ถ้าเครื่องปรับอากาศมีน้าหยดลงมาจากเครื่อง ควรแก้ไขอย่างไร ก. ขันสกรูให้แน่นขึ้น ข. เปลี่ยนชุดคอยล์ร้อน ค. เปลี่ยนฟิวส์หรือรีเซ็ตชุดป้องกัน ง. ทาความสะอาดหรือเปลี่ยนท่อน้าใหม่
7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
แบบทดสอบหลังฝึก คาชี้แจง: 1. 2. 3. 4. 5.
ผู้รับการฝึกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝึกได้จากครูฝึก อ่านคาชี้แจงหรือคาสั่งให้เข้าใจก่อนทาแบบทดสอบทุกครั้ง ห้ามนาแบบทดสอบออกนอกบริเวณห้องสอบ ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว เมื่อทาแบบทดสอบเสร็จแล้ว ให้ส่งครูฝึกเพื่อตรวจประเมินผล
8 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
แบบทดสอบหลังฝึก โมดูลการฝึกที่ 10 09217305 การติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ 1. เครื่องตัดไฟรั่วสามารถป้องกันกระแสไฟรั่วได้ไม่เกินกี่แอมป์ ก. 30 มิลลิแอมป์ ค. 30 แอมป์ ข. 60 มิลลิแอมป์ ง. 60 แอมป์ 2. ถ้าเครื่องปรับอากาศมีน้าหยดลงมาจากเครื่อง ควรแก้ไขอย่างไร ก. เปลี่ยนชุดคอยล์ร้อน ข. ทาความสะอาดหรือเปลี่ยนท่อน้าใหม่ ค. ขันสกรูให้แน่นขึ้น ง. เปลี่ยนฟิวส์หรือรีเซ็ตชุดป้องกัน 3. ข้อใดเป็นการเลือกตาแหน่งในการติดตั้งชุดคอยล์เย็นได้ถูกต้อง ก. ติดตั้งชุดคอยล์เย็นใกล้กับกรงสัตว์ หรือบริเวณที่ปลูกต้นไม้ ข. เมื่อติดตั้งตัวเครื่องควรทาลูกกรงล้อมรอบ ค. ติดตัง้ เครื่องในพื้นที่ที่มีคราบน้ามันเครื่อง หรือกระทบกับไอน้าทะเล ง. ติดตั้งให้ห่างจากโทรทัศน์หรือวิทยุอย่างน้อย 1 เมตร 4. ท่อน้าทิ้ง ควรลาดเอียงในอัตราส่วนเท่าไหร่ ก. 1 ต่อ 100 ข. 1 ต่อ 75
ค. 1 ต่อ 50 ง. 1 ต่อ 25
5. ข้อใดกล่าวถึง ขั้นตอนการรัดสายเมื่อเดินสายไฟฟ้าในแนวตั้งได้ถูกต้อง ก. ใช้มือข้างที่ไม่ถนัดจับสายด้านบนไว้ ให้แนบชิดกับผนัง และใช้มือข้างที่ถนัดจับปลายเข็มขัด สอดเข้ากับรู ที่อยู่บนหัวของเข็มขัดรัดสาย ข. เมื่อยึดสายไฟฟ้าได้ 1-2 ตัว ให้ดึงสายไฟลงพร้อมกันทุกเส้นให้หย่อนเล็กน้อย ค. ตอกตะปูเพื่อรับน้าหนักของสายไฟฟ้าให้ห่างจากจุดที่กาลังดาเนินการรัดสายในระยะประมาณ 50-100 เซนติเมตร ง. ใช้เศษผ้ารีดสายให้โค้งเล็กน้อย จากนั้นจัดสายให้เรียงสลับกันไปมา
9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
6. ข้อใดคือข้อควรระวังในการติดตั้ง ก. ใช้สารทาความเย็นหลายชนิดปนกัน ข. ควรติดตั้งให้ห่างจากตาแหน่งที่มือเด็กเอื้อมถึง ค. ควรติดตั้งเครื่องปรับอากาศในห้องที่ไม่มีช่องระบายอากาศ ง. ห้ามอัดอากาศหรือออกซิเจนเข้าไปในระบบน้ายา 7. สายไฟฟ้าต้องเป็นสายไฟฟ้าตัวนาทองแดงหุ้มฉนวนพีวีซี สามารถทนต่อแรงดันไฟฟ้าได้ไม่ต่ากว่าไหร่ ก. 700 V ค. 600 V ข. 750 V ง. 650 V 8. ในการเดินเครื่องเพื่อทดสอบสามารถเริ่มได้ด้วยการปุ่มสวิตช์ใด ก. Emergency Option ค. Emergency Operation ข. Emergency Optical ง. Emergency Odain 9. ห้ามติดตั้งชุดคอยล์เย็นสูงกว่าคอยล์ร้อนเกินกี่ฟุต ก. 35 ฟุต ข. 40 ฟุต
ค. 25 ฟุต ง. 30 ฟุต
10. TIS 11 – 2531 คือสายไฟฟ้าชนิดใด ก. สายไฟฟ้าอะลูมิเนียม ข. สายไฟฟ้าตามมาตรฐาน ค. สายไฟฟ้าอะลูมิเนียมหุ้มฉนวน ง. สายไฟฟ้าทองแดงหุ้มฉนวน พีวีซี
10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
กระดาษคาตอบ
คะแนนที่ได้ คะแนนเต็ม
ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………… เลขประจาตัวประชาชน ………………………………....... คาสั่ง จงทาเครื่องหมายกากบาท
ทับข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
แบบทดสอบก่อนฝึก ก
ข
ค
แบบทดสอบหลังฝึก ก
ง
1.
1.
2.
2.
3.
3.
4.
4.
5.
5.
6.
6.
7.
7.
8.
8.
9.
9.
10.
10.
11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข
ค
ง
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
เฉลยคาตอบ แบบทดสอบก่อนฝึก ก
หมายเหตุ
ข
ค
แบบทดสอบหลังฝึก ก
ง
1.
1.
2.
2.
3.
3.
4.
4.
5.
5.
6.
6.
7.
7.
8.
8.
9.
9.
10.
10.
ข
ค
ง
ให้ครูฝึกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่าน (C) จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC) ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ แล้วจึงทาแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก
12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
หัวข้อวิชาที่ 7 0921730507 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 7.1 การติดตัง้ และทดสอบเครื่องปรับอากาศ 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - ทดสอบการทางานของเครื่องปรับอากาศได้
2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 4 ชั่วโมง 3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกปฏิบัติงานดังนี้ 1. จงติดตั้งเครื่องปรับอากาศตามแบบที่กาหนด 2. ทดสอบการเดินเครื่องปรับอากาศแล้วบันทึกผล
แบบติดตั้ง
13 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
บันทึกผลการปฏิบตั ิงาน ขนาดเครื่องทาความเย็น………………….. บีทียูต่อชั่วโมง (……………..วัตต์) แรงเคลื่อนไฟฟ้า ...................โวลต์ ระบบไฟฟ้า ............................ เฟส ค่า LRA …………….Amps. ค่า FLA …………………….. Amps กาลังไฟฟ้า ......................... วัตต์ เบอร์สารทาความเย็น .................................. น้าหนักสารทาความเย็น ........................................... ก.ก. ความดันด้านต่า ................................... psig ความดันด้านสูง ................................... psig อุณหภูมิอากาศเข้าคอนเดนเซอร์ (ชุดระบายความร้อน) ………………°c/…………….°f อุณหภูมิอากาศออกคอนเดนเซอร์ (ชุดระบายความร้อน) ………………°c/…………….°f อุณหภูมิลมส่งชุดทาความเย็น ………………°c/…………….°f อุณหภูมิลมกลับชุดทาความเย็น ………………°c/…………….°f อุณหภูมิท่อซัคชั่น ………………°c/…………….°f อุณหภูมิท่อลิควิด ………………°c/…………….°f สรุปผลการทดสอบเครื่อง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 7.1 การติดตัง้ และทดสอบเครื่องปรับอากาศ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้าวาง กีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. เครื่องปรับอากาศ
จานวน 1 เครื่อง
2. ชุดเครื่องมืองานท่อ (ตัด ดัด บาน ขยาย ลบคม ชุดเชื่อม)
จานวน 1ชุด
3. ชุดเครื่องมือช่างเครื่องปรับอากาศ (แมนิโฟลด์เกจ ถังน้ายาสารทาความเย็น
จานวน 1ชุด
4. ชุดเครื่องมือช่างไฟฟ้า (มัลติมิเตอร์ คลิปแอมป์ ไขควง คีมช่างไฟฟ้า ฯลฯ) ปั๊มสุญญากาศ ฯลฯ)
จานวน 1ชุด
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. ดินสอ/ปากกา
จานวน 1 แท่ง
2. แบบบันทึกผล
จานวน 1 แผ่น
15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
2. ลาดับการปฏิบัติงาน การติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ติดตั้งเครื่องปรับอากาศตามแบบ
คาอธิบาย ทาการติดตั้งชุดแฟนคอยล์ยูนิต และชุดคอนเดนซิ่งยูนิตตามแบบใน ใบงาน
2. ติดตั้งงานท่อเพื่อต่อท่อระหว่างแฟน คอยล์ยูนิต และคอนเดนซิ่งยูนอต
ทาการดัดท่อ บานแฟลร์ท่อสาหรับ ต่อท่อระหว่างแฟนคอยล์ยูนิต และ ชุดคอนเดนซิ่งยูนิต
3. ติดตั้งระบบไฟฟ้า
ติดตั้งระบบไฟฟ้าภายในระบบ ก่อนจ่ายไฟจากแหล่งจ่ายไฟควรให้ เครื่องปรับอากาศ จากนั้นติดตั้งเข้า ครูฝึกตรวจชิ้นงานก่อนเพื่อความ กับแหล่งจ่ายไฟ ปลอดภัยในชีวิต
4. ปิดรูผนังและยึดท่อกับผนัง
ปิดรูผนังและยึดท่อเข้ากับผนัง
5. ทาสุญญากาศระบบ
ท าสุ ญ ญากาศระบบประมาณ 45 นาที
16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. เติมสารทาความเย็นข ้าสู่ระบบ จากนั้น ทดสอบเครื่อง
คาอธิบาย เติ ม น้ ายาและเปิ ด เครื่ อ งทดสอบ ระบบการทางาน โดยปรับความเย็น ไปที่ Cool จากนั้ น บั น ทึ ก ผล และ ปิดการทางาน
17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ รายการตรวจสอบ 1 การติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ
2
เกณฑ์การพิจารณา
1.1 การติดตั้งเครื่องปรับอากาศ
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.2 การตัด ดัด บานแฟลร์ เชื่อมท่อ
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.3 การติดตั้งระบบไฟฟ้า
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.4 การทาสุญญากาศและเติมน้ายา
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
ปฏิบัติงาน
18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………… เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. ลาดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 การติดตั้งเครื่องปรับอากาศ
เกณฑ์การให้คะแนน
คะแนนเต็ม 40
- ติดตั้งเครื่อ งปรับ อากาศ ทั้งส่ว นของคอยล์ร้อ นและคอยล์ เ ย็ น ได้ ถูกต้องตามระยะที่กาหนดไว้ในแบบติดตั้ง ให้คะแนน 10 คะแนน
10
- ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ทั้งส่วนของคอยล์ร้อนและคอยล์เย็นผิดไป จากระยะที่กาหนดไว้ในแบบ หักคะแนนจุดละ 2 คะแนน 1.2 การตัด ดัด บานแฟลร์ เชื่อม ท่อ
- ตัด ดัด บานแฟลร์ และเชื่อมท่อ ได้ถูกต้อง เมื่อทาเสร็จแล้วตรวจไม่
10
พบรอยรั่ว ร้าว แตก ให้คะแนน 10 คะแนน - ตัด ดัด บานแฟลร์ และเชื่อมท่อ ได้ โดยเมื่อทาเสร็จแล้วตรวจพบ รอยรั่ว ร้าว แตก ให้หักคะแนนจุดละ 2 คะแนน 1.3 การติดตั้งระบบไฟฟ้า
- ติดตั้งระบบไฟฟ้าได้ถูกต้อง ปลอดภัยในทุกจุด เมื่อเปิดเครื่องแล้ว
10
เครื่องปรับอากาศทางานได้ตามปกติ ให้คะแนน 10 คะแนน - ติดตั้งระบบไฟฟ้าได้ แต่พบจุดที่มีตัวนาไฟฟ้าโผล่มาจากการต่อสาย - ตรวจพบการรั่ว การลงกราวด์ หรือ เมื่อเปิดเครื่องแล้ว เครื่องปรับอากาศไม่ทางาน ให้หกั คะแนนจุดละ 2 คะแนน 1.4 การทาสุญญากาศและเติมน้ายา
- ติดตั้งระบบไฟฟ้าได้ถูกต้อง ปลอดภัยในทุกจุด เมื่อเปิดเครื่องแล้ว เครื่องปรับอากาศทางานได้ตามปกติ ให้คะแนน 10 คะแนน
10
- ติดตั้งระบบไฟฟ้าได้ แต่พบจุดที่มีตัวนาไฟฟ้าโผล่มาจากการต่อสาย ตรวจพบการรั่ว การลงกราวด์ หรือ เมื่อเปิดเครื่องแล้ว เครื่องปรับอากาศไม่ทางาน ให้หกั คะแนนจุดละ 2 คะแนน 2
กิจนิสัย
5
2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
1
ครบถ้วน
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
1
2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
1
1
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม
1 45
19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คะแนนที่ได้
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70
ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์
หากไม่ผ่านเกณฑ์ ผู้รับการฝึกต้องขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม่ จนกระทั่งผ่านเกณฑ์
20 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
หัวข้อวิชาที่ 8 0921730508 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 8.1 การแก้ไขอาการขัดข้อง 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - แก้ไขอาการขัดข้องของเครื่องปรับอากาศเบื้องต้นได้
2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง
3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกตรวจสอบเครื่องปรับอากาศ เพื่อหาข้อบกพร่อง และทาการแก้ไข บันทึกผลการตรวจสอบ ขนาดเครื่องทาความเย็น ………………… บีทียูต่อชั่วโมง แรงเคลื่อนไฟฟ้า …………. โวลต์ ระบบไฟฟ้า …………. เฟส ค่า LRA …………………… แอมแปร์
ค่า FLA …………………… แอมแปร์
ความดันด้านต่า ………… ปอนด์ต่อตารางนิ้ว
ความดันด้านสูง ………… ปอนด์ต่อตารางนิ้ว
21 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ตารางบันทึกผล เครื่องปรับอากาศ
อุปกรณ์ พัดลมคอยล์ร้อน
ทางาน / ปกติ
คอมเพรสเซอร์ แมคเนติคคอนแทคเตอร์ คอนเดนซิ่งยูนิต
คาปาซิเตอร์รัน (คอมเพรสเซอร์) คาปาซิเตอร์รัน (พัดลมคอมเพรสเซอร์) โพเทนเชียลรีเลย์ แผงฟินคอยล์ร้อน (สะอาด/สกปรก) ระบุ พัดลมคอยล์เย็น คาปาซิเตอร์รัน รีโมทควบคุม
แฟนคอยล์ยูนิต
กล่องควบคุม แผ่นกรอง (สะอาด/สกปรก) ระบุ แผงฟินคอยล์เย็น (สะอาด/สกปรก) ระบุ
22 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ไม่ทางาน / ผิดปกติ
หมายเหตุ
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 8.1 การแก้ไขอาการขัดข้อง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้าวาง กีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. แมนิโฟลด์เกจ จานวน 1 เครื่อง 2. ไขควงแฉก จานวน 1 ตัว 3. ไขควงแบน จานวน 1 ตัว 4. คีมช่างไฟฟ้า จานวน 1 ตัว 5. เครื่องปรับอากาศ จานวน 1 เครื่อง 6. แคล้มป์ออนมิเตอร์ จานวน 1 เครื่อง 7. ประแจเลื่อน ขนาด 6 นิ้ว จานวน 1 ตัว 8. มัลติมิเตอร์ จานวน 1 เครื่อง หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน - ใบบันทึกผลการตรวจสอบ จานวน 1 แผ่น
23 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
2. ลาดับการปฏิบัติงาน การแก้ไขอาการขัดข้อง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ทดลองเปิดเครื่อง โดยตั้งอุณหภูมิ 25 องศาเป็นเวลา 5 นาที แล้วบันทึกผล
คาอธิบาย ทดลองเปิดเครื่องปรับอากาศโดยตั้งอุณหภูมิ ที่ 25°c และตั้งโหมด Cool ทิ้งไว้สัก 5 นาที แล้ ว สั ง เกตการท างานของเครื่ อ งทั้ ง แฟน คอยล์ยูนิตและคอนเดนซิ่งยูนิต (สังเกตการ ทางาน) แล้วบันทึกผล
ข้อควรระวัง
2. ตรวจปริมาณลมเป่าออกที่คอยล์ร้อน และตรวจสภาพแผงคอยล์ หากพบสิ่ง สกปรกให้ล้างออก แล้วบันทึกผล
ตรวจเช็ ค ดูป ริม าณลมคอนแดนซิ่ง ยูนิตว่า เป่าออกดีหรือไม่ แผงคอยล์สกปรกหรืออุด ตันหรือไม่ แล้วบันทึกผล (ถ้าแผงคอยล์ร้อน สกปรกให้ ด าเนิ น การล้ า งหรื อ มี สิ่ ง อุ ด ตั น ขวางทางลมให้ทาการแก้ไข
3. ตรวจระบบไฟฟ้าที่แฟนคอยล์ยูนิต และคอนเดนซิ่งยูนิต ทาการเปลี่ยน อุปกรณ์ที่เสีย แล้วบันทึกผล
ตรวจเช็ค ระบบไฟฟ้ า และ อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า ระวังอันตรายจากฉนวนที่ขาดเก่า แฟนคอยล์ยูนิต และ คอนเดนซิ่งยูนิตบันทึก อาจมีไฟรั่วได้ ผล (เช็คระดับแรงดันไฟฟ้าและเช็คอุปกรณ์ ไฟฟ้ า แต่ ล ะตั ว ถ้ า มี อุ ป กรณ์ ตั ว ใดเสี ย ให้ ดาเนินการซ่อม/เปลื่ยน
4. วัดความดันด้าน Low และ Hi ด้วยแม น าแมนิ โ ฟลด์ เ กจวั ด ความดั น ของน้ ายา นิโฟลด์เกจเติมน้ายาหากพบว่าระดับ ท า ง ด้ า น LOW แ ล ะ HI ข อ ง น้ายาต่าให้เป็นไปตามเกณฑ์ของ เครื่องปรับอากาศและนาแคล้มป์ออนมิเตอร์ 24 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน เครื่องปรับอากาศนั้น ๆ จากนั้นใช้แค ล้มป์ออนมิเตอร์วัดกระแสไฟแล้วบันทึก ผล
คาอธิบาย วั ด ค่ า กระแสไฟฟ้ า แล้ ว บั น ทึ ก ผล (วั ด ค่ า ความดันน้ายาถ้าน้อยก็เติมเพิ่มเข้าไปให้ ได้ ตามเกณฑ์ แต่ถ้ามากเกินไปก็ทาการปล่ อย ออกแต่ ต้ อ งพิ จ ารณาค่ า กระแสไฟฟ้ า ที่ คอมเพรสเซอร์ร่วมด้วยแต่ถ้าไม่มีน้ายาเลย ให้ทาการตรวจรั่วและซ่อมรั่วให้เรียบร้อย
5. สรุปผล
สรุปผล
25 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ 1
2
รายการตรวจสอบ
เกณฑ์การพิจารณา
การแก้ไขอาการขัดข้อง 1.1 การใช้มัลติมิเตอร์
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.2 การใช้แมนิโฟลด์เกจ
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.3 แก้ไขความผิดปกติที่พบ
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.4 การบันทึกผล
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
ปฏิบัติงาน
26 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………… เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. ลาดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 การใช้มัลติมิเตอร์
1.2 การใช้แมนิโฟลด์เกจ
1.3 แก้ไขความผิดปกติที่พบ
1.4 การบันทึกผล
2
กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ ครบถ้วน 2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน 2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน
เกณฑ์การให้คะแนน - ใช้เครื่องมือได้เหมาะสม อ่านค่าได้ถูกต้อง ให้คะแนน 5 คะแนน - ใช้เครื่องมือได้ค่อนข้างเหมาะสม อ่านค่าคลาดเคลื่อน 1-2 หน่วย ให้ คะแนน 3 คะแนน - ใช้เครื่องมือได้ไม่เหมาะสม อ่านค่าคลาดเคลื่อนตั้งแต่ 3 หน่วย ให้ คะแนน 1 คะแนน - ใช้เครื่องมือได้เหมาะสม อ่านค่าได้ถูกต้อง ให้คะแนน 5 คะแนน - ใช้เครื่องมือได้ค่อนข้างเหมาะสม อ่านค่าคลาดเคลื่อน 1-2 หน่วย ให้ คะแนน 3 คะแนน - ใช้เครื่องมือได้ไม่เหมาะสม อ่านค่าคลาดเคลื่อนตั้งแต่ 3 หน่วย ให้ คะแนน 1 คะแนน - แก้ไขความผิดปกติที่ตรวจพบได้อย่างถูกต้อง ให้คะแนน 10 คะแนน - แก้ไขความผิดปกติที่ตรวจพบไม่ถูกต้อง 1 – 2 จุด แต่สามารถแก้ไข ได้ ให้คะแนน 5 คะแนน - แก้ไขความผิดปกติที่ตรวจพบไม่ถูกต้องมากกว่า 2 จุด หรือไม่ สามารถแก้ไขความผิดปกติได้ ให้คะแนน 1 คะแนน - บันทึกผลได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 5 คะแนน - บันทึกผลไม่ครบ 1- 2 ส่วน ให้คะแนน 3 คะแนน - บันทึกผลไม่ครบตั้งแต่ 3 ส่วน ให้คะแนน 1 คะแนน
คะแนนเต็ม 25 5
1 1 1 30
ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์
หากไม่ผ่านเกณฑ์ ผู้รับการฝึกต้องขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม่ จนกระทั่งผ่านเกณฑ์ กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
5
1
หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ
27
10
5 1
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม
ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70
5
คะแนนที่ได้
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
หัวข้อวิชาที่ 9 0921730509 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 9.1 การป้องกันความชื้น 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - หุ้มฉนวนท่อเย็น บุฉนวนของท่อส่งลมเย็น ตลอดจนการป้องกันไม่ให้ความชื้น กลั่นตัวเป็นหยด การอุดรอยต่อตาม ผนังและตามที่แขวนหรือยึดท่อได้
2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทอสอบ รวม 4 ชั่วโมง 3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกหุ้มฉนวนท่อสารทาความเย็นและใช้เทปพันท่อให้เรียบร้อยตามแบบที่กาหนด
28 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 9.1 การป้องกันความชื้น 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้าวาง กีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. มีดตัดฉนวน จานวน 1 อัน 2. ท่อทองแดง จานวน 1 ท่อ 3. ฉนวน จานวน 1 อัน 4. กาวทายางอุตสาหกรรม จานวน 1 อัน 5. แปลง / พูกัน จานวน 1 อัน หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน - เทปพันท่อ จานวน 1 ม้วน
29 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
2. ลาดับการปฏิบัติงาน การป้องกันความชื้น ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตัดฉนวนจากม้วนให้มีขนาดและมุมตาม ท่อทองแดง
คาอธิบาย เตรียมวัดระยะของท่อทองแดงที่จะ ทาการหุ้มฉนวนแล้ววาดแบบ ออกมาเพื่อเตรียมฉนวนที่จะหุ้ม
2. หุ้มฉนวนท่อทองแดง
หุ้มฉนวนท่อทองแดงให้เรียบร้อย
3. ใช้เทปพันท่อพันฉนวนที่หุ้มอีกที
ใช้เทปพันท่อทองแดงที่หุ้มฉนวนให้ อย่าพันเทปแน่นจนเกินไป ฉนวน เรียบร้อย อาจสูญเสียความเป็นฉนวนได้
4. ส่งชิ้นงาน
ส่งชิ้นงาน
30 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ รายการตรวจสอบ 1 การป้องกันความชื้น
2
เกณฑ์การพิจารณา
1.1 การใช้เครื่องมือ
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.2 การตัดฉนวน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.3 การหุ้มท่อทองแดงด้วยฉนวน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.4 การใช้เทปพันท่อ
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
ปฏิบัติงาน
31 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………… เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. ลาดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 การใช้เครื่องมือ
เกณฑ์การให้คะแนน - ใช้เครื่องมือได้ถูกต้อง เหมาะสม ให้คะแนน 5 คะแนน - ใช้เครื่องมือได้ค่อนข้างถูกต้อง เหมาะสม ให้คะแนน 3 คะแนน
คะแนนเต็ม 20 5
- ใช้เครื่องมือไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม ให้คะแนน 1 คะแนน 1.2 การตัดฉนวน
- วั ด ความยาวท่ อ ทองแดง และตั ด ฉนวนได้ ถู ก ต้ อ ง ได้ ค ะแนน 5 คะแนน
5
- วัดท่อ ทองแดงขาด/เกิ น 1-2 มิลลิเมตร ตัดฉนวนขาด/เกิน 1-2 มิลลิเมตร ได้คะแนน 3 คะแนน - วัดท่อทองแดงขาด/เกินตั้งแต่ 3 มิลลิเมตร ตัดฉนวนขาด/เกินตั้งแต่ 3 มิลลิเมตร ได้คะแนน 1 คะแนน 1.3 การหุ้มท่อทองแดงด้วยฉนวน
- หุ้มท่อได้เรียบร้อย ไม่มีพื้นที่ย่น หรือหุ้มไม่สนิท ได้คะแนน 5 คะแนน
5
- หุ้มท่อไม่เรียบร้อน มีพื้นที่ย่น หรือหุ้มไม่สนิท 1-2 จุด/มิลลิมเตร ได้ คะแนน 3 คะแนน - หุ้มท่อไม่เรียบร้อน มีพื้นที่ย่น หรือหุ้มไม่สนิทตั้งแต่ 3 จุด/มิลลิมเตร ได้คะแนน 1 คะแนน 1.4 การใช้เทปพันท่อ
- พันท่อได้เรียบร้อยไม่ตึงเกินไป ไม่มีพื้นที่ย่น หรือพันไม่สนิท ให้
5
คะแนน 5 คะแนน - พันท่อไม่เรียบร้อย มีพื้นทีย่ ่น หรือหุ้มไม่สนิท 1-2 จุด/มิลลิเมตร ให้ คะแนน 3 คะแนน - พันท่อไม่เรียบร้อย มีพื้นทีย่ ่น หรือหุ้มไม่สนิทตั้งแต่ 3 จุด/มิลลิเมตร ให้คะแนน 1 คะแนน 2
กิจนิสัย
5
2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
1
ครบถ้วน
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
1
2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
1
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
1
2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
1
ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
32 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คะแนนที่ได้
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10 ลาดับที่
รายการประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเต็ม
คะแนนเต็ม 25
หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70
ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์
หากไม่ผ่านเกณฑ์ ผู้รับการฝึกต้องขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม่ จนกระทั่งผ่านเกณฑ์
33 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คะแนนที่ได้
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
หัวข้อวิชาที่ 10 0921730510 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 10.1 การบารุงรักษาเครื่องปรับอากาศ 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - บารุงรักษาเครื่องปรับอากาศได้
2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 3 ชั่วโมง
3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาความสะอาดเครื่องปรับอากาศทั้งภายในและภายนอก
34 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 10.1 การบารุงรักษาเครื่องปรับอากาศ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้าวาง กีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผูร้ ับการฝึก 1 คน 1. เครื่องปรับอากาศ
จานวน 1 เครื่อง
2. ชุดเครื่องมือช่างไฟฟ้า (มัลติมิเตอร์ คลิปแอมป์ ไขควง คีมช่างไฟฟ้า ฯลฯ)
จานวน 1ชุด
3. ชุดเครื่องมือช่างเครื่องปรับอากาศ (แมนิโฟลด์เกจ ถังน้ายาสารทาความเย็น ปั๊มสุญญากาศ ฯลฯ)
จานวน 1ชุด
4. ชุดล้างเครื่องปรับอากาศ (ปั๊มฉีดน้าแรงดันสูง โบลวเวอร์ สายยาง ผ้าใบรับน้า ฯลฯ)
จานวน 1ชุด
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน -
35 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
2. ลาดับการปฏิบัติงาน การบารุงรักษาเครื่องปรับอากาศ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เปิดเครื่องปรับอากาศ และสังเกตการ ทางานของเครื่องปรับอากาศ
คาอธิบาย เปิดเครื่องปรับอากาศ สังเกตการ ทางานของแฟนคอยล์ยูนิตและคอน เดนซิ่งยูนิต ว่าทางานปกติหรือไม่ ถ้าทางานปกติดี ให้ดาเนินการขั้น ต่อไป
ข้อควรระวัง
2. OFF เซอร์กิตเบรกเกอร์
OFF เซอร์กิตเบรกเกอร์หรือ อุปกรณ์ป้องกันเครื่องปรับอากาศ
ตรวจสอบให้แน่ใจว่าไม่มีกระแสไฟ ในระบบขณะใช้น้าฉีดล้าง เครื่องปรับอากาศ อันตรายจากไฟ รั่วอาจทาให้เสียชีวิตได้
3. ถอดชิ้นส่วนแฟนคอยล์ยูนิต
ถอดชิ้นส่วนแฟนคอยล์ยูนิต (หน้ากาก ฝาครอบกลาง ถาดน้าทิ้ง แผ่นเกร็ดกระจายลม)
4. นาถุงพลาสติดคลุมแผงวงจรไฟฟ้า
นาถุงพลาสติกคลุมแผงวงจรไฟฟ้า
5. ขึงผ้าพลาสติกใต้แอร์ป้องกันน้ากระเด็น หยดลงพื้น
ขึงผ้าพลาสติกใต้แอร์ให้พาดลงมา ในถังพลาสติกเพื่อไม่ให้น้ากระเด็น หยดลงพื้น
36 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คาอธิบาย
6. ฉีดล้างคอยล์เย็น
ฉีดล้างด้วยปั๊มน้าแรงดันสูงให้ทั่ว แผงคอยล์เย็น
7. ใช้โบลวเวอร์เป่าให้ทั่วแผงคอยล์เย็น
ใช้โบลวเวอร์เป่าแผงคอยล์เย็นและ แผงไฟฟ้าให้แห้งสนิท
8. ฉีดน้าล้างอุปกรณ์ต่าง ๆ แล้วใช้ใช้โบลว เวอร์เป่าให้แห้งสนิท
ฉีดน้าล้างหน้ากาก แผ่นกรอง ถาดน้าทิ้ง ฝาครอบกลาง และ แผ่นเกร็ดกระจายลม ใช้โบลวเวอร์ เป่าให้แห้งสนิท (อย่าลืมแกะ ถุงพลาสติกที่คลุมแผงวงจรออก)
9. ประกอบชิ้นส่วนแฟนคอยล์ยูนิต กลับเข้าที่
ประกอบชิ้นส่วนแฟนคอยล์ยูนิต กลับเข้าที่
37 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คาอธิบาย
10. เปิดฝาคอยล์ร้อนนาถุงพลาสติกคลุม แผงวงจรไฟฟ้า และพัดลมคอยล์ร้อน
ขันนอตที่ฝาปิดบนคอยล์ร้อน แล้ว เปิดฝาบนคอยล์ร้อนนาถุงพลาสติก คลุมแผงวงจรไฟฟ้าที่คอยล์ร้อนและ ที่พัดลมคอยล์ร้อนให้เรียบร้อย
11. ฉีดล้างแผงคอยล์ร้อน
ฉีดล้างแผงคอยล์ร้อนด้วยปั๊มน้า แรงดันสูง
12. ใช้โบลวเวอร์เป่าแผงคอยล์ร้อนและแผง ใช้โบลวเวอร์เป่าแผงคอยล์ร้อนและ ไฟฟ้า แผงไฟฟ้าให้แห้งสนิท (อย่าลืมแกะ ถุงพลาสติกที่คลุมแผงวงจรออก)
13. ปิดฝาคอยล์ร้อน
ปิดฝาคอยล์ร้อนและขันนอตให้ เรียบร้อย
38 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
ฉีดล้างจากด้านในออกสู่ด้านนอก เสมอ
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
14. เปิดเครื่องเพื่อทดสอบระบบ
คาอธิบาย
ON เซอร์กิตเบรกเกอร์แล้วกดรีโมท เครื่องปรับอากาศเพื่อทดสอบระบบ ต่าง ๆ ในเครื่องปรับอากาศ
39 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ รายการตรวจสอบ 1 การบารุงรักษาเครื่อง
เกณฑ์การพิจารณา
1.1 การถอดประกอบเครื่อง
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
(แฟนคอยล์ยูนิต) 1.2 การถอดประกอบเครื่อง
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
(คอนเดนซิ่งยูนิต)
2
1.3 การล้างแฟนคอยล์ยูนิต
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.4 การล้างคอนเดนซิ่งยูนิต
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.5 การทดสอบเครื่อง
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
40 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………… เลขประจาตัวประชาชน ……………………………….. ลาดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 การถอดประกอบเครื่อง (แฟนคอยล์ยูนิต)
เกณฑ์การให้คะแนน - การถอดประกอบแฟนคอยล์ยูนิตถูกต้อง เรียบร้อย ให้คะแนน 5 คะแนน
คะแนนเต็ม 25 5
- การถอดประกอบแฟนคอยล์ยูนิตไม่ถกู ต้อง ไม่เรียบร้อย ชิ้นส่วน นอต ประกอบ เสียหาย 1-2 ชิ้น ให้คะแนน 3 คะแนน - การถอดประกอบแฟนคอยล์ยูนิตไม่ถกู ต้อง ไม่เรียบร้อย ชิ้นส่วน นอต ประกอบ เสียหายตั้งแต่ 3ชิ้น ให้คะแนน 1 คะแนน 1.2 การถอดประกอบเครื่อง (คอนเดนซิ่งยูนิต)
- การถอดประกอบคอนเดนซิ่งยูนิตถูกต้อง เรียบร้อย ให้คะแนน 5 คะแนน
5
- การถอดประกอบคอนเดนซิ่งยูนิตไม่ถูกต้อง ไม่เรียบร้อย ชิ้นส่วน นอต ประกอบ เสียหาย 1-2 ชิ้น ให้คะแนน 3 คะแนน - การถอดประกอบคอนเดนซิ่งยูนิตไม่ถูกต้อง ไม่เรียบร้อย ชิ้นส่วน นอต ประกอบ เสียหายตั้งแต่ 3ชิ้น ให้คะแนน 1 คะแนน 1.3 การล้างแฟนคอยล์ยูนิต
- ล้างแฟนคอยล์ยูนิต สะอาด เรียบร้อย ให้คะแนน 5 คะแนน
5
- ล้างแฟนคอยล์ยูนิต ไม่สะอาด ฟินคอยล์ล้ม 1-2 จุด ให้คะแนน 3 คะแนน - ล้างแฟนคอยล์ยูนิต ไม่สะอาด ฟินคอยล์ล้มตั้งแต่ 3 จุด ให้คะแนน 1 คะแนน 1.4 การล้างคอนเดนซิ่งยูนิต
- ล้างคอนเดนซิ่งยูนิต สะอาด เรียบร้อย ให้คะแนน 5 คะแนน
5
- ล้างคอนเดนซิ่งยูนิต ไม่สะอาด ฟินคอยล์ล้ม 1-2 จุด ให้คะแนน 3 คะแนน - ล้างคอนเดนซิ่งยูนิต ไม่สะอาด ฟินคอยล์ล้มตั้งแต่ 3 จุด ให้คะแนน 1 คะแนน 1.5 การทดสอบเครื่อง
- ทดสอบเปิดเครื่องแล้วเครื่องปรับอากาศทางานเป็นปกติ ให้คะแนน 5 คะแนน
5
- ทดสอบเปิดเครื่องแล้วเครื่องปรับอากาศขัดข้อง 1 จุด ให้คะแนน 3 คะแนน - ทดสอบเปิดเครื่องแล้วเครื่องปรับอากาศขัดข้องตั้งแต่ 2 จุด ให้ คะแนน 1 คะแนน 2
กิจนิสัย
5
2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
1
ครบถ้วน
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
41 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คะแนนที่ได้
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10 ลาดับที่
รายการประเมิน 2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน
เกณฑ์การให้คะแนน - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
คะแนนเต็ม 1 1
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
1
2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
1
ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม
30
หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70
ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์
หากไม่ผ่านเกณฑ์ ผู้รับการฝึกต้องขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม่ จนกระทั่งผ่านเกณฑ์
42 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คะแนนที่ได้
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ตัวอย่างบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………….............. เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. คาชี้แจง ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผู้เข้ารับการฝึก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ ก่อนฝึก
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
ผลลัพธ์การเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 บอกขั้นตอนการต่อสายไฟฟ้า 10 7 แบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได้ บอกวิธีการต่อสายไฟฟ้าด้วย อุปกรณ์ได้ บอกขั้นตอนการเข้าขั้วสายด้วย หางปลา บอกขั้นตอนการใช้วายนัทต่อ สายได้ บอกขั้นตอนการใช้หลอดต่อ สายไฟได้ บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได้ บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกาหนดขั้วคอมเพรสเซอร์ได้ ประเมินผลภาคทฤษฏี
คะแนนที่ได้ 5
ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)
/ * หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์ คาอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนที่ผู้รับการฝึกตอบถูกลงในช่องคะแนน ที่ได้ แล้วเปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่าน (C) ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC) หากผู้รับการฝึกผ่านการประเมินผลภาคทฤษฎีแล้ว สามารถขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึก ในโมดูลถัดไปได้ 43 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝึก
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
ผลลัพธ์การเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 บอกขั้นตอนการต่อสายไฟฟ้า 10 7 แบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได้ บอกวิธีการต่อสายไฟฟ้าด้วย อุปกรณ์ได้ บอกขั้นตอนการเข้าขั้วสายด้วย หางปลา บอกขั้นตอนการใช้วายนัทต่อ สายได้ บอกขั้นตอนการใช้หลอดต่อ สายไฟได้ บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได้ บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกาหนดขั้วคอมเพรสเซอร์ได้ ประเมินผลภาคทฤษฏี
คะแนนที่ได้ 8
ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)
/ * หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์ คาอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนที่ผู้รับการฝึกตอบถูกลงในช่องคะแนน ที่ได้ แล้วเปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่าน (C) ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC) หากผู้รับการฝึกผ่านการประเมินผลภาคทฤษฎีแล้ว สามารถขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึก ในโมดูลถัดไปได้
44 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ
ผลลัพธ์การเรียนรู้
คะแนนเต็ม
แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2
ต่อสายไฟฟ้าแบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียว ได้ 1. เข้าขั้วสายด้วยหางปลา และย้าหางปลาได้ 2. ใช้หลอดต่อสายไฟได้ 3. ใช้อุปกรณ์ในการต่อสายไฟได้ ใช้วายนัทต่อสายได้
30
คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 21
80
56
70
35
25
23
20
14
15
20
14
10
25
18
24
210
148
162
แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ต่อสายไฟฟ้าด้วยการบัดกรีได้ ภาคปฏิบัติที่ 1.4 แบบทดสอบ ต่อสายไฟฟ้าด้วยการพันฉนวนได้ ภาคปฏิบัติที่ 1.5 แบบทดสอบ ตรวจสอบและกาหนดขั้วคอมเพรสเซอร์ได้ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 คะแนนรวมภาคปฏิบัติ
ประเมินผลภาคปฏิบัติ
คะแนนที่ได้ 20
ผ่าน (C)
ไม่ผ่าน (NYC)
/ * หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์ คาอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนที่ผู้รับการฝึกได้จากการปฏิบัติลงในช่องคะแนนที่ได้ แล้ว เปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ในแต่ละใบทดสอบ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ ถ้าผูร้ ับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์ หากไม่ผ่านเกณฑ์ ผู้รับการฝึกต้องขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม่ จนกระทั่งผ่านเกณฑ์ ครูฝึกรวมคะแนนที่ได้บันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แล้วเปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนรวมมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 และผ่านเกณฑ์ทุกใบทดสอบ 45 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ถือว่า ผ่าน (C) ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนรวมน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC) การประเมินผลผ่านโมดูล สัดส่วนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)
คะแนนที่ได้
ค่า Factor
คะแนนที่ได้คูณ ค่า Factor
8
2
16
162
0.381
61.72
ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC) 77.72
/
* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor มากกว่าหรือเท่ากับ 70 คะแนน ถือว่าผ่านเกณฑ์ คาอธิบาย 1. ครูฝึกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผู้รับการฝึกทดสอบครั้งล่าสุด ไม่ต้องนาคะแนนแบบทดสอบก่อนฝึกและ หลังฝึกมารวมกัน 2. ครูฝึกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผู้รับการฝึกทดสอบ 3. นาคะแนนที่ได้คูณค่า Factor โดยมีตัวอย่างการคิดดังนี้ สูตรการคานวณค่า Factor ของภาคทฤษฏี คือ
20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฏี
ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ
10
ดังนั้น ค่า Factor ของภาคทฤษฏี คือ
20 10
∴ คะแนนที่ได้คูณค่า Factor
8 × 2 = 16
คือ
=2
สูตรการคานวณค่า Factor ของภาคปฏิบัติ คือ
80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ
ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ
210 46
กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ดังนั้น ค่า Factor ของภาคปฏิบัติ คือ ∴ คะแนนที่ได้คูณค่า Factor
80 = 0.381 210 162 × 0.381 = 61.72
คือ
4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor คือ 16 + 61.72 = 77.72 5. ประเมินผลการผ่านโมดูล ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่าน (C) ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC)
47 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………….............. เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. คาชี้แจง ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผู้เข้ารับการฝึก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ ก่อนฝึก
1.
2. 3.
4.
5.
6. 7. 8.
ผลลัพธ์การเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 อธิบายขั้นตอนการเลือกสถานที่ 10 7 ติ ด ตั้ ง และข้ อ ควรระวั ง ในการ ติดตั้งได้ อธิบายขั้นตอนการเดินท่อสารทา ความเย็นและท่อน้าทิ้งได้ อธิบายวิธีการเลือกใช้ขนาดของ สายไฟฟ้ า การปฏิ บั ติ ต ามกฎ ข้ อ บั ง คั บ ในการเดิ น สายไฟฟ้ า ของการไฟฟ้ า นครหลวง และการไฟฟ้าส่ ว นภูมิภาค การ เลื อ กใช้ อุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น กระแส เกิน และสวิตซ์ตัดตอนอัต โนมั ติ ได้อย่างเหมาะสม อ ธิ บ า ย วิ ธี ก า ร เ ลื อ ก ข น า ด สายไฟฟ้ า ที่ เ หมาะสม สายดิ น และการต่อวงจรไฟฟ้าได้ อธิ บ ายวิ ธี ก ารเลื อ กใช้ อุ ป กรณ์ ป้องกันกระแสเกินและสวิตซ์ตัด ตอนอัตโนมัติที่เหมาะสม ติ ด ตั้ ง และเดิ น สายไฟแบบเดิ น ลอยหรือร้อยท่อได้ อธิบ ายขั้น ตอนการทดสอบการ ทางานของเครื่องปรับอากาศได้ ทดสอบการทางานของ เครื่องปรับอากาศได้
48 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คะแนนที่ได้
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ภาคทฤษฏี
ผลลัพธ์การเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 9. อธิบายขั้นตอนการแก้ไขอาการ ขั ด ข้ อ งของเครื่ อ งปรั บ อากาศ เบื้องต้นได้ 10. แก้ไขอาการขัดข้องของ เครื่องปรับอากาศเบื้องต้นได้ 11. อธิบายขั้นตอนการหุ้มฉนวน ท่อเย็น บุฉนวนของท่อส่งลม เย็น ตลอดจนการป้องกันไม่ให้ ความชื้นกลั่นตัว เป็นหยด การอุดรอยต่อตามผนังและ ตามที่แขวนหรือยึดท่อได้ 12. หุ้มฉนวนท่อเย็น บุฉนวนของ ท่อส่งลมเย็น ตลอดจนการ ป้องกันไม่ให้ความชื้นกลั่นตัว เป็นหยด การอุดรอยต่อ ตาม ผนังและตามที่แขวนหรือยึดท่อ ได้ 13. อธิบายขั้นตอนการบารุงรักษา เครื่องปรับอากาศได้ 14. บารุงรักษเครื่องปรับอากาศได้ ประเมินผลภาคทฤษฏี
* หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์
49 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คะแนนที่ได้
ผ่าน ไม่ผา่ น (C) (NYC)
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝึก
1.
2. 3.
4.
5.
6. 7. 8. 9.
ผลลัพธ์การเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 อธิบายขั้นตอนการเลือกสถานที่ 10 7 ติดตั้ง และข้อควรระวังในการ ติดตั้งได้ อธิบายขั้นตอนการเดินท่อสารทา ความเย็นและท่อน้าทิ้งได้ อธิบายวิธีการเลือกใช้ขนาดของ สายไฟฟ้า การปฏิบัติตามกฎ ข้อบังคับในการเดินสายไฟฟ้า ของการไฟฟ้า นครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การ เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันกระแส เกินและสวิตซ์ตัดตอนอัตโนมัติ ได้อย่างเหมาะสม อธิบายวิธีการเลือกขนาด สายไฟฟ้าที่เหมาะสม สายดิน และการต่อวงจรไฟฟ้าได้ อธิบายวิธีการเลือกใช้อุปกรณ์ ป้องกันกระแสเกินและสวิตซ์ตัด ตอนอัตโนมัติที่เหมาะสม ติดตั้งและเดินสายไฟแบบเดิน ลอยหรือร้อยท่อได้ อธิบายขั้นตอนการทดสอบการ ทางานของเครื่องปรับอากาศได้ ทดสอบการทางานของ เครื่องปรับอากาศได้ อธิบายขั้นตอนการแก้ไขอาการ ขัดข้องของเครื่องปรับอากาศ เบื้องต้นได้
50 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คะแนนที่ได้
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ภาคทฤษฏี
ผลลัพธ์การเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 10. แก้ไขอาการขัดข้องของ เครื่องปรับอากาศเบื้องต้นได้ 11. อธิบายขั้นตอนการหุ้มฉนวน ท่อเย็น บุฉนวนของท่อส่งลม เย็น ตลอดจนการป้องกันไม่ให้ ความชื้นกลั่นตัว เป็นหยด การอุดรอยต่อตามผนังและ ตามที่แขวนหรือยึดท่อได้ 12. หุ้มฉนวนท่อเย็น บุฉนวนของ ท่อส่งลมเย็น ตลอดจนการ ป้องกันไม่ให้ความชื้นกลั่นตัว เป็นหยด การอุดรอยต่อ ตาม ผนังและตามที่แขวนหรือยึดท่อ ได้ 13. อธิบายขั้นตอนการบารุงรักษา เครื่องปรับอากาศได้ 14. บารุงรักษเครื่องปรับอากาศได้ ประเมินผลภาคทฤษฏี
* หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์
51 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คะแนนที่ได้
ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ
ผลลัพธ์การเรียนรู้
คะแนนเต็ม
แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 7.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 8.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 9.1
ทดสอบการทางานของเครื่องปรับอากาศได้
45
คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 32
แก้ไขอาการขัดข้องของเครื่องปรับอากาศ เบื้องต้นได้ หุ้มฉนวนท่อเย็น บุฉนวนของท่อส่งลมเย็น ตลอดจนการป้องกันไม่ให้ความชื้น กลั่นตัว เป็นหยด การอุดรอยต่อตามผนังและตามที่ แขวนหรือยึดท่อได้ บารุงรักษาเครื่องปรับอากาศได้
30
21
25
18
30
21
คะแนนรวมภาคปฏิบัติ
130
92
แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 10.1
ประเมินผลภาคปฏิบัติ * หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์
52 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คะแนนที่ได้
ผ่าน (C)
ไม่ผ่าน (NYC)
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
การประเมินผลผ่านโมดูล สัดส่วนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)
คะแนนที่ได้
ค่า Factor
คะแนนที่ได้คูณ ค่า Factor
ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)
2 0.614
* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor มากกว่าหรือเท่ากับ 70 คะแนน ถือว่าผ่านเกณฑ์
คาแนะนา .................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................ …………………………………………….. ( ตาแหน่ง …………………………… วัน……..เดือน………………….ปี……… หมายเหตุ: ให้บันทึกผลการฝึกให้ผู้รับการฝึกแต่ละคนหลังจากจบการฝึกและการประเมิน
53 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
)
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
54 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน