คู่มือการประเมิน ช่างบำรุงรักษารถยนต์ ระดับ 1 โมดูล 1

Page 1

หนาปก



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คูมือการประเมิน 0920163100501 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 1 09210101 ความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คํานํา คูมือการประเมิน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 โมดูล 1 ความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน ฉบับนี้ ไดพัฒนาขึ้น ภายใต โ ครงการพั ฒ นาระบบฝ ก และชุ ด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําไปใชเปนระบบการฝกอบรมตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 เพื่อใหตอบสนองความตองการของกําลังแรงงานและตลาดแรงงานไดอยางเหมาะสม มากยิ่งขึ้น และเพื่อรองรับระบบการรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติและระบบการรับรองความรูความสามารถใน อนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ใหแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมายตางๆ ใหกวางขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแงของ ขอบเขตของการใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตางๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

5

แบบทดสอบกอนฝก

6

แบบทดสอบหลังฝก

10

กระดาษคําตอบ

14

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

15

แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หัวขอวิชาที่ 4 0921010104 การใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ

16

หัวขอวิชาที่ 5 0921010105 หลักการเบื้องตนของการปองกันอัคคีภัยและการดับเพลิง

25

หัวขอวิชาที่ 6 0921010106 วิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน

35

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ บันทึกผลการประเมินความสามารถ

51 57

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการ ฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการ ประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่อ อิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงราง หลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัตแิ กผูรับการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 1 09210101 ความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน 1. อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟงายและสารอันตรายได 2. บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได 3. อธิบายกฎของโรงงานและปายเตือนตาง ๆ ได 4. อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได 5. ใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได 6. อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได 7. ปฏิบัติตามวิธีการปองกันอัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได 8. อธิบายวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตนได 9. ปฐมพยาบาลเบื้องตนได

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

แบบทดสอบกอนฝก คําชี้แจง: 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 1 09210101 ความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน 1. แวนตานิรภัยชนิด B ตามมาตรฐานแหงชาติอเมริกัน (ANSI) มีคุณสมบัติอยางไร ก. ปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นเฉพาะดานหนาของดวงตา ข. ปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นจากรังสีความรอนอยางเดียว ค. ปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นเฉพาะดานขางของดวงตา ง. ปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นทุก ๆ ดานของดวงตา 2. หลักการใชวัสดุติดไฟงายและสารอันตรายมีหลายวิธี ยกเวน ขอใด ก. คัดแยกสารเคมีกอนทิ้งทุกครั้ง ข. หามสูบบุหรี่ในบริเวณที่มีวัตถุไวไฟ ค. ระมัดระวังในการใชวัตถุไวไฟในบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง ง. หากแกสไวไฟรั่ว ใหปดประตู หนาตางใหมิดชิด เพื่อปองกันไมใหแกสรั่วไหล 3. เพราะเหตุใด จึงตองมีการกําหนดหลักการใชเครื่องมือและอุปกรณ ก. เพื่อชวยในการจัดแบงเครื่องมือและอุปกรณใหใชงานไดงาย ข. เพื่อชวยใหประหยัดงบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณ ค. เพื่อชวยใหการทํางานสําเร็จอยางปลอดภัย ง. เพื่อการจัดหมวดหมูเครื่องมือและอุปกรณใหถูกตอง 4. หากอุปกรณใชงาน เครื่องมือหรือเครื่องจักรเกิดการชํารุดเสียหายควรทําอยางไร ก. บอกเพื่อนรวมงานใหทราบทันที เพื่อชวยกันแกไข ข. นําอุปกรณที่ชํารุด ไปเก็บไว เพื่อไมใหใครนํามาใชงานอีก ค. รีบแกไขดวยตัวเองทันที เพื่อไมใหเกิดความเสียหาย ง. แจงใหผูควบคุมทราบทันที

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. ดนัยไดรับบาดเจ็บจากการปฏิบัติงานในโรงงาน จึงหยุดงานและกลับมาพักผอนที่บาน ดนัยทําถูกตองหรือไม เพราะเหตุใด ก. ถูกตอง เพราะไดรับบาดเจ็บจึงควรหยุดงานทันทีและพักผอนใหเต็มที่ ข. ถูกตอง เพราะดนัยปฎิบัติตามกฎหมายคุมครองแรงงาน หากไดรับอุบัติเหตุ ตองหยุดงานทันที ค. ไมถูกตอง เพราะเมื่อไดรับบาดเจ็บตองแจงใหเจาหนาที่ความปลอดภัยทราบเพื่อปฐมพยาบาลและหาวิธีปองกัน ง. ไมถูกตอง เพราะเมื่อไดรับบาดเจ็บควรแจงเจาหนาที่ตํารวจ เพื่อใหรีบดําเนินการกับผูประกอบการใหเร็วที่สุด 6. ขอใด ไมใช วัตถุประสงคของการใชหนากากกรองสารเคมี ก. ใชในบริเวณที่มีออกซิเจนนอย ข. ใชในบริเวณมลพิษที่สารเคมีมีกลิ่น ค. ใชบริเวณที่มีอากาศเปนพิษมีความเขมขนต่ํา ง. สามารถดูดซับไอของสารพิษได 7. การปองกันการเกิดอัคคีภัยมีหลายวิธี ยกเวนขอใด ก. บริษัทมีการจัดอบรม และซอมหนีไฟอยางนอยปละ 1 ครั้ง ข. หลังจากใชงานอุปกรณไฟฟาทุกครั้งไมจําเปนตองดึงปลั๊กไฟออก เพราะจะทําใหปลั๊กหลวม ค. จัดเก็บสารเคมีอยางถูกตองตามขอมูลของสารแตละประเภท ง. ตรวจสอบและซอมแซมอุปกรณอยางเปนระบบสม่ําเสมอ 8. เมื่อเราไดกลิ่นแกสรั่ว แลวรีบไปปดวาลวถังแกส เปนการกําจัดเชื้อเพลิงแบบใด ก. การตัดทางหนุนของเชื้อเพลิง ข. การยายเชื้อเพลิงออกจากจุดเดิม ค. การกําจัดเชื้อเพลิงอยางทันที ง. การแบงเชื้อเพลิงออกเปนกอง ๆ เพื่องายตอการดับ

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

9. หากเจอผูปวยหรือผูที่ไดรับบาดเจ็บเบื้องตนควรปฎิบัติอยางไร ตามลําดับ ก. ตรวจสอบสภาพแวดลอม, ติดตอขอความชวยเหลือจากเจาหนาที่ตํารวจ, ชวยดูแลผูปวยรวมกับอาสากูภัย ข. ตรวจสอบผูปวย, ติดตอขอความชวยเหลือจากเพื่อนรวมงาน,ตรวจดูแลสถานที่ ค. ตรวจสอบวาผูปวยยังมีสติอยูไหม, ติดตอขอความชวยเหลือจากเจาหนาที่หรือหนวยบริการฉุกเฉิน, ตรวจดูแลสถานที่ ง. ตรวจสอบสภาพแวดลอม, ติดตอขอความชวยเหลือจากเจาหนาที่หรือหนวยบริการฉุกเฉิน, ตรวจดูแลผูปวย 10. การกระทําในขอใดไมถูกตอง เมื่อพบผูบาดเจ็บอาการกระดูกหัก ก. รีบจัดกระดูกเขาที่โดยทันที เพื่อที่กระดูกจะสมานตัวไดโดยเร็ว ข. จับหรือประคองสวนที่บาดเจ็บอยางมั่นคง ค. เขาเฝอกหรือดามดวยวัสดุที่แข็งแรง ง. ยึดกระดูกที่หักใหแนน และมั่นใจวากระดูกที่หักจะไมขยับ

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

แบบทดสอบหลังฝก คําชี้แจง: 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 1 09210101 ความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน 1. การปองกันการเกิดอัคคีภัยมีหลายวิธี ยกเวนขอใด ก. บริษัทมีการจัดอบรม และซอมหนีไฟอยางนอยปละ 1 ครั้ง ข. ตรวจสอบและซอมแซมอุปกรณอยางเปนระบบสม่ําเสมอ ค. หลังจากใชงานอุปกรณไฟฟาทุกครั้งไมจําเปนตองดึงปลั๊กไฟออก เพราะจะทําใหปลั๊กหลวม ง. จัดเก็บสารเคมีอยางถูกตองตามขอมูลของสารแตละประเภท 2. หากอุปกรณใชงาน เครื่องมือหรือเครื่องจักรเกิดการชํารุดเสียหายควรทําอยางไร ก. บอกเพื่อนรวมงานใหทราบทันที เพื่อชวยกันแกไข ข. นําอุปกรณที่ชํารุด ไปเก็บไว เพื่อไมใหใครนํามาใชงานอีก ค. แจงใหผูควบคุมทราบทันที ง. รีบแกไขดวยตัวเองทันที เพื่อไมใหเกิดความเสียหาย 3. แวนตานิรภัยชนิด B ตามมาตรฐานแหงชาติอเมริกัน (ANSI) มีคุณสมบัติอยางไร ก. ปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นจากรังสีความรอนอยางเดียว ข. ปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นทุก ๆ ดานของดวงตา ค. ปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นเฉพาะดานหนาของดวงตา ง. ปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นเฉพาะดานขางของดวงตา 4. การกระทําในขอใดไมถูกตอง เมื่อพบผูบาดเจ็บอาการกระดูกหัก ก. เขาเฝอกหรือดามดวยวัสดุที่แข็งแรง ข. จับหรือประคองสวนที่บาดเจ็บอยางมั่นคง ค. รีบจัดกระดูกเขาที่โดยทันที เพื่อที่กระดูกจะสมานตัวไดโดยเร็ว ง. ยึดกระดูกที่หักใหแนน และมั่นใจวากระดูกที่หักจะไมขยับ

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. เพราะเหตุใด จึงตองมีการกําหนดหลักการใชเครื่องมือและอุปกรณ ก. เพื่อชวยใหการทํางานสําเร็จอยางปลอดภัย ข. เพื่อชวยในการจัดแบงเครื่องมือและอุปกรณใหใชงานไดงาย ค. เพื่อชวยประหยัดงบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณ ง. เพื่อการจัดหมวดหมูเครื่องมือและอุปกรณใหถูกตอง 6. หากเจอผูปวยหรือผูที่ไดรับบาดเจ็บเบื้องตนควรปฎิบัติอยางไร ตามลําดับ ก. ตรวจสอบสภาพแวดลอม, ติดตอขอความชวยเหลือจากเจาหนาที่ตํารวจ, ชวยดูแลผูปวยรวมกับอาสากูภัย ข. ตรวจสอบผูปวย, ติดตอขอความชวยเหลือจากเพื่อนรวมงาน, ตรวจดูแลสถานที่ ค. ตรวจสอบวาผูปวยยังมีสติอยูไหม, ติดตอขอความชวยเหลือจากเจาหนาที่หรือหนวยบริการฉุกเฉิน, ตรวจดูแลสถานที่ ง. ตรวจสอบสภาพแวดลอม, ติดตอขอความชวยเหลือจากเจาหนาที่หรือหนวยบริการฉุกเฉิน, ตรวจดูแลผูปวย 7. ดนัยไดรับบาดเจ็บจากการปฏิบัติงานในโรงงาน จึงหยุดงานและกลับมาพักผอนที่บาน ดนัยทําถูกตองหรือไม เพราะเหตุใด ก. ถูกตอง เพราะไดรับบาดเจ็บจึงควรหยุดงานทันทีและพักผอนใหเต็มที่ ข. ถูกตอง เพราะดนัยปฎิบัติตามกฎหมายคุมครองแรงงาน หากไดรับอุบัติเหตุ ตองหยุดงานทันที ค. ไมถูกตอง เพราะเมื่อไดรับบาดเจ็บตองแจงใหเจาหนาที่ความปลอดภัยทราบเพื่อปฐมพยาบาลและหาวิธีปองกัน ง. ไมถูกตอง เพราะเมื่อไดรับบาดเจ็บควรแจงเจาหนาที่ตํารวจ เพื่อใหรีบดําเนินการกับผูประกอบการใหเร็วที่สุด 8. ขอใด ไมใช วัตถุประสงคของการใชหนากากกรองสารเคมี ก. ใชดูดซับไอของสารพิษได ข. ใชในบริเวณที่มีออกซิเจนนอย ค. ใชในบริเวณมลพิษที่สารเคมีมีกลิ่น ง. ใชบริเวณที่มีอากาศเปนพิษมีความเขมขนต่ํา

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

9. เมื่อเราไดกลิ่นแกสรั่ว แลวรีบไปปดวาลวถังแกส เปนการกําจัดเชื้อเพลิงแบบใด ก. การตัดทางหนุนของเชื้อเพลิง

ค. การกําจัดเชื้อเพลิงอยางทันที

ข. การยายเชื้อเพลิงออกจากจุดเดิม

ง. การแบงเชื้อเพลิงออกเปนกอง ๆ เพื่องายตอการดับ

10. หลักการใชวัสดุติดไฟงายและสารอันตรายมีหลายวิธี ยกเวน ขอใด ก. หามสูบบุหรี่ในบริเวณที่มีวัตถุไวไฟ ข. คัดแยกสารเคมีกอนทิ้งทุกครั้ง ค. ระมัดระวังในการใชวัตถุไวไฟในบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง ง. หากแกสไวไฟรั่วใหปดประตู หนาตางใหมิดชิด เพื่อปองกันไมใหแกสรั่วไหล

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

หัวขอวิชาที่ 4 0921010104 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 4.1 การตรวจสอบและใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเลือกอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหถูกตองตามสถานการณที่กําหนด เพื่อนํามา ตรวจสอบสภาพและบันทึกผลลงในตาราง พรอมทั้งสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล เพื่อฝกปฏิบัติงาน ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ สถานการณที่กําหนด

อุปกรณปองกันอันตราย ที่เลือกใช

สภาพของอุปกรณ พรอมใชงาน

เชื่อมโลหะโดยใช เครื่องเชื่อมไฟฟา

ตัดโลหะโดยใช หินเจียระไน

เติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่

ไลลมเบรก

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ชํารุด

ความเสียหาย


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

สถานการณที่กําหนด

อุปกรณปองกันอันตราย ที่เลือกใช

สภาพของอุปกรณ พรอมใชงาน

เปาทําความสะอาด ไสกรองอากาศ

ปฏิบัติงานในหองที่มี สารเคมี

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ชํารุด

ความเสียหาย


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 4.1 การตรวจสอบและใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ชุดปองกันที่ทําจากหนัง

จํานวน 1 ชุด

2. โตะสําหรับวางอุปกรณ

จํานวน 1 ตัว

3. ถุงมือตาขายโลหะ

จํานวน 1 คู

4. ถุงมือหนังสัตว

จํานวน 1 คู

5. ที่ครอบหูลดเสียง

จํานวน 1 อัน

6. รองเทานิรภัยชนิดหัวโลหะ

จํานวน 1 คู

7. แวนตานิรภัย

จํานวน 1 อัน

8. หนากากกรองสารเคมี

จํานวน 1 อัน

9. หนากากกรองอนุภาค

จํานวน 1 อัน

10. หนากากเชื่อม

จํานวน 1 อัน

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน 18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2. ลําดับการทดสอบ การตรวจสอบและใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ลําดับการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จัดเตรียมอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

ครูฝกจัดเตรียมอุปกรณปองกันอันตราย

2. เลือกหยิบอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

สวนบุคคลชนิดตาง ๆ ไวบนโตะ ผู รั บ การฝ ก เลื อ กหยิ บ อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คลให เ หมาะส มกั บ สถานการณที่ใบงานกําหนด

3. ตรวจสอบสภาพของอุปกรณปองกันอันตราย

ตรวจสอบสภาพของอุ ป กรณ ป อ งกั น

สวนบุคคล

อั น ตรายส ว นบุ ค คลทั้ ง ภายนอก และ ภายในว า อยู ใ นสภาพพร อ มใช ง าน หรื อ ชํารุด

4. บันทึกผลลงในตาราง

บันทึกสภาพของอุปกรณปองกันอันตราย สวนบุคคลลงในตารางบันทึกผล

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ลําดับการทดสอบ

คําอธิบาย

5. ทําตามขั้นตอนที่ 2-4 จนครบทุกสถานการณที่ หลัง จากบัน ทึก ผลแลว ใหผู ร ับ การฝก ใบงานกําหนด

ปฏิบ ัต ิต ามขั ้น ตอนที ่ 2-4 จนกระทั ่ ง ตรวจสอบสภาพของอุป กรณป  อ งกั น อัน ตรายสว นบุ ค คลครบทุ ก สถานการณ ที่ใบงานกําหนด

6. สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

ผูรับการฝกสวมทดลองใสอุปกรณป องกัน อันตรายสวนบุคคล สําหรับปฏิบัติงาน ดังนี้ - เชื่อมโลหะดวยเครื่องเชื่อมไฟฟา - ตัดโลหะโดยใชหินเจียระไน - เติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่ - ไลลมเบรก - เปาทําความสะอาดไสกรองอากาศ

7. ทําความสะอาดอุปกรณและสถานที่ปฏิบัติงาน ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13

รายการตรวจสอบ เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและ ครบถวน สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับเชื่อมโลหะโดยใชเครื่องเชื่อมไฟฟา การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับตัดโลหะโดยใชหินเจียระไน การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับเติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่ การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับไลลมเบรก การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับเปาทําความสะอาดไสกรองอากาศ การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับการปฏิบัติงานในหองที่มีสารเคมี การตรวจสอบสภาพของอุ ป กรณ ป อ งกั น อันตรายสวนบุคคล การสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณหลัง ปฏิบัติงาน เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เกณฑการพิจารณา ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัตงิ าน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ทันเวลาที่กําหนด


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสชุดปฏิบัติงานชางไดอยางถูกตองกอนเริ่ม

สวมใสชุดปฏิบัติงานชางไดอยางถูกตองกอนเริ่มปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน

ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ไมสวมใสชุดปฏิบัติงานชางกอนเริ่มปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับ เลือกใชอุปกรณปอ งกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น เชื่อมโลหะโดยใชเครื่องเชื่อมไฟฟา

5

ใหคะแนน 5 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน

4

การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตราย สําหรับตัดโลหะ

เลือกใชอุปกรณปอ งกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

โดยใชหินเจียระไน

ใหคะแนน 5 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน

5

อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับเติม

เลือกใชอุปกรณปอ งกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

น้ํากลั่นแบตเตอรี่

ใหคะแนน 5 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

6

การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับ ไลลมเบรก

เลือกใชอุปกรณปอ งกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนน เต็ม 5

เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 7

การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับ

เลือกใชอุปกรณปอ งกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

เปาทําความสะอาดไสกรองอากาศ

ใหคะแนน 5 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน

5

อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 8

การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับ เลือกใชอุปกรณปอ งกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ปฏิบัติงานในหองที่มีสารเคมี

5

ใหคะแนน 5 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน

9

การตรวจสอบอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

ตรวจสอบอุปกรณปองกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวน

5

ทุกชิ้น ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และ ไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 10

การสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 5 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และ ไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ลําดับที่

11

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 0 คะแนน 12

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 13

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนด 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

55

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

หัวขอวิชาที่ 5 0921010105 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 5.1 การตรวจสอบและการใชถังดับเพลิง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติตามวิธีการปองกันอัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 3 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบสภาพถังดับเพลิง พรอมบันทึกลงในตารางการตรวจสอบ และทดลองใชถังดับเพลิง ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ รายการอุปกรณ

สภาพของอุปกรณ พรอมใชงาน

ชํารุด

ถังดับเพลิง ถังที่ 1 ถังดับเพลิง ถังที่ 2 ถังดับเพลิง ถังที่ 3 ถังดับเพลิง ถังที่ 4 ถังดับเพลิง ถังที่ 5

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ความเสียหาย


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 5.1 การตรวจสอบและการใชถังดับเพลิง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก 1. รองเทานิรภัย 2. ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระบะสําหรับจุดกองไฟ

จํานวน 1 กระบะ

2. ชุดดับเพลิง

จํานวน 1 ชุด

3. ถังดับเพลิงชนิดคารบอนไดออกไซด

จํานวน 1 ถัง

4. ถังดับเพลิงชนิดเคมีสูตรน้ํา

จํานวน 1 ถัง

5. ถังดับเพลิงชนิดผงเคมีแหง

จํานวน 1 ถัง

6. ถังดับเพลิงชนิดโฟม

จํานวน 1 ถัง

7. ถังดับเพลิงชนิดสารสะอาด

จํานวน 1 ถัง

8. ถุงมือหนังสัตว

จํานวน 1 คู

9. ไมขีดไฟ หรือ ไฟแช็ก

จํานวน 1 อัน

10. รองเทาดับเพลิง

จํานวน 1 คู

11. หมวกนิรภัยประเภท D

จํานวน 1 ใบ 26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

1.5 การเตรียมวัสดุ 1. น้ํามันเชื้อเพลิง

จํานวน 1 แกลลอน

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ลําดับการทดสอบ การตรวจสอบและการใชถังดับเพลิง ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จัดเตรียมถังดับเพลิง และอุปกรณปองกันอันตราย

ครูฝกจัดเตรีย มถังดับ เพลิงชนิ ดตา ง ๆ

สวนบุคคล

และอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหพรอม

2. ตรวจสอบสภาพของถังดับเพลิง

ผู รั บ การฝ ก ตรวจสอบสภาพของถั ง ดับเพลิงวาอยูในสภาพพรอมใชงาน หรือ ชํารุด

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

3. บันทึกผลลงในตาราง

บันทึกสภาพของถังดับเพลิงลงในตาราง บันทึกผล

4. ทําตามขั้นตอนที่ 2 และ 3 จนครบทุกถังดับเพลิง

หลังจากบัน ทึ กผลแลว ใหผู รับการฝ ก ปฏิบัติ ตามขั้นตอนที่ 2 และ 3 จนกระทั่ งตรวจสอบสภาพของถั ง ดับเพลิงครบทุกถังตามที่ครูฝกกําหนด

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

5. เลือกอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

ผูรับ การฝก เลือ กหยิบ อุป กรณปอ งกัน

6. สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

อัน ต ร า ย ส ว น บุค ค ล ที ่ใ ช สํ า ห ร ับ ปฏิบัติงานดับเพลิ ง พรอมทั้งตรวจสอบ สภาพของอุป กรณ ผู รั บ การฝ ก สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อันตรายสวนบุคคล สําหรับปฏิบัติ งาน ดับเพลิง

7. เตรียมงานสําหรับทดสอบดับเพลิง

ครู ฝ ก จุ ด ไฟในกระบะ โดยใช น้ํ า มั น เชื้อเพลิง

8. ปฏิบัติงานดับเพลิง

ผูรับการฝกปฏิบัติงานดับเพลิง โดยยืน

9. ตรวจสอบสภาพกองเพลิง

เหนือลมหางจากฐานของไฟ 2 – 3 เมตร ดึงสลักวาลวถังดับเพลิง ยกปลายกรวย ไปที่ ฐ านของไฟในมุ ม 45 องศา บี บ ไก เปดวาลว และฉีดไปตามทางยาว พรอม สายสายฉีดไปทางซายและขวา ตรวจสอบกองเพลิงวาไฟดับสนิทแลวใช หรือไม

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขั้นตอนการทดสอบ 10. ทําความสะอาดอุปกรณและสถานที่ปฏิบัติงาน

คําอธิบาย ใชผาเช็ดทําความสะอาดอุปกรณ พรอม ทั้ ง ทํ า ความสะอาดสถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ ใ ห เรียบรอย

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบถังดับเพลิง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การใชถังดับเพลิง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การสวมใสอุปกรณปองกัน อัน ตรายเมื่อ ใช ถัง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ดับเพลิง

7

การปฏิบัติงานดับเพลิงในกระบะ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

หลังปฏิบัติงาน 10

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก รองเทา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นิรภัย ชุดปฏิบัติการชาง ไดอยางถูกตองและครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ขามหรือสลับในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ขามขั้นตอนที่สําคัญ ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบถังดับเพลิง

ตรวจสอบถังดับเพลิงไดอยางถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ตรวจสอบถังดับเพลิงไมถูกตอง 1 ถัง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบถังดับเพลิงไมถูกตองมากกวา 2 ถัง ใหคะแนน 1 คะแนน 5

การใชถังดับเพลิง

ใชถังดับเพลิงตามขั้นตอนไดอยางถูกตอง ทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ใชถังดับเพลิงไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขัน้ ตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ใชถังดับเพลิงไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ลําดับที่

6

รายการตรวจสอบ

การสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายเมื่อใชถังดับเพลิง

ขอกําหนดในการใหคะแนน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายเมื่อใชถังดับเพลิงไดอยาง ถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

คะแนน เต็ม 3

ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายเมื่อใชถังดับเพลิงไมครบถวน หรือไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายเมื่อใชถังดับเพลิงไมครบถวน และไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 7

การปฏิบัติงานดับเพลิงในกระบะ

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ขามหรือสลับขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ขามขั้นตอนที่สําคัญ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 0 คะแนน 9

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ลําดับที่

10

รายการตรวจสอบ

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนด 3 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

36

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

หัวขอวิชาที่ 6 0921010106 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 6.1 การตรวจสอบอุปกรณปฐมพยาบาลและการปฐมพยาบาลเบื้องตน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฐมพยาบาลเบื้องตนได

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 3 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน พรอมบันทึกผลการตรวจสอบลงในตารางบันทึกผล และทดสอบปฏิบัติงานปฐมพยาบาลเบื้องตน ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ รายการอุปกรณ

ตรวจสอบสภาพ พรอมใชงาน

ไมพรอมใชงาน

วันที่ผลิต

สําลี ไมพันสําลี ผาพันแผลหรือผากอซ เทปปดแผลขนาดตาง ๆ กรรไกร เข็มกลัดซอนปลาย พลาสเตอรปดแผล น้ําเกลือ แอลกอฮอล ยาใสแผล (เบตาดีน) ยาสําหรับทาแผลไฟไหม

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

วันหมดอายุ

ลักษณะอุปกรณ


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 6.1 การตรวจสอบอุปกรณปฐมพยาบาลและการปฐมพยาบาลเบื้องตน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - กรรไกร

จํานวน 1 เลม

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. เข็มกลัดซอนปลาย

จํานวน 1 กลอง

2. ถุงมือพยาบาล

จํานวน 1 คู

3. เทปปดแผลขนาดตาง ๆ

จํานวน 3 มวน

4. น้ําเกลือ

จํานวน 1 ขวด

5. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

6. ผาพันแผลหรือผากอซ

จํานวน 1 ถุง

7. พลาสเตอรปดแผล

จํานวน 1 กลอง

8. ไมพันสําลี

จํานวน 1 ถุง

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

9. ยาสําหรับทาแผลไฟไหม

จํานวน 1 ชุด

10. ยาใสแผล (เบตาดีน)

จํานวน 1 ขวด

11. สําลี

จํานวน 1 ถุง

12. แอลกอฮอล

จํานวน 1 ขวด

2. ลําดับการทดสอบ การตรวจสอบอุปกรณปฐมพยาบาลและการปฐมพยาบาลเบื้องตน ขั้นตอนการทดสอบ 1. จัดเตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน

คําอธิบาย ครู ฝ ก จั ด เตรี ย มอุ ป กรณ ป ฐมพยาบาล เบื้องตนใหพรอม

2. ตรวจสอบสภาพของอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ผูรับการฝกตรวจสอบสภาพของอุปกรณ ปฐมพยาบาลเบื้ อ งต น ว า อยู ใ นสภาพ พรอมใชงาน หรือไม

3. บันทึกผลลงในตาราง

บันทึกสภาพของอุป กรณปฐมพยาบาล เบื้องตนลงในตารางบันทึกผล

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

4. ทํ า ตามขั้ น ตอนที่ 2 และ 3 จนครบทุ ก อุ ป กรณ หลังจากบัน ทึ กผลแลว ใหผู รับการฝ ก ปฐมพยาบาลเบื้องตน

ปฏิบัติ ตามขั้นตอนที่ 2 และ 3 จนกระทั่ งตรวจสอบสภาพของอุปกรณ ปฐมพยาบาลเบื้องตนครบทุ กชิ้นตามที่ ใบงานกําหนด

5. เลื อกอุ ป กรณ ป ฐมพยาบาลเบื้ องต น สํ า หรั บ ปฐม ผูรับการฝกเลือกหยิบอุป กรณ พยาบาลแผลไฟไหม

ปฐมพยาบาลเบื้ องตนที่ใชสําหรับ ปฐมพยาบาลแผลไฟไหม

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

6. ระบายความรอนจากแผลไฟไหมเฉพาะชั้นผิวหนัง

ขอควรระวัง

ระบายความรอนออกจากบาดแผล โดย ห า มเจาะถุ ง น้ํ า หรื อ เทน้ําเกลือใหไหลผานบาดแผล

ตั ด หนั ง ส ว นที่ พ อง เด็ดขาด

7. ทําแผลและปดบาดแผล

ใชยาลางแผลลางทําความสะอาดบริเวณ คํานึงถึงเรื่องความ บาดแผลและทายาสําหรับ แผลไฟไหม สะอาดเปนสําคัญ พรอมปดบาดแผลดวยผาพันแผล

ขณะปฐมพยาบาล เพื่อปองกันการติดเชื้อ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดอุปกรณ พรอม ทั้ ง ทํ า ความสะอาดสถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ ใ ห เรียบรอย

8. ทําความสะอาดอุปกรณและสถานที่ปฏิบัติงาน

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบอุปกรณและยาที่ใชสําหรับ การ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ปฐมพยาบาลเบื้องตน

5

การปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากแผล

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ไฟไหมเฉพาะชั้นผิวหนัง 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

หลังปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสชุดปฏิบัติงานชางไดอยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสชุดปฏิบัติงานชางไดอยางถูกตองและครบถวน กอน เริ่มปฏิบัติงาน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ไมสวมใสชุดปฏิบัติงานชางกอนเริ่มปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ขามหรือสลับในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ขามขั้นตอนที่สําคัญ ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบอุปกรณและยาที่ใชสําหรับ การปฐมพยาบาลเบื้องตน

ตรวจสอบอุปกรณและยาที่ใชสําหรับการปฐมพยาบาล ไดอยางถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ตรวจสอบอุปกรณและยาที่ใชสําหรับการปฐมพยาบาล ไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบอุปกรณและยาที่ใชสําหรับการปฐมพยาบาล ไมถูกตอง และ ไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากแผลไฟไหมเฉพาะ ปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากแผลไฟไหมเฉพาะชั้นผิวหนัง ชั้นผิวหนัง

ไดอยางถูกตอง ทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากแผลไฟไหมเฉพาะชั้น ผิวหนังบกพรอง 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากแผลไฟไหมเฉพาะ ชั้นผิวหนังบกพรองมากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนด 1-5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

หัวขอวิชาที่ 6 0921010106 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 6.2 การฝกปฐมพยาบาลเบื้องตน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. อธิบายวิธีการการปฐมพยาบาลเบื้องตนได 2. ปฐมพยาบาลเบื้องตนได

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดสอบการปฐมพยาบาลเบื้องตนตามขั้นตอนที่ถูกตอง และบันทึกขอมูลลงในตาราง สถานการณจําลอง

อุปกรณที่ตองใช

ผูปวยบาดเจ็บเปนแผลถลอก

ผูปวยกระดูกหัก

ผูปวยหมดสติ

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขั้นตอนการปฏิบัติ


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 6.2 การฝกปฐมพยาบาลเบื้องตน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - กลองอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน

จํานวน 1 กลอง

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ผาเช็คทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2. ลําดับการทดสอบ การฝกปฐมพยาบาลเบื้องตน ขั้นตอนการทดสอบ 1. จัดเตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน

คําอธิบาย เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตนให พรอม

2. ตรวจสอบสภาพของอุปกรณปฐมพยาบาล

ผูรับการฝกตรวจสอบสภาพของอุป กรณ

เบื้องตน

ปฐมพยาบาลเบื้องตนวาอยูในสภาพพรอม ใชงาน หรือไม

3. เลือกอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน สําหรับปฐม ผูรับการฝกเลือกหยิบอุปกรณปฐมพยาบาล พยาบาลผูปวยแผลถลอก

เบื้องตนที่ใชสําหรับปฐมพยาบาลผูปวย แผลถลอก

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขั้นตอนการทดสอบ 4. ปฐมพยาบาลผูปวยแผลถลอก

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ผูรับการฝกปฏิบัติงานปฐมพยาบาลผูปวย ใหความสําคัญในเรื่อง แผลถลอก

ความสะอาด เพื่อ ปองกันการติดเชื้อ

5. ปฐมพยาบาลผูปวยกระดูกหัก

ผูรับการฝกปฏิบัติงานปฐมพยาบาลผูปวย คํ า นึ ง ถึ ง ขั้ น ตอนการ กระดูกหัก

ปฏิบัติที่ตองปลอดภัย อยูเสมอ

6. ปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ

ผูรับการฝกปฏิบัติงานปฐมพยาบาลผูปวย คํ า นึ ง ถึ ง ขั้ น ตอนการ หมดสติ

ปฏิบัติที่ตองปลอดภัย อยูเสมอ

7. ทําความสะอาดอุปกรณและสถานที่ปฏิบัติงาน

ใชผาเช็ดทําความสะอาดอุปกรณ พรอมทั้ง ทํ า ความสะอาดสถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และ จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การปฐมพยาบาลผูปวยแผลถลอก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การปฐมพยาบาลผูปวยกระดูกหัก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ชุด ปฏิบัติการชาง ไดอยางถูกตองกอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ขามหรือสลับในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ขามขั้นตอนที่สําคัญ ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การปฐมพยาบาลผูปวยแผลถลอก

ปฐมพยาบาลผูปวยแผลถลอก ไดอยางถูกตอง ทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ปฐมพยาบาลผูปวยแผลถลอก บกพรอง 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ปฐมพยาบาลผูปวยแผลถลอก บกพรองมากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน 5

การปฐมพยาบาลผูปว ยกระดูกหัก

ปฐมพยาบาลผูปวยกระดูกหัก ไดอยางถูกตอง ทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ปฐมพยาบาลผูปวยกระดูกหัก บกพรอง 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ปฐมพยาบาลผูปวยกระดูกหัก บกพรองมากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ลําดับที่

6

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

การปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ

ปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ ไดอยางถูกตอง ทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนน เต็ม 5

ปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ บกพรอง 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ บกพรองมากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน 7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 0 คะแนน 8

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนด 3 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

33

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี แบบทดสอบ กอนฝก

1. 2.

3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟ 10 7 งายและสารอันตรายได บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได อธิบายกฎของโรงงานและปาย เตือนตาง ๆ ได อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ ได ใชอุปกรณปองกันอันตราย ประเภทตาง ๆ ได อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัย และหลักการดับเพลิงได ปฏิบัติตามวิธีการปองกัน อัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได อธิบายวิธีการปฐมพยาบาล เบื้องตนได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได ประเมินผลภาคทฤษฎี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 6

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี แบบทดสอบ หลังฝก

1. 2.

3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟ 10 7 งายและสารอันตรายได บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได อธิบายกฎของโรงงานและปาย เตือนตาง ๆ ได อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ ได ใชอุปกรณปองกันอันตราย ประเภทตาง ๆ ได อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัย และหลักการดับเพลิงได ปฏิบัติตามวิธีการปองกัน อัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได อธิบายวิธีการปฐมพยาบาล เบื้องตนได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได ประเมินผลภาคทฤษฎี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ 52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 8

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 4.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 5.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 6.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 6.2

ใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได ปฏิบัติตามวิธีการปองกันอัคคีภัยและ หลักการดับเพลิงได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได

55

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 39

36

25

22

28

20

22

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

33

23

30

คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

152

107

104

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 30

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลว เปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (รอยละ 20) ภาคปฏิบัติ (รอยละ 80)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

8

2

16

104

0.526

54.704

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 70.704

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

10

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 10

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

8 × 2 = 16

คือ

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

=2


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

155 80 = 0.516 155

ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

คือ

113 × 0.516 = 58.308

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 16 + 58.308 = 74.308 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก ……………………………………………………..............เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี แบบทดสอบ กอนฝก

1. 2.

3. 4. 5. 6.

ผลลัพธการเรียนรู อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟ งายและสารอันตรายได บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได อธิบายกฎของโรงงานและปาย เตือนตาง ๆ ได อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ ได อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัย และหลักการดับเพลิงได อธิบายวิธีการปฐมพยาบาล เบื้องตนได

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 10 7

ประเมินผลภาคทฤษฎี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี แบบทดสอบ หลังฝก

1. 2.

3. 4. 5. 6.

ผลลัพธการเรียนรู อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟ งายและสารอันตรายได บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได อธิบายกฎของโรงงานและปาย เตือนตาง ๆ ได อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ ได อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัย และหลักการดับเพลิงได อธิบายวิธีการปฐมพยาบาล เบื้องตนได

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 10 7

ประเมินผลภาคทฤษฎี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 4.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 5.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 6.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 6.2

ใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได ปฏิบัติตามวิธีการปองกันอัคคีภัยและ หลักการดับเพลิงได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได

55

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 39

36

25

28

20

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไป ได คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

33

23

152

107

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

ประเมินผลภาคปฏิบัติ * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (รอยละ 20) ภาคปฏิบัติ (รอยละ 80)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC)

2 0.526

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบนั ทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.