คู่มือการประเมิน ช่างบำรุงรักษารถยนต์ ระดับ 1 โมดูล 3

Page 1

หนาปก



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

คูมือการประเมิน 0920163100501 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 3 09210103 วิทยาศาสตรประยุกต

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

คํานํา คูมือการประเมิน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต โมดูล 3 วิทยาศาสตรประยุกต ฉบับนี้ ไดพัฒนาขึ้นภายใตโครงการ พัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน (COMPETENCY BASED WORKFORCE SKILL TRAINING SYSTEM) พ.ศ. 2560 โดยมี วั ตถุ ป ระสงคเพื่อนํ าไปใชเ ป น ระบบการฝ ก อบรมตามความสามารถ สาขาชา ง บํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 เพื่อใหตอบสนองความตองการของกําลังแรงงานและตลาดแรงงานไดอยางเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และเพื่อรองรับระบบการรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติและระบบการรับรองความรูความสามารถในอนาคต อีกทั้ง เพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ใหแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมายตางๆ ใหกวางขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแงของขอบเขตของการ ใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผู รับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตางๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

5

แบบทดสอบกอนฝก

6

แบบทดสอบหลังฝก

10

กระดาษคําตอบ

14

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

15

แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หัวขอวิชาที่ 1 0921010301 ของเหลวและหนวยการวัด

16

หัวขอวิชาที่ 2 0921010302 ความรอนและเคมีเบื้องตน

32

หัวขอวิชาที่ 3 0921010303 หลักการของของเหลว

50

หัวขอวิชาที่ 4 0921010304 ความหมายของมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ

70

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ บันทึกผลการประเมินความสามารถ

87 93

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการ ฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการ ประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่อ อิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงราง หลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัตแิ กผูรับการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 3 09210103 วิทยาศาสตรประยุกต 1. อธิบายเกี่ยวกับสมบัติของของเหลวได 2. ทดลองเกี่ยวกับสมบัติของของเหลวได 3. อธิบายเกี่ยวกับหนวยการวัดของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได 4. ทดลองเกี่ยวกับหนวยการวัดของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได 5. อธิบายเกี่ยวกับความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน และเคมีเบื้องตนได 6. ทดลองเกี่ยวกับความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน และเคมีเบื้องตนได 7. อธิบายเกี่ยวกับหลักการของของเหลวได 8. ทดลองเกี่ยวกับหลักการของของเหลวได 9. อธิบายความหมายของมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรงได 10. ทดลองเกี่ยวกับมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรงได

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

แบบทดสอบกอนฝก คําชี้แจง: 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 3 09210103 วิทยาศาสตรประยุกต 1. ขอใด ไมใช สมบัติของของเหลว ก. มีแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคนอยกวาของแข็ง ข. มีการจัดเรียงอนุภาคเปนระเบียบ ค. รูปรางของของเหลวจะเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ ง. มีปริมาตรคงที่ที่อุณหภูมิและความดันคงที่ 2. ชื่อคํานําหนาหนวยของ FACTOR ก. เฮกโต (hecto)

10−9 เรียกวาอะไร

ข. เทรา (tera)

ค. นาโน (nano) ง. พิโก (pico)

3. ที่ระดับพลังงานที่อุณหภูมิ 0 เคลวิน (-273°C) อิเล็กตรอนภายในอะตอมจะมีลักษณะเปนอยางไร ก. อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่รอบนิวเคลียส ข. อิเล็กตรอนจะยกตัวหลุดจากวงโคจรกลายเปนประจุ (Ion) ค. อิเล็กตรอนจะรวมตัวกับโปรตอนกลายเปนนิวตรอน ง. อิเล็กตรอนจะไมโคจรรอบนิวเคลียส 4. การสรางปลองควันเพื่อระบายควันและแกสของโรงงานอุตสาหกรรม ใชหลักการใด ก. การถายโอนความรอนผานตัวกลาง โดยตัวกลางสวนที่ไดรับความรอนจะพาความรอนไปดวย ข. การสงผานความรอนจากจุดที่มีอุณหภูมิสูงกวาไปยังจุดที่มีอุณหภูมิต่ํากวา อาจมีตัวกลางหรือไมมีก็ได ค. เปนการถายเทความรอนออกรอบตัวทุกทิศทุกทาง โดยไมตองอาศัยตัวกลางในการสงพลังงาน ง. การปลดปลอยความรอนออกจากจุดหนึ่ง โดยที่ไมจําเปนตองอาศัยตัวกลางชวย

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

5. กลองพลาสติกมีความกวาง 1 เมตร ความยาว 1 เมตร และความสูง 1 เมตร จงหาปริมาตรของน้ําที่เต็มกลองพลาสติก ตามมาตรฐาน SI Unit คือเทาไร ก. 1 ลูกบาศกเซนติเมตร ข. 1 ลูกบาศกเมตร ค. 3 ลูกบาศกเซนติเมตร ง. 3 ลูกบาศกเมตร 6. จากเรื่องของแรงลอยตัว ขอใดถูก ก. แรงที่ชวยพยุงวัตถุไมใหจมลงไปในของเหลว โดยมีขนาดขึ้นอยูกับ ความหนาแนนของของเหลวนั้น และความยาว ของวัตถุสวนที่จมลงไปในของเหลว ข. แรงที่ชวยพยุงวัตถุไมใหจมลงไปในของเหลว เมื่อวัตถุนั้นมีความหนาแนนมากกวาของเหลว ค. แรงที่ชวยพยุงวัตถุใหลอยปริ่มของเหลว เมื่อวัตถุนั้นมีความหนาแนนใกลเคียงกับของเหลว ง. แรงทีท่ ําใหวัตถุจมลงไปในของเหลว เมื่อวัตถุนั้นมีความหนาแนนนอยกวาของเหลว 7. เพราะเหตุใด ปริมาตรของน้ํามันพืชที่อยูในกระทะรอน จึงไมคอยเปลี่ยนแปลง ก. เนื่องจากน้ํามันพืชเปนของเหลวที่มีอนุภาคเรียงตัวกันอยางหนาแนน ข. เนื่องจากน้ํามันพืชเปนของเหลวที่มีอนุภาคมากกวาของแข็ง ค. เนื่องจากน้ํามันพืชเปนของเหลวที่มีชองวางระหวางโมเลกุลนอย ง. เนื่องจากน้ํามันพืชเปนของเหลวที่มีสมบัติไมแพรกระจายของโมเลกุล 8. นาย A ทดลองนําวัตถุชนิดหนึ่งชั่งในน้ําและชั่งในอากาศ ผลคือน้ําหนักที่ชั่งในน้ํานอยกวาที่ชั่งในอากาศเพราะเหตุใด ก. เนื่องจากแรงพยุงของของเหลวมากกวาในอากาศ ข. เนื่องจากแรงพยุงของของเหลวนอยกวาในอากาศ ค. เนื่องจากในอากาศมีความกดอากาศสูง ง. เนื่องจากแรงโนมถวงที่กระทําในน้ํากับอากาศไมเทากัน

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

9. ขอใด คือ ความหมายของมวล ก. สมบัติของกอนสสารที่บงบอกถึงคาความตานทานในการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ ข. แรงที่เกิดจากความเรงโนมถวงของโลกกระทําตอวัตถุ ตามแนวระนาบของวัตถุ ค. แรงที่เกิดจากความกดอากาศของโลกกระทําตอวัตถุ ตามแนวระนาบของวัตถุ ง. สมบัติของกอนสสารที่บงบอกถึงคาความตานทานในการเปลี่ยนสภาพของไอออน 10. นาย ก. ไดทําการทดลองเรื่องความถวงจําเพาะ โดยการโยนวัตถุทดลองลงน้ํา ปรากฎวา วัตถุทดลองนั้นจมน้ํา จากการ ทดลองขอใดสามารถสรุปผลไดดีที่สุด ก. วัตถุทดลองมีความดันมากกวาน้ํา ข. วัตถุทดลองมีความถวงจําเพาะนอยกวาน้ํา ค. วัตถุทดลองมีความถวงจําเพาะเทากับน้ํา ง. วัตถุทดลองมีความถวงจําเพาะมากกวาน้ํา

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

แบบทดสอบหลังฝก คําชี้แจง: 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 3 09210103 วิทยาศาสตรประยุกต 1. ขอใด คือ ความหมายของมวล ก. สมบัติของกอนสสารที่บงบอกถึงคาความตานทานในการเปลี่ยนสภาพของไอออน ข. แรงที่เกิดจากความกดอากาศของโลกกระทําตอวัตถุ ตามแนวระนาบของวัตถุ ค. แรงที่เกิดจากความเรงโนมถวงของโลกกระทําตอวัตถุ ตามแนวระนาบของวัตถุ ง. สมบัติของกอนสสารที่บงบอกถึงคาความตานทานในการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ 2. กลองพลาสติกมีความกวาง 1 เมตร ความยาว 1 เมตร และความสูง 1 เมตร จงหาปริมาตรของน้ําที่เต็มกลองพลาสติก ตามมาตรฐาน SI Unit คือเทาไร ก. 3 ลูกบาศกเมตร

ค. 1 ลูกบาศกเมตร

ข. 3 ลูกบาศกเซนติเมตร

ง. 1 ลูกบาศกเซนติเมตร

3. เพราะเหตุใด ปริมาตรของน้ํามันพืชที่อยูในกระทะรอน จึงไมคอยเปลี่ยนแปลง ก. เนื่องจากน้ํามันพืชเปนของเหลวที่มีสมบัติไมแพรกระจายของโมเลกุล ข. เนื่องจากน้ํามันพืชเปนของเหลวที่มีชองวางระหวางโมเลกุลนอย ค. เนื่องจากน้ํามันพืชเปนของเหลวที่มีอนุภาคมากกวาของแข็ง ง. เนื่องจากน้ํามันพืชเปนของเหลวที่มีอนุภาคเรียงตัวกันอยางหนาแนน 4. ที่ระดับพลังงานที่อุณหภูมิ 0 เคลวิน (-273°C) อิเล็กตรอนภายในอะตอมจะมีลักษณะเปนอยางไร ก. อิเล็กตรอนจะรวมตัวกับโปรตอนกลายเปนนิวตรอน ข. อิเล็กตรอนจะไมโคจรรอบนิวเคลียส ค. อิเล็กตรอนจะยกตัวหลุดจากวงโคจรกลายเปนประจุ (Ion) ง. อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่รอบนิวเคลียส

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

5. ขอใด ไมใช สมบัติของของเหลว ก. มีปริมาตรคงที่ที่อุณหภูมิและความดันคงที่ ข. รูปรางของของเหลวจะเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ ค. มีการจัดเรียงอนุภาคเปนระเบียบ ง. มีแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคนอยกวาของแข็ง 6. นาย ก. ไดทําการทดลองเรื่องความถวงจําเพาะ โดยการโยนวัตถุทดลองลงน้ํา ปรากฎวา วัตถุทดลองนั้นจมน้ํา จากการ ทดลองขอใดสามารถสรุปผลไดดีที่สุด ก. วัตถุทดลองมีความถวงจําเพาะมากกวาน้ํา ข. วัตถุทดลองมีความถวงจําเพาะนอยกวาน้ํา ค. วัตถุทดลองมีความดันมากกวาน้ํา ง. วัตถุทดลองมีความถวงจําเพาะเทากับน้ํา 7. นาย A ทดลองนําวัตถุชนิดหนึ่งชั่งในน้ําและชั่งในอากาศ ผลคือน้ําหนักที่ชั่งในน้ํานอยกวาที่ชั่งในอากาศเพราะเหตุใด ก. เนื่องจากแรงพยุงของของเหลวนอยกวาในอากาศ ข. เนื่องจากแรงโนมถวงที่กระทําในน้ํากับอากาศไมเทากัน ค. เนื่องจากในอากาศมีความกดอากาศสูง ง. เนื่องจากแรงพยุงของของเหลวมากกวาในอากาศ 8. จากเรื่องของแรงลอยตัว ขอใดถูก ก. แรงที่ชวยพยุงวัตถุไมใหจมลงไปในของเหลว โดยมีขนาดขึ้นอยูกับ ความหนาแนนของของเหลวนั้น และความยาว ของวัตถุสวนที่จมลงไปในของเหลว ข. แรงที่ชวยพยุงวัตถุใหลอยปริ่มของเหลว เมื่อวัตถุนั้นมีความหนาแนนใกลเคียงกับของเหลว ค. แรงที่ชวยพยุงวัตถุไมใหจมลงไปในของเหลว เมื่อวัตถุนั้นมีความหนาแนนมากกวาของเหลว ง. แรงทีท่ ําใหวัตถุจมลงไปในของเหลว เมื่อวัตถุนั้นมีความหนาแนนนอยกวาของเหลว

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

9. การสรางปลองควันเพื่อระบายควันและแกสของโรงงานอุตสาหกรรม ใชหลักการใด ก. การปลดปลอยความรอนออกจากจุดหนึ่ง โดยที่ไมจําเปนตองอาศัยตัวกลางชวย ข. การสงผานความรอนจากจุดที่มีอุณหภูมิสูงกวาไปยังจุดที่มีอุณหภูมิต่ํากวา อาจมีตัวกลางหรือไมมีก็ได ค. เปนการถายเทความรอนออกรอบตัวทุกทิศทุกทาง โดยไมตองอาศัยตัวกลางในการสงพลังงาน ง. การถายโอนความรอนผานตัวกลาง โดยตัวกลางสวนที่ไดรับความรอนจะพาความรอนไปดวย 10. ชื่อคํานําหนาหนวยของ FACTOR ก. นาโน (nano) ข. พิโก (pico)

10−9 เรียกวาอะไร

ค. เฮกโต (hecto) ง. เทรา (tera)

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

หัวขอวิชาที่ 1 0921010301 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.1 การตวงของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับสมบัติของเหลวได 2. ทดลองเกี่ยวกับหนวยการวัดของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได 3. ปฏิบัติงานตวงของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได 4. คํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเทน้ําเปลาลงในกระบอกตวงแตละขนาดใหไดจํานวน 5,000 ซีซีและทําการบันทึกผลในตาราง บันทึกผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง อุปกรณในการตวง

จํานวนกระบอกที่ใช

กระบอกตวง 500 ซีซี กระบอกตวง 1,000 ซีซี กระบอกตวง 2,000 ซีซี สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.1 การตวงของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระบอกตวง 500 ซีซี

จํานวน 10 อัน

2. กระบอกตวง 1,000 ซีซี

จํานวน 5 อัน

3. กระบอกตวง 2,000 ซีซี

จํานวน 3 อัน

4. แกลลอนน้ํามัน 5 ลิตร

จํานวน 1 ใบ

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํา

จํานวน 5 ลิตร

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. ลําดับการทดสอบ การตวงของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ และใชผาเช็ดทําความสะอาด

2. เติมน้ําลงในแกลลอน

เติ ม น้ํ า ลงไปในแกลลอนเปล า จนเต็ ม ระวังอยาทําน้ําหกและ ความจุ 5 ลิตร

ทําใหพื้นเปยก เพราะ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได

3. ตวงน้ําโดยใชกระบอกตวงขนาด 2,000 ซีซี

เทน้ํ า จากแกลลอนลงในกระบอกตวง

4. นับจํานวนกระบอกตวง

ขนาด 2,000 ซี ซี จนกระทั่ ง น้ํ า หมด

5. ตวงน้ําโดยใชกระบอกตวงขนาด 1,000 ซีซี

แกลลอน

6. นับจํานวนกระบอกตวง

นับจํานวนกระบอกตวงขนาด 2,000 ซีซี

7. ตวงน้ําโดยใชกระบอกตวงขนาด 500 ซีซี

ที่ใช และบันทึกผล

8. นับจํานวนกระบอกตวง

เทน้ํ า จากกระบอกตวงขนาด 2,000 ซี ซี ลงในกระบอกตวงขนาด 1,000 ซีซี นับจํานวนกระบอกตวงขนาด 1,000 ซีซี ที่ใช และบันทึกผล เทน้ําจากกระบอกตวงขนาด 1,000 ซีซี ลง ในกระบอกตวงขนาด 500 ซีซี

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย นั บ จํ า นวนกระบอกตวงขนาด 500 ซี ซี ที่ใช และบันทึกผล

9. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

ผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

สรุปผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

เฉลยแบบทดสอบภาคปฏิบัติ แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.1 การตวงของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเทน้ําเปลาลงในกระบอกตวงแตละขนาดใหไดจํานวน 5,000 ซีซี และทําการบันทึกผลในตาราง บันทึกผลการทดลอง ตัวอยางเฉลยแบบทดสอบภาคปฏิบัติ ตารางบันทึกผลการทดลอง อุปกรณในการตวง

จํานวนกระบอกที่ใช

กระบอกตวง 500 ซีซี

10 กระบอก

กระบอกตวง 1,000 ซีซี

5 กระบอก

กระบอกตวง 2,000 ซีซี

2 กระบอก

1 2

สรุปผลการทดลอง

จากการทดลองพบวา เมื่อเทน้ําจากแกลลอนปริมาตร 5 ลิตร ใสลงกระบอกตวงขนาดตาง ๆ จะไดจํานวนกระบอกตวง แตกตางกัน ดังนี้ กระบอกตวง 500 ซีซี ได 10 กระบอก กระบอกตวง 1,000 ซีซี ได 5 กระบอก และกระบอกตวง 2,000 ซีซี ได 2 ½ กระบอก ซึ่งสรุปไดวา น้ําสามารถอยูในภาชนะที่มีขนาดแตกตางกันได โดยจะมีปริมาตรรวมคงเดิม

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกต อง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

ผลการทดลอง

ผลการทดลองถูกตองทุกขอ ใหคะแนน 5 คะแนน ผลการทดลองถูกตอง 2 ขอ ใหคะแนน 3 คะแนน

5

ผลการทดลองถูกตองนอยกวา 2 ขอ ใหคะแนน 0 คะแนน 5

สรุปผลการทดลอง

สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

หัวขอวิชาที่ 1 0921010301 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.2 การชั่งของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับสมบัติของเหลวได 2. ทดลองเกี่ยวกับหนวยการวัดของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได 3. ปฏิบัติงานชั่งของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได 4. คํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกชั่งแกลลอนเปลาบนเครื่องชั่ง จากนั้นเติมน้ําเปลาครั้งละ 1 ลิตร ชั่งน้ําหนักของแกลลอนที่บรรจุน้ํา พรอมบันทึกผลลงในตารางบันทึกผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง การชั่งน้ําหนักของแกลลอน

น้ําหนักที่ชั่งได (กิโลกรัม)

แกลลอนเปลา แกลลอนบรรจุน้ํา 1 ลิตร แกลลอนบรรจุน้ํา 2 ลิตร แกลลอนบรรจุน้ํา 3 ลิตร แกลลอนบรรจุน้ํา 4 ลิตร แกลลอนบรรจุน้ําจนเต็ม สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.2 การชั่งของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4. การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. แกลลอนน้ํามัน 5 ลิตร

จํานวน 1 ใบ

2. เครื่องชั่งน้ําหนักดิจิทัล

จํานวน 1 เครื่อง

3. ถวยทดลอง 1,000 ซีซี

จํานวน 5 ใบ

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5. การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํา

จํานวน 5 ลิตร

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. ลําดับการทดสอบ การชั่งของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ และใชผาเช็ดทําความสะอาด

2. เติมน้ําลงในถวยทดลอง

เทน้ําลงในถวยทดลอง ขนาด 1,000 ซีซี จํานวน 5 ใบ จนเต็ม (1,000 ซีซี = 1 ลิตร)

3. ชั่งแกลลอนเปลา

ชั่งแกลลอนเปลา และบันทึกผล

4. เติมน้ําลงในแกลลอน

เติ ม น้ํ า ลงไปในแกลลอนเปล า ให ไ ด ระวังอยาทําน้ําหกและ ปริมาตร 1 ลิตร

ทําใหพื้นเปยก เพราะ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขั้นตอนการทดสอบ 5. ชั่งแกลลอนที่มีน้ํา

คําอธิบาย ชั่ ง แกลลอนที่ มี น้ํา ปริ ม าตร 1 ลิ ต ร และ บันทึกผล

6. เติมน้ําเพิ่มในแกลลอน

เติมน้ําลงไปในแกลลอน เพิ่มอีก 1 ลิตร

7. ชั่งแกลลอนหลังเติมน้ําเพิ่ม

นําแกลลอนที่เติมน้ําเพิ่ม แลว ไปชั่ง และ

8. ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ 5 – 6

บันทึกผล ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ 5 – 6 ซ้ํา จนกวาน้ํา ในแกลลอนจะครบความจุ 5 ลิตร

9. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

ผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

สรุปผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

เฉลยแบบทดสอบภาคปฏิบัติ แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.2 การชั่งของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit คําชี้แจง ใหผูรับการฝกชั่งแกลลอนเปลาบนเครื่องชั่ง จากนั้นเติมน้ําเปลาครั้งละ 1 ลิตร ชั่งน้ําหนักของแกลลอนที่บรรจุน้ํา พรอมบันทึกผลลงในตารางบันทึกผลการทดลอง ตัวอยางเฉลยแบบทดสอบภาคปฏิบัติ ตารางบันทึกผลการทดลอง การชั่งน้ําหนักของแกลลอน

น้ําหนักที่ชั่งได (กิโลกรัม)

แกลลอนเปลา

0.1

แกลลอนบรรจุน้ํา 1 ลิตร

1.1

แกลลอนบรรจุน้ํา 2 ลิตร

2.1

แกลลอนบรรจุน้ํา 3 ลิตร

3.1

แกลลอนบรรจุน้ํา 4 ลิตร

4.1

แกลลอนบรรจุน้ําเปลาจนเต็ม

5.1

สรุปผลการทดลอง จากการชั่งน้ําหนักของแกลลอนเปลา พบวามีน้ําหนัก 0.1 กิโลกรัม เมื่อเติมน้ําลงในแกลลอน 1 ลิตร ชั่งน้ําหนัก แกลลอนที่มีน้ํา 1 ลิตรนั้นได 1.1 กิโลกรัม และเติมน้ําลงไปอีกครั้งละ 1 ลิตร ชั่งน้ําหนักทุกครั้งหลังจากเติมน้ําในแตละลิตร เติมไปเรื่อย ๆ จนครบ 5 ลิตร น้ําเต็มแกลลอนพอดี ซึ่งแกลลอนที่ใสน้ําเต็มมีน้ําหนัก 5.1 กิโลกรัม จะได น้ําหนักของน้ําที่อยูในแกลลอน = น้ําหนักของแกลลอนที่มีน้ําเต็ม – น้ําหนักแกลลอนเปลา = 5.1 kg. – 0.1 kg. = 5 kg. ดังนั้น น้ําที่มีปริมาตร 5 ลิตร จะมีน้ําหนัก 5 กิโลกรัม

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

ผลการทดลอง

ผลการทดลองถูกตองทุกขอ ใหคะแนน 5 คะแนน ผลการทดลองถูกตอง 5 ขอ ใหคะแนน 4 คะแนน

5

ผลการทดลองถูกตอง 4 ขอ ใหคะแนน 3 คะแนน ผลการทดลองถูกตอง 3 ขอ ใหคะแนน 2 คะแนน ผลการทดลองถูกตองนอยกวา 3 ขอ ใหคะแนน 0 คะแนน 5

สรุปผลการทดลอง

สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ใหคะแนน 3 คะแนน สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

หัวขอวิชาที่ 2 0921010302 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.1 การทดลองนําความรอนของแทงไมและแทงแกว 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน และเคมีเบื้องตนได 2. ปฏิบัติงานทดลองเรื่องการนําความรอนของแทงไมและแทงแกวได 3. คํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลองการนําความรอนของแทงไมและแทงแกว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้งเขียนสรุปผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง

สภาพของดินน้ํามัน

ดินน้ํามันที่ปลายแทงไม

ดินน้ํามันที่ปลายแทงแกว สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.1 การทดลองนําความรอนของแทงไมและแทงแกว 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4. การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ชุดทดลองการนําความรอน

จํานวน 1 ชุด

2. ถวยทดลอง ขนาด 250 ซีซี.

จํานวน 1 ใบ

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํารอน

ปริมาตร 200 ซีซี.

2. ดินน้ํามัน

จํานวน 2 กอน

3.

ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. ลําดับการทดสอบ การนําความรอนของแทงไมและแทงแกว ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ

คําอธิบาย ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ และใชผาเช็ดทําความสะอาด

2. เตรียมน้ํารอนในถวยทดลอง

เทน้ํารอนลงในถวยทดลองใหไดปริมาตร 200 ซีซี

3. ประกอบชุดทดลอง

ประกอบแท ง ไม แ ละแท ง แก ว เข า กั บ ชุ ด

4. ติดดินน้ํามันไวที่ปลายแทงไมและแทงแกว

ทดลองการนําความรอน ปนดินน้ํามันเปนกอนกลม ๆ แลวติดไวที่ ปลายแทงไมและแทงแกว

5. เทน้ํารอนลงในชุดทดลอง

เทน้ํารอนจากถวยทดลองลงในชุดทดลอง การนําความรอนที่ประกอบเสร็จเรียบรอย แลว

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขั้นตอนการทดสอบ 6. สังเกตผล

คําอธิบาย รอระยะเวลา 10 นาที สังเกตผลที่เกิดขึ้น และบันทึกลงในตาราง

7. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

ผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

สรุปผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

เฉลยแบบทดสอบภาคปฏิบัติ แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.1 การทดลองนําความรอนของแทงไมและแทงแกว คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําการทดลองการนําความรอนของยางและพลาสติก และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้งเขียนสรุปผลการทดลอง ตัวอยางเฉลยแบบทดสอบภาคปฏิบัติ ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง

สภาพของดินน้ํามัน มีลักษณะเหมือนเดิม

ดินน้ํามันที่ปลายแทงไม มีลักษณะเหมือนเดิม ดินน้ํามันที่ปลายแทงแกว สรุปผลการทดลอง จากการทดลองพบวา ดินน้ํามันมีสภาพคงเดิม ไมหลุดออกจากปลายแทงไมและปลายแทงแกว แมน้ําในแกวจะมี อุณหภูมิสูงมาก แตความรอนก็ไมสงผานแทงไมและแทงแกวไปยังดินน้ํามัน จึงสรุปไดวาวัสดุทั้งสอง ซึ่งทําจากไมและแกว ไมสามารถนําความรอนได

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 3 ชนิด

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ใหคะแนน 3 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

ผลการทดลอง

ผลการทดลองถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน ผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน ผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

สรุปผลการทดลอง

สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนน เต็ม 5

สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

หัวขอวิชาที่ 2 0921010302 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.2 การทดลองนําความรอนของแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน และเคมีเบื้องตนได 2. ปฏิบัติงานทดลองเรื่องการนําความรอนของแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดงได 3. คํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลองการนําความรอนของแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดง และบันทึกผลการทดลอง ลงในตาราง พรอมทั้งเขียนสรุปผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง

สภาพของดินน้ํามัน

ดินน้ํามันที่ปลายแทงอะลูมิเนียม ดินน้ํามันที่ปลายแทงเหล็ก

ดินน้ํามันที่ปลายแทงทองแดง สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.2 การทดลองนําความรอนของแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ชุดทดลองการนําความรอน (อะลูมิเนียม เหล็ก ทองแดง)

จํานวน 1 ชุด

2. ถวยทดลอง ขนาด 250 ซีซี.

จํานวน 1 ใบ

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5. การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํารอน

ปริมาตร 200 ซีซี..

2. ดินน้ํามัน

จํานวน 2 กอน

3. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. ลําดับการทดสอบ การนําความรอนของแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดง ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ และใชผาเช็ดทําความสะอาด

2. ประกอบชุดทดลอง

ประกอบแท ง อะลู มิ เ นี ย ม เหล็ ก และ

3. ติดดินน้ํามันไวที่ปลายแทงไมและแทงแกว

ทองแดงเข า กั บ ชุ ด ทดลองการนํ า ความ รอน ปนดินน้ํามันเปนกอนกลม ๆ แลวติดไวที่ ปลายแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดง

4. เตรียมน้ํารอนในถวยทดลอง

เทน้ํารอนลงในถวยทดลองใหไดปริมาตร ระวังอยาใหน้ํารอนหก

5. เทน้ํารอนลงในชุดทดลอง

250 cm3

เพราะอาจทํ า ให เ กิ ด อุบัติเหตุได

เทน้ํารอนในถวยทดลองลงในชุดทดลอง ก า ร นํ า ค ว า ม ร อ น ที่ ป ร ะ ก อ บ เ ส ร็ จ เรียบรอยแลว

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขั้นตอนการทดสอบ 6. สังเกตผล

คําอธิบาย รอระยะเวลา 10 นาที สังเกตผลที่เกิดขึ้น และบันทึกลงในตาราง

7. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

ผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

สรุปผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

เฉลยแบบทดสอบภาคปฏิบัติ แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.2 การทดลองนําความรอนของแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดง คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลองการนําความรอนของแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดง และบันทึกผลการทดลองลงใน ตาราง พรอมทั้งเขียนสรุปผลการทดลอง ตัวอยางเฉลยแบบทดสอบภาคปฏิบัติ ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง

สภาพของดินน้ํามัน ละลายหลุดออกจากแทงอะลูมิเนียมภายในเวลา 3 นาที

ดินน้ํามันที่ปลายแทงอะลูมิเนียม ละลายหลุดออกจากแทงเหล็กภายในเวลา 4 นาที ดินน้ํามันที่ปลายแทงเหล็ก ละลายหลุดออกจากแทงทองแดงภายในเวลา 2 นาที ดินน้ํามันที่ปลายแทงทองแดง สรุปผลการทดลอง จากการทดลองพบวา ดินน้ํามันละลายและหลุดออกจากปลายแทงลวดทองแดงภายในเวลา 2 นาที ละลายและหลุดออก จากปลายแทงเหล็กภายในเวลา 4 นาที และปลายแทงอะลูมิเนียม ภายในเวลา 3 นาที แสดงใหเห็นวา เหล็ก อะลูมิเนียม และ สามารถสงผานความรอนไปถึงดินน้ํามัน ได จึงสรุปไดวา วัสดุทั้งสามชนิดมีคุณสมบัตินําความรอน ซึ่งวัสดุที่นําความรอนไดดี ที่สุด คือทองแดง เพราะความรอนที่สงผานทองแดง ทําใหดินน้ํามันละลายและหลุดออกโดยใชเวลานอยกวาเหล็ก

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 3 ชนิด

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ใหคะแนน 3 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

ผลการทดลอง

ผลการทดลองถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน ผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน ผลการทดลองไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

สรุปผลการทดลอง

สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนน เต็ม 5

สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

หัวขอวิชาที่ 3 0921010303 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.1 การทดลองเรื่องแรงลอยตัวของของเหลว - วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับหลักการของของเหลวได 2. ปฏิบัติงานทดลองเรื่องแรงลอยตัวของของเหลวได 3. คํานึงถึงความปลอดภัย - ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง - คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลองเรื่องแรงลอยตัวของของเหลว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้งเขี ยน สรุปผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง

ผลการทดลอง (g)

น้ําหนักของดินน้ํามันเมื่อชั่งในอากาศ (ก.) น้ําหนักของดินน้ํามันขณะจมครึ่งกอน (ข.) น้ําหนักของดินน้ํามันขณะจมทั้งกอน (ค.) สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.1 การทดลองเรื่องแรงลอยตัวของของเหลว 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เครื่องชั่งสปริงแบบแขวน

จํานวน 1 อัน

2. ถวยยูเรกา

จํานวน 1 ใบ

3. ถวยทดลอง

จํานวน 1 ใบ

4. เครื่องชั่งน้ําหนักดิจิทัล

จํานวน 1 เครื่อง

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํา

จํานวน 1 ลิตร

2. ดินน้ํามัน

จํานวน 1 กอน

3. เชือกเสนเล็ก

จํานวน 1 เสน

4. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน 51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. ลําดับการทดสอบ การทดลองเรื่องแรงลอยตัวของของเหลว ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ

คําอธิบาย ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ และใชผาเช็ดทําความสะอาด

2. เตรียมชั่งน้ําหนักกอนดินน้ํามัน

นําปลายเชือกขางหนึ่งผูกกับกอนดินน้ํามัน ปลายเชือกที่เหลือผูกคลองกับตะขอเครื่อง ชั่งสปริง

3. ชั่งน้ําหนักกอนดินน้ํามัน

ชั่งน้ําหนักของดินน้ํามันขณะอยูในอากาศ สังเกตและบันทึกผล

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขั้นตอนการทดสอบ 4. ชั่งน้ําหนักของถวยทดลองเปลา

คําอธิบาย นํ า ถ ว ยทดลองเปล า ชั่ ง บนเครื่ อ งชั่ ง

ขอควรระวัง

น้ําหนัก และบันทึกผล

5. เทน้ําลงในถวยยูเรกา

เทน้ําใสในถวยยูเ รกา ซึ่งมีชองทางใหน้ํ า ระวังอยาทําน้ําหกและ

6. ชั่งน้ําหนักของดินน้ํามันในน้ํา

ลน ออกมาได และวางถว ยทดลองไวใตรู ทําใหพื้นเปย ก เพราะ ของถวยยูเรกา

อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได

ชั่งน้ําหนักของดิ นน้ํามัน ในน้ําขณะจมทั้ง กอน และบันทึกผล

7.หาน้ําหนักของดินน้ํามันที่หายไป

นําน้ําหนักของดินน้ํามันขณะชั่งในอากาศ ลบกับน้ําหนักของดินน้ํามันขณะชั่งในน้ํา เพื่อหาน้ําหนักที่หายไป และบันทึกผล

8. ชั่งน้ําหนักน้ําที่ลนออกจากถวยยูเรกา

นําถวยทดลองที่รองรับน้ําซึ่งลนจากถ ว ย ยูเรกาไปชั่งน้ําหนัก และบันทึกผล

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขั้นตอนการทดสอบ 9. เปรียบเทียบน้ําหนักของน้ําในถวยทดลองกับ

คําอธิบาย เปรียบเทียบน้ําหนักของน้ําในถวยทดลอง

น้ําหนักของดินน้ํามันที่หายไป

ซึ่งเปนน้ําที่ลนออกมาจากถวยยูเรกา กับ น้ําหนักของดินน้ํามันที่หายไป และสรุปผล การทดลอง

10. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

ผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

สรุปผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

เฉลยแบบทดสอบภาคปฏิบัติ แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.1 การทดลองเรื่องแรงลอยตัวของของเหลว คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลองเรื่องแรงลอยตัวของของเหลว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้งเขียนสรุปผล การทดลอง ตัวอยางเฉลยแบบทดสอบภาคปฏิบัติ ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง

ผลการทดลอง (g)

น้ําหนักของถวยทดลองเปลา

10.2

น้ําหนักของดินน้ํามันเมื่อชั่งในอากาศ

4.8

น้ําหนักของดินน้ํามันที่ชั่งในน้ํา

4.2

น้ําหนักของน้ําที่ลนจากถวยยูเรกา

2.3

สรุปผลการทดลอง จากการทดลองพบวา น้ําหนักของดินน้ํามันเมื่อชั่งในอากาศจะมีคามากกวาน้ําหนักของดินน้ํามันเมื่อชั่งขณะจมน้ํา ทั้งกอน เนื่องจากในน้ํามีแรงที่มากระทําตอวัตถุ และเมื่อนําน้ําที่ลนออกมาจากถวยยูเรกาไปชั่งน้ําหนัก และเปรียบเทียบกับ น้ําหนักของดินน้ํามันที่หายไป จะพบวา น้ําหนักของน้ําที่ลนและน้ําหนักของดินน้ํามันสวนที่หายไปเมื่อชั่งในน้ํามีคาใกลเคียง กัน ดังนั้น จึงสรุปไดวาขนาดของแรงที่มากระทําตอวัตถุในของเหลวมีคาเทากับขนาดน้ําหนักของของเหลวที่ถูกวัตถุแทนที่

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม

3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

ผลการทดลอง

ผลการทดลองถูกตองทุกขอ ใหคะแนน 5 คะแนน ผลการทดลองถูกตอง 3 ขอ ใหคะแนน 4 คะแนน

5

ผลการทดลองถูกตอง 2 ขอ ใหคะแนน 3 คะแนน ผลการทดลองถูกตองนอยกวา 2 ขอ ใหคะแนน 0 คะแนน 5

สรุปผลการทดลอง

สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

หัวขอวิชาที่ 3 0921010303 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.2 การทดลองเรื่องความตึงผิวของของเหลว 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับหลักการของของเหลวได 2. ปฏิบัติงานทดลองเรื่องความตึงผิวของของเหลวได 3. คํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําการทดลองเรื่องความตึงผิวของของเหลว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้ง เขียนสรุปผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง

จํานวนคลิปหนีบกระดาษ

ในน้ําสะอาด ในน้ําผสมกับน้ํายาลางจานในอัตราสวน 50:50 ในน้ําผสมกับน้ํายาลางจานในอัตราสวน 25:75 ในน้ํายาลางจาน สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.2 การทดลองเรื่องความตึงผิวของของเหลว 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก : - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คลิปหนีบกระดาษ

จํานวน 1 กลอง

2. แกวน้ํา

จํานวน 1 ใบ

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํา

จํานวน 1 ลิตร

2. น้ํายาลางจาน

จํานวน 1 ขวด

3. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. ลําดับการทดสอบ การทดลองเรื่องความตึงผิวของของเหลว 2.1 การทดลองที่ 1 ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ

คําอธิบาย ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ

ขอควรระวัง

และใชผาเช็ดทําความสะอาด

2. เติมน้ําลงในแกว

เติมน้ําสะอาดใหเต็มแกว

ระวังอยาทําน้ําหกและ ทําใหพื้นเปยก เพราะ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได

3. ดัดคลิปหนีบกระดาษ

ดัดคลิปหนีบกระดาษใหเปนรูปตัวแอล (L)

4. วางคลิปหนีบกระดาษ

วางคลิ ป หนี บ กระดาษบนคลิ ป หนี บ กระดาษรูปตัวแอล

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขั้นตอนการทดสอบ 5. วางคลิปหนีบกระดาษลงในแกว

คําอธิบาย วางคลิ ป หนี บ กระดาษลงในแก ว อย า ง

ขอควรระวัง

เบามือ เพื่อใหคลิปหนีบกระดาษลอยอยูได

6. วางคลิปหนีบกระดาษใหเต็มผิวน้ํา

วางคลิปหนีบกระดาษใหเต็มผิวน้ํา สังเกต และบันทึกผลลงในตาราง

2.2 การทดลองที่ 2 ขั้นตอนการทดสอบ 1. ผสมน้ํากับน้ํายาลางจาน

คําอธิบาย นําน้ําผสมกับน้ํ ายาลางจานในอั ตราส ว น 50:50 แลวเทใสแกวใหเต็ม

2. วางคลิปหนีบกระดาษ

วางคลิ ป หนี บ กระดาษบนคลิ ป หนี บ กระดาษรูปตัวแอล

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขั้นตอนการทดสอบ 3. วางคลิปหนีบกระดาษลงในแกว

คําอธิบาย วางคลิ ป หนี บ กระดาษลงในแก ว อย า ง

ขอควรระวัง

เบามือ เพื่อใหคลิปหนีบกระดาษลอยอยูได

4. วางคลิปหนีบกระดาษเพิ่ม

ทดลองวางคลิปหนีบกระดาษเพิ่ม สังเกต และบันทึกผลลงในตาราง

2.3 การทดลองที่ 3 ขั้นตอนการทดสอบ 1. ผสมน้ํากับน้ํายาลางจาน

คําอธิบาย นําน้ําผสมกับน้ํ ายาลางจานในอั ตราส ว น 25:75 แลวเทใสแกวใหเต็ม

2. วางคลิปหนีบกระดาษ

วางคลิ ป หนี บ กระดาษบนคลิ ป หนี บ กระดาษรูปตัวแอล

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขั้นตอนการทดสอบ 3. วางคลิปหนีบกระดาษลงในแกว

คําอธิบาย วางคลิ ป หนี บ กระดาษลงในแก ว อย า ง

ขอควรระวัง

เบามือ เพื่อใหคลิปหนีบกระดาษลอยอยูได

4. วางคลิปหนีบกระดาษเพิ่ม

ทดลองวางคลิปหนีบกระดาษเพิ่ม สังเกต และบันทึกผลลงในตาราง

2.4 การทดลองที่ 4 ขั้นตอนการทดสอบ 1. เทน้ํายาลางจาน

คําอธิบาย เทน้ํายาลางจานใสแกวใหเต็ม

2. วางคลิปหนีบกระดาษ

วางคลิ ป หนี บ กระดาษบนคลิ ป หนี บ กระดาษรูปตัวแอล

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขั้นตอนการทดสอบ 3. วางคลิปหนีบกระดาษลงในแกว

คําอธิบาย วางคลิ ป หนี บ กระดาษลงในแก ว อย า ง เบามือ เพื่อใหคลิปหนีบกระดาษลอยอยูได

4. วางคลิปหนีบกระดาษเพิ่ม

ทดลองวางคลิปหนีบกระดาษเพิ่ม สังเกต และบันทึกผลลงในตาราง

5. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

ผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

สรุปผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

เฉลยแบบทดสอบภาคปฏิบัติ แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.2 การทดลองเรื่องความตึงผิวของของเหลว คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลอง เรื่องความตึงผิวของของเหลว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้งเขียนสรุปผล การทดลอง ตัวอยางเฉลยแบบทดสอบภาคปฏิบัติ ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ การทดลอง

จํานวนคลิปหนีบกระดาษ

ในน้ําสะอาด

มากกวา 3 ตัว

ในน้ําผสมกับน้ํายาลางจานในอัตราสวน 50:50

0 ตัว

ในน้ําผสมกับน้ํายาลางจานในอัตราสวน 25:75

0 ตัว

ในน้ํายาลางจาน

0 ตัว

สรุปผลการทดลอง จากการทดลองพบวา เมื่อวางคลิปหนีบกระดาษบนผิวน้ําที่ไมมีสวนผสมของน้ํายาลางจาน คลิปหนีบกระดาษสามารถ ลอยอยูบนผิวน้ําไดมากกวา 3 ตัว แตเมื่อทดลองวางคลิปหนีบกระดาษบนผิวน้ําที่ผสมน้ํายาลางจานในอัตราสวน 50:50 25:75 และบนผิวของน้ํายาลางจานเพียงอยางเดียว พบวาคลิปหนีบกระดาษจมลงสูกนแกว จึงสรุปไดวา น้ําเพียงอยางเดียว มีความตึงผิวมากกวาน้ําที่ผสมน้ํายาลางจาน เนื่องจากน้ํายาลางจานเขาจับกับโมเลกุลของน้ําและลดการยึดเหนี่ยวของโมเลกุล ของน้ํา สงผลใหความตึงผิวของน้ําลดลง

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม

3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

ผลการทดลอง

ผลการทดลองถูกตองทุกขอ ใหคะแนน 5 คะแนน ผลการทดลองถูกตอง 3 ขอ ใหคะแนน 4 คะแนน

5

ผลการทดลองถูกตอง 2 ขอ ใหคะแนน 3 คะแนน ผลการทดลองถูกตองนอยกวา 2 ขอ ใหคะแนน 0 คะแนน 5

สรุปผลการทดลอง

สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

หัวขอวิชาที่ 4 0921010304 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 4.1 การทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปา และ น้ําเกลือ) 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรงได 2. ปฏิบัติงานทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลวได 3. คํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 15 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลอง เรื่องความหนาแนนของของเหลว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้งเขียน สรุปผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง

ผลการทดลอง

การลอยตัวของไขไกในน้ําประปา การลอยตัวของไขไกในน้ําเกลือ สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 4.1 การทดลองเรือ่ งความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปา และ น้ําเกลือ) 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ถวยทดลอง ขนาด 500 ซีซี.

จํานวน 1 ใบ

2. ชอนโตะ

จํานวน 1 คัน

3. แทงแกวคนสาร

จํานวน 1 แทง

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขไกสด

จํานวน 1 ฟอง

2. น้ํา

จํานวน 2 ลิตร

3. เกลือ

จํานวน 1 ถุง

4. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. ลําดับการทดสอบ การทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปา และ น้ําเกลือ) 2.1 การทดลองที่ 1 ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ และใชผาเช็ดทําความสะอาด

2. เติมน้ําลงในถวยทดลอง 3. วางไขไกลงในน้ํา

เติมน้ําลงในถวยทดลอง ประมาณ

1 2

ของถวยทดลอง

ระวังอยาทําน้ําหกและ ทําใหพื้นเปยก เพราะ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได

นําไขไกสดวางลงในน้ําอยางเบามือ สังเกต และบันทึกผล

72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2.2 การทดลองที่ 2 ขั้นตอนการทดสอบ 1. เติมน้ําลงในถวยทดลอง 2. เติมเกลือลงในน้ํา

คําอธิบาย เติมน้ําลงในถวยทดลอง ประมาณ

ขอควรระวัง 1 2

ของถวยทดลอง

ระวังอยาทําน้ําหกและ ทําใหพื้นเปยก เพราะ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได

ตั ก เกลื อ ใส ล งไปในถ ว ยทดลอง 5 ช อ น และใชแทงแกวคนจนเกลือละลายหมด 3. วางไขไกลงในน้ํา

นําไขไกสดวางลงในน้ําอยางเบามือ สังเกต และบันทึกผล

4. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

ผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

สรุปผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

เฉลยแบบทดสอบภาคปฏิบัติ แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 4.1 การทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปา และ น้ําเกลือ) คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลอง เรื่องความหนาแนนของของเหลว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้งเขียน สรุปผลการทดลอง ตัวอยางเฉลยแบบทดสอบภาคปฏิบัติ ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง

ผลการทดลอง

การลอยตัวของไขไกในน้ําประปา

ไมลอยตัว

การลอยตัวของไขไกในน้ําเกลือ

ลอยตัว

สรุปผลการทดลอง จากการทดลองพบวา เมื่อนําไขไกใสลงในน้ําประปาไขไกจะจมลงสู กนถวยทดลอง เนื่องจากความหนาแน นของ น้ําประปามี ค า 1g/cm3 ซึ่งมีคา ความหนาแนน น อ ยกว า ไข ไ ก จึงทําใหน้ํา ไมส ามารถพยุง ใหไ ข ไ กล อยน้ํา ได แตเ มื่ อ ใส เกลือลงไปในน้ําประปาจํานวน 5 ชอน ทดลองโดยใชไขไกใบเดิม จะเห็นวาไขไกคอย ๆ ลอยขึ้นจากกนถวยทดลองจนถึง ถึงบริเวณผิวน้ํา จึงสามารถสรุปไดวา น้ําที่ผสมเกลือมีความหนาแนนมากกวาไขไก ทําใหไขไกลอยสูบริเวณผิวน้ําได

75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

ผลการทดลอง

ผลการทดลองถูกตองทุกขอ ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ผลการทดลองถูกตอง 1 ขอ ใหคะแนน 3 คะแนน ผลการทดลองไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 5

สรุปผลการทดลอง

สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

หัวขอวิชาที่ 4 0921010304 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 4.2 การทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปา และ น้ําผสมน้ําตาล) 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรงได 2. ปฏิบัติงานทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลวได 3. คํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 15 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลอง เรื่องความหนาแนนของของเหลว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้งเขียน สรุปผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง

ผลการทดลอง

การลอยตัวของไขไกในน้ําประปา การลอยตัวของไขไกในน้ําผสมน้ําตาล สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 4.2 การทดลองเรือ่ งความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปา และ น้ําผสมน้ําตาล) 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตรายเชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ถวยทดลอง ขนาด 500 ซีซี.

จํานวน 1 ใบ

2. ชอนโตะ

จํานวน 1 คัน

3. แทงแกวคนสาร

จํานวน 1 แทง

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขไกสด

จํานวน 1 ฟอง

2. น้ํา

จํานวน 1 ลิตร

3. น้ําตาล

จํานวน 1 ถุง

4. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน 80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. ลําดับการทดสอบ การทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปา และ น้ําผสมน้ําตาล) 2.1 การทดลองที่ 1 ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ และใชผาเช็ดทําความสะอาด

2. เติมน้ําลงในถวยทดลอง 3. วางไขไกลงในน้ํา

เติมน้ําลงในถวยทดลอง ประมาณ

1 2

ของถวยทดลอง

ระวังอยาทําน้ําหกและ ทําใหพื้นเปยก เพราะ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได

นําไขไกสดวางลงในน้ําอยางเบามือ สังเกต และบันทึกผล

81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2.2 การทดลองที่ 2 ขั้นตอนการทดสอบ 1. เติมน้ําลงในถวยทดลอง 2. เติมน้ําตาลลงในน้ํา

คําอธิบาย เติมน้ําลงในถวยทดลอง ประมาณ

ขอควรระวัง 1 2

ของถวยทดลอง

ระวังอยาทําน้ําหกและ ทําใหพื้นเปยก เพราะ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได

ตักน้ําตาลใสลงไปในถว ยทดลอง 5 ชอน และใชแทงแกวคนจนน้ําตาลละลายหมด 3. วางไขไกลงในน้ํา

นําไขไกสดวางลงในน้ําอยางเบามือ สังเกต และบันทึกผล

4. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

ผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

สรุปผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

เฉลยแบบทดสอบภาคปฏิบัติ แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 4.2 การทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปา และ น้ําผสมน้ําตาล) คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลอง เรื่องความหนาแนนของของเหลว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้งเขียน สรุปผลการทดลอง ตัวอยางเฉลยแบบทดสอบภาคปฏิบัติ ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง

ผลการทดลอง

การลอยตัวของไขไกในน้ําประปา

ไมลอยตัว

การลอยตัวของไขไกในน้ําผสมน้ําตาล

ลอยตัว

สรุปผลการทดลอง จากการทดลองพบวา เมื่อนําไขไกใสลงในน้ําประปาไขไกจะจมลงสูกนถวยทดลอง เนื่องจากไขไกมีความหนาแนน มากกวาน้ํา แตเมื่อใสน้ําตาลลงไปในน้ํ าประปาจํ านวน 5 ชอน ทดลองโดยใชไข ไกใบเดิม จะเห็นวาไขไกคอย ๆ ลอยขึ้ น เนื่องจากการผสมน้ําตาลลงไปในน้ําประปาเปนการเพิ่มความหนาแนนใหกับน้ํา ดังนั้น น้ําที่ผสมน้ําตาลจึงมีความหนาแนน มากกวาไขไก จึงสามารถพยุงใหไขไกลอยน้ําได

84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

ผลการทดลอง

ผลการทดลองถูกตองทุกขอ ใหคะแนน 5 คะแนน ผลการทดลองถูกตอง 1 ขอ ใหคะแนน 3 คะแนน

5

ผลการทดลองไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 5

สรุปผลการทดลอง

สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน

85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

1. 2.

3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟ 10 7 งายและสารอันตรายได บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได อธิบายกฎของโรงงานและปาย เตือนตาง ๆ ได อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ ได ใชอุปกรณปองกันอันตราย ประเภทตาง ๆ ได อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัย และหลักการดับเพลิงได ปฏิบัติตามวิธีการปองกัน อัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได อธิบายวิธีการปฐมพยาบาล เบื้องตนได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได ประเมินผลภาคทฤษฏี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 6

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

1. 2.

3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟ 10 7 งายและสารอันตรายได บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได อธิบายกฎของโรงงานและปาย เตือนตาง ๆ ได อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ ได ใชอุปกรณปองกันอันตราย ประเภทตาง ๆ ได อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัย และหลักการดับเพลิงได ปฏิบัติตามวิธีการปองกัน อัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได อธิบายวิธีการปฐมพยาบาล เบื้องตนได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได ประเมินผลภาคทฤษฏี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ 88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 8

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 4.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 5.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 6.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 6.2

ใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได ปฏิบัติตามวิธีการปองกันอัคคีภัยและ หลักการดับเพลิงได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได

58

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 41

36

25

31

28

20

22

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

33

23

30

คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

155

109

113

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 30

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลว เปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (รอยละ 20) ภาคปฏิบัติ (รอยละ 80)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

8

2

16

113

0.516

58.308

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 74.308

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฏี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

10

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 10

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

8 × 2 = 16

คือ

91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

=2


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

155 80 = 0.516 155

ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

คือ

113 × 0.516 = 58.308

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 16 + 58.308 = 74.308 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

1. 2.

3.

4. 5.

ผลลัพธการเรียนรู อธิบายเกี่ยวกับสมบัติของ ของเหลวได อธิบายเกี่ยวกับหนวยการวัด ของของเหลวตามมาตรฐาน SI ได อธิบายเกี่ยวกับความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสี ความรอน และเคมีเบื้องตนได อธิบายเกี่ยวกับหลักการของ ของเหลวได อธิบายความหมายของมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความ ดัน และแรงได

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 10 7

ประเมินผลภาคทฤษฏี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี ผลลัพธการเรียนรู แบบทดสอบ 1. อธิบายเกี่ยวกับสมบัติของ หลังฝก ของเหลวได 2. อธิบายเกี่ยวกับหนวยการวัด ของของเหลวตามมาตรฐาน SI ได 3. อธิบายเกี่ยวกับความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสี ความรอน และเคมีเบื้องตนได 4. อธิบายเกี่ยวกับหลักการของ ของเหลวได 5. อธิบายความหมายของมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความ ดัน และแรงได

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 10 7

ประเมินผลภาคทฤษฏี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

การประเมินผลภาคปฏิบัติ

28

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 20

28

20

28

20

28

20

ทดลองเกี่ยวกับหลักการของของเหลวได

28

20

ทดลองเกี่ยวกับหลักการของของเหลวได

28

20

ทดลองเกี่ยวกับมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ

28

20

แบบทดสอบ ทดลองเกี่ยวกับมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ภาคปฏิบัติที่ 4.2 ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรงได

28

20

คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

224

160

ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ 1. ทดลองเกี่ยวกับสมบัติของเหลวได ภาคปฏิบัติที่ 1.1 2. ทดลองเกี่ยวกับหนวยการวัดของ

คะแนนที่ได

ของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได แบบทดสอบ 1. ทดลองเกี่ยวกับสมบัติของเหลวได ภาคปฏิบัติที่ 1.2 2. ทดลองเกี่ยวกับหนวยการวัดของ ของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได แบบทดสอบ ทดลองเกี่ยวกับความรอน อุณหภูมิ หลักการ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 นําความรอน การพาความรอน การแผรังสี ความรอน และเคมีเบื้องตนได แบบทดสอบ ทดลองเกี่ยวกับความรอน อุณหภูมิ หลักการ ภาคปฏิบัติที่ 2.2 นําความรอน การพาความรอน การแผรังสี ความรอน และเคมีเบื้องตนได แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 4.1

ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรงได

ประเมินผลภาคปฏิบัติ * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ 95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (รอยละ 20) ภาคปฏิบัติ (รอยละ 80)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC)

2 0.357

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor เกิน 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบนั ทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.