คู่มือการประเมิน ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 1 โมดูล 4

Page 1

หนาปก



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

คูมือการประเมิน 0920164170201 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 4 09217204 การใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัดและทดสอบงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

คํานํา คูมือการประเมิน สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 โมดูลที่ 4 การใช บํารุงรักษา เครื่องมือวัดและทดสอบงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ ฉบั บ นี้ ไดพัฒนาขึ้นภายใตโครงการพัฒ นา ระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําไปใชเปนระบบการฝกอบรมตามความสามารถ สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศ ในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 เพื่อใหตอบสนองความตองการของกําลังแรงงานและตลาดแรงงานได อยาง เหมาะสมมากยิ่ ง ขึ้ น และเพื่ อ รองรั บ ระบบการรั บ รองมาตรฐานฝ มื อ แรงงานแห ง ชาติ แ ละระบบการรั บ รองความรู ความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ใ หแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมายตางๆ ใหกวางขวางมาก ยิ่งขึ้น ทั้งในแงของขอบเขตของการใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรีย นรูไ ด ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแ ก ผูรับการฝกอบรม และตองการใหผู รับ การฝ กอบรมเกิ ดการเรีย นรูด วยตนเอง การฝกปฏิบัติ จะดํ าเนิ น การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชใ นการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรีย นรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรีย มการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรีย มและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดม ากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคาใช จายในการพั ฒ นาฝมือแรงงานใหแ ก กําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝ ก ที่ มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใ ชแ รงงาน ผูวางงาน นักเรีย น นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

5

แบบทดสอบกอนฝก

6

แบบทดสอบหลังฝก

10

กระดาษคําตอบ

14

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

15

แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หัวขอวิชาที่ 1 0921720401 เครื่องมือวัดงานไฟฟา เครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ หัวขอวิชาที่ 2 0921720402 เครื่องมือวัดทางกล และเครื่องมือสวนบุคคล ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ บันทึกผลการประเมินความสามารถ

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

16 34 42 47



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการ ฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการ ประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัตใิ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่อ อิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงราง หลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 4 09217204 การใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัดและทดสอบงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ 1. บอกวิธีการใชเครื่องมือวัดงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศได 2. ใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัดและทดสอบงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศได 3. บอกวิธีการใชเครื่องมือวัดทางกล และเครื่องมือสวนบุคคลได 4. ใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางกล และเครื่องมือสวนบุคคลได

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

แบบทดสอบกอนฝก คําชีแ้ จง: 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 4 09217204 การใช บํารุงรักษาเครื่อ งมือวัดและทดสอบงานไฟฟา งานเครื่อ งทําความเย็น และเครื่อ งปรับอากาศ 1. ขอใดเปนการใชแอมปมิเตอรที่ถูกตอง ก. ตอสายสีแดงเขาที่ขั้วลบ สีดําที่ขั้วบวก ข. ตอแอมปมิเตอรขนานกับอุปกรณเสมอ ค. ตั้งยานวัดต่ํากอน แลวคอยปรับเพิ่มใหสามารถอานคาได ง. ตองตอแบบอนุกรมเสมอ 2. ขอใดกลาวไดถูกตอง เกี่ยวกับวิธีการใชงานคีมย้ําหางปลา ก. เลื่อนทอใหจุดที่ตองการดัดตรงกับสัญลักษณ L หมายถึง ดัดจากซายไปขวา และ R หมายถึง ดัดทอจากขวาไปซาย ข. การจับคีมควรใหดามคีมอยูระหวางปลายนิ้วทั้ง 4 และใชอุงมือกับนิ้วหัวแมมือกดดามคีมอีกดาน เพื่อใหมีกําลังในการจับ หรือตัด ค. เมื่อทําการวัดขนาดชิ้นงาน หมุนปุมปรับเลื่อนในทิศทวนเข็มนาฬิกาใหปากวัดขนาดภายนอก มีขนาดใหญกวาชิ้นงาน เล็กนอย ง. เจาะเครื่องมือลงในพื้นผิว เรงความเร็วในการเจาะทีละนิดตามลําดับ เพื่อไมใหผนังพังเสียหาย 3. คาในขอใดตอไปที่มัลติมิเตอรไมสามารถวัดได ก. คากําลังไฟฟา ข. คาความตานทาน

ค. คากําลังออกของสัญญาณเสียง ง. คาความตางศักยของกระแสไฟฟา

4. ขอใดเปนการใชงานแคลมปออนมิเตอร ก. ตออุปกรณอนุกรมกับวงจรเสมอ ข. กอนวัดตองปรับเข็มใหอยูตําแหนง O ค. นําอุปกรณไปเกี่ยวคลองสายไฟบริเวณที่จะวัดคา โดยไมตองตัดวงจรออก ง. ตอขดลวดคงที่ขั้ว A และขดลวดเคลื่อนที่ขั้ว V ตอเขาดวยกันและนําไปตอกับแหลงจายแรงดันขั้วหนึ่ง

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 5. ขอใดไมใชการบํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางไฟฟา ก. ปดเครื่องเมื่อเลิกใช

ค. ไมควรใหเครื่องกระทบกระเทือน

ข. วางไวในที่ใชงานงาย

ง. ควรถอดแบตเตอรี่หากไมไดใชงานนาน ๆ

6. แมนิโฟลดเกจใชวัดอะไร ก. ความเร็วลมที่พัดผาน

ค. ความดันของสารความเย็น

ข. อุณหภูมิของสารความเย็น

ง. ความเที่ยงตรงตามเวลาที่กําหนด

7. การบํารุงรักษาไมโครมิเตอร ควรทําอยางไง ก. เก็บไวกับของมีคม

ค. ระวังไมใหหลนจากที่สูง

ข. ลางน้ําหลังเลิกใชงาน

ง. วางไวใกล ๆ ใหสะดวกตอการใชงาน

8. จากภาพเปนคีมชนิดใด ก. คีมปากแหลม

ค. คีมปากนกแกว

ข. คีมหนีบแหวน

ง. คีมคอมา

9. จากภาพคืออุปกรณชนิดใด ก. ฟุตเหล็ก

ค. ตลับเมตร

ข. ระดับน้ํา

ง. ฉากวัดมุม

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 10. ในการบํารุงรักษาไมโครมิเตอร ขอใดกลาวไมถูกตอง ก. ควรเก็บไวในอากาศที่แหง ไมมีความชื้นสูง ข. ควรมีกลองเก็บไวเฉพาะสําหรับไมโครมิเตอร ค. ควรระวังไมใหหลนจากที่สูงหรือไมใหเกิดการกระแทก ง. ควรชโลมดวยน้ํามันกอนเก็บเขาที่

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

แบบทดสอบหลังฝก คําชีแ้ จง: 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 4 09217204 การใช บํารุงรักษาเครื่อ งมือวัดและทดสอบงานไฟฟา งานเครื่อ งทําความเย็น และเครื่อ งปรับอากาศ 1. แมนิโฟลดเกจใชวัดอะไร ก. ความเร็วลมที่พัดผาน

ค. ความดันของสารความเย็น

ข. อุณหภูมิของสารความเย็น

ง. ความเที่ยงตรงตามเวลาที่กําหนด

2. การบํารุงรักษาไมโครมิเตอร ควรทําอยางไง ก. เก็บไวกับของมีคม

ค. ระวังไมใหหลนจากที่สูง

ข. ลางน้ําหลังเลิกใชงาน

ง. วางไวใกล ๆ ใหสะดวกตอการใชงาน

3. จากภาพเปนคีมชนิดใด ก. คีมปากแหลม

ค. คีมปากนกแกว

ข. คีมหนีบแหวน

ง. คีมคอมา

4. ขอใดกลาวไดถูกตอง เกี่ยวกับวิธีการใชงานคีมย้ําหางปลา ก. เลื่อนทอใหจุดที่ตองการดัดตรงกับสัญลักษณ L หมายถึง ดัดจากซายไปขวา และ R หมายถึง ดัดทอจากขวาไปซาย ข. เมื่อทําการวัดขนาดชิ้นงาน หมุนปุมปรับเลื่อนในทิศทวนเข็มนาฬิกาใหปากวัดขนาดภายนอก มีขนาดใหญกวาชิ้นงาน เล็กนอย ค. เจาะเครื่องมือลงในพื้นผิว เรงความเร็วในการเจาะทีละนิดตามลําดับ เพื่อไมใหผนังพังเสียหาย ง. การจับคีมควรใหดามคีมอยูระหวางปลายนิ้วทั้ง 4 และใชอุงมือกับนิ้วหัวแมมือกดดามคีมอีกดาน เพื่อใหมีกําลังในการจับ หรือตัด

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 5. คาในขอใดตอไปที่มัลติมิเตอรไมสามารถวัดได

6.

ก. คากําลังไฟฟา

ค. คากําลังออกของสัญญาณเสียง

ข. คาความตานทาน

ง. คาความตางศักยของกระแสไฟฟา

จากภาพคืออุปกรณชนิดใด ก. ฟุตเหล็ก

ค. ตลับเมตร

ข. ระดับน้ํา

ง. ฉากวัดมุม

7. ในการบํารุงรักษาไมโครมิเตอร ขอใดกลาวไมถูกตอง ก. ควรเก็บไวในอากาศที่แหง ไมมีความชื้นสูง ข. ควรชโลมดวยน้ํามันกอนเก็บเขาที่ ค. ควรมีกลองเก็บไวเฉพาะสําหรับไมโครมิเตอร ง. ควรระวังไมใหหลนจากที่สูงหรือไมใหเกิดการกระแทก 8. ขอใดเปนการใชงานแคลมปออนมิเตอร ก. ตออุปกรณอนุกรมกับวงจรเสมอ ข. กอนวัดตองปรับเข็มใหอยูตําแหนง O ค. นําอุปกรณไปเกี่ยวคลองสายไฟบริเวณที่จะวัดคา โดยไมตองตัดวงจรออก ง. ตอขดลวดคงที่ขั้ว A และขดลวดเคลื่อนที่ขั้ว V ตอเขาดวยกันและนําไปตอกับแหลงจายแรงดันขั้วหนึ่ง 9. ขอใดไมใชการบํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางไฟฟา ก. ปดเครื่องเมื่อเลิกใช

ค. ไมควรใหเครื่องกระทบกระเทือน

ข. วางไวในที่ใชงานงาย

ง. ควรถอดแบตเตอรี่หากไมไดใชงานนาน ๆ

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 10. ขอใดเปนการใชแอมปมิเตอรที่ถูกตอง ก. ตอสายสีแดงเขาที่ขั้วลบ สีดําที่ขั้วบวก ข. ตอแอมปมิเตอรขนานกับอุปกรณเสมอ ค. ตั้งยานวัดต่ํากอน แลวคอยปรับเพิ่มใหสามารถอานคาได ง. ตองตอแบบอนุกรมเสมอ

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………....... คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3. 4.

3. 4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3. 4.

3.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

4.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

หัวขอวิชาที่ 1 0921720401 แบบทดสอบภาคปฏิบตั ิที่ 1.1 เครื่องมือวัดงานไฟฟาและทดสอบงานไฟฟา 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัดและทดสอบงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศได

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกใชเครื่องมือวัดงานไฟฟาและเครื่องทําความเย็น ดังนี้ 1. วัดคาความตานทานของโหลดแตละตัว 2. วัดคาแรงดันตกครอมที่โหลดแตละตัว 3. วัดคากระแสไฟฟาที่โหลดแตละตัว 4. บันทึกผลการตรวจสอบ

รูปที่ 1

รูปที่ 2

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ตารางบันทึกผล ตารางที่ 1 หลอด (W) 120 W 60 W 40 W

คาความตานทานที่วัดได (Ω)

ตารางที่ 2 แรงดันไฟฟาที่อานได (V)

กระแสไฟฟาที่อานได (A)

สถานะของหลอดไฟ

แรงดันไฟฟาที่อานได (V)

กระแสไฟฟาที่อานได (A)

สถานะของหลอดไฟ

สวิตซ (OFF) 120 W 60 W 40 W ตารางที่ 3 สวิตซ (ON) 120 W 60 W 40 W

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.1 เครื่องมือวัดงานไฟฟาและทดสอบงานไฟฟา 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับ แบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. แคลมปออนมิเตอร

จํานวน 1 ตัว

2. ชุดฝกวงจรไฟฟาระบบแสงสวาง

จํานวน 1 ตัว

3. มัลติมิเตอร

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ใบบันทึกขอมูล

จํานวน 1 ใบ

2. หลอดไสขนาด 120 W

จํานวน 1 หลอด

3. หลอดไสขนาด 40 W

จํานวน 1 หลอด

4. หลอดไสขนาด 60 W

จํานวน 1 หลอด

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

2. ลําดับการทดสอบ เครื่องมือวัดงานไฟฟาและทดสอบงานไฟฟา ขั้นตอนการทดสอบ คําอธิบาย 1. วัดคาความตานทานของหลอดไฟแต ล ะ วัดคาความตานทานของหลอดแต หลอด ละขนาด แลวบันทึกผลลงในตาราง ที่ 1

ขอควรระวัง

2. ตอวงจรตามแบบที่กําหนดให

ตอวงจรตามรูปที่ 1 ในใบงาน

3. วัดคาแรงดันที่สวิตซและหลอดไฟ

วัดคาแรงดันไฟฟาที่สวิตซและ หลอดไฟแตละหลอด แลวบันทึกผล ลงในตารางที่ 2

4. วัดคากระแสไฟฟาที่สวิตซและหลอดไฟ

วัดคากระแสไฟฟาสวิตซและ หลอดไฟแตละหลอด แลวบันทึกผล ลงในตารางที่ 2

5. กดเปดสวิตซ

กดสวิตซใหอยูในตําแหนง On ตาม ระวังอันตราย! อยาใหรางกายถู ก รูปที่ 2 ตัวนําไฟฟา ทานอาจเสียชีวิตได

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ขั้นตอนการทดสอบ 6. วัดคาแรงดันที่สวิตซและหลอดไฟ

คําอธิบาย วัดคาแรงดันไฟฟาสวิตซและที่ หลอดไฟแตละหลอด แลวบันทึกผล ลงในตารางที่ 3

7. วัดคากระแสไฟฟาที่สวิตซและหลอดไฟ

วัดคากระแสไฟฟาที่สวิตซและ หลอดไฟแตละหลอด แลวบันทึกผล ลงในตารางที่ 3

8. สรุปผลการปฏิบัติงาน

สรุปผลการทดลอง และสงใบงานให ครูฝกประเมินการปฏิบัติงาน

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ รายการตรวจสอบ 1 การใชเครื่องมือวัดและทดสอบไฟฟา 1.1 ใชมัลติมิเตอรไดถูกตอง 1.2 อานคามัลติมิเตอรได 1.3 ใชแคลมปออนมิเตอรไดถูกตอง 1.4 อานคาจากแคลมปออนติมิเตอรได 2 กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เกณฑการพิจารณา ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………..... ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 ใชมัลติมิเตอรไดถูกตอง

คะแนนเต็ม 20

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง คลองแคลว ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง แตขาดความคลองแคลว ใหคะแนน 3 คะแนน - ใช เ ครื่ อ งมื อ ได ไม ถูก ต อ งและขาดความคล อ งแคล ว ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.2 อานค ามัลติมิเตอรได

- อานคาจากเครื่องมือวัดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- อานคาจากเครื่องมือวัดคลาดเคลื่อน 1 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - อ านค าจากเครื่ อ งมื อ วั ด คลาดเคลื่ อ นตั้ ง แต 2 หน วยให ค ะแนน 1 คะแนน 1.3 ใชแคลมปออนมิเตอรไดถูกตอง

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง คลองแคลว ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง แตขาดความคลองแคลว ใหคะแนน 3 คะแนน - ใช เ ครื่ อ งมื อ ได ไม ถูก ต อ งและขาดความคล อ งแคล ว ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.4 อานคาจากแคลมปออนติมิเตอรได

- อานคาจากเครื่องมือวัดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- อานคาจากเครื่องมือวัดคลาดเคลื่อน 1 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - อ านค าจากเครื่ อ งมื อ วั ด คลาดเคลื่ อ นตั้ ง แต 2 หน วยให ค ะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ วน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1 1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 25

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

หัวขอวิชาที่ 1 0921720401 แบบทดสอบภาคปฏิบตั ิที่ 1.2 การวัดงานไฟฟาและเครื่องทําความเย็น 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัดและทดสอบงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศได

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกวัดงานไฟฟาและเครื่องทําความเย็นดังนี้ 1. วัดคาแรงดันไฟฟาที่คอยลรอนและคอยลเย็นของเครื่องปรับอากาศ 2. วัดคากระแสไฟฟาที่คอยลรอนและคอยลเย็นของเครื่องปรับอากาศ 3. วัดคาแรงดันน้ํายาที่คอยลรอนของเครื่องปรับอากาศ 4. วัดคาอุณหภูมิลมเขา และลมออกทั้งคอยลรอนและคอยลเย็นของเครื่องปรับอากาศ

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ตารางบันทึกผลการวัดคาแรงดันและกระแสไฟฟาของเครื่องปรับ อากาศ ตําแหนงที่วัด

แรงดันไฟฟาที่อานได (V)

กระแสไฟฟาที่อานได (A)

ส ถานะการทํ า งานข อ ง เครื่อง

คอยลเย็น คอยลรอน ตารางบันทึกผลการวัดคาความดันน้ํายาดาน LOW และ HI ตําแหนงที่วัด คอยลรอนทํางาน ทอซัคชั่น ทอลิควิด

ความดันที่อานได (PSI) คอยลรอนไมทํางาน

ตารางบันทึกผล การวัดอุณหภูมิที่คอยลรอนและคอยลเย็นของเครื่องปรับอากาศ ตําแหนงที่วัด อุณหภูมิที่อานได ลมดูดที่คอยลรอน ลมเปาที่คอยลเย็น ลมกลับที่คอยลเย็น ลมจายออกที่คอยลเย็น

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.2 การวัดงานไฟฟาและเครื่องทําความเย็น 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับ แบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวาง กีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขควงแฉก

จํานวน 1 ตัว

2. ไขควงแบน

จํานวน 1 ตัว

3. เครื่องปรับอากาศ

จํานวน 1 เครื่อง

4. แคลมปออนมิเตอร

จํานวน 1 ตัว

5. เทอรโมมิเตอร

จํานวน 1 ตัว

6. ประแจเลื่อน

จํานวน 1 ตัว

7. มัลติมิเตอร

จํานวน 1 เครื่อง

8. แมนิโฟลดเกจ

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ใบบันทึกขอมูล 26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

2. ลําดับการทดสอบ การวัดงานไฟฟาและเครื่องทําความเย็น ขั้นตอนการทดสอบ 1. เปดเครื่องปรับอากาศ

คําอธิบาย ทดลองเปดใชงานเครื่องปรับอากาศ

2. แกะฝาคอยลเย็น

แกะฝาครอบโครงคอยล เ ย็ น ของ เครื่องปรับอากาศ

3. ใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟาและ กระแสไฟฟา แลวบันทึกผล

ใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟา ระวังอันตราย! อยาใหรางกายถูก และกระแสไฟฟาที่ตัวคอยลเย็นแลว ตัวนําไฟฟา ทานอาจเสียชีวิตได บันทึกผล

4. ประกอบปดโครงใหเรียบรอย

ประกอบโครงคอยลเย็นใหเรียบรอย

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ขั้นตอนการทดสอบ 5. แกะฝาโครงคอยลรอน

คําอธิบาย แกะฝาครอบโครงคอยล ร อ นของ เครื่องปรับอากาศ

6. ใชแ คลมปออนมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟา ใชแคลมปออนมิเตอรวัดคา และกระแสไฟฟาแลวบันทึกผล แรงดันไฟฟา และกระแสไฟฟาที่ตัว คอยลรอนแลวบันทึกผล

7. ประกอบปดโครงใหเรียบรอย

ประกอบโครงคอยลรอนให เรียบรอย

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ขั้นตอนการทดสอบ 8. ปดเครื่องปรับอากาศ 5 นาที จากนั้น ตอแมนิโฟลดเกจเพื่อวัดความดันดานทอดูด และทอลิควิด

คําอธิบาย ปดเครื่องปรับอากาศ แลวทิ้งไวสัก 5 นาที จากนั้นนําแมนิโฟลดเกจสาย สีน้ําเงินตอเขาทอดูด และสายสีแดง ตอที่ทอลิควิด (วาลวของเกจจะตอง อยูตําแหนงปด)

9. บันทึกผลดาน Low และ Hi

บันทึกผลการวัดความดันดาน LOW และ HI ขณะปดเครื่องปรับอากาศ หรือขณะที่คอยลรอนไมทํางาน

10. เปดเครื่องปรับอากาศแลวปรับอุ ณหภูมิ เป ด เครื่ อ งปรั บ อากาศ แล ว ปรั บ ที่ 25 องศา 10 นาทีแลวอานคาความดันเกจ อุณหภูมิที่ 25 °C แลวรอจนกระทั่ง คอยลรอนทํางาน ทิ้งไวประมาณ 10 นาที แลวจึงอานคาความดันของเกจ

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ขั้นตอนการทดสอบ 11. บันทึกผลดาน Low และ Hi

คําอธิบาย บันทึกผลการวัดความดันดาน Low และ HI ขณะที่คอยลรอนทํางาน แลวบันทึกผล

12. นําเทอรโมมิเตอร วัดอุณหภูมิที่คอยล เย็นชองลมจาย แลวบันทึกผล

นําเทอรโมมิเตอร วัดอุณหภูมิที่ชอง ลมจายที่คอยลเย็น แลวบันทึกผล

13. นําเทอรโมมิเ ตอร วัดอุณหภูมิที่ ค อยล นําเทอรโมมิเตอรวัดอุณหภูมิที่ชอง เย็นชองลมกลับ แลวบันทึกผล ลมกลับที่คอยลเย็น แลวบันทึกผล

14. นําเทอรโมมิเ ตอร วัดอุณหภูมิที่ ค อยล นําเทอรโมมิเตอร วัดอุณหภูมิที่ลม รอนชองลมเปา แลวบันทึกผล เปาที่คอยลรอน แลวบันทึกผล

15. นําเทอรโมมิเตอร วัดอุณหภูมิที่ค อยล นําเทอรโมมิเตอร วัดอุณหภูมิที่ลม รอนชองลมดูด แลวบันทึกผล ดูดที่คอยลรอน แลวบันทึกผล

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การใชเครื่องมือวัดและทดสอบไฟฟา 1.1 ใชมัลติมิเตอรไดถูกตอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 อานคามัลติมิเตอรได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 ใชแมนิโฟลดเกจไดถูกตอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 อานสเกลจากแมนิโฟลดเกจได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.5 ใชเทอรโมมิเตอรไดถูกตอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.6 อานคาจากเทอรโมมิเตอรได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 ใชมัลติมิเตอรไดถูกตอง

เกณฑการใหคะแนน - ใชเครื่องมือไดถูกตอง คลองแคลว ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนนเต็ม 30 5

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง แตขาดความคลองแคลว ใหคะแนน 3 คะแนน - ใช เ ครื่ อ งมื อ ได ไม ถูก ต อ งและขาดความคล อ งแคล ว ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.2 อานค ามัลติมิเตอรได

- อานคาจากเครื่องมือวัดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- อานคาจากเครื่องมือวัดคลาดเคลื่อน 1 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - อ านค าจากเครื่ อ งมื อ วั ด คลาดเคลื่ อ นตั้ ง แต 2 หน วยให ค ะแนน 1 คะแนน 1.3 ใชแมนิโฟลดเกจไดถูกตอง

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง คลองแคลว ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง แตขาดความคลองแคลว ใหคะแนน 3 คะแนน - ใช เ ครื่ อ งมื อ ได ไม ถูก ต อ งและขาดความคล อ งแคล ว ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.4 อานสเกลจากแมนิโฟลดเกจได

- อานคาจากเครื่องมือวัดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- อานคาจากเครื่องมือวัดคลาดเคลื่อน 1 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - อ านค าจากเครื่ อ งมื อ วั ด คลาดเคลื่ อ นตั้ ง แต 2 หน วยให ค ะแนน 1 คะแนน 1.5 ใชเทอรโมมิเตอรไดถูกตอง

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง คลองแคลว ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง แตขาดความคลองแคลว ใหคะแนน 3 คะแนน - ใช เ ครื่ อ งมื อ ได ไม ถูก ต อ งและขาดความคล อ งแคล ว ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.6 อานคาจากเทอรโมมิเตอรได

- อานคาจากเครื่องมือวัดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- อานคาจากเครื่องมือวัดคลาดเคลื่อน 1 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - อ านค าจากเครื่ อ งมื อ วั ด คลาดเคลื่ อ นตั้ ง แต 2 หน วยให ค ะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ วน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

1 1

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ลําดับที่

รายการประเมิน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

เกณฑการใหคะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

คะแนนเต็ม 1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

คะแนนเต็ม

35

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

หัวขอวิชาที่ 2 0921720402 แบบทดสอบภาคปฏิบตั ิที่ 2.1 เครื่องมือวัดทางกล และเครื่องมือสวนบุคคล 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางกล และเครื่องมือสวนบุคคลได

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบรวม 4 ชั่วโมง 3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกวัดขนาดมิติ ตาง ๆ ของชุดเครื่องปรับอากาศ 1. วัดความกวาง ความยาว ความลึก ของคอนเด็นซิ่งยูนิต 2. วัดความกวาง ความยาว ความลึก ของแฟนคอยลยูนิต 3. วัดจุดกึ่งกลางของแผงยึดคอยลเย็น หรือแมแบบติดตั้ง (Plate)

สรุปผลการตรวจสอบ ชุด เครื่องปรับอากาศ คอนเด็นซิ่งยูนิต แฟนคอยลยูนิต Plate

ความกวาง

ความยาว

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ความลึก


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.1 เครื่องมือวัดทางกล และเครื่องมือสวนบุคคล 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับ แบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขควงแฉก

จํานวน 1 ตัว

2. ไขควงแบน

จํานวน 1 ตัว

3. คอนเดนซิ่งยูนิต

จํานวน 1 ชุด

4. ตลับเมตร

จํานวน 1 อัน

5. แฟนคอยลยูนิต

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. แผงยึดคอยลเย็น (Plate)

จํานวน 1 ชุด

2. สกรูยึดแผงยึดคอยลเย็น

จํานวน 1 ชุด

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

2. ลําดับการทดสอบ การวัดโดยใชเครื่องมือทางกล และเครื่องมือสวนบุคคล เพื่อหาจุดติดตั้งเครื่องปรับ อากาศ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. วั ด ขนาดแ ผงฝ ก หรื อ ห อ งปฏิ บั ติ ก าร เตรียมหอง หรือแผงฝกเพื่อวัดหา แลวอานแบบที่กําหนดให

ขนาดความกวาง ความยาว ความ สูง หาจุดกึ่งกลางหอง เพื่อทําการ ติดตั้งเครื่องปรับอากาศตามแบบที่ กําหนด

2. วัดความกวาง ยาว สูง ของคอนเดนซิ่งยูนิต

จากนั้น วัดความกวาง ความยาว

แลวบันทึกผล

และความสูงของชุดคอนเดนซิ่งยูนิต แลวบันทึกผล

3. วัดความกวาง ยาว สูง ของชุด

วัดความกวาง ความยาว ความสูง

แฟนคอยลยูนิต แลวบันทึกผล

ของชุดแฟนคอยลยูนิต แลวบันทึกผล

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

4. วัดความกวาง ยาว เพื่อหาจุดกึ่งกลาง ของ

วัดความกวาง ความยาว ของแผง

แผงยึดคอยลเย็น แลวบันทึกผล

ยึดคอยลเย็น จากนั้นหาจุด กึ่งกลางแลวบันทึกผล

5. วางตําแหนงแผงยึดคอยลเย็นใหไดตําแหนง

วางตําแหนงแผงยึดคอยลเย็น

กลางหอง จากนั้นติดชุด

แลวทดลองติดชุดแฟนคอยลยูนิต

แฟนคอยลเย็น โดยใชจุดกึ่งกลางรวมกัน

แลวทดลองติดชุดแฟนคอยลยูนิต โดยใชจุดกึ่งกลางจุดเดียวกันกับ แผงฝกหรือหองฝกปฏิบัติการ

6. วางตําแหนงคอยลรอนและทดลองวางชุด

จากนั้ น วางตํ า แหน ง คอยล ร อ น

คอนเดนซิ่งยูนิต โดยใหไดระยะตามแบบ

และทดลองวางชุดคอนเดนซิ่งยู นิ ต โดยใหไดระยะตามแบบ

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

7. ตรวจวัดระยะการติดตั้งตองตรงตามแบบที่

ตรวจวัดระยะชุดคอนเดนซิ่ ง ยู นิ ต

กําหนด

และแฟนคอยลยูนิต

8. บันทึกผล

บันทึกผลการติดตั้ง

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ รายการตรวจสอบ 1 การวัด และการทดลองติดตั้งเครืองปรับอากาศ 1.1 วัดความกวาง ความยาว ความสูง ของแผงฝกปฏิบัติการ หรือ หองปฏิบัติการ ไดถูกตอง 1.2 วัดความกวาง ความยาว ความสูง ของคอนเดนซิ่งยูนิตได ถูกตอง 1.3 วัดความกวาง ความยาว ความสูง ของแฟนคอยลยูนิตได ถูกตอง 1.4 ติดตั้งแผงยึด และแฟนคอยลยูนิต บนแผงฝกปฏิบัติการ หรือ หองปฏิบัติการไดถูกตอง 1.5 ติดตั้งคอนเดนซิ่งยูนิต ตามแบบที่กําหนดใหไดถูกตอง 2 กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เกณฑการพิจารณา ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม 25

การปฏิบัติงาน 1.1 วัดความกว าง ความยาว ความสูง ของแผง

- วัดมิติไดถูกตอง กําหนดจุดกึ่งกลางไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

ฝกปฏิบัติการ หรือหองปฏิบัติก าร แลวทํ า

- วัดมิติหรือกําหนดจุดกึ่งกลางคลาดเคลื่อน 1-2 มิลลิเมตร ใหคะแนน

เครื่องหมายกึ่งกลาง ไดถูกตอง

3 คะแนน

5

- วั ด มิ ติ หรื อ กํ าหนดจุ ด กึ่ ง กลางคลาดเคลื่ อ นตั้ ง แต 3 มิ ล ลิ เ มตร ให คะแนน 1 คะแนน 1.2 วัดความกว าง ความยาว ความสูง ของคอน - วัดมิติไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน เดนซิ่งยูนิตไดถูกตอง

5

- วัดมิติคลาดเคลื่อน 1-2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - วัดมิติคลาดเคลื่อนตั้งแต 3 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน

1.3 วัดความกว าง ความยาว ความสูง แลวทํา

- วัดมิติไดถูกตอง กําหนดจุดกึ่งกลางไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

เครื่องหมายกึ่งกลาง สําหรับแฟนคอยลยูนิตได

- วัดมิติหรือกําหนดจุดกึ่งกลางคลาดเคลื่อน 1-2 มิลลิเมตร ใหคะแนน

ถูกตอง

3 คะแนน

5

- วั ด มิ ติ หรื อ กํ าหนดจุ ด กึ่ ง กลางคลาดเคลื่ อ นตั้ ง แต 3 มิ ล ลิ เ มตร ให คะแนน 1 คะแนน 1.4 ติดตั้งแผงยึด และแฟนคอยลยูนิต บนแผงฝก - วัดมิติไดถูกตอง กําหนดจุดกึ่งกลางไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน ปฏิบัติการ หรือหองปฏิ บัติการไดถูกตอง

5

- วัดมิติหรือกําหนดจุดกึ่งกลางคลาดเคลื่อน 1-2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - วั ด มิ ติ หรื อ กํ าหนดจุ ด กึ่ ง กลางคลาดเคลื่ อ นตั้ ง แต 3 มิ ล ลิ เ มตร ให คะแนน 1 คะแนน

1.5 ติดตัง้ คอนเดนซิ่งยูนิต ตามแบบที่กําหนดให - ใชเครื่องมือสวนบุคคลไดถูกตอง และติดตั้งตรงตามแบบที่กําหนด ให ไดถูกตอง

5

คะแนน 5 คะแนน - ใชเครื่องมือสวนบุคคลไมถูกตอง หรือติดตั้งไมตรงตามแบบที่กํ าหนด คลาดเคลื่อน 1-2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - ใชเครื่องมือสวนบุคคลไมถูกตอง หรือติดตั้งไมตรงตามแบบที่กํ าหนด คลาดเคลื่อนตั้งแต 3 มิลลิเมตรขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน

2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรี ยมเครื่ องมื อและอุ ปกรณ อย างถู ก ต อ ง - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

และครบถวน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไม ถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอั นตรายส วนบุ ค คล - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

1 1

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม 25

การปฏิบัติงาน 1.1 วัดความกว าง ความยาว ความสูง ของแผง

- วัดมิติไดถูกตอง กําหนดจุดกึ่งกลางไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

ฝกปฏิบัติการ หรือหองปฏิบัติก าร แลวทํ า

- วัดมิติหรือกําหนดจุดกึ่งกลางคลาดเคลื่อน 1-2 มิลลิเมตร ใหคะแนน

เครื่องหมายกึ่งกลาง ไดถูกตอง

3 คะแนน

5

- วั ด มิ ติ หรื อ กํ าหนดจุ ด กึ่ ง กลางคลาดเคลื่ อ นตั้ ง แต 3 มิ ล ลิ เ มตร ให คะแนน 1 คะแนน 1.2 วัดความกว าง ความยาว ความสูง ของคอน - วัดมิติไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน เดนซิ่งยูนิตไดถูกตอง

5

- วัดมิติคลาดเคลื่อน 1-2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - วัดมิติคลาดเคลื่อนตั้งแต 3 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน

1.3 วัดความกว าง ความยาว ความสูง แลวทํา

- วัดมิติไดถูกตอง กําหนดจุดกึ่งกลางไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

เครื่องหมายกึ่งกลาง สําหรับแฟนคอยลยูนิตได

- วัดมิติหรือกําหนดจุดกึ่งกลางคลาดเคลื่อน 1-2 มิลลิเมตร ใหคะแนน

ถูกตอง

3 คะแนน

5

- วั ด มิ ติ หรื อ กํ าหนดจุ ด กึ่ ง กลางคลาดเคลื่ อ นตั้ ง แต 3 มิ ล ลิ เ มตร ให คะแนน 1 คะแนน 1.4 ติดตั้งแผงยึด และแฟนคอยลยูนิต บนแผงฝก - วัดมิติไดถูกตอง กําหนดจุดกึ่งกลางไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน ปฏิบัติการ หรือหองปฏิ บัติการไดถูกตอง

5

- วัดมิติหรือกําหนดจุดกึ่งกลางคลาดเคลื่อน 1-2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - วั ด มิ ติ หรื อ กํ าหนดจุ ด กึ่ ง กลางคลาดเคลื่ อ นตั้ ง แต 3 มิ ล ลิ เ มตร ให คะแนน 1 คะแนน

1.5 ติดตัง้ คอนเดนซิ่งยูนิต ตามแบบที่กําหนดให - ใชเครื่องมือสวนบุคคลไดถูกตอง และติดตั้งตรงตามแบบที่กําหนด ให ไดถูกตอง

5

คะแนน 5 คะแนน - ใชเครื่องมือสวนบุคคลไมถูกตอง หรือติดตั้งไมตรงตามแบบที่กํ าหนด คลาดเคลื่อน 1-2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - ใชเครื่องมือสวนบุคคลไมถูกตอง หรือติดตั้งไมตรงตามแบบที่กํ าหนด คลาดเคลื่อนตั้งแต 3 มิลลิเมตรขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน

2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไม ถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไม ถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

คะแนนเต็ม

30

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 บอกขั้นตอนการตอสายไฟฟา 10 7 แบบสายเดีย่ วและสายตีเกลียวได บอกวิธีการตอสายไฟฟาดวย อุปกรณได บอกขั้นตอนการเขาขั้วสายดวย หางปลา บอกขั้นตอนการใชวายนัทตอ สายได บอกขั้นตอนการใชหลอดตอ สายไฟได บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ประเมินผลภาคทฤษฏี

คะแนนที่ได 5

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได 42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 บอกขั้นตอนการตอสายไฟฟา 10 7 แบบสายเดีย่ วและสายตีเกลียวได บอกวิธีการตอสายไฟฟาดวย อุปกรณได บอกขั้นตอนการเขาขั้วสายดวย หางปลา บอกขั้นตอนการใชวายนัทตอ สายได บอกขั้นตอนการใชหลอดตอ สายไฟได บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ประเมินผลภาคทฤษฏี

คะแนนที่ได 8

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2

ตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียว ได 1. เขาขั้วสายดวยหางปลา และย้ําหางปลาได 2. ใชหลอดตอสายไฟได 3. ใชอุปกรณในการตอสายไฟได ใชวายนัทตอสายได

30

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 21

80

56

70

35

25

23

20

14

15

20

14

10

25

18

24

210

148

162

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ตอสายไฟฟาดวยการบัดกรีได ภาคปฏิบัติที่ 1.4 แบบทดสอบ ตอสายไฟฟาดวยการพันฉนวนได ภาคปฏิบัติที่ 1.5 แบบทดสอบ ตรวจสอบและกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ภาคปฏิบัติที่ 2.1 คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 20

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลว เปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ 44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

8

2

16

162

0.381

61.72

ผลการ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ทดสอบ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 77.72

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฏี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

10

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 10

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

8 × 2 = 16

คือ

=2

สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

210 45

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ ∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

80 = 0.381 210 162 × 0.381 = 61.72

คือ

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 16 + 61.72 = 77.72 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

1.

2.

3. 4.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 บอกวิธีการใชเครื่องมือวัดงาน 10 7 ไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศได ใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัดและ ทดสอบงานไฟฟา งานเครื่องทํา ความเย็น และเครื่องปรับอากาศ ได บอกวิธีการใชเครื่องมือวัดทางกล และเครื่องมือสวนบุคคลได ใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัดทาง กล และเครื่องมือสวนบุคคลได ประเมินผลภาคทฤษฏี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

1.

2.

3. 4.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 บอกวิธีการใชเครื่องมือวัดงาน 10 7 ไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศได ใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัดและ ทดสอบงานไฟฟา งานเครื่องทํา ความเย็น และเครื่องปรับอากาศ ได บอกวิธีการใชเครื่องมือวัดทางกล และเครื่องมือสวนบุคคลได ใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัดทาง กล และเครื่องมือสวนบุคคลได ประเมินผลภาคทฤษฏี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

25

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 18

35

25

30

21

90

64

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัดและทดสอบงาน ภาคปฏิบัติที่ 1.1 ไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และ เครื่องปรับอากาศได แบบทดสอบ ใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัดและทดสอบงาน ภาคปฏิบัติที่ 1.2 ไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และ เครื่องปรับอากาศได แบบทดสอบ ใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางกล และ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 เครื่องมือสวนบุคคลได คะแนนรวมภาคปฏิบัติ ประเมินผลภาคปฏิบัติ * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

ผลการ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ทดสอบ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC)

2 0.889

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบันทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.