คู่มือการประเมิน ช่างบำรุงรักษารถยนต์ ระดับ 1 โมดูล 5

Page 1

หนาปก



คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

คูมือการประเมิน 0920163100501 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 5 09210202 เครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

คํานํา คูมือการประเมิน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 โมดูล 5 เครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต ฉบับนี้ ได พัฒนาขึ้นภายใตโครงการพัฒนาระบบฝ กและชุดการฝ กตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ นํ า ไปใช เ ป น ระบบการฝ ก อบรมตาม ความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 เพื่อใหตอบสนองความตองการของกําลังแรงงานและตลาดแรงงานได อยางเหมาะสมมากยิ่ งขึ้น และเพื่อรองรับระบบการรั บรองมาตรฐานฝ มือแรงงานแห งชาติและระบบการรั บรองความรู ความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ใหแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมายตางๆ ใหกวางขวางมาก ยิ่งขึ้น ทั้งในแงของขอบเขตของการใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผู รับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตางๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

5

แบบทดสอบกอนฝก

6

แบบทดสอบหลังฝก

10

กระดาษคําตอบ

14

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

15

แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หัวขอวิชาที่ 1 0921020201 เครื่องมือทั่วไปทางดานงานชาง

16

หัวขอวิชาที่ 2 0921020202 เครื่องมือวัดทางชางยนต

38

หัวขอวิชาที่ 3 0921020203 เครื่องมือพิเศษทางดานชางยนต

58

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ

84

บันทึกผลการประเมินความสามารถ

90

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการ ฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการ ประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่อ อิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงราง หลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัตแิ กผูรับการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 5 09210202 เครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต 1. บอกชนิด และอธิบายวิธีการใชงาน และการบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได 2. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได 3. อธิบายวิธีการใช และการบํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางชางยนตได 4. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางชางยนตได 5. อธิบายวิธีการใช การบํารุงรักษาเครื่องมือพิเศษชนิดตาง ๆ ได 6. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือชนิดพิเศษตาง ๆ ได

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

แบบทดสอบกอนฝก คําชี้แจง : 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 5 09210202 เครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต

1. จากรูป ขอใดตอไปนี้คือชื่ออุปกรณ ก. ประแจเลื่อน

ค. ประแจปากตาย

ข. ประแจจับทอ

ง. ประแจรวม

2. ประแจลมชนิดใดทีไ่ มใชในการขันนอตใหแนน ก. ประแจลมทรงกลม

ค. ประแจลมทรงกระบอก

ข. ประแจลมทรงปน

ง. ประแจลมทรง 90 องศา

3. ขอใดตอไปนี้ใชอุปกรณไมถูกวิธี ก. นาย ก ใชเหล็กนําศูนยมาตอกกอนนําชิ้นงานไปเจาะดวยสวาน ข. นาย ข ใชแทนอัดไฮดรอลิก มาเจียระไนตกแตงชิ้นงาน ค. นาย ค ใชแมแรง เพื่อตรวจชวงลางและลอรถยนต ง. นาย ง ใชมัลติมิเตอร เพื่อใชวัดคาแรงดันไฟฟา 4. หัวหนาใหทานไปหยิบคีม เพื่อมาถอดแหวนล็อกลูกสูบ ทานจะเลือกคีมในขอใดไปใชงาน

ก.

ค.

ข.

ง. 7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

5. ขอใดเปนการเก็บรักษาเวอรเนียรคาลิปเปอรไมถูกวิธี ก. เก็บรักษาไวในสถานที่ที่อุณหภูมิไมสูงหรือต่ําเกินไป ข. ทําความสะอาดและทาน้ํามันกันสนิมเมื่อเลิกใชงานทุกครั้ง ค. ขัดดวยหินน้ํามันละเอียดเมื่อปากวัดนอกมีรอยบิ่น ง. ใหเก็บรักษาไวบนกระดาษทรายเสมอ

6. จากรูป ขอใดตอไปนี้คือชื่ออุปกรณ ก. ไมโครมิเตอรวัดสูง

ค. ไมโครมิเตอรวัดใน

ข. ไมโครมิเตอรวัดนอก

ง. ไมโครมิเตอรวัดลึก

7. จากรูป A มีขนาดเทาใด ก. 9.5 เซนติเมตร

ค. 1 เซนติเมตร

ข. 0.1 เมตร

ง. 9.5 มิลลิเมตร

8. รูปใดตอไปนี้คือเครื่องมือแคลมปกดสปริงวาลว

ก.

ค.

ข.

ง. 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

9. ถาทานเปนหัวหนาชางยนต ทานจะสอนพนักงานใหมเรื่องการใชและรักษามัลติมิเตอรในขอใด ก. หามถอดแบตเตอรี่ออก ถึงแมวาไมไดใชงานเปนระยะเวลานาน ข. หามทําตกหลน หรือกระแทกอยางรุนแรง ค. เมื่อใชงานเสร็จ หามปรับสวิตชไปตําแหนง OFF ง. วัดกระแสไฟฟากอนตรวจสอบบริเวณยานวัด 10. จงเรียงลําดับขั้นตอนของการทดสอบกําลังอัดกระบอกสูบของเครื่องยนตใหถูกตอง ก. เปรียบเทียบคาความดัน, ลองสตารทเครื่องยนต, ถอดหัวเทียน, ขันเกลียวขอตอของเกจวัดเขาไปแทนที่ ข. ลองสตารทเครื่องยนต, ถอดหัวเทียน, ขันเกลียวขอตอของเกจวัดเขาไปแทนที่, เปรียบเทียบคาความดัน ค. ขันเกลียวขอตอของเกจวัดเขาไปแทนที,่ เปรียบเทียบคาความดัน, ถอดหัวเทียน, ลองสตารทเครื่องยนต ง. ถอดหัวเทียน, ขันเกลียวขอตอของเกจวัดเขาไปแทนที,่ ลองสตารทเครื่องยนต, เปรียบเทียบคาความดัน

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

แบบทดสอบหลังฝก คําชี้แจง : 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 5 09210202 เครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต 1. ประแจลมชนิดใดที่ไมใชในการขันนอตใหแนน ก. ประแจลมทรงกลม

ค. ประแจลมทรงกระบอก

ข. ประแจลมทรงปน

ง. ประแจลมทรง 90 องศา

2. รูปใดตอไปนี้คือเครื่องมือแคลมปกดสปริงวาลว

ก.

ค.

ข.

ง.

3. จงเรียงลําดับขั้นตอนของการทดสอบกําลังอัดกระบอกสูบของเครื่องยนตใหถูกตอง ก. ถอดหัวเทียน,ขันเกลียวขอตอของเกจวัดเขาไปแทนที,่ ลองสตารทเครื่องยนต, เปรียบเทียบคาความดัน ข. เปรียบเทียบคาความดัน, ลองสตารทเครื่องยนต, ถอดหัวเทียน, ขันเกลียวขอตอของเกจวัดเขาไปแทนที่ ค. ลองสตารทเครื่องยนต, ถอดหัวเทียน, ขันเกลียวขอตอของเกจวัดเขาไปแทนที่, เปรียบเทียบคาความดัน ง. ขันเกลียวขอตอของเกจวัดเขาไปแทนที,่ เปรียบเทียบคาความดัน, ถอดหัวเทียน, ลองสตารทเครื่องยนต

4. จากรูป ขอใดตอไปนี้คือชื่ออุปกรณ ก. ไมโครมิเตอรวัดใน

ค. ไมโครมิเตอรวัดสูง

ข. ไมโครมิเตอรวัดลึก

ง. ไมโครมิเตอรวัดนอก

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

5. จากรูป ขอใดตอไปนี้คือชื่ออุปกรณ ก. ประแจปากตาย

ค. ประแจจับทอ

ข. ประแจรวม

ง. ประแจเลื่อน

6. จากรูป A มีขนาดเทาใด ก. 0.1 เมตร

ค. 9.5 เซนติเมตร

ข. 9.5 มิลลิเมตร

ง. 1 เซนติเมตร

7. ถาทานเปนหัวหนาชางยนต ทานจะสอนพนักงานใหมเรื่องการใชและรักษามัลติมิเตอรในขอใด ก. วัดกระแสไฟฟากอนตรวจสอบบริเวณยานวัด ข. เมื่อใชงานเสร็จ หามปรับสวิตชไปตําแหนง OFF ค. หามถอดแบตเตอรี่ออก ถึงแมวาไมไดใชงานเปนระยะเวลานาน ง. หามทําตกหลน หรือกระแทกอยางรุนแรง 8. ขอใดเปนการเก็บรักษาเวอรเนียรคาลิปเปอรไมถูกวิธี ก. ใหเก็บรักษาไวบนกระดาษทรายเสมอ ข. ขัดดวยหินน้ํามันละเอียดเมื่อปากวัดนอกมีรอยบิ่น ค. เก็บรักษาไวในสถานที่ที่อุณหภูมิไมสูงหรือต่ําเกินไป ง. ทําความสะอาดและทาน้ํามันกันสนิมเมื่อเลิกใชงานทุกครั้ง 12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

9. ขอใดตอไปนี้ใชอุปกรณไมถูกวิธี ก. นาย ก ใชมัลติมิเตอร เพื่อใชวัดคาแรงดันไฟฟา ข. นาย ข ใชแมแรง เพื่อตรวจชวงลางและลอรถยนต ค. นาย ค ใชเหล็กนําศูนยมาตอกกอนนําชิ้นงานไปเจาะดวยสวาน ง. นาย ง ใชแทนอัดไฮดรอลิก มาเจียระไนตกแตงชิ้นงาน 10. หัวหนาใหทานไปหยิบคีม เพื่อมาถอดแหวนล็อกลูกสูบ ทนจะเลือกคีมในขอใดไปใชงาน

ก.

ค.

ข.

ง.

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

หัวขอวิชาที่ 1 0921020201 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.1 การใชแมแรงตะเฆและลิฟตยกรถ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได 2. ปฏิบัติงานใชแมแรงตะเฆและลิฟตยกรถได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 45 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกยกรถดวยแมแรงตะเฆและลิฟตยกรถ

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.1 การใชแมแรงตะเฆและลิฟตยกรถ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนตนั่งสวนบุคคล

จํานวน 1 คัน

2. แมแรงตะเฆ

จํานวน 1 ตัว

3. หมอนรองลอรถกันลื่นไถล

จํานวน 4 อัน

4. ลิฟตยกรถ 2 เสา

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการทดสอบ 2.1 การใชแมแรงตะเฆ ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตรวจสภาพของแมแรงตะเฆ

คําอธิบาย โดยจะตอ งไมมีค ราบน้ํา มัน ไฮดรอลิก รั่ว ไหล และล อ ของแมแ รงต อ งไม มี รอยฉีกขาด

2. ปดวาลวระบบไฮดรอลิก

โดยหมุนตามนาฬิกา

3. ทดลองเหยียบแทงโยกของแมแรง

เหยีย บแทง โยก แลว ดูว า จานของแม แรงลดระดั บลงหรื อไม หากจานไม ลด ระดับลง ใหเปดวาลวระบบไฮดรอลิก โดยหมุนทวนนาฬิกา

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ 4. ปดวาลวระบบไฮดรอลิกอีกครั้ง

คําอธิบาย โดยหมุนตามนาฬิกา

ขอควรระวัง ตองปดวาลวระบบ ไฮดรอลิกใหสนิท เพื่อปองกันแมแรง ลดระดับลงกะทันหัน ขณะปฏิบัติงาน

5. ทดลองโยกคันโยกของแมแรง

โยกคันโยกแลวดูวาจานของแมแรงลด ระดับ ลงหรือ ไม หากจานไมล ดระดับ ลง ใหเปดวาลวระบบไฮดรอลิก โดยหมุนทวนนาฬิกา

6. ฝกใชแมแรงยกรถ

โดยทดลองยกลอหนา ลอใดลอหนึ่งของรถ

7. จอดรถ

โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง

8. ดับเครื่องยนตและเขาเกียร

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียร ในตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ให เขาเกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ ปองกันรถไหล 19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

9. รองลอรถ

นําหมอนรองลอรถไปรองลอหลัง

10. สอดแมแรงตะเฆเขาที่บริเวณชายขอบของรถ

โดยใหจานของแมแรง รองรับที่ตําแหนง ถ า วางจานของแม ขึ้นแมแรงยกรถ ซึ่งอยูบริเวณชายขอบ แรงไม ถู ก ตํ า แหน ง ด า น ห น า แ ล ะ ด า น ห ลั ง ข อ ง ร ถ มี อาจทํ า ให ตั ว ถั ง รถ สัญลักษณรอยบากเปนจุดสังเกต

ไดรับความเสียหายได ตําแหนงสําหรับขึ้น แมแรงของรถยนต แตละรุนอาจแตกตาง กั น ควรตรวจสอบ จากคูมือซอมประจํา รถยนต

11. ปดวาลวระบบไฮดรอลิก

โดยหมุนตามนาฬิกา

ตองปดวาลวระบบ ไฮดรอลิกใหสนิท เพื่อปองกันแมแรง ลดระดับลงกะทันหัน ขณะปฏิบัติงาน

12. เหยียบแทงโยกของแมแรง

จนกระทั ่ ง จานของแม แ รงแตะถึ ง หามมุดเขาใตทองรถ ชายขอบรถ

เพื่อปองกันอันตราย ในกรณีที่แมแรงไม สามารถรองรับ น้ําหนักของรถได และ หามติด เครื่ องยนต

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

13. ใชมือโยกที่คันโยกของแมแรง

เพื่อชวยเพิ่มแรงในการยกรถ

ขอควรระวัง ขณะที่รถถูกยกอยู บนแมแรง

14. เปดวาลวระบบไฮดรอลิก

เพื่ อลดระดั บของแม แรงลง และนํ าแม กรณีใชงานจริง หาม แรงออกจากตัวรถ

ปฏิบัติงานขณะที่รถ ถูกยกอยูบนแมแรง ตองรองรถดวยใชขาตั้ง รองรับรถ

15. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2.2 การใชลิฟตยกรถ ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. ตรวจสอบสภาพของลิฟตยกรถ

ลิฟตยกรถตองอยูในสภาพพรอมใชงาน

2. เตรียมลิฟตยกรถ

ปรั บ ระดับ คานของลิ ฟต ให ใ นระดั บ ต่ํ า

ขอควรระวัง

ที่ สุ ด และเลื่ อ นแขนของลิ ฟ ต อ อกให ขนานกับเสา

3. จอดรถ

จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ

4. เลื่อนแขนของจานรองรับรถ

โดยระยะหางระหวางเสาทั้งสองขางตอง เทากัน จากนั้น ผูขับออกจากรถ เลื่ อ นแขนของจานรองรั บ รถให อ ยู ใ น หามนําจานไปรองรับ ตําแหนงเดียวกับแมแรง โดยจานรองรับ บริเวณพื้นรถ หรือ จะอยูที่ตําแหนงขึ้นแมแรง ซึ่งอยูบริเวณ บริเวณที่ไมใชจุด ชายขอบดานหนาและดานหลังของรถ มี รองรับ เพราะจะทํา สัญลักษณรอยบากเปนจุดสังเกต

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ใหตัวถังชํารุด


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

5. ยกรถขึ้น

กดสวิตชยกรถขึ้นในตําแหนงที่ตองการ

6. นํารถลง

กดสวิตชนํารถลงสูระดับพื้นราบปกติ

7. เลื่อนแขนของจานรองรับรถ

ขอควรระวัง

ระวังอยาใหมีคนหรือ สิ่งกีดขวางใตทองรถ หรือบริเวณใกลเคียง ขณะนํารถลง

เลื่อนแขนของจานรองรับรถออก โดยให แขนของคานอยูในตําแหนงขนานกับเสา

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

8. นํารถออก

ผูขับ ขึ้น รถ และขับ รถออกจากลิฟตยก

9. เก็บแขนของลิฟตยกรถ

รถ พับแขนของลิฟตยกรถเก็บใหเรียบรอย

10. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ อ ย า ง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ถูกตองและครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติงานได ถู กต อ ง เปน ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การเปด – ปดวาลวระบบไฮดรอลิกของ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

แมแรงตะเฆยกรถ 5

การขึ้นแมแรงตะเฆ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การใชลิฟตยกรถ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง

คะแนน เต็ม 3

อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ ไ ม ค รบถ ว นและไม ถู ก ต อ ง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การเปด – ปดวาลวระบบไฮดรอลิกของแมแรงตะเฆยกรถ

เปด – ปดวาลวระบบไฮดรอลิถูกตองครบทุกขั้นตอน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน เปด – ปดวาลวระบบไฮดรอลิกไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน เปด – ปดวาลวระบบไฮดรอลิกไมถูกตองตามขั้นตอน มากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การขึ้นแมแรงตะเฆ

ขึ้ น แม แ รงตะเฆ ไ ด ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน และขึ้ น แม แ รงที่ ตําแหนงรองรับไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ขึ้นแมแรงตะเฆไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน แตขึ้นแม แรงที่ตําแหนงรองรับไดถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน ขึ้นแมแรงตะเฆไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 1 ขั้นตอน และขึ้นแมแรงที่ตําแหนงรองรับไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การใชลิฟตยกรถ

ใชลิฟตยกรถไดถูกตองตามขั้นตอน และวางจานรองรับใน ตําแหนงรองรับไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ใชลิฟตยกรถไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน แตวางจาน รองรับในตําแหนงรองรับไดถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน ใช ลิ ฟ ต ย กรถไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอนมากกว า 1 ขั้ น ตอน และวางจานรองรับในตําแหนงรองรับไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

33

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

หัวขอวิชาที่ 1 0921020201 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.2 การบํารุงรักษาปมลม 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได 2. ปฏิบัติงานบํารุงรักษาปมลมได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 45 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติการบํารุงรักษาปมลม ตารางบันทึกผลการปฏิบัติงาน ผลการตรวจสอบ รายการตรวจสอบ

สามารถใชงานไดปกติ

1. ระดับน้ํามันหลอลื่นของปมลม 2. ความตึงของสายพาน และความแนนของ นอตยึดตาง ๆ 3. ตรวจสอบการระบายลมเซฟตี้วาลว (Safety Valve) 4. การรั่วซึมตามจุดตางๆ

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

สภาพตองปรับปรุง (พรอมระบุสาเหตุ)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.2 การบํารุงรักษาปมลม 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - หนากากชนิดแผนกรองอากาศ - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ปมลมแบบลูกสูบ

จํานวน 1 ตัว

2. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

3. กรวยพลาสติก

จํานวน 1 อัน

4. ถาดรอง

จํานวน 1 ใบ

5. ปนเปาลม

จํานวน 1 ตัว

6. ไมบรรทัด

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. น้ํายาลางทําความสะอาด

จํานวน 1 ขวด

3. น้ํามันหลอลื่นปมแบบลูกสูบ

จํานวน 1 ลิตร

2. ลําดับการทดสอบ การบํารุงรักษาปมลม ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

1. จัดเตรียมปมลม

จัดเตรียมปมลมสําหรับฝก โดยตอง

พึงระวังเรื่องระบบ

2. ตัดระบบไฟฟา

วางอยูบนพื้นที่ราบ

ไฟฟากอนเริ่ม ปฏิบัติงาน และ ไมควรนําวัตถุไวไฟ เขามาในบริเวณ สถานที่ปฏิบัติงาน

ตัดระบบไฟฟาที่ตอเขากับปมลม เพื่อ ความปลอดภัย 3. ตรวจสอบระดับน้ํามันหลอลื่นของปมลม

ตรวจสอบระดับน้ํามันหลอลื่นของ ปมลม หากอยูในระดับต่ํากวากําหนด (อยู ร ะหว าง1/2 ของช องใส) ให เ ติ ม ดวยน้ํามันหลอลื่นปมลม

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ 4. ตรวจสอบสายพานและนอตยึด

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตรวจปรั บ ตั้ ง ความตึ ง ของสายพาน ตามระยะอางอิงที่คูมือประจํารถยนต กํานหนด และความแนนของนอตยึด ตาง ๆ เชน ฐานมอเตอร ฐานตัวเรือน เครื่องปมลม เปนตน

5. ทําความสะอาดไสกรองอากาศ

ทํ า ความสะอาดไส ก รองอากาศด ว ย ระวังฝุนปลิวเขาตา การใชลมเปาจากภายในออก สูภายนอก

6. ปลอยน้ําจากถังลม

ปล อ ยน้ํ า จากถั ง ลมและระบบท อ กอนระบายน้ํ า ออก ทางออกทิ้ง

จากถังเก็บ ลม ตอ ง ระบายลมออกจาก ถังเก็บลมกอน ทุกครั้ง

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ 7. ตรวจสอบการระบายลมที่เซฟตี้วาลว (Safety Valve)

คําอธิบาย ฟ ง เสี ย งการระบายลมที่ เ ซฟตี้ ว าล ว (Safety Valve) หากไมมีการระบาย ลมออกมา ตองตรวจสอบที่ลิ้นระบาย ลม

8. ตรวจสอบการรั่วซึม

ตรวจสอบการรั่วซึมตามจุดตางๆ เชน ฟงเสียงลมรั่ว น้ํามันหลอลื่นซึม

9. ทําความสะอาดภายนอกของปมลม

ทําความสะอาดคราบน้ํามัน และ สิ่งสกปรกภายนอกดวยน้ํายาทําความ สะอาด

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

10. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ขอควรระวัง

ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณ ส ถ า น ที่ ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ จั ด เ ก็ บ เครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน

2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การทําความสะอาดสวนตาง ๆ ของปมลม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การตรวจสอบสายพานและนอตยึด

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การตรวจสอบรอยรั่วซึมของปมลม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง

คะแนน เต็ม 3

อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง

หนากากชนิดแผนกรองอากาศ แวนตานิรภัย รองเทานิรภัย

ครบทั้ง 5 ชนิด

และชุดปฏิบัตกิ ารชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่ม ปฏิบัติงาน

ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง

3

ครบ 4 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 3 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 3 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การทําความสะอาดสวนตาง ๆ ของปมลม

ทําความสะอาดสวนตาง ๆ ของปมลมไดถูกตอง และครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ทําความสะอาดสวนตาง ๆ ของปมลมถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดสวนตาง ๆ ของปมลมไมถกู ตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การตรวจสอบสายพานและนอตยึด

ตรวจสอบสายพานและนอตยึดไดครบถวน และถูกตองตาม

5

ขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบสายพานและนอตยึ ด ไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบสายพานและนอตยึดไมถูกตองตามขั้นตอน มากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การตรวจสอบรอยรั่วซึมของปมลม

ตรวจสอบรอยรั่วซึมของปมลมไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกจุด

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบรอยรัว่ ซึมของปมไมครบ 1 จุด ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบรอยรัว่ ซึมของปมไมครบมากกวา 1 จุด ใหคะแนน 0 คะแนน 7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ใหคะแนน 0 คะแนน 9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

33

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

หัวขอวิชาที่ 2 0921020202 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.1 การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางชางยนตได 2. ปฏิบัติงานวัดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็กได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกวัดขนาดชิ้นงานตอไปนี้ดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นงานที่ 1

ตารางบันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงานที่ 1 ตําแหนง

A

B

C

D

มม.

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

E

F

G

H


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ชิ้นงานที่ 2

ตารางบันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงานที่ 2 ตําแหนง

A

B

C

D

E

F

G

มม.

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

H

I

J

K

L

M

N


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ชิ้นงานที่ 3

ตารางบันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงานที่ 3 ตําแหนง

A

B

C

D

E

F

มม.

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

G

H

I

J

K


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ชิ้นงานที่ 4

ตารางบันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงานที่ 4 ตําแหนง

A

B

C

D

E

F

G

มม.

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

H

I

J

K

L

M

N


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ชิ้นงานที่ 5

ตารางบันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงานที่ 5 ตําแหนง

A

B

C

D

E

F

G

H

มม.

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

I

J

K

L

M

N

O


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.1 การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - บรรทัดเหล็ก ขนาด 1 ฟุต

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ชิ้นงานทดลองสําหรับวัดดวยบรรทัดเหล็ก

จํานวน 5 ชิ้น

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการทดสอบ การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือและ

ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือและ ระวังไมใหเครื่องมือวัด

ชิ้นงาน

ชิ้นงาน และใชผาเช็ดทําความสะอาด

และชิ้นงานตก เพราะ อาจทําใหบิ่นหรือ เสียหายได

2. วัดขนาดของชิ้นงาน

วั ด ความยาวของชิ้ น งานชิ้ น ที่ 1 ด ว ย กอนการวัดงานควร บรรทัดเหล็กในหนวยมิลลิเมตร และอาน ลบคมของชิ้นงานให คาบนสเกล

เรียบรอย เพื่อปองกัน ชิ้นงานบาดขณะ ปฏิบัติงาน

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ 3. บันทึกผล

คําอธิบาย หลังจากวัดความยาวของชิ้นงานในแตละ ดานเรียบรอยแลว บันทึกผลลงในตาราง

4. ทําตามขั้นตอน 2-3 อีกครั้ง

เมื่อวัดขนาดของชิ้นงานชิ้นที่ 1 เรียบรอย แลว ใหวัดขนาดของชิ้น งานที่ 2-5 ตาม ขั้นตอนที่ 2-3

5. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย . 45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน

2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 1

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 2

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 3

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 4

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 5

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

10

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

11

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง

คะแนน เต็ม 3

อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

ครบทั้ง 3 ชนิด

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิน้ ที่ 1

วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่ถูกตองทุกตําแหนง ใหคะแนน 5 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อนมากกวา ± 2 มิลลิเมตร

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 2

วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่ถูกตองทุกตําแหนง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อนมากกวา ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 3

วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่ถูกตองทุกตําแหนง

5

ใหคะแนน 5 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อนมากกวา ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 0 คะแนน 7

การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 4

วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่ถูกตองทุกตําแหนง

5

ใหคะแนน 5 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อนมากกวา ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 0 คะแนน 8

การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 5

วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่ถูกตองทุกตําแหนง ใหคะแนน 5 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อนมากกวา ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 0 คะแนน

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

9

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

คะแนน เต็ม

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 10

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 11

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

43

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

หัวขอวิชาที่ 2 0921020202 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.2 การวัดขนาดชิ้นงานดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางชางยนตได 2. ปฏิบัติงานวัดขนาดชิ้นงานดวยเวอรเนียรคาลิปเปอรได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกวัดขนาดของชิ้นงานตอไปนี้ดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร

ตารางบันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงาน ตําแหนง

A

B

มม.

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

C

D


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.2 การวัดขนาดชิ้นงานดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - เวอรเนียรคาลิปเปอร ความละเอียด 1 ตอ 20 มิลลิเมตร หรือ 0.05 มิลลิเมตร จํานวน 1 ตัว หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. น้ํามันกันสนิม

จํานวน 1 ขวด

3. ชิ้นงานทดลองสําหรับวัดดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร

จํานวน 1 ชิ้น

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการทดสอบ การวัดขนาดชิ้นงานดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือและชิ้นงาน

ขอควรระวัง

ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ

ระวังไมใหเครื่องมือ

และชิ้นงาน และใชผาเช็ดทําความ

วัดและชิ้นงานตก

สะอาด

เพราะอาจทําใหบิ่น หรือเสียหายได

2. วัดความยาวเสนผานศูนยกลางที่จุด A ของชิ้นงาน

ใชป ากของเวอรเนีย รคาลิป เปอรห นีบ กอนการวัดงานควร ชิ้นงานบริเวณที่จะวัด

ลบคมของชิ้นงาน ใหเรียบรอย เพื่อ ปองกันชิ้นงานบาด ขณะปฏิบัติงาน

หมุนสเกลเลื่อนใหชิดชิ้นงานมากที่สุด แลวจึงหมุนสกรูล็อก 3. อานคาและบันทึกผล

อานคาบนสเกลวัด ในหนว ยมิล ลิ เ มตร และบันทึกผลลงในตาราง

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

4. วัดคาที่จุดอื่น ๆ บนชิ้นงาน

วัดความยาวของจุดอื่น ๆ บนชิ้นงานให ครบ ตามขั้นตอนที่ 2-3

5. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน

2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การวัดขนาดชิ้นงานดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ชิ้นที่ 1 5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง

คะแนน เต็ม 3

อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

ครบทั้ง 3 ชนิด

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การวัดขนาดชิ้นงานดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร ชิ้นที่ 1

วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่ถูกตองทุกตําแหนง ใหคะแนน 5 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อนมากกวา ± 2 มิลลิเมตร

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ใหคะแนน 0 คะแนน 5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

23

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

หัวขอวิชาที่ 3 0921020203 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.1 การถอดสลักเกลียวที่ขาดดวยตัวถอดเกลียวซาย 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือชนิดพิเศษตาง ๆ ได 2. ปฏิบัติงานถอดสลักเกลียวที่ขาดดวยตัวถอดเกลียวซายได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 40 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติการถอดสลักเกลียวที่ขาดดวยตัวถอดเกลียวซาย ตัวอยาง การเลือกขนาดรูเจาะ (ดอกสวาน) ใหเหมาะสมกับสลักเกลียวที่ตองการถอดออก - ขนาดรูเจาะที่จะใชตัวถอดเกลียวซาย 5/32 นิ้ว (3.96 มม.) - ขนาดสลักเกลียวที่ขาด 5/16 – 7/16 นิ้ว (7.93 – 11.11 มม.)

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.1 การถอดสลักเกลียวทีข่ าดดวยตัวถอดเกลียวซาย 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. สวานไฟฟา

จํานวน 1 ตัว

2. ดอกสวาน

จํานวน 1 ชุด

3. ดอกถอดสลักเกลียว

จํานวน 1 ชุด

4. ตะไบแบน

จํานวน 1 อัน

5. เหล็กนําศูนย

จํานวน 1 อัน

6. คอนเหล็ก

จํานวน 1 อัน

7. แปรงขนออน

จํานวน 1 อัน

8. ปากกาจับยึดชิ้นงาน

จํานวน 1 ตัว

9. ดามตาป

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. น้ํามันอเนกประสงค

จํานวน 1 กระปอง

3. ชิ้นงานสําหรับถอดสลักเกลียว

จํานวน 1 ชิ้น

2. ลําดับการทดสอบ การถอดสลักเกลียวที่ขาดดวยตัวถอดเกลียวซาย ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

1. เตรียมชิ้นงานและอุปกรณ

เตรียมสลักเกลียวที่ขาดและตัวถอด

ระวังไมใหเครื่องมือ

2. ปรับแตงปลายสลักเกลียวใหเรียบ

เกลียวซาย

และชิ้นงานตก เพราะอาจทําใหบิ่น หรือเสียหายได

กรณีสลักเกลียวที่ขาดสูงกวาผิวชิ้นงาน ให ใ ช ต ะไบแบนปรั บ แต ง ปลายสลั ก เกลียวใหเรียบ

3. ใชเหล็กนําศูนยตอกนํา

ใ ช เ ห ล็ ก นํ า ศู น ย ต อ ก นํ า ต ร ง จุ ด ศูนยกลางของสลักเกลียวที่ขาด

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ 4. เลือกดอกสวาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เลื อ กดอกสว า นให มี ข นาดเล็ ก กว า สลั ก เกลี ย วที่ ข าดประมาณ 12 ของ

เสนผานศูนยกลางสลักเกลียว

5. เจาะรูสลักเกลียวที่ขาด

ใชส วานไฟฟาเจาะรูสลักเกลียวที่ขาด ควรตรวจสอบให ดวยความระมัดระวังใหลึกพอประมาณ แนใจวาสวานไฟฟา อยูในสภาพที่ใชงาน ได และขณะใช สวานไฟฟาเจาะรู สลักเกลียว ควรออก แรงใหสัมพันธกับ การหมุนของดอก สวาน เพื่อความ ปลอดภัย

6. ทําความสะอาดเศษโลหะ

ทําความสะอาดเศษโลหะที่เจาะออกให เรียบรอย

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

7. เลือกขนาดตัวถอดเกลียวซาย

เลื อ กขนาดตั ว ถอดเกลี ย วซ า ย ให เหมาะสมกับสลักเกลียวที่ขาดคางอยูในรู

8. หลอลื่นบริเวณสลักเกลียวที่ขาด

หล อ ลื่ น ด ว ยน้ํ า มั น เครื่ อ งหรื อ น้ํ า มั น อเนกประสงคบริเวณสลักเกลียวที่ขาด

9. ถอดสลักเกลียว

นําตัวดูดเกลียวหรือตัวถอดเกลียวซาย ใสในรูที่เจาะและใชดามจับตัวดูดเกลียว หมุนคลายออก โดยตองหมุนทวนเข็ม นาฬิกา เมื่อสลักเกลียวคลายออกจนสุดแลวให ทําความสะอาดรูสลักเกลียวใหสะอาด

10. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิบัติงาน และจัดเก็บ เครื่อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน

2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การเลือกใชตัวถอดเกลียวซายและดอกสวาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสมบูรณของชิ้นงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง

คะแนน เต็ม 3

อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การเลือกใชตัวถอดเกลียวซายและดอกสวาน

เลือกใชตัวถอดเกลียวซายและดอกสวานที่มีขนาดเหมาะสม

5

ใหคะแนน 5 คะแนน เลื อ กใช ตัว ถอดเกลี ย วซ า ย หรื อ ดอกสว า น ที่ มี ข นาด ไมเหมาะสม อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลื อ กใช ตัว ถอดเกลี ย วซ า ยและดอกสว า น ที่ มี ข นาด ไมเหมาะสม ใหคะแนน 0 คะแนน 5

ความสมบูรณของชิ้นงาน

ชิ้นงานมีสภาพสมบูรณ ไมแตกหัก และสะอาดเรียบรอย

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ใหคะแนน 5 คะแนน ชิ้นงานมีสภาพไมสมบูรณ แตกหัก หรือ ไมสะอาดเรียบรอย อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ชิ้นงานมีสภาพไมสมบูรณ แตกหัก และ ไมสะอาดเรียบรอย ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที

3

ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

หัวขอวิชาที่ 3 0921020203 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.2 การทําเกลียวนอกดวยมือ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือชนิดพิเศษตาง ๆ ได 2. ปฏิบัติงานทําเกลียวนอกดวยมือได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 40 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติการทําเกลียวนอกดวยมือ

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.2 การทําเกลียวนอกดวยมือ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เหล็กแทงกลม ขนาด M12 x 1.75

จํานวน 1 แทง

2. ปากกาจับยึดชิ้นงาน

จํานวน 1 ตัว

3. ดามดาย พรอมดอกดาย เกลียว M12 x 1.75

จํานวน 1 ชุด

4. แปรงขนออน

จํานวน 1 อัน

5. ฉากตาย

จํานวน 1 อัน

6. ตะไบแบน

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. สารหลอเย็นขณะทําเกลียว

จํานวน 1 กระปอง 68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการทดสอบ การทําเกลียวนอกดวยมือ ขั้นตอนการทดสอบ 1. เตรียมชิ้นงานและอุปกรณ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เตรียมชิ้นงานและเครื่องมือทําเกลียวให

ระวังไมใหเครื่องมือ

พรอม โดยเลือกขนาดแทงเหล็กใหมี

และชิ้นงานตก เพราะ

ขนาด M 12

อาจทําใหบิ่นหรือ เสียหายได

2. ลบมุมรอบแทงเหล็ก

จับแทงเหล็กดวยปากกาจับงาน แลวใช ตะไบแตงลบมุมประมาณ 20 องศารอบ แทงเหล็ก และใหลึกประมาณ 2 มิลลิเมตร

3. ใชฉากตายวัดชิ้นงานใหตรง

จับ ชิ้น งานที่จ ะทําเกลีย วดวยปากกาจับ งานในแนวดิ่งให แน น ไมเอียงไปด านใด ดานหนึ่ง โดยใชฉากตายวัดทุก ๆ ดาน

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

4. เลือกดอกดาย (Die)

เลือกดอกดาย เกลียวตามขนาดที่ตองการ ตองใชดอกดาย (Die)

5. สวมดาย (Die) ลงในดามจับใหถูกทิศทาง

พรอมดามจับ (Strock) ใหเหมาะสม

ที่ใหมและมีความคม

โดยในที่นี้ จะใชดอกดายขนาด

อยูเสมอ

M 12 x 1.75 สวมดายลงในดามจับใหถูกทิศทาง โดย ตรวจสอบดาย (Die) ประกอบดายด า นที่ มี ฟ น เฟ อ งหลาย ๆ แ ล ะ ด า ม จั บ ยึ ด ฟ น เอาไว ด า นนอก เพื่ อ เริ่ ม ตั ด เกลี ย ว (Stock) เพราะหากตัว ชิ้ น งาน และต อ งให ร อ งบ า รั บ ดายอยู ทําเกลียวและดามจั บ ดานบนขณะทําเกลียว จากนั้นขันยึ ดสกรู ยึ ด หลุ ด ออกจากกั น ในรองของ ดายใหแนน

ระหวางทําเกลียว จะ ทําใหไดรับอันตรายได

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

6. สวมดาย (Die) ลงบนปลายชิ้ น งานเพื่ อ เริ่ ม ทํ า สวมดายลงบนปลายชิ้ น งานเพื่ อ เริ่ มทํ า กอนเริ่มทําเกลียว เกลียว

เกลียว โดยตองใหชิ้นงานและดายตั้งฉาก ตองตั้งดามดาย (Die) กันเสมอ

สําหรับขันเกลียวให ตรง และหมุนดาย ตามขั้นตอนอยางชา ๆ

7. ทําเกลียวนอก

เริ่มหมุนดายอยางชา ๆ โดยมือทั้ง 2 ขาง

เศษเกลียวที่เกิดจาก

ตองจับใกล ๆ กับตัวดายและเมื่อหมุนทํา

การทําเกลียวจะคม

เกลียวไปไดประมาณ ¼ รอบ ใชหมุนดาย มาก จึงควรใชแปรง ทวนเข็มนาฬิกา เพื่อคายเศษโลหะออก ปดออกเทานั้น ไมควร แลวจึงคอยหมุนเขาทําเกลียวใหมตอไป ทําเชนนี้ไปเรื่อย ๆ อยางชา ๆ จนกวาจะ ไดความยาวเกลียวตามตองการ 8 ระบายความรอนขณะทําเกลียว

ขณะทํ า เกลี ย วต อ งใช ส ารหล อ เย็ น ช ว ย ระบายความรอน โดยหยอดสารหลอเย็น ลงบนปลายดานบนของชิ้นงานทีละน อย จนกวาจะทําเกลียวเสร็จตามตองการ

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ใชมือปดเศษโลหะออก


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

9. ตรวจสอบวาดาย (Die) ตั้งฉากกับชิ้นงานหรือไม

หลังจากทําเกลียวไปไดประมาณ 2 – 3 ฟน ใหหยุดตรวจดูวาตัวดายกับชิ้นงานยังตั้ง ฉากกันหรือไมถาไมตั้งฉากกันใหรีบแกไข ทันที

10. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน

2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การประกอบดาย (Die) เขากับดามจับ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสมบูรณของชิ้นงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง

คะแนน เต็ม 3

อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การประกอบดาย (Die) เขากับดามจับ

เลือกดอกดาย (Die) ตามขนาดที่เหมาะสม และประกอบ

5

เขากับดามจับอยางถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน เลือกดอกดาย (Die) ที่มีขนาดไมเหมาะสม หรือ ประกอบ เขากับดามจับไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกดอกดาย (Die) ที่มีขนาดไมเหมาะสม และประกอบ เขากับดามจับไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 5

ความสมบูรณของชิ้นงาน

ชิ้นงานมีสภาพสมบูรณ ไมแตกหัก และสะอาดเรียบรอย

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ใหคะแนน 5 คะแนน ชิ้นงานมีสภาพไมสมบูรณ แตกหัก หรือ ไมสะอาดเรียบรอย อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ชิ้นงานมีสภาพไมสมบูรณ แตกหัก และ ไมสะอาดเรียบรอย ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

หัวขอวิชาที่ 3 0921020203 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.3 การใชมัลติมิเตอรวดั อุปกรณไฟฟา 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือชนิดพิเศษตาง ๆ ได 2. ปฏิบัติงานใชมัลติมิเตอรวัดอุปกรณไฟฟาได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 40 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติการใชมัลติมิเตอรวัดอุปกรณไฟฟาตามที่กําหนดใหถูกตอง ลําดับการตรวจวัด

คามาตรฐาน

คาที่วัดได

วัดคาความตานทาน - ฟวสรถยนต - รีเลย ชนิด 4 ขั้ว - สายไฟฟารถยนต วัดคาแรงดันไฟฟากระแสตรง - แบตเตอรี่รถยนต

12 โวลต

- แบตเตอรี่ขนาด AA

1.5 โวลต

- แบตเตอรี่ขนาด 9 โวลต

9 โวลต

วัดคาแรงดันไฟฟากระแสสลับ - กระแสไฟฟาจากปลั๊กพวง

220 โวลต

หมายเหตุ ในหัวขอนี้ใหครูฝกเปนผูกําหนดคามาตรฐานขึ้นเองตามความเหมาะสม เนื่องจากในแตละพื้นที่อาจใชวัสดุอุปกรณ แตกตางกัน

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.3 การใชมัลติมิเตอรวัดอุปกรณไฟฟา 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. มัลติมิเตอร

จํานวน 1 ตัว

2. แบตเตอรี่รถยนต

จํานวน 1 ลูก

3. ปลั๊กพวง

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ฟวสขนาดตาง ๆ

จํานวน 1 ชุด

2. รีเลย ชนิด 4 ขา

จํานวน 1 ตัว

3. สายไฟฟารถยนต

จํานวน 1 เสน

4. ถานไฟฉาย 9 โวลต

จํานวน 1 กอน

5. ถานไฟฉาย ชนิด AA

จํานวน 1 กอน

6. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน 77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการทดสอบ การใชมัลติมิเตอรวัดอุปกรณไฟฟา ขั้นตอนการทดสอบ 1. เตรียมเครื่องมือและวัสดุ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เตรียมมัลติมิเตอรและอุปกรณไฟฟาที่จะ ระวังไมใหเครื่องมือ นํามาวัด

และอุปกรณไฟฟาตก เพราะอาจทําใหบิ่น หรือเสียหายได

2. ตอสายมัลติมิเตอร

ตอสายสีแดงเขากับขั้วบวก และตอสาย

3. ตรวจสอบมัลติมิเตอร

สีดําเขากับขั้วลบของมัลติมิเตอร นํ า เข็ ม ของมั ล ติ มิ เ ตอร ม าแตะกั น แล ว ตรวจสอบวาเข็มของมัลติมิเตอรชี้ที่เลข 0 หรือไม

4. วัดคาความตานทาน

ปรั บ ตั้ ง ย า นการวั ด ไปที่ ห น ว ยโอห ม การวัดปริมาณไฟฟาที่ (Ohms) โดยตั้งยานใหมีคาเหมาะสมกับ ไมทราบคา ควรตั้งคา อุปกรณไฟฟาที่จะวัด

ยานวัดไวที่สูงสุดกอน

นํ า เข็ ม ของสายวั ด มั ล ติ มิ เ ตอร แ ตะที่ หลังจากวัดคาไดแลว อุปกรณไฟฟา จากนั้นอานคาและบันทึก จึงคอย ๆ ปรับลดคา ยานวัดใหต่ําลง ถูกตอง

ผล

กับปริมาณไฟฟาที่ ตองการวัด และตอขั้ว วัด บวก (+) และ ลบ (-) ใหถูกตอง 78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ 5. วัดแรงดันไฟฟากระแสตรง

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ปรับตั้งยานการวัดไปที่ DCV โดยตั้งยาน ไมควรตั้งยานไฟฟา ใหมีคาเหมาะสมกับอุปกรณไฟฟาที่จะวัด ชนิดหนึ่ง แลวนําไปใช วัดไฟฟาอีกชนิดหนึ่ง เพราะจะสงผลให มัลติมิเตอรชํารุด เสียหายได เชน ตั้งยาน สําหรับวัดกระแสไฟฟา ไว แตนําไปใชวัดความ ดันไฟฟา เปนตน นํ า เข็ ม ของสายวั ด มั ล ติ มิ เ ตอร แ ตะที่ อุปกรณไฟฟา จากนั้นอานคาและบันทึกผล

6. วัดแรงดันไฟฟากระแสสลับ

ปรับตั้งยานการวัดไปที่ ACV โดยตั้งยาน

การวัดกระแสไฟฟา

ใหมีคาเหมาะสมกับอุปกรณไฟฟาที่จะวัด กระแส (ACV) หามให สวนหนึ่งสวนใดของ รางกายสัมผัสกับโลหะ ตัวนําไฟฟาโดย เด็ดขาด นํ า เข็ ม ของสายวั ด มั ล ติ มิ เ ตอร แ ตะที่ อุปกรณไฟฟา จากนั้นอานคาและบันทึกผล 7. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสตรง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสสลับ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง

คะแนน เต็ม 3

อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน

ใช มั ลติ มิ เตอร วั ดค า ความต านทานได ถูก ต องตามขั้นตอน และวัดคาไดถูกตอง ไมคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 5 คะแนน ใช มั ลติ มิ เตอร วั ดค าความต านทานไม ถู กต องตามขั้นตอน หรือ วัดคาคลาดเคลื่อน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานไมถูกตองตามขั้นตอน และ วัดคาคลาดเคลื่อน

81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสตรง

ใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสตรงไดถูกตองตาม ขั้นตอน และวัดคาไดถูกตอง ไมคลาดเคลื่อน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสตรงไมถูกตองตาม ขั้นตอน หรือ วัดคาคลาดเคลื่อน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสตรงไมถูกตองตาม ขั้นตอน และวัดคาคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสสลับ

ใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสสลับไดถูกตอ งตาม ขั้นตอน และวัดคาไดถูกตอง ไมคลาดเคลื่อน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสสลับไมถูกตอ งตาม ขั้นตอน หรือ วัดคาคลาดเคลื่อน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสสลับไมถูกตองตาม ขั้นตอน และวัดคาคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

33

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี แบบทดสอบ กอนฝก

1. 2.

3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟ 10 7 งายและสารอันตรายได บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได อธิบายกฎของโรงงานและปาย เตือนตาง ๆ ได อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ ได ใชอุปกรณปองกันอันตราย ประเภทตาง ๆ ได อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัย และหลักการดับเพลิงได ปฏิบัติตามวิธีการปองกัน อัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได อธิบายวิธีการปฐมพยาบาล เบื้องตนได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได ประเมินผลภาคทฤษฎี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 6

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี แบบทดสอบ หลังฝก

1. 2.

3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟ 10 7 งายและสารอันตรายได บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได อธิบายกฎของโรงงานและปาย เตือนตาง ๆ ได อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ ได ใชอุปกรณปองกันอันตราย ประเภทตาง ๆ ได อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัย และหลักการดับเพลิงได ปฏิบัติตามวิธีการปองกัน อัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได อธิบายวิธีการปฐมพยาบาล เบื้องตนได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได ประเมินผลภาคทฤษฎี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ 85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 8

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 4.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 5.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 6.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 6.2

ใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได ปฏิบัติตามวิธีการปองกันอัคคีภัยและ หลักการดับเพลิงได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได

58

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 41

36

25

31

28

20

22

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

33

23

30

คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

155

109

113

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 30

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลว เปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (รอยละ 20) ภาคปฏิบัติ (รอยละ 80)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

8

2

16

113

0.516

58.308

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 74.308

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

10

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 10

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

8 × 2 = 16

คือ

88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

=2


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

155 80 = 0.516 155

ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

คือ

113 × 0.516 = 58.308

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 16 + 58.308 = 74.308 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก ……………………………………………………..............เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

แบบทดสอบ

1. บอกชนิด และอธิบายวิธีการใชงาน

กอนฝก

และการบํารุงรักษาเครื่องมือ

10

คะแนนที่ได

7

ทั่วไปได 2. อธิบายวิธีการใช และ การบํารุงรักษาเครื่องมือวัด ทางชางยนตได 3. อธิบายวิธีการใช การบํารุงรักษา เครื่องมือพิเศษชนิดตาง ๆ ได ผาน ไมผาน

ประเมินผลภาคทฤษฎี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

(C)

(NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

แบบทดสอบ

1. บอกชนิด และอธิบายวิธีการใชงาน

หลังฝก

และการบํารุงรักษาเครื่องมือ

10

คะแนนที่ได

7

ทั่วไปได 2. อธิบายวิธีการใช และ การบํารุงรักษาเครื่องมือวัด ทางชางยนตได 3. อธิบายวิธีการใช การบํารุงรักษา เครื่องมือพิเศษชนิดตาง ๆ ได ผาน ไมผาน

ประเมินผลภาคทฤษฎี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

(C)

(NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ แบบทดสอบ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70

ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

33

23

ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

33

23

ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางชางยนต

43

30

23

16

28

20

28

20

33

23

221

155

คะแนนที่ได

ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2 แบบทดสอบ

ภาคปฏิบัติที่ 2.1 ได แบบทดสอบ

ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางชางยนต

ภาคปฏิบัติที่ 2.2 ได แบบทดสอบ

ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือชนิดพิเศษตาง ๆ

ภาคปฏิบัติที่ 3.1 ได แบบทดสอบ

ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือชนิดพิเศษตาง ๆ

ภาคปฏิบัติที่ 3.2 ได แบบทดสอบ

ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือชนิดพิเศษตาง ๆ

ภาคปฏิบัติที่ 3.2 ได คะแนนรวมภาคปฏิบัติ ประเมินผลภาคปฏิบัติ * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ผาน

ไมผาน

(C)

(NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

การประเมินผลผานโมดูล ผลการ สัดสวนการคิด คะแนน

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ

ทดสอบ

ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC)

ภาคทฤษฎี

2

(รอยละ 20) ภาคปฏิบัติ

0.361

(รอยละ 80) * หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ

คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. (

) ตําแหนง ……………………………

วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบันทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 5

94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.