คู่มือการประเมิน ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 1 โมดูล 5

Page 1

หนาปก



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

คูมือการประเมิน 0920164170201 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 5 09217205 การตอสายไฟฟา

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

คํานํา คูมือการประเมิน สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล 5 การต อ สายไฟฟ า ฉบั บ นี้ ไดพัฒนาขึ้นภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่ อ นํ าไปใชเ ป น ระบบการ ฝกอบรมตามความสามารถ สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 เพื่อใหตอบสนอง ความตองการของกําลังแรงงานและตลาดแรงงานไดอยางเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และเพื่อรองรับระบบการรับรองมาตรฐานฝมือ แรงงานแหงชาติแ ละระบบการรับรองความรูความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ใ หแ กกําลัง แรงงานกลุมเปาหมายตางๆ ใหกวางขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแงของขอบเขตของการใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรีย นรูไ ด ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแ ก ผูรับการฝกอบรม และตองการใหผู รับ การฝ กอบรมเกิ ดการเรีย นรูด วยตนเอง การฝกปฏิบัติ จะดํ าเนิ น การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชใ นการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรีย นรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรีย มการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรีย มและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดม ากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคาใช จายในการพั ฒ นาฝมือแรงงานใหแ ก กําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝ ก ที่ มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใ ชแ รงงาน ผูวางงาน นักเรีย น นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

5

แบบทดสอบกอนฝก

6

แบบทดสอบหลังฝก

10

กระดาษคําตอบ

14

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

15

แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หัวขอวิชาที่ 1 0921720501 การตอสายไฟแบบตาง ๆ

16

หัวขอวิชาที่ 2 0921720502 การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอร

60

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ

70

บันทึกผลการประเมินความสามารถ

75

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการ ฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการ ประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัตใิ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่อ อิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงราง หลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลที่ 5 09217205 การตอสายไฟฟา 1. บอกขั้นตอนการตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได 2. ตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได 3. บอกวิธีการตอสายไฟฟาดวยอุปกรณได 4. ใชอุปกรณในการตอสายไฟได 5. บอกขั้นตอนการเขาขั้วสายดวยหางปลา และย้ําหางปลาได 6. เขาขั้วสายดวยหางปลา และย้ําหางปลาได 7. บอกขั้นตอนการใชวายนัทตอสายได 8. ใชวายนัทตอสายได 9. บอกขั้นตอนการใชหลอดตอสายไฟได 10. ใชหลอดตอสายไฟได 11. บอกขั้นตอนการบัดกรี และการพันฉนวนได 12. บัดกรี และพันฉนวนได 13. บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และการกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได 14. ตรวจสอบ และกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

แบบทดสอบกอนฝก คําชีแ้ จง: 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลหารฝกที่ 5 09217205 การตอสายไฟฟา

1. จากภาพเปนการตอสายไฟแบบใด ก. การตอสายไฟฟาแบบ 2 ทาง

ค. การตอสายไฟฟาแบบหางเปย

ข. การตอสายตอตรงแบบเดี่ยว

ง. การตอสายไฟฟาแบบแยกทางเดียว

2. จากภาพเปนการตอสายแบบใด ก. การตอสายไฟฟาตีเกลียวแบบตรง ข. การตอสายไฟฟาตีเกลียวแบบแยกแบบ Y Splice ค. การตอสายไฟฟาตีเกลียวแบบแยกแบบ Split Tap Splice ง. การตอสายไฟฟาตีเกลียวแบบแยกแบบ Ordinary Tap Splice 3. วายนัท เปนอุปกรณที่ใชทําอะไร ก. ใชยึดรวมสายเคเบิลใหญ ข. เปนพลาสติกรูปสี่เหลี่ยมตอกันเปนแถว ค. ใชยึดสายไฟฟาใหปลอดภัยทั้งทางกลและทางไฟฟา ง. เปนฝาครอบพลาสติกที่สวมครอบเพื่อรวมและยึดสายไฟเขาดวยกัน

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 4. อุปกรณใดใชในการจัดยึดสายเคเบิลใหญ ๆ ก. ตัวตอสายสปลิตโบลต

ค. ขั้วตอสายแบบกดรัดสาย

ข. ขั้วตอสายแบบขันสกรู

ง. ขั้วตอสายแบบหางปลา

5. ขั้วตอสายแบบขันสกรู มีวิธีการตอใชงานอยางไร ก. งอสายใหรอบสกรูตามเข็มนาฬิกา แลวหมุนสกรูไปทางขวามือ ข. เสียบสายไฟไปที่ชองรูเสียบขั้วแลวจะถูกยึดดวยแรงสปริงหรือแรงกดของสกรู ค. วางสายตอรูปตัวยูบนสายไฟที่ไมตัดสายนั้น วางดวยแผนโลหะทองแดงประสมคั่น ง. นําปลายสายไฟมาบิดตีเกลียวแบบหางหมูใหแนน แลวสวมปลายสายหมุนตามเข็มนาฬิกาใหแนน 6. ขอใดเปนวิธีการตอสายไฟเขากับหางปลาที่ถูกตอง ก. ใชตอสายไฟโดยนําสกรูขันยึดสายไฟ แลวใชเทปพันรอบที่ตอ ข. ใชตอสายไฟฟาตัวนําอะลูมิเนียมเขาดวยกัน แลวพันเทปภายหลัง ค. ตอกับการตอสายขนาดเล็ก ในการตอสายจะยึดดวยสกรูขนาดเล็ก ง. ใหปอกสายไฟใหยาวประมาณ 0.5 เซนติเมตร และนําไปสวมทับกับปลายสาย 7. ขอใดเปนการตอวายนัทที่ถูกตอง ก. งอสายใหรอบสกรูตามเข็มนาฬิกา แลวหมุนสกรูไปทางขวามือ ข. เสียบสายไฟไปที่ชองรูเสียบขั้วแลวจะถูกยึดดวยแรงสปริงหรือแรงกดของสกรู ค. วางสายตอรูปตัวยูบนสายไฟที่ไมตัดสายนั้น วางดวยแผนโลหะทองแดงประสมคั่น ง. นําปลายสายไฟมาบิดตีเกลียวแบบหางหมูใหแนน แลวสวมปลายสายหมุนตามเข็มนาฬิกาใหแนน 8. หลอดตอสายใชในการเดินสายแบบใด ก. ใตดิน

ค. ลอยเหนือน้ํา

ข. เหนือศีรษะ

ง. คูสายโทรศัพท

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 9. ขอใดไมควรทําในการบัดกรีชิ้นงาน ก. จายตะกั่วเพื่อบัดกรี

ค. จี้หัวแรงนาน ๆ ใหชิ้นงานรอน

ข. ทําความสะอาดชิ้นงาน

ง. จายตะกั่วโดยตรงระหวางชิ้นงานกับหัวแรง

10. จากรูปที่กําหนดใหเปนการตอสายไฟฟาแบบใด ก. ตอสายไฟแบบเขาสกรู

ค. ตอสายไฟแบบผานวายนัท

ข. ตอสายไฟแบบหางปลา

ง. ตอสายไฟแบบแบบเชอรแมน

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

แบบทดสอบหลังฝก คําชีแ้ จง: 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 5 09217205 การตอสายไฟฟา 1. วายนัท เปนอุปกรณที่ใชทําอะไร ก. ใชยึดรวมสายเคเบิลใหญ ข. เปนพลาสติกรูปสี่เหลี่ยมตอกันเปนแถว ค. ใชยึดสายไฟฟาใหปลอดภัยทั้งทางกลและทางไฟฟา ง. เปนฝาครอบพลาสติกที่สวมครอบเพื่อรวมและยึดสายไฟเขาดวยกัน 2. อุปกรณใดใชในการจัดยึดสายเคเบิลใหญ ๆ ก. ตัวตอสายสปลิตโบลต

ค. ขั้วตอสายแบบกดรัดสาย

ข. ขั้วตอสายแบบขันสกรู

ง. ขั้วตอสายแบบหางปลา

3. ขั้วตอสายแบบขันสกรู มีวิธีการตอใชงานอยางไร ก. งอสายใหรอบสกรูตามเข็มนาฬิกา แลวหมุนสกรูไปทางขวามือ ข. เสียบสายไฟไปที่ชองรูเสียบขั้วแลวจะถูกยึดดวยแรงสปริงหรือแรงกดของสกรู ค. วางสายตอรูปตัวยูบนสายไฟที่ไมตัดสายนั้น วางดวยแผนโลหะทองแดงประสมคั่น ง. นําปลายสายไฟมาบิดตีเกลียวแบบหางหมูใหแนน แลวสวมปลายสายหมุนตามเข็มนาฬิกาใหแนน 4. ขอใดเปนวิธีการตอสายไฟเขากับหางปลาที่ถูกตอง ก. ใชตอสายไฟโดยนําสกรูขันยึดสายไฟ แลวใชเทปพันรอบที่ตอ ข. ใชตอสายไฟฟาตัวนําอะลูมิเนียมเขาดวยกัน แลวพันเทปภายหลัง ค. ตอกับการตอสายขนาดเล็ก ในการตอสายจะยึดดวยสกรูขนาดเล็ก ง. ใหปอกสายไฟใหยาวประมาณ 0.5 เซนติเมตร และนําไปสวมทับกับปลายสาย

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

5. จากรูปที่กําหนดใหเปนการตอสายไฟฟาแบบใด ก. ตอสายไฟแบบเขาสกรู

ค. ตอสายไฟแบบผานวายนัท

ข. ตอสายไฟแบบแบบเชอรแมน

ง. ตอสายไฟแบบหางปลา

6. หลอดตอสายใชในการเดินสายแบบใด ก. ใตดิน ข. เหนือศีรษะ

ค. ลอยเหนือน้ํา ง. คูสายโทรศัพท

ค.

7. จากภาพเปนการตอสายแบบใด ก. การตอสายไฟฟาตีเกลียวแบบตรง ข. การตอสายไฟฟาตีเกลียวแบบแยกแบบ Y Splice ค. การตอสายไฟฟาตีเกลียวแบบแยกแบบ Split Tap Splice ง. การตอสายไฟฟาตีเกลียวแบบแยกแบบ Ordinary Tap Splice 8. ขอใดไมควรทําในการบัดกรีชิ้นงาน ก. จายตะกั่วเพื่อบัดกรี

ค. จี้หัวแรงนาน ๆ ใหชิ้นงานรอน

ข. ทําความสะอาดชิ้นงาน

ง. จายตะกั่วโดยตรงระหวางชิ้นงานกับหัวแรง

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 9. ขอใดเปนการตอวายนัทที่ถูกตอง ก. งอสายใหรอบสกรูตามเข็มนาฬิกา แลวหมุนสกรูไปทางขวามือ ข. เสียบสายไฟไปที่ชองรูเสียบขั้วแลวจะถูกยึดดวยแรงสปริงหรือแรงกดของสกรู ค. วางสายตอรูปตัวยูบนสายไฟที่ไมตัดสายนั้น วางดวยแผนโลหะทองแดงประสมคั่น ง. นําปลายสายไฟมาบิดตีเกลียวแบบหางหมูใหแนน แลวสวมปลายสายหมุนตามเข็มนาฬิกาใหแนน

10. จากภาพเปนการตอสายไฟแบบใด ก. การตอสายไฟฟาแบบ 2 ทาง

ค. การตอสายไฟฟาแบบหางเปย

ข. การตอสายตอตรงแบบเดี่ยว

ง. การตอสายไฟฟาแบบแยกทางเดียว

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………....... คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3. 4.

4. 5. 6.

5.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

6.

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3. 4.

3.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

4.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

หัวขอวิชาที่ 1 0921720501 แบบทดสอบภาคปฏิบตั ทิ ี่ 1.1 การตอสายไฟตอตรงแบบเดี่ยว ตอตรงแบบตีเกลียว ตอตรงแบบคู ตอตรงแบบหางเปย และตอสายไฟออนเขากับสายไฟแข็ง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยว สายตีเกลียว ตอตรงแบบคู แบบหางเปย และตอสายไฟออนเขากับสายไฟแข็งได

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 3 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกตอสายไฟฟาตามแบบตอไปนี้ 1. จงตอสายไฟฟาตอตรงแบบสายเดี่ยว 2. จงตอสายไฟฟาตอตรงแบบตีเกลียว 3. จงตอสายไฟฟาตอตรงแบบคู 4. จงตอสายไฟฟาตอตรงหางเปย 5. จงตอสายไฟออนเขากับสายไฟแข็ง

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.1 การตอสายไฟตอตรงแบบเดี่ยว ตอตรงแบบตีเกลียว ตอตรงแบบคู ตอตรงแบบหางเปย และตอสายไฟออนเขากับสายไฟแข็ง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับ แบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวาง กีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คัตเตอร

จํานวน 1 อัน

2. คีมชางไฟฟา

จํานวน 1 ตัว

3. คีมตัด

จํานวน 1 ตัว

4. คีมปากแหลม

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. สายไฟ THW ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 25 เซนติเมตร

จํานวน 2 เสน

2. สายไฟ THW ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 20 เซนติเมตร

จํานวน 5 เสน

3. สายไฟ THW ขนาด 6 ตารางมิลลิเมตร ยาว 25 เซนติเมตร

จํานวน 4 เสน

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 4. สายไฟ VAF ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 25 เซนติเมตร

จํานวน 3 เสน

5. สายไฟ VSF 2 ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 15 เซนติเมตร

จํานวน 2 เสน

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการทดสอบ 2.1 การตอสายไฟตอตรงแบบเดี่ยว ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตัดสายไฟยาว 20 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

คําอธิบาย ตัดสายไฟ THW ขนาด 2.5mm2 ยาว 20 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

2. ปอกฉนวน ยาว 10 เซนติเมตร

จากนั้นปอกฉนวนเสนที่ 1 และเสน ในการปอกฉนวนของสายไฟฟา ที่ 2 ออกเสนละ 10 เซนติเมตร ควรทําอยางระมัดระวัง หากใชแรง มากเกินไปตัวนําไฟฟาอาจขาด ซึ่งจะสงผลตอการใชงาน โดยทําให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจรได ใชคีมบิดสายเสนที่ 1 พันรอบสาย เสนที่ 2 ใชคีมบิดสายเสนที่ 2 พัน รอบสายเสนที่ 1

3. ใชคีมบิดสายสายเสนที่ 1 และ 2 เขา ดวยกัน

4. บิดสายไปเรื่อย ๆ ใหไดประมาณ 5- 8 โดยทําเชนนี้ไปเรื่อย ๆ ดานละ รอบ แลวใชคีมบีบใหแนน จากนั้นทําเพิ่มอีก ประมาณ 5 – 8 รอบ เพื่อไมใหสาย 1 ชิ้นและสงชิ้นงาน คลายตัวใชคีมบีบใหแนน ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้น และตรวจสอบความเรียบรอย ของชิ้นงานกอนสงงาน

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 2.2 การตอสายไฟตอตรงแบบตีเกลียว ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตัดสายไฟ THW ขนาด 6 mm2 ยาว 25 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

คําอธิบาย ใชคีมตัดตัดสายไฟ THW ขนาด 6 mm2 ยาว 25 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

ขอควรระวัง

2. ปอกฉนวนปลายสายยาว 15 เซนติเมตร

ปอกปลายสายทั้ง 2 เสน ใหมีความ ในการปอกฉนวนของสายไฟฟา ยาว 15 เซนติเมตร ควรทําอยางระมัดระวัง หากใชแรง มากเกินไปตัวนําไฟฟาอาจขาด ซึ่งจะสงผลตอการใชงาน โดยทําให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจรได

3. แยกเสนลวดตัวนําใหบานออกทั้ง 2 เสน ออกประมาณ 12 เซนติเมตร

คลี่เกลียวออกดึงสายเสนเล็กๆ ออก ใหตรง แลวแยกใหบานออกทั้ง 2 เสน ประมาณ 12 เซนติเมตร

4. รวบเสนลวดตัวนํา

รวบเสนลวดตัวนําแลวพันลวดตัว นํา เปนเกลียวทีละเสน

5. พันลวดตัวนําเปนเกลียวทีละเสน

พันลวดตัวนําใหหมดทีละดาน

6. ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้น จากนั้นตรวจสอบความ เรียบรอยและสงชิ้นงาน

ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้น จากนั้นตรวจสอบ ความเรียบรอยของชิ้นงานกอนสง งาน

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 2.3 การตอสายไฟตอตรงแบบคู ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตัดสายไฟ VAF ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

คําอธิบาย ใชคีมตัดตัดสายไฟ VAF ขนาด 1.5 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

2. ปอกฉนวน ยาว 6 เซนติเมตร

ขอควรระวัง

วัดความยาวจากปลายสายเขามา 6 เซนติเมตร แลวใชคัตเตอรปอก ฉนวนชั้นนอกออก 3. ปอกฉนวนชั้นในเสนที่หนึ่งใหมีระยะที่ ปอกฉนวนหุมสายชั้นในแตละเสน แตกตางกัน ใหมีระยะที่แตกตางกัน โดยเสนที่ หนี่งใหปอกฉนวนสีน้ําตาลออก 5 เซนติเมตร และเสนสีฟาปอกฉนวน 3 เซนติเมตร 4. ปอกฉนวนชั้นในเสนที่สองใหมีระยะที่ เสนที่สองปอกฉนวนสีน้ําตาล 3 ในการปอกฉนวนของสายไฟฟ า แตกตางกัน เซนติเมตร และปอกฉนวนสีฟาออก ควรทําอยางระมัดระวัง หากใชแรง 5 เซนติเมตร มากเกินไปตัวนําไฟฟาอาจขาด ซึ่งจะสงผลตอการใชงาน โดยทําให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจรได 5. นําเสนลวดตัวมาตอแบบตอตรง นําเสนลวดตัวนําของตอละสีมาตอ เขาดวยกัน ดวยการพันแบบตอตรง สายเดี่ยว 6. พันเสนลวดตัวนํา เมื่อเสร็จแลวจะเหลื่อม เมื่อพันเสร็จแลวลวดตัวนําจะ ระยะกัน เหลื่อมพนจากกัน

7. ทําเพิ่ม อีก 1 ชิ้น จากนั้นตรวจสอบความ ทําเพิ่ม อีก 1 ชิ้น จากนั้นตรวจสอบ เรียบรอยและสงชิ้นงาน ความเรีย บรอยของชิ้นงานก อ นส ง งาน

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 2.4 การตอสายไฟตอตรงแบบหางเปย ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตัดสายไฟ THW ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

คําอธิบาย ใชคีมตัดตัดสายไฟ THW ขนาด 2.5 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

2. ปอกฉนวนออก 5 เซนติเมตร

ใชคัตเตอรปอกฉนวนออก ยาว 5 เซนติเมตร ทั้งสองเสน

ขอควรระวัง

ในการปอกฉนวนของสายไฟฟา ควรทําอยางระมัดระวัง หากใชแรง มากเกินไปตัวนําไฟฟาอาจขาด ซึ่งจะสงผลตอการใชงาน โดยทําให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจรได

3. นําสายทั้ง 2 เสนมาวางทับกัน

วางสายทั้ง 2 เสนทับกัน ทํามุม 60 องศา

4. ใชคีมจับสายทั้งสองเสนบิดเปนเกลียว ตามเข็มนาฬิกา

ใช คี ม บิ ด ลวดตั ว นํ า ทั้ ง สองเส น ให เปนเกลียว ตามเข็มนาฬิกา

5. ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้น จากนั้นตรวจสอบความ เรียบรอยและสงชิ้นงาน

ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้น จากนั้นตรวจสอบ ความเรียบรอยของชิ้นงานกอนสง งาน

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 2.5 การตอสายไฟออนเขากับสายไฟแข็ง ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตัดสายไฟ THW และ VSF ขนาด 1.5 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร อยางละเสน

คําอธิบาย ตัดสายไฟ THW 1.5 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 1 เสน และ สาย VSF ขนาด 1.5 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 1 เสน

2. ปอกสายไฟทั้ง 2 เสน ยาว 5 เซนติเมตร

ปอกฉนวนสาย THW และ VSF ออก เสนละ 5 เซนติเมตร

ขอควรระวัง

ในการปอกฉนวนของสายไฟฟา ควรทําอยางระมัดระวัง หากใชแรง มากเกินไปตัวนําไฟฟาอาจขาด ซึ่งจะสงผลตอการใชงาน โดยทําให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจรได

3. บิด แลวพันสายไฟออน (VSF) รอบสาย แข็ง (THW)

พันลวดตัวนําสายไฟออน VSF รอบ ลวดตัวนําสายไฟแข็ง THW

4. พันสายออนรอบสายแข็งใหได 5-8 รอบ

พันลวดตัวนําสายไฟออน VSF ไป เรื่อย ๆ ใหได 5 – 8 รอบ

5. พับลวดตัวนําแข็งเพื่อกดสายออนไว

จากนั้นใชคีมพับลวดตัวนําสายแข็ง THW เพื่อกดลวดตัวนําสายออนไว

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ขั้นตอนการทดสอบ 6. ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้น จากนั้นตรวจสอบความ เรียบรอยและสงชิ้นงาน

คําอธิบาย ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้น จากนั้นตรวจสอบ ความเรียบรอยของชิ้นงานกอนสง งาน

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ รายการตรวจสอบ 1 การตอสายไฟ 1.1 การตอสายไฟสายเดี่ยวแบบตอตรง

2

เกณฑการพิจารณา ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 การตอสายไฟตีเกลียวแบบตอตรง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 การตอตรงแบบคู

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 การตอตรงแบบหางเปย

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.5 การตอสายไฟออนเขากับสายไฟแข็ง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 การตอสายไฟสายเดี่ ยวแบบตอตรง

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม 25

- ต อ สายไฟสายเดี่ยวแบบต อ ตรงไดถูก ต องตามหลั กวิ ธี เส น ทองแดง

5

เรียงตัวสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - ตอสายไฟสายเดี่ยวแบบตอตรงไดถูกตองตามหลักวิธี ทองแดงเรียงตัว ไมสม่ําเสมอเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตอสายไฟสายเดี่ยวแบบตอตรงไดถูกตองตามหลักวิธี ทองแดงไมเรียง ตัว ใหคะแนน 1 คะแนน 1.2 การตอสายไฟตีเกลียวแบบตอตรง

- ตอสายไฟตีเกลียวแบบตอตรงไดถูกตองตามหลักวิธี เสนทองแดงเรียง

5

ตัวสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - ตอสายไฟตีเกลียวแบบตอตรงได ถูกตองตามหลักวิ ธี ทองแดงเรียงตั ว ไมสม่ําเสมอเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตอสายไฟตีเกลียวแบบตอตรงได ถูกต องตามหลักวิ ธี ทองแดงไมเ รี ยง ตัว ใหคะแนน 1 คะแนน 1.3 การตอตรงแบบคู

- ต อ สายไฟต อ ตรงแบบคู ไดถูก ต องตามหลัก วิ ธี เส น ทองแดงเรียงตัว

5

สวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - ต อ สายไฟต อ ตรงแบบคู ได ถูก ต อ งตามหลั ก วิ ธี ทองแดงเรี ยงตั วไม สม่ําเสมอเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตอสายไฟตอตรงแบบคู ได ถูกตอ งตามหลักวิ ธี ทองแดงไมเรียงตัว ให คะแนน 1 คะแนน 1.4 การตอตรงแบบหางเปย

- ตอสายไฟตอตรงแบบหางเปยไดถูกตองตามหลักวิธี เสนทองแดงเรียง

5

ตัวสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - ตอสายไฟตอตรงแบบหางเป ยได ถูกต องตามหลักวิธี ทองแดงเรียงตั ว ไมสม่ําเสมอเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตอสายไฟตอตรงแบบหางเป ยได ถูกตองตามหลั กวิธี ทองแดงไมเ รี ยง ตัว ใหคะแนน 1 คะแนน 1.5 การตอสายไฟออนเขากับสายไฟแข็ง

- ตอสายไฟออนเข ากั บสายไฟแข็ งได ถูกตอ งตามหลั กวิ ธี เสนทองแดง

5

เรียงตัวสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - ตอสายไฟออนเขากับสายไฟแข็ง ได ถูกตองตามหลักวิธี ทองแดงเรี ยง ตัวไมสม่ําเสมอเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ต อ สายไฟอ อ นเข ากั บสายไฟแข็ ง ไดถูก ต องตามหลัก วิธี ทองแดงไม เรียงตัว ใหคะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ลําดับที่

รายการประเมิน เกณฑการใหคะแนน 2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน ครบถ วน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

คะแนนเต็ม 1 1 1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 30

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

หัวขอวิชาที่ 1 0921720501 แบบทดสอบภาคปฏิบตั ทิ ี่ 1.2 การตอสายไฟดวยหางปลา หลอดตอสาย และสกรูบบี อัดล็อก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เขาขั้วสายไฟดวยหางปลาได 2. ใชหลอดตอสายไฟได 3. ใชอุปกรณในการตอสายไฟได

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกตอสายไฟฟาตามแบบตอไปนี้ 1. จงตอสายไฟฟาดวยหางปลากลมหุมฉนวน 2. จงตอสายไฟฟาดวยหางปลาแบบแฉกหุมฉนวน 3. จงตอสายไฟฟาดวยหางปลาเหลี่ยมหุมฉนวน 4. จงตอสายไฟฟาดวยหลอดตอสาย 5. จงตอสายไฟฟาดวยสกรูบีบอัดล็อก

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.2 การตอสายไฟดวยหางปลา หลอดตอสาย และสกรูบบี อัดล็อก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบตั ิการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับ แบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวาง กีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขควงแฉก

จํานวน 1 อัน

2. ไขควงปากแบน

จํานวน 1 อัน

3. คัตเตอร

จํานวน 1 ตัว

4. คีมตัด

จํานวน 1 ตัว

5. คีมย้ําหางปลา

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ชุดตอสายสกรูบีบอัดล็อก ขนาด 2.5 mm2

จํานวน 2 ชุด

2. สายไฟ THW ขนาด 6 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร

จํานวน 4 เสน

3. สายไฟ VSF หรือ THW (f) ขนาด 2.5 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร

จํานวน 10 เสน

4. หลอดตอสาย ขนาด 2.5 mm2

จํานวน 2 ชิ้น 29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 5. หางปลาแบบกลมหุมฉนวน ขนาด 2.5 mm2

จํานวน 2 ชิ้น

6. หางปลาแบบแฉกหุมฉนวน ขนาด 2.5 mm2

จํานวน 2 ชิ้น

7. หางปลาแบบเหลี่ยมหุมฉนวน ขนาด 2.5 mm2

จํานวน 2 ชิ้น

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการทดสอบ 2.1 การตอสายไฟโดยใชหางปลาแบบกลมหุมฉนวน ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตัดสายไฟ VSF ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

คําอธิบาย ใชคีมตัด ตัดสายไฟ VSF หรือ THW (f) ขนาด 2.5 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร

2. ปอกปลายสายไฟ ใหยาวกวาปลอกหาง วัดความยาวปลายสายไฟใหเทากับปลอก ปลา 1-2 มิลลิเมตร ของหางปลาและเวนพื้นที่เพิ่มอีก 10% สําหรับพื้นที่ที่ปลอกจะขยายเมื่อทําการ ย้ําหางปลา จากนั้นใชคีมย้ําหางปลาปอกฉนวนที่ ปลายสายไฟ 3. นําหางปลามาสวมกับสายไฟ นําหางปลาขนาด 2.5 mm2 สวมเขากับ ปลายสายโดยดันเขาไปจนสุดตําแหนงที่ จะบีบ 4. ใชคีมบีบหางปลา ใชคีม บีบที่หางปลาจนแนน เสร็จแลวทํา เพิ่มอีก 1 ชิ้น

5. ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้นงาน แลวตรวจความ เรียบรอยกอนสงชิ้นงาน

ตรวจสอบความเรียบรอยของชิ้นงานกอน สงงาน

6. ทดสอบแรงดึง

ทดสอบแรงดึง โดยใช Tension Gage ซึ่ง หางปลาตองทนแรงดึงใหไดที่ 60 N/sq.mm. (นิวตันตอตารางมิลลิเมตร)

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง

หากเลือกใชขนาดรองตัดที่คีมย้ํา หางปลาไมเหมาะกับขนาดสายไฟ ลวดตัวนําไฟฟาอาจขาดได ซึ่งจะ สงผลตอการใชงาน โดยทําให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจร


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 2.2 การตอสายไฟโดยใชแบบแฉกหุมฉนวน ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตัดสายไฟ VSF ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

คําอธิบาย ใชคีมตัด ตัดสายไฟ VSF หรือ THW (f) ขนาด 2.5 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร

2. ปอกปลายสายไฟ ใหยาวกวาปลอก หางปลา 1-2 มิลลิเมตร

4. คีมบีบใหแนน

วัดความยาวปลายสายไฟใหเทากับปลอก ของหางปลาและเวนพื้นที่เพิ่มอีก 10% สําหรับพื้นที่ที่ปลอกจะขยายเมื่อทําการย้ํา หางปลา จากนั้นใชคีมย้ําหางปลาปอกฉนวนที่ ปลายสายไฟ นําหางปลาขนาด 2.5 mm2 สวมเขากับ ปลายสายโดยดันเขาไปจนสุดตําแหนงที่ จะบีบ ใชคีมบีบที่หางปลาจนแนน

5. ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้นงาน แลวตรวจความ เรียบรอยกอนสงชิ้นงาน

ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้นตรวจสอบความเรียบรอย ของชิ้นงานกอนสงงาน

6. ทดสอบแรงดึง

ทดสอบแรงดึง โดยใช Tension Gage ซึ่ง หางปลาตองทนแรงดึงใหไดที่ 60 N/sq.mm. (นิวตันตอตารางมิลลิเมตร)

3. นําหางปลามาสวมกับสายไฟ

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง

หากเลือกใชขนาดรองตัดที่คีมย้ํา หางปลาไมเหมาะกับขนาดสายไฟ ลวดตัวนําไฟฟาอาจขาดได ซึ่งจะ สงผลตอการใชงาน โดยทําให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจร


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 2.3 การตอสายไฟโดยใชแบบเหลี่ยมหุมฉนวน ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตัดสายไฟ VSF ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

คําอธิบาย ใชคีมตัด ตัดสายไฟ VSF หรือ THW (f) ขนาด 2.5 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร

2. ปอกปลายสายไฟ ใหยาวกวาปลอก หางปลา 1-2 มิลลิเมตร

วัดความยาวปลายสายไฟใหเทากับปลอก ของหางปลาและเวนพื้นที่เพิ่มอีก 10% สําหรับพื้นที่ที่ปลอกจะขยายเมื่อทําการย้ํา หางปลา จากนั้นใชคีมย้ําหางปลาปอกฉนวนที่ ปลายสายไฟ นําหางปลาขนาด 2.5 mm2 สวมทับกับ ปลายสายโดยดันเขาไปจนสุดตําแหนงที่ จะบีบ

3. นําหางปลาแบบเหลี่ยมหุมฉนวนมา เสียบกับสายไฟ

4. ใชคีมบีบหางปลา

ใชคีมบีบที่หางปลาจนแนน

5. ทําเพิ่ม อีก 1 ชิ้นงาน แลวตรวจความ ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้นงาน แลวตรวจสอบความ เรียบรอยกอนสงชิ้นงาน เรียบรอยของชิ้นงานกอนสงงาน

6. ทดสอบแรงดึง

ทดสอบแรงดึง โดยใช Tension Gage ซึ่ง หางปลาตองทนแรงดึงใหไดที่ 60 N/sq.mm. (นิวตันตอตารางมิลลิเมตร)

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง

หากเลือกใชขนาดรองตัดที่คีมย้ํา หางปลาไมเหมาะกับขนาดสายไฟ ลวดตัวนําไฟฟาอาจขาดได ซึ่งจะ สงผลตอการใชงาน โดยทําให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจร


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 2.4 การตอสายไฟโดยใชหลอดตอสาย ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตัดสายไฟ VSF ยาว 15 เซนติเมตร 2 เสน

คําอธิบาย ใชคีมตัด ตัดสายไฟ VSF หรือ THW (f) ขนาด 2.5 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร

2. ปอกปลายสายไฟ ใหยาวกวาปลอก หลอดตอสาย 1-2 มิลลิเมตร

วัดความยาวปลายสายไฟใหเทากับปลอก ของหลอดตอสายและเวนพื้นที่เพิ่มอีก 10% สําหรับพื้นที่ที่ปลอกจะขยายเมื่อทํา การย้ําหลอดตอสาย จากนั้นใชคีมย้ําให แนน 3. นําสายไฟมาตอกับหลอดตอสาย ทั้ง 2 นําหลอดตอสายมาสวมเขากับปลาย เสน สายไฟโดยดันเขาไปจนสุดตําแหนงที่จะ บีบ

4. ใชคีมบีบที่ปลายหลอดตอสายทั้ง 2 ดานจนแนน

ใชคีม บีบที่ปลายหลอดตอสายทั้ง 2 ดาน จนแนน

5. ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้นงาน แลวตรวจความ เรียบรอยกอนสงชิ้นงาน

ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้นงาน แลวตรวจสอบความ เรียบรอยกอนสง

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง

หากเลือกใชขนาดรองตัดที่คีมย้ํา หางปลาไมเหมาะกับขนาดสายไฟ ลวดตัวนําไฟฟาอาจขาดได ซึ่งจะ สงผลตอการใชงาน โดยทําให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจร


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 2.5 การตอสายไฟโดยใชสกรูบีบอัดล็อก (ตัวยึดขอตอ) ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตัดสายไฟยาว 15 เซนติเมตร

คําอธิบาย ตัดสายไฟ THW ขนาด 6 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

2. ปอกสายไฟ ใหไดขนาดของปลอกสรู

3. คลายสกรู

ใชคีมย้ําหางปลาปอกปลายสายไฟ ในการปอกฉนวนสายไฟฟา ควรทํา ใหมีความยาวเทากับปลอกของสกรู อยางระมัดระวัง หากเลือกใชขนาด บีบอัดล็อก รองตัดที่คีมย้ําหางปลาไมเหมาะกับ ขนาดสายไฟ ลวดตัวนําไฟฟาอาจ ขาดได ซึ่งจะสงผลตอการใชงาน โดยทําใหกระแสไฟฟาเกิดการ ลัดวงจร คลายสกรูออกใหพอหลวมทั้ง 2 ฝง

4. เสียบสายเขาสกรู

เสียบสายไฟเขาไปในสกรูจนสุด

5. ขันสกรูใหแนนและสงชิ้นงาน

ขันสกรูใหแนน แลวทําเพิ่มอีก 1 ชิ้นงาน จากนั้นตรวจสอบความ เรียบรอยกอนสง

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ รายการตรวจสอบ 1 การตอสายไฟ 1.1 การตอสายไฟฟาดวยหางปลากลมหุมฉนวน 1.2 การตอสายไฟฟาดวยหางปลาแบบแฉกหุมฉนวน 1.3 การตอสายไฟฟาดวยหางปลาเหลี่ยมหุมฉนวน 1.4 การตอสายไฟฟาดวยหลอดตอสาย 1.5 การตอสายไฟฟาดวยสกรูบีบอัดล็อก 2 กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เกณฑการพิจารณา ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน

เกณฑการใหคะแนน

1.1 การตอสายไฟฟาดวยหางปลากลมหุมฉนวน - ขั้นตอนการปอกสายไฟถูกตอง

คะแนนเต็ม 75 15

- ปอกสายไฟถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ปอกสายไฟเกินหรือขาด 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 4 คะแนน - ปอกสายไฟเกินหรือขาด 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - ปอกสายไฟเกิ น หรื อ ขาดมากกว า 3 มิ ล ลิ เ มตร ให ค ะแนน 1- 2 คะแนน ตามความเหมาะสม - ขั้นตอนการตอสายไฟฟาถูกตอง

- ตอสายไฟถูกตองตามหลักวิธี ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ตอสายไฟไมถูกตองตามหลักวิธีเล็กนอย ใหคะแนน 3 – 4 คะแนน - ตอสายไฟไมถูกตอง ชิ้นงานไมสมบูรณ ใหคะแนน 1- 2 คะแนนตาม ความเหมาะสม - ความเรียบรอยของผลงาน

- ชิ้นงานเรียบรอย หรือ ไม มีฉนวนเกินออกมา ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ชิ้นงานไมเรียบรอย หรือ มีฉนวนเกินออกมาเล็กนอย ใหคะแนน 4 3 คะแนน - ชิ้นงานไมเรียบรอย หรือ มีฉนวนเกินออกมามากเกินไป ใหคะแนน 1- 2 คะแนนตามความเหมาะสม 1.2 การตอสายไฟฟาดวยหางปลาแบบแฉกหุม

15

ฉนวน - ขั้นตอนการปอกสายไฟถูกตอง

- ปอกสายไฟถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ปอกสายไฟเกินหรือขาด 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 4 คะแนน - ปอกสายไฟเกินหรือขาด 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - ปอกสายไฟเกิ น หรื อ ขาดมากกว า 3 มิ ล ลิ เ มตร ให ค ะแนน 1- 2 คะแนน ตามความเหมาะสม - ขั้นตอนการตอสายไฟฟาถูกตอง

- ตอสายไฟถูกตองตามหลักวิธี ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ตอสายไฟไมถูกตองตามหลักวิธีเล็กนอย ใหคะแนน 3 – 4 คะแนน - ตอสายไฟไมถูกตอง ชิ้นงานไมสมบูรณ ใหคะแนน 1- 2 คะแนนตาม ความเหมาะสม - ความเรียบรอยของผลงาน

- ชิ้นงานเรียบรอย หรือ ไม มีฉนวนเกินออกมา ใหคะแนน 5 คะแนน - ชิ้นงานไมเรียบรอย หรือ มีฉนวนเกินออกมาเล็กนอย ใหคะแนน 4 3 คะแนน - ชิ้ น งานไม เ รียบรอย หรื อ มี ฉนวนเกิ น ออกมามากเกินไป ให ค ะแนน 1- 2 คะแนนตามความเหมาะสม

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ลําดับที่

รายการประเมิน 1.3 การตอสายไฟฟาดวยหางปลาเหลี่ยมหุ ม

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม 15

ฉนวน - ขั้นตอนการปอกสายไฟถูกตอง

- ปอกสายไฟถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ปอกสายไฟเกินหรือขาด 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 4 คะแนน - ปอกสายไฟเกินหรือขาด 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - ปอกสายไฟเกิ น หรื อ ขาดมากกว า 3 มิ ล ลิ เ มตร ให ค ะแนน 1- 2 คะแนน ตามความเหมาะสม - ขั้นตอนการตอสายไฟฟาถูกตอง

- ตอสายไฟถูกตองตามหลักวิธี ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ตอสายไฟไมถูกตองตามหลักวิธีเล็กนอย ใหคะแนน 3 – 4 คะแนน - ตอสายไฟไมถูกตอง ชิ้นงานไมสมบูรณ ใหคะแนน 1- 2 คะแนนตาม ความเหมาะสม - ความเรียบรอยของผลงาน

- ชิ้นงานเรียบรอย หรือ ไม มีฉนวนเกินออกมา ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ชิ้นงานไมเรียบรอย หรือ มีฉนวนเกินออกมาเล็กนอย ใหคะแนน 4 3 คะแนน - ชิ้ น งานไม เ รียบรอย หรื อ มี ฉนวนเกิ น ออกมามากเกินไป ให ค ะแนน 1- 2 คะแนนตามความเหมาะสม 1.4 การตอสายไฟฟาดวยหลอดตอสาย - ขั้นตอนการปอกสายไฟถูกตอง

15 - ปอกสายไฟถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ปอกสายไฟเกินหรือขาด 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 4 คะแนน - ปอกสายไฟเกินหรือขาด 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - ปอกสายไฟเกิ น หรื อ ขาดมากกว า 3 มิ ล ลิ เ มตร ให ค ะแนน 1- 2 คะแนน ตามความเหมาะสม - ขั้นตอนการตอสายไฟฟาถูกตอง

- ตอสายไฟถูกตองตามหลักวิธี ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ตอสายไฟไมถูกตองตามหลักวิธีเล็กนอย ใหคะแนน 3 – 4 คะแนน - ตอสายไฟไมถูกตอง ชิ้นงานไมสมบูรณ ใหคะแนน 1- 2 คะแนนตาม ความเหมาะสม - ความเรียบรอยของผลงาน

- ชิ้นงานเรียบรอย หรือ ไม มีฉนวนเกินออกมา ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ชิ้นงานไมเรียบรอย หรือ มีฉนวนเกินออกมาเล็กนอย ใหคะแนน 4 3 คะแนน - ชิ้ น งานไม เ รียบรอย หรื อ มี ฉนวนเกิ น ออกมามากเกินไป ให ค ะแนน 1- 2 คะแนนตามความเหมาะสม 1.5 การตอสายไฟฟาดวยสกรูบีบอัดล็อก - ขั้นตอนการปอกสายไฟถูกตอง

15 - ปอกสายไฟถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน - ปอกสายไฟเกินหรือขาด 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 4 คะแนน - ปอกสายไฟเกินหรือขาด 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ลําดับที่

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน - ปอกสายไฟเกิ น หรื อ ขาดมากกว า 3 มิ ล ลิ เ มตร ให ค ะแนน 1- 2

คะแนนเต็ม

คะแนน ตามความเหมาะสม - ขั้นตอนการตอสายไฟฟาถูกตอง

- ตอสายไฟถูกตองตามหลักวิธี ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ตอสายไฟไมถูกตองตามหลักวิธีเล็กนอย ใหคะแนน 3 – 4 คะแนน - ตอสายไฟไมถูกตอง ชิ้นงานไมสมบูรณ ใหคะแนน 1- 2 คะแนนตาม ความเหมาะสม - ความเรียบรอยของผลงาน

- ชิ้นงานเรียบรอย หรือ ไม มีฉนวนเกินออกมา ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ชิ้นงานไมเรียบรอย หรือ มีฉนวนเกินออกมาเล็กนอย ใหคะแนน 4 3 คะแนน - ชิ้ น งานไม เ รียบรอย หรื อ มี ฉนวนเกิ น ออกมามากเกินไป ให ค ะแนน 1- 2 คะแนนตามความเหมาะสม 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ วน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1 1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

คะแนนเต็ม

80

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

หัวขอวิชาที่ 1 0921720501 แบบทดสอบภาคปฏิบตั ิที่ 1.3 การตอสายไฟโดยใชวายนัท 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ใชวายนัทตอสายได

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกตอสายไฟฟาตามแบบตอไปนี้ 1. จงตอสายไฟ THW ขนาด 1.5 mm2 จํานวน 2 เสน ดวยวายนัท 2. จงตอสายไฟ THW ขนาด 2.5 mm2 จํานวน 2 เสน ดวยวายนัท 3. จงตอสายไฟ THW ขนาด 2.5 mm2 จํานวน 3 เสน ดวยวายนัท

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.3 การตอสายไฟโดยใชวายนัท 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับ แบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวาง กีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คัตเตอร

จํานวน 1 อัน

2. คีมชางไฟฟา

จํานวน 1 ตัว

3. คีมตัด

จํานวน 1 ตัว

4. คีมปากแหลม

จํานวน 1 ตัว

5. ถุงมือ

จํานวน 1 คู

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. วายนัท ขนาด 1.5 mm2 (สีเทา)

จํานวน 1 ตัว

2. วายนัท ขนาด 2.5 mm2 (สีน้ําเงิน หรือ เหลือง)

จํานวน 1 ตัว

3. วายนัท ขนาด 6 mm2 (สีแดง)

จํานวน 1 ตัว

4. สาย THW ขนาด 2.5 mm2 ความยาว 15 เซนติเมตร

จํานวน 5 เสน

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 5. สาย THW ขนาด 1.5 mm2 ความยาว 15 เซนติเมตร

จํานวน 2 เสน

2. ลําดับการทดสอบ 2.1 การตอสายไฟโดยใชวายนัท ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตัดสายไฟ ยาว 15 เซนติเมตร

คําอธิบาย ตัดสายไฟ THW ขนาด 1.5 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

2. ปอกฉนวน 5 ซม.

ปอกสายไฟดานใดดานหนึ่งใหมี ความยาวประมาณ 2.5 ซม.

3. นําสายไฟมาตอแบบหางเปย

ตอลวดตัวนําของสายไฟ ทั้ง 2 เสน เขาดวยกันแบบหางเปย

4. นําวายนัทหมุนใสตรงปลายหางเปย

นําวายนัท ขนาด 1.5 mm2 หมุนใส ตรงปลายหางเปยโดยหมุนตามเข็ม นาฬิกาใหแนน

5. ตรวจความเรียบรอย

ตรวจความเรียบรอย

6. จากขั้นตอนที่ 1-5 ในขางตน ทําซ้ํากับ สายไฟและวายนัทที่กําหนดให

จากลําดับขั้นตอนที่ 1-5 ใหผูรับการ ฝกเพิ่มความชํานาญดวยการตอ สายไฟ THW ขนาด 2.5 mm2 ยาว 42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง

ในการปอกสายไฟฟา ควรทําอยาง ระมัดระวัง หากใชแรงมากเกินไป ตัวนําไฟฟาอาจขาด ซึ่งจะสงผลตอ การใชงาน โดยทําใหกระแสไฟฟา เกิดการลัดวงจรได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ขั้นตอนการทดสอบ

7. ตรวจความเรียบรอยกอนสงชิ้นงาน

คําอธิบาย 15 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน ดวย วายนัทขนาด 2.5 mm2 จํานวน 1 ชิ้นงานและตอสายไฟ THW ขนาด 2.5 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 3 เสน ดวยวายนัท ขนาด 6 mm2 จํานวน 1 ชิ้นงาน ตรวจความเรียบรอยของชิ้นงานทั้ง 3 ชิ้น กอนสงใหครูฝกประเมินผล การปฏิบัติงาน

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ รายการตรวจสอบ 1 การตอสายไฟโดยใชวายนัท 1.1 การตอสายไฟ THW ขนาด 1.5mm2 2 เสน ดวยวายนัท 1.2 การตอสายไฟ THW ขนาด 2.5mm2 2 เสน ดวยวายนัท 1.3 การตอสายไฟ THW ขนาด 2.5mm2 3 เสน ดวยวายนัท 2 กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เกณฑการพิจารณา ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน

เกณฑการใหคะแนน

1.1 การตอสายไฟ THW ขนาด 1.5mm2 2 เสน - ต อ สายไฟแบบหางเป ยถู ก ต อ ง และบิ ด เกลี ยวสายไฟเป น ระเบี ยบ ดวยวายนัท

คะแนนเต็ม 30 5

เรียบรอย ใหคะแนน 5 คะแนน - ตอสายไฟแบบหางเป ยถู กตอง และบิดเกลียวสายไฟได ใหคะแนน 3 คะแนน - ตอสายไฟแบบหางเป ยได แตบิดเกลียวไดไมเ ปนระเบี ยบ ใหคะแนน 1 คะแนน - สวมวายนัทถูกตอง บิดเกลียวแนนสนิท ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- สวมวายนัทถูกตอง แตบิดเกลียวไมแนน ใหคะแนน 3 คะแนน - สวมวายนั ทได แต บิด เกลี ยวไม แนน หรื อ ไม บิด เกลี ยว ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.2 การตอสายไฟ THW ขนาด 2.5mm2 2 เสน - ต อ สายไฟแบบหางเป ยถู ก ต อ ง และบิ ด เกลี ยวสายไฟเป น ระเบี ยบ ดวยวายนัท

5

เรียบรอย ใหคะแนน 5 คะแนน - ตอสายไฟแบบหางเป ยถู กตอง และบิดเกลียวสายไฟได ใหคะแนน 3 คะแนน - ตอสายไฟแบบหางเป ยได แตบิดเกลียวไดไมเ ปนระเบี ยบ ใหคะแนน 1 คะแนน - สวมวายนัทถูกตอง บิดเกลียวแนนสนิท ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- สวมวายนัทถูกตอง แตบิดเกลียวไมแนน ใหคะแนน 3 คะแนน - สวมวายนั ทได แต บิด เกลี ยวไม แนน หรื อ ไม บิด เกลี ยว ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.3 การตอสายไฟ THW ขนาด ดวยวายนัท

2.5mm2

3 เสน - ต อ สายไฟแบบหางเป ยถู ก ต อ ง และบิ ด เกลี ยวสายไฟเป น ระเบี ยบ

5

เรียบรอย ใหคะแนน 5 คะแนน - ตอสายไฟแบบหางเป ยถู กตอง และบิดเกลียวสายไฟได ใหคะแนน 3 คะแนน - ตอสายไฟแบบหางเป ยได แตบิดเกลียวไดไมเ ปนระเบี ยบ ใหคะแนน 1 คะแนน - สวมวายนัทถูกตอง บิดเกลียวแนนสนิท ใหคะแนน 5 คะแนน - สวมวายนัทถูกตอง แตบิดเกลียวไมแนน ใหคะแนน 3 คะแนน

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ลําดับที่

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน - สวมวายนั ทได แต บิด เกลี ยวไม แนน หรื อ ไม บิด เกลี ยว ให ค ะแนน 1

คะแนนเต็ม

คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ วน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1 1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

คะแนนเต็ม

35

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

หัวขอวิชาที่ 1 0921720501 แบบทดสอบภาคปฏิบตั ิที่ 1.4 การตอสายไฟดวยการบัดกรี 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ตอสายไฟฟาดวยการบัดกรีได

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง 3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกตอสายไฟฟาตามแบบตอไปนี้ - จงบัดกรีใหถูกตอง

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.4 การตอสายไฟดวยการบัดกรี 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับ แบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวาง กีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คัตเตอร

จํานวน 1 อัน

2. คีมตัด

จํานวน 1 ตัว

3. ถุงมือ

จํานวน 1 คู

4. ปลั๊กพวง

จํานวน 1 ตัว

5. หัวแรง

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ตะกั่วบัดกรี

จํานวน 1 มวน

2. น้ํายาประสาน 3. สาย THW ขนาด 2.5 mm2 ความยาว 15 เซนติเมตร

จํานวน 1 กระปุก จํานวน 4 เสน

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการทดสอบ 2.1 การตอสายไฟดวยการบัดกรี ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตัดสายไฟยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

คําอธิบาย ตัดสายไฟ THW ขนาด 2.5mm2 ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

2. ปอกฉนวน 10 เซนติเมตร

จากนั้นปอกฉนวนเสนที่ 1 และเสน ในการปอกฉนวนของสายไฟฟา ที่ 2 ออกเสนละ 10 เซนติเมตร ควรทําอยางระมัดระวัง หากใชแรง มากเกินไปตัวนําไฟฟาอาจขาด ซึ่งจะสงผลตอการใชงาน โดยทําให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจรได ใชคีม บิดสายเสนที่ 1 พันรอบสาย เสนที่ 2 ใชคีม บิดสายเสนที่ 2 พัน รอบสายเส น ที่ 1 โดยทํ า เช น นี้ ไ ป เรื่ อ ย ๆ ด า นละประมาณ 5 – 8 รอบ เพื่อไมใหสายคลายตัว ใชคีมบีบใหแนน

3. ใชคีมบิดสายสายเสนที่ 1 และ 2 เขา ดวยกัน 5-8 รอบ

4. ใชคีมบีบใหแนน

ขอควรระวัง

5. นําตะกั่วมาจุมน้ํายาประสาน

นําตะกั่วบัดกรีมาจุมกับน้ํายา ประสาน

6. เริ่มทําการบัดกรี

นําหัวแรงไปจี้บนลวดตัวนําที่ไดตอ อยานําตะกั่วไปจี้กับหัวแรงโดยตรง สายแบบต อ ตรงไว แ ล ว ในข า งต น เพราะตะกั่วจะไมยึดเกาะชิ้นงาน เพื่อใหลวดตัวนํารอน 49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

จากนั้นนําตะกั่วไปจี้บนลวดตัวนํา

7. บัดกรีจนทั่วรอยตอ

บัดกรีจนทั่วบริเวณรอยตอ

8. ทําเพิ่ม อีก 1 ชิ้นงาน จากนั้นตรวจความ ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้นงานเพื่อฝกความ เรียบรอยของชิ้นงาน ชํานาญ จากนั้นตรวจสอบความ เรียบรอยและสงชิ้นงานทั้ง 2 ชิ้น

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การบัดกรี 1.1 ตรวจชิ้นงานและทําความสะอาดกอนบัดกรี

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 บัดกรีชิ้นงานไดอยางถูกตอง แข็งแรง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 ทดสอบแรงดึง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน

เกณฑการใหคะแนน

1.1 ตรวจชิ้นงานและทํ าความสะอาดกอนบัดกรี - ตรวจชิ้นงานและทํ าความสะอาดชิ้นงานกอนบัดกรี ใหคะแนน 5

คะแนนเต็ม 15 5

คะแนน - ตรวจชิ้ น งานและทํ าความสะอาดชิ้น งานไม เ พียงพอกอ นบั ดกรี ให คะแนน 3 คะแนน - ตรวจชิ้นงานแตไมไดทําความสะอาดชิ้นงาน ใหคะแนน 1 คะแนน 1.2 บัดกรีชิ้นงานไดอย างถูกตอง แข็งแรง

- บั ด กรี ชิ้ น งานได ถูก ต อ ง ชิ้ น งานยึ ด เกาะกั น ได ดี เนื้ อ ตะกั่ วผสาน

5

ครอบคลุมสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - บัดกรีชิ้นงานได ถูก ตอง ชิ้นงานยึดเกาะกั นไดดี เนื้อตะกั่วผสานบาง หรือหนาเกินไป ใหคะแนน 3 คะแนน - บัดกรีชิ้นงานได แตชิ้นงานยึดเกาะกันไดไมดี เนื้อตะกั่วผสานบางหรือ หนาเกินไป ใหคะแนน 1 คะแนน 1.3 ทดสอบแรงดึง

- ทดสอบแรงดึงแลวสายไฟไมหลุดจากกัน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ทดสอบแรงดึงแลวสายไฟหลุดจากกันเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน -ทดสอบแรงดึงแลวสายไฟหลุดออกจากกัน ใหคะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ วน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1 1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 20

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

หัวขอวิชาที่ 1 0921720501 แบบทดสอบภาคปฏิบตั ิที่ 1.5 การพันฉนวน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ตอสายไฟฟาดวยการพันฉนวนได

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกตอสายไฟฟาตามแบบตอไปนี้ - จงพันฉนวนใหถูกตอง

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.5 การพันฉนวน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับ แบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวาง กีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คัตเตอร

จํานวน 1 อัน

2. คีมชางไฟฟา

จํานวน 1 ตัว

3. คีมตัด

จํานวน 1 ตัว

4. คีมปากแหลม

จํานวน 1 ตัว

5. ถุงมือ

จํานวน 1 คู

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. เทปพันสายไฟ

จํานวน 1 มวน

2. สาย THW ขนาด 2.5 mm2 ความยาว 15 เซนติเมตร

จํานวน 4 เสน

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการทดสอบ 2.1 การพันฉนวน ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตัดสายไฟยาว 20 เซนติเมตร 2 เสน

คําอธิบาย ตัดสายไฟ THW ขนาด 2.5mm2 ยาว 20 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

2. ปอกฉนวน 10 เซนติเมตร

จากนั้นปอกฉนวนเสนที่ 1 และ เสนที่ 2 ออกเสนละ 10 เซนติเมตร

3. ใชคีมบิดสายสายเสนที่ 1 และ 2 เขา ดวยกัน 5-8 รอบ

ใชคีมบิดสายเสนที่ 1 พันรอบสาย เสนที่ 2 ใชคีมบิดสายเสนที่ 2 พัน รอบสายเสนที่ 1 โดยทําเชนนี้ไป เรื่อย ๆ ดานละประมาณ 5 – 8 รอบ เพื่อไมใหสายคลายตัว

4. ใชคีมบีบใหแนน

ใชคีมบีบใหแนน

5. เริ่มพันสายไฟ โดยพันในแนวเดียวกับ สายไฟ

นําเทปพันสายไฟมาพันตรงจุดที่ตอ สายตอตรงแบบเดี่ยว โดยพันใน แนวเดียวกับสายไฟ

6. พันจนครอบคลุมบริเวณรอยตอ

พันเทปสายไฟจนถึงปลายรอยตอ

7. พันกลับมาที่จุดเริ่มตน

พันกลับมาที่จุดเริ่มตน ทําซ้ําอีก

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง

ในการปอกฉนวนของสายไฟฟา ควรทําอยางระมัดระวัง หากใช แรงมากเกินไปตัวนําไฟฟาอาจขาด ซึ่งจะสงผลตอการใชงาน โดยทํา ใหกระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจรได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ขั้นตอนการทดสอบ 8. ทําซ้ําอีก 1 ชิ้น แลวตรวจสอบความ เรียบรอยกอนสงชิ้นงาน

คําอธิบาย ทําซ้ําอีก 1 ชิ้น จากนั้นตรวจสอบ ความเรียบรอยกอนสงชิ้นงาน

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ รายการตรวจสอบ 1 การพันฉนวน 1.1 ปอกสายไฟถูกตอง สายไฟไมเสียหาย 1.2 ตอสายไฟแบบเดี่ยวไดถูกตอง รับแรงดึงไดดี 1.3 พันฉนวนแนนหนา ไมเกิดชองวาง 2 กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เกณฑการพิจารณา ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 ปอกสายไฟถูกตอง สายไฟไมเสียหาย

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม 15

- ปอกฉนวนสายไฟไดตามกําหนด สายไฟไมเสียหาย ใหคะแนน 5 คะแนน - ปอกฉนวนสายไฟไดตามกําหนด พื้นผิวทองแดงเสียหายเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ปอกฉนวนสายไฟขาดหรือเกินมากกวา 2 มิลลิเมตร หรือ พื้นผิวทองแดงเสียหาย มาก ใหคะแนน 1 คะแนน

5

1.2 ตอสายไฟแบบเดี่ยวได ถูกตอง รับแรงดึงไดดี - ตอสายไฟแบบเดี่ยวไดถูกตองตามหลักวิธี รับแรงดึงไดดี ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ตอสายไฟแบบเดี่ยวไดถูกตองตามหลักวิธี รับแรงดึงแลวขยับเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตอสายไฟแบบเดี่ยวไดถูกตองตามหลักวิธี รับแรงดึงแลวขยับคอนขางมาก หลวม ใหคะแนน 1 คะแนน

1.3 พันฉนวนแนนหนา ไมเกิดชองวาง

2

- พันฉนวนแนนหนา เรียบรอยไมเกิดชองวาง ใหคะแนน 5 คะแนน - พั น ฉนวนแน น หนา ค อ นข า งเรี ยบร อ ย หรื อ มี ช อ งว า งเห็ น ทองแดงไม เ กิ น 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - พั น ฉนวนแน น หนา ค อ นข า งเรี ยบร อ ย หรื อ มี ช อ งว า งเห็ น ทองแดงมากกว า 3 มิลลิเมตรขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน

กิจนิสัย

5

5

2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ วน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

1

คะแนนเต็ม

20

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

หัวขอวิชาที่ 2 0921720502 แบบทดสอบภาคปฏิบตั ิที่ 2.1 การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอร และตรวจการลงกราวด 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบและกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได 2. ตรวจการลงกราวดได

2. ระยะเวลาการทอสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกวัดคาความตานทานระหวางขั้วคอมเพรสเซอรพรอมบันทึกผลการตรวจสอบ บันทึกผลการตรวจสอบขั้ว ขั้วคอมเพรสเซอรคูที่

คาความตานทานที่วัดได

สรุปขั้ว

1 กับ 2 1 กับ 3 2 กับ 3 บันทึกผลการตรวจการลงกราวด ขั้วที่ตรวจสอบ

คาความตานทาน ขึ้น

ไมขึ้น

สรุปผล ดี

เสีย

C กับ ตัวถัง/ทอ S กับ ตัวถัง/ทอ R กับ ตัวถัง/ทอ สรุปผลการตรวจสอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.1 การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอร และตรวจการลงกราวด 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก : - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับ แบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวาง กีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คอมเพรสเซอร

จํานวน 1 เครื่อง

2. มัลติมิเตอรแบบเข็ม

จํานวน 1 เครื่อง

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ชุดเครื่องเขียน

จํานวน 1 ชุด

2. แบบบันทึกผลการตรวจสอบ

จํานวน 1 ใบ

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการทดสอบ 2.1 การหาขั้วคอมเพรสเซอร ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ปรับยานวัดของมัลติมิเตอรไปที่ Range R ×1หรือ 2,000 โอหม

คําอธิบาย ขอควรระวัง ทําการตรวจขั้วคอมเพรสเซอร ทดสอบ Zero โดยใหเข็มชี้ โดยปรับยานวัดของมัลติมิเตอรไปที่ ตรงเลข 0 Range R ×1 หรือ 2,000 โอหม

2. กําหนดจุด 3 จุด แทนตําแหนงขั้ว คอมเพรสเซอร

กําหนดจุดเปนสามเหลี่ยมบน กระดาษ โดยแบงเปนขั้วที่ 1 2 และ 3

3. ตรวจขั้ว 1 กับ 2 แลวบันทึกผล

ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน ระหวางขั้ว 1 กับ 2 บันทึกผล

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ควรทําความสะอาดขั้วคอมเพรสเซอร และโครงที่จะวัดคากอนเสมอ และไม ควรใชเข็มมัลติมิเตอรแตะบริเวณที่มี สี เ คลื อ บอยู เพื่ อ การวั ด ค าที่ มี ประสิทธิภาพและไดคาที่ถูกตอง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. ตรวจขั้ว 1 กับ 3 แลวบันทึกผล

คําอธิบาย ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน ระหวางขั้ว 1 กับ 3 บันทึกผล

5. ตรวจขั้ว 2 กับ 3 แลวบันทึกผล

ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน ระหวางขั้ว 2 กับ 3 บันทึกผล

6. กําหนดขั้ว C ขั้ว S และขั้ว R แทน ตําแหนงขั้ว 1 ขั้ว 2 และ ขั้ว 3

กําหนดขั้ว C ขั้ว S และขั้ว R จากคู ที่วัดคาความตานทานไดสูงสุด ขั้วที่ อยูตรงขามจะเปนขั้ว C จากนั้นโดย ทางเทคนิค ขั้ว S จะมีคารองลงมา และขั้ว R จะมีคานอยที่สุด

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 7. บันทึกผล และสงครูฝก

คําอธิบาย บันทึกผลลงในใบงาน และสงครูฝก เพื่อรับการประเมิน

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 2.2 การตรวจสอบไฟรั่วลงกราวด ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ปรับยานวัดมัลติมิเตอรที่ Range R × 1K หรือ 2,000,000 โอหม

2. วัดคาความตานทานระหวางขั้ว 1 กับทอ ทางดูดหรือทอทางอัด แลวบันทึกผล

3. วัดคาความตานทานระหวางขั้ว 2 กับทอ ทางดูดหรือทอทางอัด แลวบันทึกผล

คําอธิบาย ทําการตรวจสอบไฟรั่วลงกราวด โดยปรับยานวัดของมัลติมิเตอร ไปที่ Range R × 1K หรือ 2,000,000 โอหม

ขอควรระวัง ทดสอบ Zero โดยใหเข็มชี้ ตรงเลข 0

ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน ระหวางขั้ว 1 กับทอทางดูด หรือ ทอทางอัด จากนั้นบันทึกผล

ควรทําความสะอาดขั้วคอมเพรสเซอร และโครงที่จะวัดคากอนเสมอ และไม ควรใชเข็มมัลติมิเตอรแตะบริเวณที่มี สีเคลือบอยู เพื่อการวัดคาที่มี ประสิทธิภาพและไดคาที่ถูกตอง

ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน ระหวางขั้ว 2 กับทอทางดูด หรือ ทอทางอัด จากนั้นบันทึกผล

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. วัดคาความตานทานระหวางขั้ว 3 กับทอ ทางดูดหรือทอทางอัด จากนั้นบันทึกผล

5. ประเมินและสรุปผลการลงกราวด

คําอธิบาย ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน ระหวางขั้ว 3 กับทอทางดูด หรือ ทอทางอัด จากนั้นบันทึกผล

ประเมินผลการตรวจสอบลงในใบงาน หากไมมีการลงกราวด มัลติมิเตอรจะ ไมแสดงคาโอหม หรือมีคาความ ตานทานเปนอินฟนิตี้ ถามีการลง กราวด มัลติมิเตอรจะแสดงคาโอหม สรุปไดวาไมควรนําคอมเพรสเซอรตัว นั้นกลับไปใชจากนั้นสงใบบันทึกผล และสรุปผล

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การตรวจขั้วคอมเพรสเซอร 1.1 ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานระหวางขั้วของ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

คอมเพรสเซอรได

2

1.2 ใชมัลติมิเตอรตรวจสอบการลงกราวดได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 อานคาจากมัลติมิเตอรได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 สรุปผลการลงกราวดไดถูกตอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

การปฏิบัติงาน

20

1.1 ใชมัลติมิเตอรวัดคาความต านทานระหวางขั้ว - ใชเครื่องมือไดถูกตอง คลองแคลว ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ของคอมเพรสเซอรได

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง แตขาดความคลองแคลว ใหคะแนน 3 คะแนน - ใช เ ครื่ อ งมื อ ได ไม ถูก ต อ งและขาดความคล อ งแคล ว ให ค ะแนน 1 คะแนน

1.2 ใชมัลติมิเตอรตรวจสอบการลงกราวดได

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง คลองแคลว ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง แตขาดความคลองแคลว ใหคะแนน 3 คะแนน - ใช เ ครื่ อ งมื อ ได ไม ถูก ต อ งและขาดความคล อ งแคล ว ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.3 อานค าจากมัลติมิเตอรได

- อานคาจากเครื่องมือวัดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- อานคาจากเครื่องมือวัดคลาดเคลื่อน 1 ครั้ง ใหคะแนน 3 คะแนน - อ านค าจากเครื่ อ งมื อวั ด คลาดเคลื่ อนมากกวา 2 ครั้ ง ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.4 สรุปผลการลงกราวดไดถูกตอง

- สรุปผลไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- สรุปผลไดถูกตอง แตไมครบถวน 1 รายการ ใหคะแนน 3 คะแนน - สรุ ปผลถู ก ต อ งบางส วนหรื อ ไม ค รบถ วนมากกว า 2 รายการ ให คะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ วน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1 1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 25

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 คะแนนที่ได แบบทดสอบ 1. บอกขั้นตอนการตอสายไฟฟา 10 7 5 กอนฝก แบบสายเดีย่ วและสายตีเกลียวได 2. บอกวิธีการตอสายไฟฟาดวย อุปกรณได 3. บอกขั้นตอนการเขาขั้วสายดวย หางปลา 4. บอกขั้นตอนการใชวายนัทตอ สายได 5. บอกขั้นตอนการใชหลอดตอ สายไฟได 6. บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได 7. บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ประเมินผลภาคทฤษฏี

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได 70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 บอกขั้นตอนการตอสายไฟฟา 10 7 แบบสายเดีย่ วและสายตีเกลียวได บอกวิธีการตอสายไฟฟาดวย อุปกรณได บอกขั้นตอนการเขาขั้วสายดวย หางปลา บอกขั้นตอนการใชวายนัทตอ สายได บอกขั้นตอนการใชหลอดตอ สายไฟได บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ประเมินผลภาคทฤษฏี

คะแนนที่ได 8

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2

ตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียว ได 1. เขาขั้วสายดวยหางปลา และย้ําหางปลาได 2. ใชหลอดตอสายไฟได 3. ใชอุปกรณในการตอสายไฟได ใชวายนัทตอสายได

30

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 21

80

56

70

35

25

23

20

14

15

20

14

10

25

18

24

210

148

162

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ตอสายไฟฟาดวยการบัดกรีได ภาคปฏิบัติที่ 1.4 แบบทดสอบ ตอสายไฟฟาดวยการพันฉนวนได ภาคปฏิบัติที่ 1.5 แบบทดสอบ ตรวจสอบและกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ภาคปฏิบัติที่ 2.1 คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 20

ผาน (C)

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

ไมผาน (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลว เปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ 72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

8

2

16

162

0.381

61.72

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 77.72

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฏี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

10

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 10

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

8 × 2 = 16

คือ

=2

สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

210 73

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ ∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

80 = 0.381 210 162 × 0.381 = 61.72

คือ

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 16 + 61.72 = 77.72 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 คะแนนที่ได แบบทดสอบ 1. บอกขั้นตอนการตอสายไฟฟา 10 7 กอนฝก แบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียว ได 2. ตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยวและ สายตีเกลียวได 3. บอกวิธีการตอสายไฟฟาดวย อุปกรณได 4. ใชอุปกรณในการตอสายไฟได 5. บอกขั้นตอนการเขาขั้วสายดวย หางปลา และย้ําหางปลาได 6. เขาขั้วสายดวยหางปลา และย้ํา หางปลาได 7. บอกขั้นตอนการใชวายนัทตอ สายได 8. ใชวายนัทตอสายได 9. บอกขั้นตอนการใชหลอดตอ สายไฟได 10.ใชหลอดตอสายไฟได 11.บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได 12.บัดกรี และพันฉนวนได 13.บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได

75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ภาคทฤษฏี

ผลลัพธการเรียนรู 14.ตรวจสอบ และกําหนดขั้ว คอมเพรสเซอรได

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ประเมินผลภาคทฤษฏี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 1. บอกขั้นตอนการตอสายไฟฟา 10 7 แบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียว ได 2. ตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยวและ สายตีเกลียวได 3. บอกวิธีการตอสายไฟฟาดวย อุปกรณได 4. ใชอุปกรณในการตอสายไฟได 5. บอกขั้นตอนการเขาขั้วสายดวย หางปลา และย้ําหางปลาได 6. เขาขั้วสายดวยหางปลา และย้ํา หางปลาได 7. บอกขั้นตอนการใชวายนัทตอ สายได 8. ใชวายนัทตอสายได 9. บอกขั้นตอนการใชหลอดตอ สายไฟได 10. ใชหลอดตอสายไฟได 11. บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได 12.บัดกรี และพันฉนวนได 13. บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได 14. ตรวจสอบ และกําหนดขั้ว คอมเพรสเซอรได ประเมินผลภาคทฤษฏี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ 77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

30

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 21

80

56

35

25

20

14

20

14

25

18

210

148

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยว สายตีเกลียว ตอ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 ตรงแบบคู แบบหางเปย และตอสายไฟออน เขากับสายไฟแข็งได แบบทดสอบ 1. เขาขั้วสายไฟดวยหางปลาได ภาคปฏิบัติที่ 1.2 2. ใชหลอดตอสายไฟได 3. ใชอุปกรณในการตอสายไฟได แบบทดสอบ ใชวายนัทตอสายได ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ตอสายไฟฟาดวยการบัดกรีได ภาคปฏิบัติที่ 1.4 แบบทดสอบ ตอสายไฟฟาดวยการพันฉนวนได ภาคปฏิบัติที่ 1.5 แบบทดสอบ 1. ตรวจสอบและกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ภาคปฏิบัติที่ 2.1 2. ตรวจการลงกราวดได คะแนนรวมภาคปฏิบัติ ประเมินผลภาคปฏิบัติ * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

ผลการ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ทดสอบ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC)

2 0.381

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. (

ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบันทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.