คู่มือการประเมิน ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 1 โมดูล 6

Page 1

หนาปก



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

คูมือการประเมิน 0920164170201 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 6 09217301 งานทอและการเชื่อม

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

คํานํา คูมือการประเมิน สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล 6 งานท อ และการเชื่ อ ม ฉบั บ นี้ ไดพัฒนาขึ้นภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือ แรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําไปใชเปน ระบบ การฝกอบรมตามความสามารถ สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 เพื่อให ตอบสนองความตองการของกําลังแรงงานและตลาดแรงงานไดอยางเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และเพื่อรองรับระบบการรับรอง มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติแ ละระบบการรับรองความรูความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ ใหแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมายตางๆ ใหกวางขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแงของขอบเขตของการใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรีย นรูไ ด ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแ ก ผูรับการฝกอบรม และตองการใหผู รับ การฝ กอบรมเกิ ดการเรีย นรูด วยตนเอง การฝกปฏิบัติ จะดํ าเนิ น การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชใ นการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรีย นรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรีย มการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรีย มและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดม ากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคาใช จายในการพั ฒ นาฝมือแรงงานใหแ ก กําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝ ก ที่ มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใ ชแ รงงาน ผูวางงาน นักเรีย น นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

5

แบบทดสอบกอนฝก

6

แบบทดสอบหลังฝก

9

กระดาษคําตอบ

12

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

13

แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หัวขอวิชาที่ 1 0921730101 ทอในเครื่องทําความเย็น หัวขอวิชาที่ 3 0921730103 ชนิดของหัวเชื่อมแกส หัวขอวิชาที่ 4 0921730104 การเชื่อมแกส หัวขอวิชาที่ 5 0921730105 การเชื่อมทอทองแดง ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ บันทึกผลการประเมินความสามารถ

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

14 30 36 43

53 58



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการ ฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการ ประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัตใิ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่อ อิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงราง หลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 6 09217301 งานทอและการเชื่อม 1. บอกชนิดของทอที่ใชในเครื่องทําความเย็นได 2. ตัดทอ ปรับแตงปลายทอ ขยายทอ บานทอ ดัดทอ และนําไปใชได 3. บอกชนิดของลวดเชื่อมแกสได 4. บอกชนิดของหัวเชื่อมแกส และการเลือกใชงานได 5. เลือกใชงานหัวเชื่อมแกสไดถูกตอง 6. บอกขั้นตอนการเชื่อมแกส การปรับแตงแรงดันแกสอะเซทิลีน แกส LPG แกสออกซิเจน และนําไปใชได 7. เชื่อมแกส ปรับแตงแรงดันแกสอะเซทิลีน แกส LPG และแกสออกซิเจนได 8. บอกขั้นตอนการเชื่อมทอทองแดงผานทอไนโตรเจนได 9. เชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจนได

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

แบบทดสอบกอนฝก คําชีแ้ จง: 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 6 09217301 งานทอและการเชื่อม 1. หลังจากปรับแตงปลายทอเรียบรอยแลว ถายังไมตองการใชงานทอ ควรทําอยางไร ก. ปลอยปลายทอไว

ค. หักปลายทอไว

ข. งอปลายทอไว

ง. ใชจุกยางหรือปลอกปดไว

2. เครื่องมือที่ใชในการปรับแตงปลายทอคืออะไร ก. ตะไบ

ค. รีมเมอร

ข. สวาน

ง. คัตเตอรตัดทอทองแดง

3. ในการบานปลายทอ ควรใหปลายทอสูงกวาตัวจับประมาณเทาใด ก. 1/2 ของความสูงปากหลุม

ค. 1/4 ของความสูงปากหลุม

ข. 1/3 ของความสูงปากหลุม

ง. 3/4 ของความสูงปากหลุม

4. ถาตองการดัดทอ 90 องศา ตองกดดามเบนเดอรในลักษณะใด ก. ขนานกับพื้น

ค. เฉียง 45 องศา

ข. ตั้งฉากกับพื้น

ง. เฉียง 180 องศา

5. ขอใดตอไปนี้ไมใชลวดเชื่อมแกส ก. ลวดเชื่อมเงิน , ลวดเชื่อมทองเหลือง ข. ลวดเชื่อมเงิน, ลวดเชื่อมอลูมิเนียม ค. ลวดเชื่อมสแตนเลส , ลวดเชื่อมทองแดง ง. ลวดเชื่อมอะลูมิเนียม , ลวดเชื่อมทองเหลือง

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 6. หัวเชื่อมแกสอะเซทิลีน แบงเปนกี่ชนิด อะไรบาง ก. 2 ชนิด ชนิดความดันสมดุล, ชนิดหัวฉีด ข. 2 ชนิด ชนิดความดันต่ํา, ชนิดความดันสูง ค. 3 ชนิด ชนิดหัวฉีดแบบสมดุล, ชนิดความดัน ง. 3 ชนิด ชนิดความดันต่ํา, ชนิดความดันสูง, ชนิดความดันสมดุล 7. ในการเชื่อมควรเอนหัวเชื่อมไปดานหลังประมาณกี่องศา ก. 20 – 35 องศา ข. 30 – 45 องศา ค. 40 – 55 องศา ง. 50 – 65 องศา 8. เกจวัดความดันสูงสามารถวัดแรงดันออกซิเจนไดสูงเทาไหร ก. 1,000 ปอนด/ตารางนิ้ว ข. 2,000 ปอนด/ตารางนิ้ว ค. 3,000 ปอนด/ตารางนิ้ว ง. 4,000 ปอนด/ตารางนิ้ว 9. ขณะจุดไฟดวยอุปกรณจุดไฟควรใหปลายทิพหางประมาณกี่นิ้ว ก. 1 นิ้ว

ค. 3 นิ้ว

ข. 2 นิ้ว

ง. 4 นิ้ว

10. ในการเชื่อมทอทองแดง ตองปลอยแกสไนโตรเจนแรงดันเทาไหร หรือประมาณกี่ psi ก. 2 กิโลกรัม/ตร.ซม. หรือประมาณ 28 -30 psi ข. 4 กิโลกรัม/ตร.ซม. หรือประมาณ 30 -33 psi ค. 6 กิโลกรัม/ตร.ซม. หรือประมาณ 33 -36 psi ง. 8 กิโลกรัม/ตร.ซม. หรือประมาณ 36 -39 psi

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

แบบทดสอบหลังฝก คําชีแ้ จง: 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 6 09217301 งานทอและการเชื่อม 1. ในการเชื่อมควรเอนหัวเชื่อมไปดานหลังประมาณกี่องศา ก. 20 – 35 องศา ข. 30 – 45 องศา ค. 40 – 55 องศา ง. 50 – 65 องศา 2. เกจวัดความดันสูงสามารถวัดแรงดันออกซิเจนไดสูงเทาไหร ก. 1,000 ปอนด/ตารางนิ้ว ข. 2,000 ปอนด/ตารางนิ้ว ค. 3,000 ปอนด/ตารางนิ้ว ง. 4,000 ปอนด/ตารางนิ้ว 3. ขณะจุดไฟดวยอุปกรณจุดไฟควรใหปลายทิพหางประมาณกี่นิ้ว ก. 1 นิ้ว

ค. 3 นิ้ว

ข. 2 นิ้ว

ง. 4 นิ้ว

4. ในการเชื่อมทอทองแดง ตองปลอยแกสไนโตรเจนแรงดันเทาไหร หรือประมาณกี่ psi ก. 6 กิโลกรัม/ตร.ซม. หรือประมาณ 33 -36 psi ข. 4 กิโลกรัม/ตร.ซม. หรือประมาณ 30 -33 psi ค. 8 กิโลกรัม/ตร.ซม. หรือประมาณ 36 -39 psi ง. 2 กิโลกรัม/ตร.ซม. หรือประมาณ 28 -30 psi 5. หลังจากปรับแตงปลายทอเรียบรอยแลว ถายังไมตองการใชงานทอ ควรทําอยางไร ก. งอปลายทอไว

ค. ปลอยปลายทอไว

ข. ใชจุกยางหรือปลอกปดไว

ง. หักปลายทอไว 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 6. เครื่องมือที่ใชในการปรับแตงปลายทอคืออะไร ก. ตะไบ

ค. รีมเมอร

ข. สวาน

ง. คัตเตอรตัดทอทองแดง

7. ในการบานปลายทอ ควรใหปลายทอสูงกวาตัวจับประมาณเทาใด ก. 1/2 ของความสูงปากหลุม

ค. 1/3 ของความสูงปากหลุม

ข. 1/4 ของความสูงปากหลุม

ง. 3/4 ของความสูงปากหลุม

8. ถาตองการดัดทอ 90 องศา ตองกดดามเบนเดอรในลักษณะใด ก. ขนานกับพื้น

ค. เฉียง 45 องศา

ข. ตั้งฉากกับพื้น

ง. เฉียง 180 องศา

9. ขอใดตอไปนี้ไมใชลวดเชื่อมแกส จ. ลวดเชื่อมเงิน , ลวดเชื่อมทองเหลือง ฉ. ลวดเชื่อมเงิน, ลวดเชื่อมอลูมิเนียม ช. ลวดเชื่อมสแตนเลส , ลวดเชื่อมทองแดง ซ. ลวดเชื่อมอะลูมิเนียม , ลวดเชื่อมทองเหลือง 10. หัวเชื่อมแกสอะเซทิลีน แบงเปนกี่ชนิด อะไรบาง ก. 2 ชนิด ชนิดความดันสมดุล , ชนิดหัวฉีด ข. 2 ชนิด ชนิดความดันต่ํา , ชนิดความดันสูง ค. 3 ชนิด ชนิดหัวฉีดแบบสมดุล , ชนิดความดัน ง. 3 ชนิด ชนิดความดันต่ํา , ชนิดความดันสูง , ชนิดความดันสมดุล

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………....... คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3. 4.

4. 5. 6.

5.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

6.

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3. 4.

3.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

4.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 1 0921730101 แบบทดสอบภาคปฏิบตั ิที่ 1.1 ทอในเครื่องทําความเย็น 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ตัดทอ ปรับแตงปลายทอ ขยายทอ บานทอ และดัดทอได

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทอสอบ รวม 4 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. จงตัดทอขนาด ¼ นิ้ว 5/16 นิ้ว และ 3/8 นิ้ว ใหมีความยาว 50 เซนติเมตร 2. จงขยายทอทองแดงแตละขนาด อยางละ 2 ชิ้น 3. จงบานแฟรหนึ่งชั้นทอแตละขนาด อยางละ 2 ชิ้น 4. จงบานแฟรสองชั้นทอแตละขนาด อยางละ 2 ชิ้น 5. จงดัดทอทํามุม 30 องศากับพื้นราบ (องศาภายใน 150 องศา) ทอแตละขนาด อยางละ 1 ชิ้น ตารางบันทึกผล ขนาดทอ

ตัด

ขยาย (แบบตอก)

บานแฟลร 1 ชั้น บานแฟลร 2 ชั้น

1/4 นิ้ว 5/16 นิ้ว 3/8 นิ้ว

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ดัด


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.1 ทอในเครื่องทําความเย็น 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับ แบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวางกีด ขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คอน

จํานวน 1 อัน

2. คัตเตอรตัดทอ

จํานวน 1 อัน

3. เครื่องมือขยายทอ

จํานวน 1 อัน

4. ชุดเครื่องมืองานทอ

จํานวน 1 ชุด

5. ดินสอ 2B/ปากกาหมึก

จํานวน 1 ดาม

6. ตลับเมตร

จํานวน 1 อัน

7. ตัวจับทอ

จํานวน 1 ตัว

8. รีมเมอร

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว ความยาว 50 เซนติเมตร

จํานวน 1 เสน

2. ทอทองแดงขนาด 5/16 นิ้ว ความยาว 50 เซนติเมตร

จํานวน 1 เสน

3. ทอทองแดงขนาด 3/8 นิ้ว ความยาว 50 เซนติเมตร

จํานวน 1 เสน

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ 1.1 งานตัดทอ ขั้นตอนการทดสอบ 1. คลี่ทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว ออกจากมวน

คําอธิบาย ขอควรระวัง คลี่ทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว ทอทองแดงขนาดเล็กและบาง บางสวนออกจากมวนอยางถูกวิธี งายตอการหักงอ เมื่อใชเสร็จ แลวใหเก็บไวในที่ที่เหมาะสม เสมอ

2. กําหนดตําแหนงตัดทอที่ 50 เซนติเมตรจาก มวน

ใชตลับเมตรวัดความยาวใหได 50 เซนติเมตรจากมวน แลวกําหนดตําแหนงไวเพื่อตัด

กําหนดตําแหนงตัดใหชัดเจน เพื่อลดความผิดพลาดในการตัด

3. ตัดทอในจุดที่กําหนดตําแหนงไว แลวลบคมทอ

ใชคัตเตอรตัดทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว ใหไดความยาว 50 เซนติเมตร จากนั้นทําการลบคม ทอ

การปรับใบมีดขณะการตัด ควร ปรั บ ที ล ะน อ ย อย า แ ร ง ม า ก เพราะจะทํ า ให ใ บมี ด และท อ ไดรับความเสียหาย

4. คลี่ทองแดงขนาด 5/16 นิ้ว และ 3/8 นิ้ว จากนั้นตัดตามขั้นตอนที่ 1 - 3

คลี่ทองแดงขนาด 5/16 นิ้ว และ 3/8 นิ้ว แลวตัดทอทองแดงทั้ง สองขนาด ตามลําดับขั้นขอ 1-3

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการทดสอบ 5. สรุปผล

คําอธิบาย สรุปผลการทดลอง

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.2 งานขยายทอ (แบบตอก) ขั้นตอนการทดสอบ คําอธิบาย 1. นําทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว ทีต่ ัดไวใสใน นําทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว ตัวจับยึด จากงานตัด ใสในตัวจับยึด

2. นําตัวขยายทอตอกลงในทอที่จับยึดไว

นําตัวขยายทอตอกขยายทอตาม ขั้นตอน

3. คลายตัวจับยึดและนําทอที่ขยายมาพักไว คลายตัวจับยึด ถอดทอทองแดง ขนาด 1/4 นิ้ว ที่ขยายทอเรียบรอย แลวออกมา 19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง ทอทองแดงขนาดเล็กและบาง งายตอการหักงอ เมื่อใชเสร็จแลว ใหเก็บไวในที่ที่เหมาะสมเสมอ


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

4. นําทอทองแดงขนาด 5/16 นิ้ว และ 3/8 นิ้ว ที่ตัดไวใสในปากกาจับชิ้นงาน ทําการ ขยายตามขั้นตอนที่ 1 - 3

นําทอทองแดงขนาด 5/16 นิ้ว และ 3/8 นิ้ว มาขยายทอตามลําดับขั้น ขอ 1 - 3

5. สังเกตและบันทึกผล

สังเกตผลปฏิบัติงานจากชิ้นงาน บันทึกผลลงในตารางการทดลอง และสรุปผลการทดลอง

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.3 งานบานแฟลร 1 ชั้น ขั้นตอนการทดสอบ 1. นําทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว มาตัดออกแลวทํา การลบคมทอ

คําอธิบาย นําทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว จากใบงานขยายทอ (แบบตอก) มาตัดดานที่ทําการขยายออก 3 นิ้ว แลวทําการลบคมทอ

2. นําทอใสตัวจับยึด

นําทอที่ลบคมแลวใสในตัวจับ ยึดทอ

3. สวมตัวบาน แลวทําการบานแฟลร

สวมตัวบานทอเขาไปในทอ แลวทําการบานแฟลรทอ แบบชั้นเดียว

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง ทอทองแดงขนาดเล็กและบาง งายตอการหักงอ เมื่อใชเสร็จ แลวใหเก็บไวในที่ที่เหมาะสม เสมอ


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการทดสอบ คําอธิบาย 4. คลายตัวจับยึด แลวนําทอที่บานแฟลรแลวออกเพื่อ คลายปากกาจับชิ้นงาน ถอด พักไว เอาทอ ที่บานแฟลรแลวออก

5. นําทอทองแดงขนาด 5/16 และ 3/8 นิ้ว มาตัด ออกแลวทําการลบคมทอ จากนั้นบานแฟลรตาม ขั้นตอนที่ 1 - 4

นําทอทองแดงขนาด 5/16 และ 3/8 นิ้วจากใบงานขยาย ทอ (แบบตอก) มาตัดออก 3 นิ้ว จากนั้นนํามาบานแฟลร ชั้นเดียวตามลําดับขอ 1 - 4

6. คลายตัวจับยึด ถอดทอที่บานแลวออก จากนั้น สังเกตแลวบันทึกผล

คลายปากกาจับชิ้นงาน ถอด เอาทอที่บานแฟลรแลวออก สังเกตผล แลวบันทึกผลลงใน ตาราง

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.4 งานบานแฟลร 2 ชั้น ขั้นตอนการทดสอบ 1. นําทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว จากใบงาน บานแฟลรชั้นเดียวมาตัดดานที่บานแฟลร ออก แลวลบคมทอ

คําอธิบาย นําทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว จากใบงานบานแฟลรชั้นเดียว มาตัดดานที่บานแฟลรออก 3 นิ้ว แลวทําการลบคมทอ

2. นําทอใสตัวจับยึด

นําทอที่ลบคมแลวใสในตัวจับยึดทอ

3. สวมชุดแปนประกอบลงในปลายทอ ใช คอนทุบปลายทอเบา ๆ ใหงอเขาดานใน

สวมชุดแปนประกอบ ขนาด 1/4 นิ้ว ลงในปลายทอ จากนั้นใชคอนทุบ ปลายทอเบา ๆ ใหงอเขาดานใน

4. สวมตัวบานทอเขาไปในทอ แลวขันกรวย ทอใหกดลงบนแปนประกอบ

สวมตัวบานทอเขาไปในทอ แลวขัน กรวยทอใหกดลงบนแปนประกอบ ใหสนิท

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง ทอทองแดงขนาดเล็กและบาง งายตอการหักงอ เมื่อใชเสร็จแลว ใหเก็บไวในที่ที่เหมาะสมเสมอ


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการทดสอบ 5. คลายตัวบานทอ เอาชุดแปนประกอบออก ขันตัวบานทออีกครั้ง แลวคลายตัวบานทอ จากนั้นถอดเอาทอที่บานแฟลรแบบสองชั้น ออก

คําอธิบาย คลายตัวบานทอเอาชุดแปน ประกอบออก ขันตัวบานทอให กรวยกดลงปลายทอจนแนบสนิท อีกครั้ง แลวคลายตัวบานทอและ ปากกาจับชิ้นงานถอดเอาทอที่บาน แฟลรแบบสองชั้นออก

6. นําทอทองแดงขนาด 5/16 และ 3/8 นิ้ว นําทอทองแดงขนาด 5/16 มาบานแฟลร ส องชั้ น ตามลํ า ดั บ ขั้ น ตอนที่ และ 3/8 นิ้ว มาบานแฟลรสองชั้น ตามลําดับขอ 1 - 5 1-5

7. สังเกตผล แลวบันทึกผลลงในตาราง

สังเกตผล แลวบันทึกผลลงในตาราง

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.5 งานดัดทอ (เบนเดอร) ขั้นตอนการทดสอบ 1. นําทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว มาตัดดานที่ บานแฟลรออกแลวทําการลบคมทอ

คําอธิบาย ขอควรระวัง นําทอทองแดงขนาด 1/2 นิ้ว ทอทองแดงขนาดเล็กและบาง จากใบงานบานแฟลรสองชั้น งายตอการหักงอ เมื่อใชเสร็จแลว มาตัดดานที่บานแฟลรออก 3 นิ้ว ใหเก็บไวในที่ที่เหมาะสมเสมอ แลวทําการลบคมทอ

2. เลือกขนาดเบนเดอรใหเหมาะกับขนาดทอ

เลือกเบนเดอรขนาด 1/2 นิ้ว ซึ่งมีระยะรัศมี 1 ½ นิ้ว

3. สังเกตจุดดัดที่ 0 องศาบนตัวเบนเดอรแลว กําหนดจุดดัดบนทอ จากนั้นสอดทอลงในเบน เดอร

สังเกตจุดดัดใหตรงกับองศาที่ 0 เสมอ (ตําแหนงนี้ตองหักลบดวย รัศมีของการดัดจากระยะดัดจริง) กําหนดตําแหนงที่จะดัดลงบนทอที่ กึ่งกลางทอ จากนั้นสอดทอลงใน เบนเดอร

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการทดสอบ คําอธิบาย 4. กดดามจับดานที่มีคานหมุนเบนเดอร ใ ห ไ ด คอย ๆ กดดามของเบนเดอร ใหทอ ขนาดองศาดัด ตามตองการ จากนั้นถอดทอที่ งอโคงตามองศาที่ตองการ คือ 30 ดัดแลวออกจากเบนเดอรแลวตกแตงทอ องศากั บ พื้ น ราบ จากนั้ นถอดท อ ออกจากเบนเดอร แ ลว ตกแตงให เรียบรอย

5. สรุปผล

สรุปผลการทดลอง

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ รายการตรวจสอบ 1 ทอในเครื่องทําความเย็น 1.1 งานตัดทอ 1.2 งานขยายทอ (แบบตอก) 1.3 งานบานแฟลร 1 ชั้น 1.4 งานบานแฟลร 2 ชั้น 1.5 งานดัดทอ (เบนเดอร) 2 กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เกณฑการพิจารณา ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 งานตัดทอ

1.2 งานขยายทอ (แบบตอก)

1.3 งานบานแฟลร 1 ชั้น

1.4 งานบานแฟลร 2 ชั้น

1.5 งานดัดทอ (เบนเดอร)

2

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ ครบถ วน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน 2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

เกณฑการใหคะแนน - ตั ด ท อ ได ข นาดตามที่ กํ า หนด ลบคมท อ เรี ย บร อ ย ให ค ะแนน 5 คะแนน - ตัดทอขาด/เกิ น 1-2 มิลลิเมตร ยังมีคมทออยูเ ล็กน อย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตัดทอขาด/เกินตั้ง แต 3 มิลลิเมตร ลบคมทอไมเรียบร อย ใหคะแนน 1 คะแนน - ผิวเรียบ คอทอ ไมมีรอยราว แตก ระยะขยายได ขนาด ใหคะแนน 5 คะแนน - ผิ วเรี ยบ คอท อ มี ร อยเล็ ก น อ ย ระยะขยายได ขนาด ให ค ะแนน 3 คะแนน - ผิ วเรี ยบ คอท อ มี ร อยร าว แตก ระยะขยายลึ ก หรื อ ตื้ น เกิ น ไป ให คะแนน 1 คะแนน - ผิวเรียบ ระยะความบานไดตามขนาด ใหคะแนน 5 คะแนน - ผิวมีรอยเล็กนอย ระยะบานไดตามขนาด ใหคะแนน 3 คะแนน - ผิวมีรอย ระยะการบานมากเกิน ทอมีรอยแตก ใหคะแนน 1 คะแนน - ผิวเรียบ ระยะความบานไดตามขนาด ใหคะแนน 5 คะแนน - ผิวมีรอยเล็กนอย ระยะบานไดตามขนาด ใหคะแนน 3 คะแนน - ผิวมีรอย ระยะการบานมากเกิน ทอมีรอยแตก ใหคะแนน 1 คะแนน - กําหนดระยะตําแหนงดั ดถูก ตอง สามารถดัดได 30 องศา ใหคะแนน 5 คะแนน - กําหนดระยะตําแหนงดัดขาด/เกิน 1-2 มิลลิเมตร สามารถดัดไดขาด/ เกิน 1-2 องศา ใหคะแนน 3 คะแนน - กําหนดระยะตําแหนงดัด ขาด/เกิน ตั้ง แต 3 มิลลิเมตร สามารถดั ด ได ขาด/เกินตั้งแต 3 องศา ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนเต็ม 25 5

5

5

5

5

5 1 1 1 1 1 30

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 3 0921730103 แบบทดสอบภาคปฏิบตั ิที่ 3.1 ชนิดของหัวเชื่อมแกส 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - เลือกใชงานหัวเชื่อมแกสไดถูกตอง

2. ระยะเวลาการทอสอบ - ระยะเวลาการทอสอบ รวม 1 ชั่วโมง 3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกวัดขนาดความหนาของทอทองแดงที่จะเชื่อมแลวเลือกขนาดหัวทิพเชื่อมใหเหมาะสม 3 ขนาด จาก 4 ขนาดที่กําหนดให ลําดับที่ 1 2 3

ขนาดของทอ

ความหนาของทอ

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขนาดหัวทิพ


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.1 ชนิดของหัวเชื่อมแกส 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับ แบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวางกีด ขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เวอรเนียคาลิปเปอร

จํานวน 1 ตัว

2. หัวเชื่อมแกสขนาดตาง ๆ

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ทอทองแดงขนาด 1/2 ความยาว 10 เซนติเมตร

จํานวน 1 เสน

2. ทอทองแดงขนาด 1/4 ความยาว 10 เซนติเมตร

จํานวน 1 เสน

3. ทอทองแดงขนาด 3/8 ความยาว 10 เซนติเมตร

จํานวน 1 เสน

4. ทอทองแดงขนาด 5/8 ความยาว 10 เซนติเมตร

จํานวน 1 เสน

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ 2.1 ชนิดของหัวเชื่อมแกส ขั้นตอนการทดสอบ 1. เลือกทอ 3 ขนาดจากที่ครูฝกกําหนด

คําอธิบาย เลือกทอที่จะทําการเชื่อม มา อยางนอย 3 ขนาด

2. ใชเวอรเนียวัดขนาดทอ และความหนาของทอ

ใชเวอรเนียคาลิปเปอร วัด ขนาดของทอและวัดความหนา ของทอ

3. บันทึกผลที่ไดจากการวัดขนาดทอทองแดง

บันทึกขอมูลของทอที่วัดแลว ลงในตารางที่กําหนดใหในใบ งาน

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง ทอทองแดงขนาดเล็กและบาง งายตอการหักงอ เมื่อใชเสร็จ แลวใหเก็บไวในที่ที่เหมาะสม เสมอ


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการทดสอบ 4. เลือกขนาดหัวทิพที่เหมาะกับขนาดทอ

คําอธิบาย เลื อ กขนาดหั ว ทิ พ ที่ เ หมาะสม กับทอที่เลือก

5. บันทึกขนาดหัวทิพที่เลือกลงในตารางบันทึกผล แลวสรุปผลสงครูฝก

บันทึกขนาดหัวทิพที่เลือก ลง ในตารางบันทึกผลที่กําหนด แลวสรุปผลสงครูฝก

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ รายการตรวจสอบ 1 เลือกหัวเชื่อมที่เหมะสม 1.1 วัดขนาดทอไดถูกตองเหมาะสม 1.2 การใชเวอรเนียคาลิปเปอร 1.3 การเลือกขนาดหัวทิพ 1.4 การบันทึกผลการเลือกขนาดหัวทิพ 2 กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เกณฑการพิจารณา ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 วัด ขนาดทอได ถูกตองเหมาะสม

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม 20

- วัดขนาดทอถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- วัดขนาดทอคลาดเคลื่อนเกิน/ขาด 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - วั ด ขนาดท อ คลาดเคลื่ อ นเกิ น /ขาดตั้ ง แต 3 หน วย ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.2 การใชเวอรเนียคาลิปเปอร

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง และชํานาญ ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง แตขาดความชํานาญ ใหคะแนน 3 คะแนน - ใชเครื่องมือได โดยขอใหครูหรือเพื่อนชวย ใหคะแนน 1 คะแนน 1.3 การเลือกขนาดหัวทิพ

- เลือกหัวเชื่อมแกสไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- เลือกหัวเชื่อมแกสไดไมถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน 1.4 การบันทึกผลการเลือกขนาดหัวทิพ

- บันทึกผลไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- บันทึกผลไดถูกตอง แตไมครบถวน 1 รายการ ใหคะแนน 3 คะแนน - บันทึกผลถูกตองบางสวนหรือไมครบถวนตั้งแต 2 รายการ ใหคะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ วน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1 1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 25

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 4 0921730104 แบบทดสอบภาคปฏิบตั ิที่ 4.1 การเชื่อมแกส 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - เชื่อมแกส ปรับแตงแรงดันแกสอะเซทิลีน แกส LPG และแกสออกซิเจนได

2. ระยะเวลาการทอสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 3 ชั่วโมง 3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. จงเชื่อมทอทองแดง 2 ทอเขาดวยกัน 2. จงเชื่อมแคปทิ้วปกับทอทองแดง 3. จงทดสอบรอยรั่ว

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 4.1 การเชื่อมแกส 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับ แบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวางกีด ขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. แปรงลวด

จํานวน 1 อัน

2. อุปกรณจุดเปลวไฟ

จํานวน 1 อัน

3. แวนนิรภัย

จํานวน 1 อัน

4. ถุงมือ

จํานวน 1 คู

5. ชุดเชื่อมแกส

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ลวดเชื่อมแกส

จํานวน 1 เสน

2. ทอทองแดง ขนาด 5/8 นิ้ว ความยาว 20 เซนติเมตร

จํานวน 1 เสน

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ 2.1 การเชื่อมแกส ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. ตัดทอทองแดงยาว 4 เซนติเมตรจํานวน 4 ตัดทอทองแดงขนาด 5/8 นิ้ว ทอน

ความยาว 4 เซนติเมตร จํานวน 4 ทอนจากนั้นลบคมทอ

2. นําทอทองแดงเสนหนึ่งมาขยาย จากนั้น

นําทอทองแดงขนาด 5/8 นิ้ว 1 เสน

นําทอทองแดงอีกเสนลองสวม เพื่อตรวจดูวา มาขยายดวยเครื่องมือขยายทอ ทอทั้งสองเสนสามารถสวมกันไดพอดีหรือไม จากนั้นลองสวมทอทองแดงอีกเสน ลงไป ทดลองขยับเล็กนอยเพื่อดู ความเหมาะสม จากนั้นขยายทอ ทั้งหมด 4 ทอน

3. นําทอแคปทิ้วปมาสวมลงในทอทองแดง

นําทอแคปทิ้วป ความยาว 5

เสนที่ไมไดขยาย จากนั้นบีบปลายทอ

เซนติเมตรสวมลงในทอทองแดง

ทองแดง

ดานที่ไมไดขยาย โดยบีบปลายทอ

ใหทอแคปทิ้วปไมหลุด

ใหทอแคปทิ้วปไมหลุด

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

4. ทําความสะอาดจุดเชื่อมทุกจุด

ทําความสะอาดจุดเชื่อมตอทุกจุด

5. เปดวาลวชุดเชื่อม

เปดวาลวแกสแอลพีจี แลวเปดวาลว การใชแกสควรมีครูฝกควบคุม หัวทอของแกสออกซิเจน จากนั้น

อยางใกลชิด อันตรายจากถังแกส

เปดวาลวหัวเชื่อมของแกสแอลพีจี

ระเบิดอาจทําใหเสียชีวิตได

แลวจุดแกสโดยใหอุปกรณจุดเปลว ไฟ เปดวาลวหัวเชื่อมของออกซิเจน เปลวไฟจะตองไมมีควันดําหรือไมมี เสียงดัง ปรับแตงใหไดเปลวกลาง หรือ Neutral Flame 6. ปรับเปลวไฟใหไดตามการใชงาน

ปรับตั้งไฟเพื่อทําการเชื่อมทอทองแดง และทอแคปทิ้วป เขาเปนชิ้นงาน เดียวกัน 39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการทดสอบ

7. เชื่อมจุดตาง ๆ ดวยลวดเชื่อมเงิน

คําอธิบาย

ทําการเชื่อมจุดเชื่อมตอดวยลวด เชื่อมเงิน

8. ปดอุปกรณเชื่อม ปดวาลวใหถูกตอง

ขณะเปลวไฟยังติดอยูใหปดวาลว แกสออกซิเจนตรงหัวเชื่อม จากนั้น ปดวาลวหัวเชื่อมแกสแกสแอลพีจี แลวจึงปดวาลวที่ถังแกสออกซิเจน และที่ถังแกสแอลพีจี ตามลําดับ

9. ตรวจสอบความเรียบรอยและสงชิ้นงาน

ตรวจสอบความเรีย บรอยและ สงชิ้ น งาน

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ รายการตรวจสอบ 1 การเชื่อมทอ 1.1 การตัดทอ 1.2 การลบคมทอ 1.3 การเชื่อมทอ 1.4 ทดสอบรอยรั่ว 2 กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เกณฑการพิจารณา ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 การตัดทอ

1.2 การลบคมทอ

1.3 การเชื่อมทอ

1.4 ทดสอบรอยรั่ว

2

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ ครบถ วน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน 2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

เกณฑการใหคะแนน - ตัดทอไดขนาดตามที่กําหนด ใหคะแนน 5 คะแนน - ตัดทอขาด หรือเกิน ที่กําหนด 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตัดทอขาด หรือเกินตั้งแต 3 หนวยขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน - ลบคมทอโดยทอไมมีค มเหลืออยู ไมมีเศษทอภายในทอ ใหคะแนน 5 คะแนน - ลบคมทอโดยทอ ไมมีค มเหลือ อยู แตมีเศษทออยู ภายในทอ เล็ ก น อ ย ใหคะแนน 3 คะแนน - ลบคมทอโดยท อไม มีค มเหลื ออยู มีเศษทออยูภายในท อจํ านวนมาก ใหคะแนน 1 คะแนน - เชื่อมทอไดแนบสนิท แข็งแรง ทอตรงสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - เชื่อมทอได ทอตรง แข็งแรง แตยังไมแนบสนิท ใหคะแนน 3 คะแนน - เชื่อมทอได ทอไมตรง ไมแนบสนิท ไมแข็งแรง ใหคะแนน 1 คะแนน - รอยเชื่อมไมรั่ว ละลายเปนเนื้อเดียวกัน ผิวหนารอยเชื่อมสม่ําเสมอให คะแนน 5 คะแนน - รอยเชื่อมไมรั่ว ผิวหนารอยเชื่อมไมสม่ํ าเสมอ หรือรอยพอกหนาเกิ น ความจําเปน ใหคะแนน 3 คะแนน - รอยเชื่อมรั่ว ใหคะแนน 0 คะแนน

คะแนนเต็ม 20 5

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

5

5

5 1 1 1 1 1 25

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 5 0921730105 แบบทดสอบภาคปฏิบตั ิที่ 5.1 การเชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - เชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจนได

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 3 ชั่วโมง 3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกเชื่อมทอทองแดง 2 ขนาด ดวยวิธีการเชื่อมทอผานแกสไนโตรเจน

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 5.1 การเชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบตั ิการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับ แบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวางกีด ขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณผูรับการฝก 1 คน 1. ชุดเชื่อมแกส

จํานวน 1 ชุด

2. ถังไนโตรเจน พรอมเกจเรกูเลเตอร

จํานวน 1 ชุด

3. แปรงลวด

จํานวน 1 อัน

4. อุปกรณจุดเปลวไฟ

จํานวน 1 อัน

5. แวนนิรภัย

จํานวน 1 อัน

6. ถุงมือ

จํานวน 1 คู

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุผูรับการฝก 1 คน 1. ลวดเชื่อมเงิน

จํานวน 1 เสน

2. ฟลักซ

จํานวน 1 อัน

3. ทอทองแดงขนาด 3/8 นิ้ว ความยาว 20 เซนติเมตร

จํานวน 1 เสน

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 4. ทอทองแดงขนาด 5/8 นิ้ว ความยาว 20 เซนติเมตร

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

จํานวน 1 เสน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 5. ลําดับการทดสอบ 2.2 การเชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจน ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. ตัดทอทองแดงยาว 5 เซนติเมตร

ตัดทอทองแดงขนาด 5/8 นิ้ว

จํานวน 4 เสน จากทอทั้ง 2 ขนาด

ความยาว 5 เซนติเมตร จํานวน 4 เสน และทอทองแดงขนาด 3/8 นิ้ว ความยาว 5 เซนติเมตร จํานวน 4 เสน จากนั้นลบคมทอทั้งหมด

2. นําทอทองแดงขนาด 5/8

นําทอทองแดงขนาด 5/8 นิ้ว

เส นหนึ่ งมาขยาย จากนั้ นนํา

1 เสน มาขยายดวยเครื่องมือขยายทอ

ทอ ทองแดงขนาดเดียวกันอีกเสนลองสวม จากนั้ น ลองสวมท อ ทองแดงขนาด 5/8 อีกเสนลงไป ทดลองขยับเล็กนอย เพื่อดูความเหมาะสม จากนั้นขยาย ทอจํานวน 3 เสน

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

3. นําทอทองแดงขนาด 3/8 มาขยายเสน

นําทอทองแดงขนาด 3/8 นิ้ว

หนึ่ง และนําอีกเสนหนึ่งมาสวม

1 เสนมาขยายดวยเครื่องมือขยายทอ จากนั้นลองสวมทอทองแดงขนาด 3/8 อี ก เส น ลงไป ทดลองขยั บ เล็ ก นอย เพื่ อ ดู ค วามเหมาะสมเช น เดี ย วกั น จากนั้นขยายทอจํานวน 3 เสน

4. ทําความสะอาดจุดเชื่อมทุกจุด

ทําความสะอาดจุดเชื่อมตอทุกจุด

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการทดสอบ 5. ใชเทปปดทอ แลวเจาะรูขางหนึ่ง

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใช เ ทปป ด ปลายท อ ทองแดงขนาด 5/8 ด า นหนึ่ ง แล ว เจาะรู ข นาดเล็ ก เพื่ อ ให แ ก ส ไนโตรเจนไหลออกได จากนั้ น ใช เ ทปปด ปลายทอ ทองแดง ขนาด 3/8 ดานหนึ่งแลวเจาะรู ข าด เล็กเพื่อใหแกสไนโตรเจนไหลออกได

6. ปลอยแกสไนโตรเจนผานทอ

ปลอยแกสไนโตรเจนแรงดันประมาณ การใชแกสควรมีครูฝกควบคุมอยาง

1-2 ปอนดตอตารางนิ้ว

1-2 psi เขาสูทอเพื่อเตรียมการเชื่อม ใกลชิด อันตรายจากถังแกสระเบิด อาจทําใหเสียชีวิตได

7. ตั้งไฟใหเปนไฟแบบนิวทรัล

ปรั บ เปลวไฟใหเ ปน เปลวไฟนิวทรัล ตรวจเช็คความพรอมของอุป กรณ โดยปรับปริม าณของแก สออกซิ เ จน เชื่อม และจุดไฟที่หัวเชื่อม และแก ส อะเซทิ ลี น ในอั ต ราส ว นที่ เทากัน

8. ใหความรอนบริเวณปลายทอ โดยสาย

ให ค วามร อ นแก บ ริ เ วณปล าย ท อ หามคางอยูจุดใดจุดหนึ่งนานเกินไป

ไฟมาเล็กนอย

โดยใหหางจากขอบประมาณ 1 นิ้ว และสายไปมาเล็กนอย เมื่ อ บริ เ วณที่ จ ะเชื่ อ มมี อุ ณ หภู มิ สู ง พอแลวใหเลื่อนเปลวไฟออก

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เพราะจะทําใหทอเสียหายได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

9. ใสลวดเชื่อมพรอมฟลักซเขาไปที่รอยตอ ใส ล วดเชื่ อ มพร อ มฟลั ก ซ เ ข า ไปที่ เชื่อมใหทั่วบริเวณ

รอยต อ เมื่ อ ลวดเชื่ อ มและฟลั ก ซ ละลายดีแลว จึงดับเปลวไฟได

10. ตรวจสอบความเรียบรอย และสง

ตรวจสอบความเรียบรอยของรอยเชื่อม

ชิ้นงาน

จากนั้นปดแกสไนโตรเจน และสงชิ้นงาน

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ รายการตรวจสอบ 1 การเชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจน 1.1 ขยายทอทองแดงไดอยางถูกตอง 1.2 ทําความสะอาดผิวทอทองแดงกอนเชื่อม 1.3 ปรับตั้งเปลวเชื่อม 1.4 รอยเชื่อม 1.5 ตรวจการปลอยแกสไนโตรเจน 2 กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เกณฑการพิจารณา ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 ขยายทอทองแดงไดอย างถูกตอง

2

เกณฑการใหคะแนน

- ขยายทอแลวคอทอสมบูรณ เรียบรอย ใหคะแนน 5 คะแนน - ขยายท อ แล วคอท อ มี ร อย เล็ ก น อ ยแต ไม เ สี ยหายต อ การใชง าน ให คะแนน 3 คะแนน - ขยายทอแลวคอทอมีรอยลึก หรือ ขาดรั่ว สงผลเสียตอการใชงาน ให คะแนน 1 คะแนน 1.2 ทํ าความสะอาดผิวของทอทองแดงกอนเชื่อม - ทําความสะอาดครบทุกจุดที่จะทําการเชื่อม ใหคะแนน 5 คะแนน - ไมทําความสะอาดจุดเชื่อม 1 จุด ใหคะแนน 3 คะแน - ไมทําความสะอาดจุดเชื่อม 2 จุด ใหคะแนน 1 คะแน 1.3 ปรับตั้งเปลวเชื่อม - ปรับเปลวไฟไดอัตราสวนแกสที่เหมาะสม ใหคะแนน 5 คะแนน - ปรั บเปลวไฟไม ได อั ต ราส วนแก ส ที่ เ หมาะสม แต พ อเชื่ อ มได ให คะแนน 3 คะแนน - ปรั บเปลวไฟไม ได อัต ราส วน ต อ งให ค รู หรื อเพื่ อนชวย ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.4 รอยเชื่อม - เชื่อมทอไดแนบสนิท แข็งแรง ทอตรงสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - เชื่อมทอได ทอตรง แข็งแรง แตยังไมแนบสนิท ใหคะแนน 3 คะแนน - เชื่อมทอได ทอไมตรง ไมแนบสนิท ไมแข็งแรง ใหคะแนน 1 คะแนน 1.5 ตรวจการปลอยแกสไนโตรเจน - ผาทอแลวไมพบเขมา ใหคะแนน 5 คะแนน - ผาแลวพบเขมาภายในทอเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ผาแลวพบเขมาภายในทอจํานวนมาก ใหคะแนน 1 คะแนน กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน ครบถ วน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

คะแนนเต็ม 25 5

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ถือวา ไมผานเกณฑ

5

5

5

5

5 1 1 1 1 1 30

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 บอกขั้นตอนการตอสายไฟฟา 10 7 แบบสายเดีย่ วและสายตีเกลียวได บอกวิธีการตอสายไฟฟาดวย อุปกรณได บอกขั้นตอนการเขาขั้วสายดวย หางปลา บอกขั้นตอนการใชวายนัทตอ สายได บอกขั้นตอนการใชหลอดตอ สายไฟได บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ประเมินผลภาคทฤษฏี

คะแนนที่ได 5

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได 53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 บอกขั้นตอนการตอสายไฟฟา 10 7 แบบสายเดีย่ วและสายตีเกลียวได บอกวิธีการตอสายไฟฟาดวย อุปกรณได บอกขั้นตอนการเขาขั้วสายดวย หางปลา บอกขั้นตอนการใชวายนัทตอ สายได บอกขั้นตอนการใชหลอดตอ สายไฟได บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ประเมินผลภาคทฤษฏี

คะแนนที่ได 8

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2

ตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียว ได 1. เขาขั้วสายดวยหางปลา และย้ําหางปลาได 2. ใชหลอดตอสายไฟได 3. ใชอุปกรณในการตอสายไฟได ใชวายนัทตอสายได

30

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 21

80

56

70

35

25

23

20

14

15

20

14

10

25

18

24

210

148

162

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ตอสายไฟฟาดวยการบัดกรีได ภาคปฏิบัติที่ 1.4 แบบทดสอบ ตอสายไฟฟาดวยการพันฉนวนได ภาคปฏิบัติที่ 1.5 แบบทดสอบ ตรวจสอบและกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ภาคปฏิบัติที่ 2.1 คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 20

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลว เปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ 55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

8

2

16

162

0.381

61.72

ผลการ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ทดสอบ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 77.72

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฏี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

10

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 10

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

8 × 2 = 16

คือ

=2

สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

210 56

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ ∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

80 = 0.381 210 162 × 0.381 = 61.72

คือ

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 16 + 61.72 = 77.72 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

1. 2.

3. 4. 5. 6.

7.

8.

ผลลัพธการเรียนรู บอกชนิดของทอที่ใชในเครื่องทํา ความเย็นได ตัดทอ ปรับแตงปลายทอ ขยาย ทอ บานทอ ดัดทอ และนําไปใช ได บอกชนิดของลวดเชื่อมแกสได บอกชนิดของหัวเชื่อมแกส และ การเลือกใชงานได เลือกใชงานหัวเชื่อมแกสได ถูกตอง บอกขั้นตอนการเชื่อมแกส การ ปรับแตงแรงดันแกสอะเซทิลีน แกส LPG แกสออกซิเจน และ นําไปใชได เชื่อมแกส ปรับแตงแรงดันแกส อะเซทิลีน แกส LPG และแกส ออกซิเจนได บอกขั้นตอนการเชื่อมทอ ทองแดงผานทอไนโตรเจนได

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 10 7

คะแนนที่ได

9. เชื่อมทอทองแดงผานแกส ไนโตรเจนได

ประเมินผลภาคทฤษฏี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ 58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

1. 2.

3. 4. 5. 6.

7.

8.

ผลลัพธการเรียนรู บอกชนิดของทอที่ใชในเครื่องทํา ความเย็นได ตัดทอ ปรับแตงปลายทอ ขยาย ทอ บานทอ ดัดทอ และนําไปใช ได บอกชนิดของลวดเชื่อมแกสได บอกชนิดของหัวเชื่อมแกส และ การเลือกใชงานได เลือกใชงานหัวเชื่อมแกสได ถูกตอง บอกขั้นตอนการเชื่อมแกส การ ปรับแตงแรงดันแกสอะเซทิลีน แกส LPG แกสออกซิเจน และ นําไปใชได เชื่อมแกส ปรับแตงแรงดันแกส อะเซทิลีน แกส LPG และแกส ออกซิเจนได บอกขั้นตอนการเชื่อมทอ ทองแดงผานทอไนโตรเจนได

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 10 7

คะแนนที่ได

9. เชื่อมทอทองแดงผานแกส ไนโตรเจนได

ประเมินผลภาคทฤษฏี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 4.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 5.1

ตัดทอ ปรับแตงปลายทอ ขยายทอ บานทอ และดัดทอได เลือกใชงานหัวเชื่อมแกสไดถูกตอง

30

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 21

25

18

เชื่อมแกส ปรับแตงแรงดันแกสอะเซทิลีน แกส LPG และแกสออกซิเจนได เชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจนได

25

18

30

21

คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

110

78

ประเมินผลภาคปฏิบัติ * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

ผลการ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ทดสอบ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC)

2 0.728

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบันทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.