คู่มือการประเมิน ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 1 โมดูล 7

Page 1

หนาปก



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

คูมือการประเมิน 0920164170201 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 7 09217302 หลักการทําความเย็นและสารทําความเย็น

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

คํานํา คูมือการประเมิน สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล 7 หลั ก การ ทํา ความเย็ น และสารทํา ความเย็ น ฉบั บ นี้ ไดพัฒนาขึ้นภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถ เพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงค เพื่อนําไปใชเปนระบบการฝกอบรมตามความสามารถ สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิช ยข นาดเล็ก ระดั บ 1 เพื่อใหตอบสนองความตองการของกําลังแรงงานและตลาดแรงงานไดอยางเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และเพื่อรองรับ ระบบการรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติและระบบการรับรองความรูความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบ การฝกอบรมนี้ใหแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมายตางๆ ใหกวางขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแงข องขอบเขตของการใหบริการและ จํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรีย นรูไ ด ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแ ก ผูรับการฝกอบรม และตองการใหผู รับ การฝ กอบรมเกิ ดการเรีย นรูด วยตนเอง การฝกปฏิบัติ จะดํ าเนิ น การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชใ นการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรีย นรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรีย มการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรีย มและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดม ากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคาใช จายในการพั ฒ นาฝมือแรงงานใหแ ก กําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝ ก ที่ มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใ ชแ รงงาน ผูวางงาน นักเรีย น นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

3

แบบทดสอบกอนฝก

4

แบบทดสอบหลังฝก

7

กระดาษคําตอบ

10

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

11

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ บันทึกผลการประเมินความสามารถ

12 17

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการ ฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

2. วิธีการประเมินผล การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการ ประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

3. การวัดและประเมินผล การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 7 09217302 หลักการทําความเย็นและสารทําความเย็น 1. อธิบายหลักการทําความเย็นและสภาวะปรับอากาศได 2. อธิบายวัฏจักรระบบการทําความเย็นและระบบปรับอากาศได 3. อธิบายความหมายของหนวยวัดในระบบการทําความเย็นไดอยางถูกตอง 4. อธิบายคุณสมบัติของสารทําความเย็น การแบงประเภทสารทําความเย็น การเลือกใชสารทําความเย็น และถังบรรจุสารทําความเย็นไดอยางถูกตอง

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

แบบทดสอบกอนฝก คําชีแ้ จง: 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 7 09217302 หลักการทําความเย็นและสารทําความเย็น 1. ขอใด คือ หลักการเบื้องตนของการทําความเย็น ก. การทําใหสารทําความเย็นเกิดการเปลี่ย นแปลงจากของแข็งเปนของแกส ข. การทําใหสารทําความเย็นเกิดการเปลี่ย นแปลงจากของแข็งเปนของเหลว ค. การทําใหสารทําความเย็นเกิดการเปลี่ย นแปลงจากของเหลวเปนของแกส ง. การทําใหสารทําความเย็นเกิดการเปลี่ย นแปลงจากของเหลวเปนของแข็ง 2. วัฏจักรของระบบการทําความเย็นเริ่มจากอุปกรณใ ด ก. คอมเพรสเซอร

ค. ถังพักน้ํายาเหลว

ข. คอนเดนเซอร

ง. เอ็กซแพนชั่นวาลว

3. การวัดระดับพลังงานความรอนแบบใดที่ไมสามารถวัดไดโดยตรง แตสามารถวัดไดจากผลของความรอนที่กระทําตอวัตถุอื่น ก. การวัดคาระดับปริมาณความรอน ข. การวัดความดันของพลังงานความรอน ค. การวัดความหนาแนนของพลังงานความรอน ง. การวัดพื้นที่ผิวสัมผัสของความรอน 4. ขอใด คือ หนวยวัดของขนาดเครื่องทําความเย็น ก. ฟุต

ค. เมตร

ข. คิว

ง. ปอนด

5. สัมประสิทธิ์สมรรถนะ คือคาอะไร ก. ขนาดของการทําความเย็น

ค. ประสิทธิภาพในการทําความเย็น

ข. ขนาดของเครื่องทําความเย็น

ง. ประสิทธิภาพของเครื่องทําความเย็น

6. ประสิทธิ์ภาพการใหความเย็น (EER) มีคาเทาไหร จึงจะประหยัดพลังงานไฟฟา ก. 5.6 ข. 8.7

ค. 9.5 ง. 10.6 5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 7. ขอใดไมใชคุณสมบัติทางเคมีของสารทําความเย็น ก. ไมทําปฏิกิริยากับน้ํามันหลอลื่น

ค. ไมกัดกรอนโลหะ

ข. ความรอนจําเพาะของสารทําความเย็นในสถานะของเหลวมีคาต่ํา

ง. ไมเปนพิษ

8. กลุมสารทําความเย็นประเภทใด ที่มีคลอรีนเปนสวนประกอบ ก. กลุมที่ใชกับระบบที่เย็นจัด ข. กลุมสาร CFCs ค. กลุมสาร HCCs ง. กลุมสารผสม 9. สารทําความเย็นในขอใดที่มักใชงานกับเครื่องทําความเย็นขนาดใหญ เชน หองเย็น โรงน้ําแข็ง เปนตน ก. R – 194 ข. R – 515 ค. R – 606 ง. R – 717 10. R-141b ใชถังสารทําความเย็นสีอะไร ก. น้ําเงินเขม ข. ฟาออน ค. ขาว ง. เขียว

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

แบบทดสอบหลังฝก คําชีแ้ จง: 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 7 09217302 หลักการทําความเย็นและสารทําความเย็น 1. การวัดระดับพลังงานความรอนแบบใดที่ไมสามารถวัดไดโดยตรง แตสามารถวัดไดจากผลของความรอนที่กระทําตอวัตถุอื่น ก. การวัดความหนาแนนของพลังงานความรอน ข. การวัดความดันของพลังงานความรอน ค. การวัดพื้นที่ผิวสัมผัสของความรอน ง. การวัดคาระดับปริมาณความรอน 2. ขอใด คือ หนวยวัดของขนาดเครื่องทําความเย็น ก. ฟุต

ค. เมตร

ข. คิว

ง. ปอนด

3. สัมประสิทธิ์สมรรถนะ คือคาอะไร ก. ขนาดของการทําความเย็น

ค. ประสิทธิภาพในการทําความเย็น

ข. ขนาดของเครื่องทําความเย็น

ง. ประสิทธิภาพของเครื่องทําความเย็น

4. ประสิทธิ์ภาพการใหความเย็น (EER) มีคาเทาไหร จึงจะประหยัดพลังงานไฟฟา ก. 5.6

ค. 9.5

ข. 8.7

ง. 10.6

5. ขอใดไมใชคุณสมบัติทางเคมีของสารทําความเย็น ก. ความรอนจําเพาะของสารทําความเย็นในสถานะของเหลวมีคาต่ํา ข. ไมเปนพิษ ค. ไมกัดกรอนโลหะ ง. ไมทําปฏิกิริยากับน้ํามันหลอลื่น

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 6. กลุมสารทําความเย็นประเภทใด ที่มีคลอรีนเปนสวนประกอบ ก. กลุมที่ใชกับระบบที่เย็นจัด ข. กลุมสาร HCCs ค. กลุมสารผสม ง. กลุมสาร CFCs 7. สารทําความเย็นในขอใดที่มักใชงานกับเครื่องทําความเย็นขนาดใหญ เชน หองเย็น โรงน้ําแข็ง เปนตน ก. R – 515 ข. R – 717 ค. R – 194 ง. R – 606 8. R-141b ใชถังสารทําความเย็นสีอะไร ก. น้ําเงินเขม ข. ฟาออน ค. ขาว ง. เขียว 9. ขอใด คือ หลักการเบื้องตนของการทําความเย็น ก. การทําใหสารทําความเย็นเกิดการเปลี่ย นแปลงจากของแข็งเปนของแกส ข. การทําใหสารทําความเย็นเกิดการเปลี่ย นแปลงจากของแข็งเปนของเหลว ค. การทําใหสารทําความเย็นเกิดการเปลี่ย นแปลงจากของเหลวเปนของแกส ง. การทําใหสารทําความเย็นเกิดการเปลี่ย นแปลงจากของเหลวเปนของแข็ง 10. วัฏจักรของระบบการทําความเย็นเริ่มจากอุปกรณใ ด ก. คอมเพรสเซอร

ค. ถังพักน้ํายาเหลว

ข. คอนเดนเซอร

ง. เอ็กซแพนชั่นวาลว 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………....... คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3. 4.

4. 5. 6.

5.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

6.

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3. 4.

3.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

4.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 บอกขั้นตอนการตอสายไฟฟา 10 7 แบบสายเดีย่ วและสายตีเกลียวได บอกวิธีการตอสายไฟฟาดวย อุปกรณได บอกขั้นตอนการเขาขั้วสายดวย หางปลา บอกขั้นตอนการใชวายนัทตอ สายได บอกขั้นตอนการใชหลอดตอ สายไฟได บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ประเมินผลภาคทฤษฏี

คะแนนที่ได 5

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได 12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 บอกขั้นตอนการตอสายไฟฟา 10 7 แบบสายเดีย่ วและสายตีเกลียวได บอกวิธีการตอสายไฟฟาดวย อุปกรณได บอกขั้นตอนการเขาขั้วสายดวย หางปลา บอกขั้นตอนการใชวายนัทตอ สายได บอกขั้นตอนการใชหลอดตอ สายไฟได บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ประเมินผลภาคทฤษฏี

คะแนนที่ได 8

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2

ตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียว ได 1. เขาขั้วสายดวยหางปลา และย้ําหางปลาได 2. ใชหลอดตอสายไฟได 3. ใชอุปกรณในการตอสายไฟได ใชวายนัทตอสายได

30

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 21

80

56

70

35

25

23

20

14

15

20

14

10

25

18

24

210

148

162

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ตอสายไฟฟาดวยการบัดกรีได ภาคปฏิบัติที่ 1.4 แบบทดสอบ ตอสายไฟฟาดวยการพันฉนวนได ภาคปฏิบัติที่ 1.5 แบบทดสอบ ตรวจสอบและกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ภาคปฏิบัติที่ 2.1 คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 20

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลว เปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

8

2

16

162

0.381

61.72

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 77.72

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฏี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

10

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 10

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

8 × 2 = 16

คือ

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

=2


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

210

ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 = 0.381 210

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

คือ

162 × 0.381 = 61.72

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 16 + 61.72 = 77.72 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

1. 2. 3.

4.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายหลักการทําความเย็นและ 10 7 สภาวะปรับอากาศได อธิบายวัฏจักรระบบการทําความ เย็นและระบบปรับอากาศได อธิบายความหมายของหนวยวัด ในระบบการทําความเย็นไดอยาง ถูกตอง อธิบายคุณสมบัติของสารทํา ความเย็น การแบงประเภทสาร ทําความเย็น การเลือกใชสารทํา ความเย็น และถังบรรจุสารทํา ความเย็นไดอยางถูกตอง ประเมินผลภาคทฤษฏี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

1. 2. 3.

4.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายหลักการทําความเย็นและ 10 7 สภาวะปรับอากาศได อธิบายวัฏจักรระบบการทําความ เย็นและระบบปรับอากาศได อธิบายความหมายของหนวยวัด ในระบบการทําความเย็นไดอยาง ถูกตอง อธิบายคุณสมบัติของสารทํา ความเย็น การแบงประเภทสาร ทําความเย็น การเลือกใชสารทํา ความเย็น และถังบรรจุสารทํา ความเย็นไดอยางถูกตอง ประเมินผลภาคทฤษฏี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (100 คะแนน)

คะแนนที่ได

คะแนนภาคทฤษฎีที่ไดคูณคา Factor

คา Factor

ผลการ ทดสอบ ผาน ไมผาน (C) (NYC)

10

* หมายเหตุ คะแนนภาคทฤษฎีที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบันทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.