คู่มือการประเมิน ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 1 โมดูล 9

Page 1

หนาปก



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

คูมือการประเมิน 0920164170202 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบาน และการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 2

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 9 09217304 วงจรไฟฟาในเครื่องปรับอากาศ

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

คํานํา คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื ่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ล 9 วงจรไฟฟ า เครื่ อ งปรั บ อากาศฉบั บ นี้ ไดพัฒนาขึ้นภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการ พัฒนาฝมือแรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําไปใช เปนระบบการฝกอบรมตามความสามารถ สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 เพื่อใหตอบสนองความตองการของกําลังแรงงานและตลาดแรงงานไดอยางเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และเพื่อรองรับระบบการ รับรองมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติและระบบการรับรองความรูความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบการ ฝกอบรมนี้ใหแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมายตางๆ ใหกวางขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแงของขอบเขตของการใหบริการและจํานวน ผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

5

แบบทดสอบกอนฝก

6

แบบทดสอบหลังฝก

10

กระดาษคําตอบ

14

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

14

แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หัวขอวิชาที่ 1 0921720401 เครื่องมือวัดงานไฟฟา เครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ หัวขอวิชาที่ 2 0921720402 เครื่องมือวัดทางกล และเครื่องมือสวนบุคคล ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ บันทึกผลการประเมินความสามารถ

16 24 51 56

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการ ฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการ ประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่อ อิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงราง หลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัตแิ กผูรับการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 9 09217304 วงจรไฟฟาในเครือ่ งปรับอากาศ 1. อธิบายหลักการทํางานของวงจร และอุปกรณไฟฟาในเครื่องปรับอากาศได 2. อธิบายขั้นตอนการตรวจสอบอุปกรณวัดวงจรไฟฟา และอุปกรณปองกันของเครื่องปรับอากาศได 3. ตรวจสอบอุปกรณวัดวงจรไฟฟา และอุปกรณปองกันของเครื่องปรับอากาศได 4. อธิบายขั้นตอนการตรวจสอบการลัดวงจร และการรั่วลงดินได

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

แบบทดสอบกอนฝก คําชี้แจง: 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 9 09217304 วงจรไฟฟาในเครื่องปรับอากาศ

L N

1.

จากภาพเปนวงจรไฟฟาเครื่องปรับอากาศแบบใด ก. แบบชิ้นเดียว

ค. แบบแอนะล็อก

ข. แบบติดหนาตาง

ง. แบบแยกสวน

2. มอเตอรคอมเพรสเซอรมีหลักการทํางานอยางไร ก. ดูดสารทําความเย็ นสถานะแก สที่ มีแรงดันและอุณหภูมิต่ํา จากนั้นอัดสารทําความเย็นใหมีแรงดันและอุณหภูมิที่สูง เพื่อสงไปยังคอยลรอน ข. ดูดสารทําความเย็ นสถานะของเหลวที่มีแรงดันและอุณหภูมิสูง จากนั้นอัดสารทําความเย็นใหมีแรงดันและอุณหภูมิ ที่ต่ํา เพื่อสงไปยังคอยลรอน ค. ดูดสารทําความเย็ นสถานะแก สที่ มีแรงดันและอุณหภูมิต่ํา จากนั้นอัดสารทําความเย็นใหมีแรงดันและอุณหภูมิที่สูง เพื่อสงไปยังคอยลเย็น ง. ดูดสารทําความเย็ นสถานะของเหลวที่มีแรงดันและอุณหภูมิต่ํา จากนั้นอัดสารทําความเย็นใหมีแรงดันและอุณหภูมิ ที่สูง เพื่อสงไปยังคอยลเย็น 3. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการทํางานของสวิตชควบคุมความดัน 7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ก. ตอวงจรกับขดลวดรันและขดลวดสตารท กระตุนใหเกิดแรงบิด สงผลใหคอมเพรสเซอรเริ่มทํางาน ข. สามารถหยุดการทํางานของคอมเพรสเซอรเมื่อเกิดความผิดปกติของความดันภายในระบบ ค. ควบคุมอุณหภูมิของหองใหเปนไปตามที่ตั้งคาไว ง. สามารถหยุดการทํางานของคอมเพรสเซอรเมื่อเกิดความผิดปกติของความดันภายนอกระบบ 4. ภาพในขอใดเปนอุปกรณที่ทําหนาที่ระบายความรอนใหกับสารทําความเย็นที่มีสถานะแกส เปลี่ยนเปนสถานะของเหลว

5.

ก.

ค.

ข.

ง.

จากภาพเปนขั้วของโพเทนเชียลรีเลย เมื่อใชมัลติมิเตอรตรวจวัดในตําแหนงที่ 2 กับ 1 ควรวัดคาไดกี่โอหม ก. 0 KΩ

ค. 5.98 KΩ

ข. 2.5 KΩ

ง. 10.98 KΩ

6. ในการตรวจวัดขั้วมอเตอรคอมเพรสเซอร หากคูใดอานคาความตานทานไดสูงสุด แสดงวา ขั้วที่จับคูกับขั้ว C คือ ขั้วใด ก. ขั้ว T

ค. ขั้ว S

ข. ขั้ว N

ง. ขั้ว R

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

7. เมื่อทําการตรวจสภาพของคาปาซิเตอร หากเข็มของโอหมมิเตอรชี้ที่ 0 โอหม แสดงวามีสิ่งใดผิดปกติ ก. คาปาซิเตอรยังคายประจุไมหมด

ค. คาปาซิเตอรปกติ

ข. คาปาซิเตอรลัดวงจรระหวางขั้วทั้งสอง

ง. คาปาซิเตอรเกิดการไหม

8. อุปกรณไฟฟาใดในเครื่องปรับอากาศ ทําหนาที่ปองกันแรงดันไฟฟาในระบบผิดปกติ ก. สวิตชควบคุมความดัน

ค. เฟสโพรเทคชั่น

ข. คาปาซิเตอร

ง. โพเทนเชียลรีเลย

9. ในการตรวจสอบโอเวอรโหลดรีเลย โดยใชโอหมมิเตอรในการวัด ถาคาความตานทานไมปรากฏ แสดงวาเกิดอะไรขึ้น ก. โอเวอรโหลดเกิดการขาดชํารุด

ค. โอเวอรโหลดใชงานไดปกติ

ข. โอเวอรโหลดเกิดความรอนในตัว

ง. โอเวอรโหลดเกิดการลัดวงจร

10. เมื่อมิเตอรไฟฟาทํางาน ขณะที่ปดเครื่องใชไฟฟาทุกเครื่อง แสดงวาเกิดอะไรขึ้น ก. ไมเกิดเหตุขัดของใด ๆ

ค. มิเตอรไฟฟาเกิดการขัดของ

ข. เกิดไฟฟาสถิตขึ้นภายในเครื่องใชไฟฟา

ง. มีกระแสไหลผานหรือเกิดไฟรั่ว

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

แบบทดสอบหลังฝก คําชี้แจง: 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 9 09217304 วงจรไฟฟาในเครื่องปรับอากาศ 1. อุปกรณไฟฟาใดในเครื่องปรับอากาศ ทําหนาที่ปองกันแรงดันไฟฟาในระบบผิดปกติ ก. เฟสโพรเทคชั่น

ค. สวิตชควบคุมความดัน

ข. โพเทนเชียลรีเลย

ง. คาปาซิเตอร

2. ภาพในขอใดเปนอุปกรณที่ทําหนาที่ระบายความรอนใหกับสารทําความเย็นที่มีสถานะแกส เปลี่ยนเปนสถานะของเหลว

ก.

ค.

ข.

ง.

3. เมื่อทําการตรวจสภาพของคาปาซิเตอร หากเข็มของโอหมมิเตอรชี้ที่ 0 โอหม แสดงวามีสิ่งใดผิดปกติ ก. คาปาซิเตอรยังคายประจุไมหมด

ค. คาปาซิเตอรปกติ

ข. คาปาซิเตอรเกิดการไหม

ง. คาปาซิเตอรลัดวงจรระหวางขั้วทั้งสอง

4. ในการตรวจวัดขั้วมอเตอรคอมเพรสเซอร หากคูใดอานคาความตานทานไดสูงสุด แสดงวา ขั้วที่จับคูกับขั้ว C คือ ขั้วใด ก. ขั้ว R

ค. ขั้ว N

ข. ขั้ว T

ง. ขั้ว S

5. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการทํางานของสวิตชควบคุมความดัน ก. ควบคุมอุณหภูมิของหองใหเปนไปตามที่ตั้งคาไว ข. สามารถหยุดการทํางานของคอมเพรสเซอรเมื่อเกิดความผิดปกติของความดันภายนอกระบบ 11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ค. สามารถหยุดการทํางานของคอมเพรสเซอรเมื่อเกิดความผิดปกติของความดันภายในระบบ ง. ตอวงจรกับขดลวดรันและขดลวดสตารท กระตุนใหเกิดแรงบิด สงผลใหคอมเพรสเซอรเริ่มทํางาน 6. เมื่อมิเตอรไฟฟาทํางาน ขณะที่ปดเครื่องใชไฟฟาทุกเครื่อง แสดงวาเกิดอะไรขึ้น ก. เกิดไฟฟาสถิตขึ้นภายในเครื่องใชไฟฟา

ค. มีกระแสไหลผานหรือเกิดไฟรั่ว

ข. ไมเกิดเหตุขัดของใด ๆ

ง. มิเตอรไฟฟาเกิดการขัดของ

7. มอเตอรคอมเพรสเซอรมีหลักการทํางานอยางไร ก. ดูดสารทําความเย็ นสถานะแก สที่ มีแรงดันและอุณหภูมิต่ํา จากนั้นอัดสารทําความเย็นใหมีแรงดันและอุณหภูมิที่สูง เพื่อสงไปยังคอยลเย็น ข. ดูดสารทําความเย็ นสถานะแก สที่ มีแรงดันและอุณหภูมิต่ํา จากนั้นอัดสารทําความเย็นใหมีแรงดันและอุณหภูมิที่สูง เพื่อสงไปยังคอยลรอน ค. ดูดสารทําความเย็ นสถานะของเหลวที่มีแรงดันและอุณหภูมิต่ํา จากนั้นอัดสารทําความเย็นใหมีแรงดันและอุณหภูมิ ที่สูง เพื่อสงไปยังคอยลเย็น ง. ดูดสารทําความเย็ นสถานะของเหลวที่มีแรงดั นและอุณหภูมิสูง จากนั้นอัดสารทําความเย็นใหมีแรงดันและอุณหภูมิ ที่ต่ํา เพื่อสงไปยังคอยลรอน 8. ในการตรวจสอบโอเวอรโหลดรีเลย โดยใชโอหมมิเตอรในการวัด ถาคาความตานทานไมปรากฏ แสดงวาเกิดอะไรขึ้น

9.

ก. โอเวอรโหลดเกิดความรอนในตัว

ค. โอเวอรโหลดเกิดการขาดชํารุด

ข. โอเวอรโหลดใชงานไดปกติ

ง. โอเวอรโหลดเกิดการลัดวงจร

จากภาพเปนขั้วของโพเทนเชียลรีเลย เมื่อใชมัลติมิเตอรตรวจวัดในตําแหนงที่ 2 กับ 1 ควรวัดคาไดกี่โอหม ก. 10.98 KΩ

ค. 2.5 KΩ

ข. 5.98 KΩ

ง. 0 KΩ

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

L N

10.

จากภาพเปนวงจรไฟฟาเครื่องปรับอากาศแบบใด ก. แบบติดหนาตาง

ค. แบบชิ้นเดียว

ข. แบบแยกสวน

ง. แบบแอนะล็อก

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9 คะแนนที่ได

กระดาษคําตอบ

คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………....... คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

หัวขอวิชาที่ 1 0921730401 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.1 วงจรไฟฟาของเครื่องปรับอากาศ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - อธิบายหลักการทํางานของวงจร และอุปกรณไฟฟาในเครื่องปรับอากาศได 2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 3 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเขียนวงจรไฟฟาของเครื่องปรับอากาศที่กําหนดใหสมบูรณ

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.1 วงจรไฟฟาของเครื่องปรับอากาศ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - แบบทดสอบ

จํานวน 1 แผน

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ดินสอสําหรับเขียนวงจรไฟฟา 2. ไมบรรทัด 3. ยางลบ

จํานวน 1 แทง จํานวน 1 อัน จํานวน 1 กอน

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2. ลําดับการทดสอบ 2.1 วงจรไฟฟาของเครื่องปรับอากาศ ขั้นตอนการทดสอบ 1. เขียนวงจรคอยลรอน

คําอธิบาย เขียนวงจรในสวนของคอยลรอน กอน

2. เขียนวงจรจากเซอรกิตเบรกเกอรไปยัง เทอรมินอล แมกเนติคคอนแทกเตอร และโพ เทนเชียลรีเลย

เขียนวงจรจากเซอรกิตเบรกเกอร ฝงคอยลเย็นไปยังเทอรมินอลและ แมคเนติกคอนแทคเตอร จากนั้น เขียนวงจรจากแมคเนติกคอนแทค เตอร ต อ เนื่ อ งไปยั ง ขั้ ว 5 ของโพ เทนเชียลรีเลย

3. เขียนวงจรจากแมคเนติกคอนแทคเตอร เขาสู เขียนวงจรจากแมคเนติกคอนแทค มอเตอรคอมเพรสเซอร และคาปาซิเตอรพัดลม เตอร เขาสูมอรเตอร คอมเพรสเซอร ผานขั้ว C S และ R และคาปาซิเตอรพัดลม

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการทดสอบ 4. เขียนวงจรโดยเชื่อมสายจากมอเตอร คอมเพรสเซอรตอเขากับคาปาซิเตอร คอมเพรสเซอร

คําอธิบาย เขียนวงจรมอเตอรคอมเพรสเซอร ใหเชื่อมตอกับคาปาซิเตอร คอมเพรสเซอร

5. เขียนวงจรจากมอเตอรคอมเพรสเซอร ไปโพ เทนเชียลรีเลยเพื่อตอวงจรไปยังคาปาซิเตอร แบบสตารท

เขียนวงจรตอเนื่องจากมอเตอร คอมเพรสเซอรไปยังขั้ว 2 โพเทน เชียลรีเลยเพื่อตอวงจรไปยังคาปา ซิเตอรแบบสตารท

6. เขียนวงจรจากคาปาซิเตอรแบบสตารทไปยัง ตอวงจรจากคาปาซิเตอรแบบ จุดตัดเพื่อเชื่อมตอคาปาซิเตอรคอมเพรสเซอร สตารทไปยังจุดตัดเพื่อเชื่อมตอคา มอรเตอรคอมเพรสเซอร และคาปาซิเตอรพัดลม ปาซิเตอรคอมเพรสเซอร มอเตอร คอมเพรสเซอร และคาปาซิเตอร พัดลม

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการทดสอบ 7. ตรวจสอบวงจรในสวนของคอยลรอน

คําอธิบาย ตรวจความครบถวนของวงจรใน สวนของคอยลรอนอีกครั้งกอนเริ่ม เขียนวงจรคอยลเย็น

8. เขียนวงจรคอยลเย็น

เขียนวงจรคอยลเย็นตอจากวงจร คอยลรอน

9. เขียนวงจรจากสาย L และ N จากเซอรกิต เบรกเกอร ไปยังกลองควบคุม

เขียนวงจรจากสาย L และ N จาก เซอรกิตเบรกเกอร ไปยังกลอง ควบคุม (ซึ่งภายในจะมีหนาสัมผัส ของเทอรโมสตัทอยู โดยตอที่ขั้ว C ทําหนาที่ควบคุมอุณหภูมิภายใน หอง)

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการทดสอบ 10. เขียนวงจร HI ME และ LO ตอไปยัง มอเตอรพัดลมคอยลเย็น และคาปาซิเตอร และ ตอวงจรที่เหลือจากคาปาซิเตอรไปยังเซอรกิต เบรกเกอร

คําอธิบาย เขียนวงจร HI ME และ LO ตอไป ยังมอเตอรพัดลมคอยลเย็น และ คาปาซิเตอรแบบรัน และตอวงจร ที่เหลือจากคาปาซิเตอรแบบรันไป ยังเซอรกิตเบรกเกอร

11. เขียนวงจรขั้ว C จากกลองควบคุมไปฝง คอยลเย็น

เขียนวงจรขั้ว C จากกลอง ควบคุมไปยังแมคเนติกคอนแทค เตอรที่คอนเดนซิ่งยูนิต

12. ตรวจความเรียบรอยของวงจร

ตรวจความเรียบรอยของวงจรที่ เขียนอีกครั้ง จากนั้นสงใบงานให ครูฝกประเมิน

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การเขียนไดอะแกรม วงจรไฟฟาเครื่องปรับอากาศ 1.1 ความถูกตองในการเขียนวงจรไดอะแกรม

2

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 บันทึกผลลงในแบบบันทึกผล

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.2 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณเขาที่เรียบรอย

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.3 การทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 วงจรของคอยลรอน 1.2 วงจรของคอยลเย็น 2

กิจนิสัย 2.1 บันทึกผลลงในแบบบันทึกผล 2.2 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณเขาที่ เรียบรอย 2.3 การทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน

เกณฑการใหคะแนน - เขียนวงจรไดถูกตองทุกสวน ใหคะแนน 5 คะแนน - เขียนวงจรผิด ตัดคะแนนจุดละ 1 คะแนน - เขียนวงจรไดถูกตองทุกสวน ใหคะแนน 5 คะแนน - เขียนวงจรผิด ตัดคะแนนจุดละ 1 คะแนน

คะแนนเต็ม 10 5

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5 3 1 1 1 13

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

หัวขอวิชาที่ 2 0921730402 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.1 การตรวจสอบอุปกรณและวงจรไฟฟาของเครื่องปรับอากาศ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ตรวจสอบอุปกรณวัดวงจรไฟฟา และอุปกรณปองกันของเครื่องปรับอากาศได

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบรวม 2 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบการทํางานของเครื่องปรับอากาศพรอมบันทึกผลการทดลอง 1. ตรวจสอบขั้วคอมเพรสเซอร 2. ตรวจสอบโพเทนเชียลรีเลย 3. ตรวจสอบแมคเนติกคอนแทคเตอร 4. ตรวจสอบมอเตอรพัดลมคอยลรอน 5. ตรวจสอบมอเตอรพัดลมคอยลเย็น 6. ตรวจสอบตัวควบคุมอุณหภูมิ (เทอรโมสตัท) 7. ตรวจสอบคาปาซิเตอร 8. ทดสอบสวิตซเลือก หรือ ชุดควบคุมทางไฟฟา

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

1. ตารางบันทึกผลการตรวจขั้วคอมเพรสเซอร ขั้วคอมเพรสเซอรคูที่ 1 กับ 2 1 กับ 3 2 กับ 3

คาความตานทานที่วัดได

สรุปขั้ว

2. ตารางบันทึกผลการตรวจสอบโพเทนเชียลรีเลย ขั้วที่ตรวจสอบ

สรุป

คาความตานทาน

ดี

เสีย

1-2 2-5 3. ตารางบันทึกผลการตรวจสอบแมคเนติกคอนแทคเตอร ขั้วที่ตรวจสอบ

สรุป

คาความตานทาน

ดี

เสีย

A1-A2 1-2 3-4 4. ตารางบันทึกผลการตรวจสอบมอเตอรพัดลมคอยลรอน ขั้วที่ตรวจสอบ

สรุป

คาความตานทาน

ดี

1-2 1-3 2-3

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เสีย


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

5. ตารางบันทึกผลการตรวจสอบมอเตอรพัดลมคอยลเย็น ขั้วที่ตรวจสอบ

สรุป

คาความตานทาน

ดี

เสีย

1-2 1-3 1-4 1-5 2-3 2-4 2-5 3-4 3-5 4-5 6. ตารางบันทึกผลการตรวจสอบเทอรโมสตัท ตัวควบคุมอุณหภูมิ ตัวที่

ชื่อ/รุน Cut In/Cut Out

ตําแหนง ปรับตัว

คาความ คาจากการทดลอง ตานทาน ขึ้น ไมขึ้น Cut In Cut (°F) Out (°F)

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

หลอดไฟ ติด

ดับ

สรุปผล การตรวจสอบ ดี เสีย


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

7. ตารางบันทึกผลการตรวจคาปาซิเตอร คาปาซิเตอร

ตัวที่ 1 2

ชื่อ

ลักษณะโครงสราง

สี

รูปทรง

ความ พิกัด ผลจากการวัด จุ แรงดัน ดวยโอหมมิเตอร (MF.) (V)

ชนิด

สรุปผลการ ตรวจสอบ ดี

เสีย

8. ตารางบันทึกผลการตรวจชุดควบคุมทางไฟฟา การปรับรีโมท

การแสดงผล

สรุป ดี

เสีย

Off On Low On Medium On High Cool บันทึกผลการตรวจสอบ ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... สรุปผลการตรวจสอบ ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... 27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.1 การตรวจสอบอุปกรณและวงจรไฟฟาของเครื่องปรับอากาศ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวาง กีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เกลือ

จํานวน 30 กรัม

2. ไขควง

จํานวน 1 อัน

3. คีม

จํานวน 1 อัน

4. น้ําแข็ง

จํานวน 100 กรัม

5. บีกเกอร

จํานวน 1 บีกเกอร

6. มัลติมิเตอร

จํานวน 1 เครื่อง

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. คอมเพรสเซอร

จํานวน 1 ตัว

2. คาปาซิเตอร

จํานวน 1 ตัว

3. ตัวควบคุมอุณหภูมิ (เทอรโมสตัท)

จํานวน 1 ตัว 28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

4. โพเทนเชียลรีเลย

จํานวน 1 ตัว

5. มอเตอรพัดลมคอยลเย็น

จํานวน 1 ตัว

6. มอเตอรพัดลมคอยลรอน

จํานวน 1 ตัว

7. แมคเนติกคอนแทคเตอร

จํานวน 1 ตัว

8. สวิตซเลือก หรือ ชุดควบคุมทางไฟฟา

จํานวน 1 ตัว

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2. ลําดับการทดสอบ 2.1 การตรวจสอบขั้วคอมเพรสเซอร ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ปรับยานวัดของมัลติมิเตอรไปที่ Rang R × 1 หรือ 10 หรือ 200 โอหม

คําอธิบาย ขอควรระวัง ทําการตรวจขั้วคอมเพรสเซอรโดย กรณีที่ใชมัลติมิเตอรแบบเข็มให ปรั บ ย า นวั ด ของมั ล ติ มิ เ ตอร ไ ปที่ ทดสอบ Zero โดยใหเข็มชี้ตรงเลข Rang R × 1 หรื อ 10 หรื อ 200 0 โอหม

2. กําหนดจุด 3 จุด แทนตําแหนงขั้ว คอมเพรสเซอร

กํ า หนดจุ ด เป น สามเหลี่ ย มบน กระดาษ โดยแบงเปนขั้วที่ 1 2 และ 3

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. ตรวจขั้ว 1 กับ 2 แลวบันทึกผล

คําอธิบาย ขอควรระวัง ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน ไมควรใหรางกายสัมผัส กับ เข็มวัด ระหวางขั้ว 1 กับ 2 บันทึกผล และอุปกรณที่กําลังจะวัด เนื่องจาก ค า ความต า นทานภายในร า งกาย อาจทําใหคาความตานทานที่วัด ได คลาดเคลื่อน

4. ตรวจขั้ว 1 กับ 3 แลวบันทึกผล

ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน ระหวางขั้ว 1 กับ 3 บันทึกผล

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ตรวจขั้ว 2 กับ 3 แลวบันทึกผล

คําอธิบาย ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน ระหวางขั้ว 2 กับ 3 บันทึกผล

6. กําหนดขั้ว C ขั้ว S และขั้ว R แทน ตําแหนงขั้ว 1 ขั้ว 2 และ ขั้ว 3

กําหนดขั้ว C ขั้ว S และขั้ว R จากคู ที่วัดคาความตานทานไดสูงสุด ขั้วที่ อยูตรงขามจะเปนขั้ว C จากนั้นโดย ทางเทคนิค ขั้ว S จะมีคารองลงมา และขั้ว R จะมีคานอยที่สุด

7. บันทึกผล และสงครูฝก

บันทึกผลลงในใบงาน และสงครูฝก เพื่อรับการประเมิน

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2.2 การตรวจสอบโพเทนเชียลรีเลย ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ปรับยานวัดของมัลติมิเตอรไปที่ Range Rx10 โอหม

คําอธิบาย ปรับยานมัลติมิเตอรไปที่ R x10

2. วัดขั้วที่ 2 กับขั้วที่ 5 ซึ่งเปนคอยล แลว บันทึกผล

ใช มั ล ติ มิ เ ตอร วั ด ขั้ ว 2 กั บ ขั้ ว 5 ไมควรใหรางกายสัมผัสกับเข็มวัด จากนั้ น บั น ทึ ก ผลลงในตารางที่ และอุปกรณที่กําลังจะวัด เนื่องจาก กําหนดให คาความตานทานภายในรางกาย อาจทําใหคาความตานทานที่วัดได คลาดเคลื่อน

3. ปรับยานวัดของมัลติมิเตอรไปที่ Range Rx1 โอหม วัดขั้วที่ 1 กับขั้วที่ 2 แลวบันทึก ผล

ปรั บ ย า นวั ด ของมั ล ติ มิ เ ตอร ไ ปที่ Rang Rx1 โอหม ใชมัลติมิเตอรวั ด ขั้ว 1 กับ 2 จากนั้นบันทึกผลลงใน ตารางที่กําหนดให

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. สรุปผลการตรวจสอบ

คําอธิบาย สรุ ป ผลการตรวจสอบว า โพเทน เชียลรีเลยดีหรือไม

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2.3 การตรวจสอบแมกเนติกคอนแทคเตอร ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ปรับยานวัดของมัลติมิเตอรไปที่ Range Rx10 โอหม

คําอธิบาย ปรับยานมัลติมิเตอรไปที่ Rx1 หรือ 10

2. วัดขั้ว A1 กับขั้ว A2

ใช มัล ติมิเตอรวัดขั้ว A1 กับ ขั้ ว A2 ไมควรใหรางกายสัมผัสกับเข็มวัด จากนั้ น บั น ทึ ก ผลลงในตารางที่ และอุปกรณที่กําลังจะวัด เนื่องจาก กําหนดให คาความตานทานภายในรางกาย อาจทําใหคาความตานทานที่วัดได คลาดเคลื่อน

3. วัดขั้วที่ 1 กับขั้วที่ 2

ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 1 กับ 2 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. วัดขั้วที่ 3 กับขั้วที่ 4

คําอธิบาย ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 3 กับ 4 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

5. กดปุมสีดําเพื่อตอหนาสัมผัส จากนั้นวัดขั้ว กดปุ ม สี ดํ า บนตั ว แมกเนติ ก คอน ที่ 1 กับขั้วที่ 2 แทคเตอร เพื่อใหหนาสัมผัสเปลี่ยน สถานะ และใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 1 กับ 2 จากนั้นบันทึกผลลงในตาราง ที่กําหนดให

6. กดปุมสีดําเพื่อตอหนาสัมผัส จากนั้นวัดขั้ว กดปุ ม สี ดํ า บนตั ว แมกเนติ ก คอน ที่ 3 กับขั้วที่ 4 แทคเตอร เพื่อใหหนาสัมผัสเปลี่ยน สถานะ และใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 3 กับ 4 จากนั้นบันทึกผลลงในตาราง ที่กําหนดให

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 7. สรุปผลการตรวจสอบ

คําอธิบาย สรุปผลการตรวจสอบวาแมกเนติก คอนแทคเตอรดีหรือไม

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2.4 การตรวจสอบมอเตอรพัดลมคอยลรอน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คําอธิบาย 1. ปรั บ ย านวั ด ของมั ล ติ มิเ ตอร ไปที่ Range ปรับยานมัลติมิเตอรไปที่ Rx1 หรือ Rx10 โอหม 10

ขอควรระวัง

2. วัดขั้วที่ 1 กับขั้วที่ 2

ใช มั ล ติ มิ เ ตอร วั ด ขั้ ว 1 กั บ ขั้ ว 2 ไมควรใหรางกายสัมผัสกับเข็มวัด จากนั้ น บั น ทึ ก ผลลงในตารางที่ และอุปกรณที่กําลังจะวัด เนื่องจาก กําหนดให คาความตานทานภายในรางกาย อาจทําใหคาความตานทานที่วัดได คลาดเคลื่อน

4. วัดขั้วที่ 1 กับขั้วที่ 3

ใชมัลติมิเตอรวดั ขั้ว 1 กับ 3 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

6. วัดขั้วที่ 2 กับขั้วที่ 3

ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 2 กับ 3 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. สรุปผลการตรวจสอบ

คําอธิบาย สรุปผลการตรวจวามอเตอรพัดลม คอยลรอนดีหรือไม

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2.5 การตรวจสอบมอเตอรพัดลมคอยลเย็น ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คําอธิบาย 1. ปรั บ ย านวั ด ของมั ล ติ มิเ ตอร ไปที่ Range ปรับยานมัลติมิเตอรไปที่ Rx1 หรือ Rx10 โอหม 10

ขอควรระวัง

2. วัดขั้วที่ 1 กับขั้วที่ 2

ใช มั ล ติ มิ เ ตอร วั ด ขั้ ว 1 กั บ ขั้ ว 2 ไมควรใหรางกายสัมผัสกับเข็มวัด จากนั้ น บั น ทึ ก ผลลงในตารางที่ และอุปกรณที่กําลังจะวัด เนื่องจาก กําหนดให คาความตานทานภายในรางกาย อาจทําใหคาความตานทานที่วัดได คลาดเคลื่อน

3. วัดขั้วที่ 1 กับขั้วที่ 3

ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 1 กับ 3 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. วัดขั้วที่ 1 กับขั้วที่ 4

คําอธิบาย ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 1 กับ 4 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

5. วัดขั้วที่ 1 กับขั้วที่ 5

ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 1 กับ 5 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

6. วัดขั้วที่ 2 กับขั้วที่ 3

ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 2 กับ 3 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

7. วัดขั้วที่ 2 กับขั้วที่ 4

ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 2 กับ 4 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. วัดขั้วที่ 2 กับขั้วที่ 5

คําอธิบาย ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 2 กับ 5 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

9. วัดขั้วที่ 3 กับขั้วที่ 4

ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 3 กับ 4 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

10. วัดขั้วที่ 3 กับขั้วที่ 5

ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 3 กับ 5 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

11. วัดขั้วที่ 4 กับขั้วที่ 5

ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 4 กับ 5 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 12. สรุปผลการตรวจสอบ

คําอธิบาย สรุปผลการตรวจวามอเตอรพัด ลม คอยลเย็นดีหรือไม

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2.6 การตรวจสอบตัวควบคุมอุณหภูมิ (เทอรโมสตัท) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. บันทึกคาแผนปายจากกลองควบคุม

คําอธิบาย นําตัวควบคุมอุณหภูมิ หรือ เทอรโมสตัท มาศึกษา สวนประกอบและบันทึกคาแผน ปาย

2. ปรับตัวควบคุมไปตําแหนงสูงสุด แลววัดคา ความตานทาน พรอมบันทึกผล

ปรั บ ตั ว ควบคุ ม อุ ณ หภู มิ ไ ปที่ ตํ า แหน ง สู ง สุ ด (หมุ น ตามเข็ ม นาฬิกา) แลวใชโอหมมิเตอรวัดคา ความตานทานที่ขั้วไฟฟาของตั ว ควบคุ ม อุ ณ หภู มิ จากนั้ น บั น ทึ ก ผลการทดลอง (ขณะนี้ยังไมจาย แรงดันไฟฟาเขากลองควบคุม)

3. ตอวงจรไปยังหลอดไฟและแหลงจายไฟ

ทํ า การต อ วงจรจากตั ว ควบคุ ม อุ ณ หภู มิ ไ ปยั ง หลอดไฟฟ า และ แหลงจายไฟ 220 V

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. ใหครูฝกตรวจความพรอมเพื่อปองกันอันตราย

คําอธิบาย ขอควรระวัง ใหครูฝกตรวจความพรอมในการ อันตรายจากไฟฟาอาจทําให จ า ยไฟฟ า เพื่ อ ให ว งจรไฟฟ า เสียชีวิตได ควรตรวจสอบความ ทํางาน ปลอดภัยในการทดลอง และมี ครูฝกดูแลอยางใกลชิด

5. จายไฟใหวงจร หลอดไฟจะติด ตัวควบคุม อุณหภูมิอยูในชวง Cut In

จ า ยไฟให แ ก ว งจรไฟฟ า โดย ห ล อ ด ไ ฟ จ ะ ติ ด ตั ว ค ว บ คุ ม อุณหภูมิอยูในชวง Cut In

6. นําสวนปลายของตัวควบคุมอุณหภูมิแชลงใน บีกเกอรที่ใสน้ําแข็งและเกลือ

นํ า ส ว นปลายของตั ว ควบคุ ม อุ ณ หภู มิ แ ช ล งในบี ก เกอร ที่ ใ ส น้ําแข็งและเกลือไว

7. บันทึกคาอุณหภูมิ ที่จุด Cut Out

บันทึกคาอุณหภูมิขณะที่ ตัวควบคุมอุณหภูมิทํางานที่ ฃจุ ด Cut Out โดยวงจรจะตั ด และหลอดไฟดับ

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คําอธิบาย 8. นําสวนปลายที่แชในบีกเกอรออก เมื่ออุณหภูมิ นํ า ส ว นปลายของตั ว ควบคุ ม สูงขึ้นใหบันทึกคาที่จุด Cut In เมื่อหลอดไฟติด อุ ณ ห ภู มิ อ อ ก จ า ก น้ํ า แ ข็ ง ปล อ ยทิ้ ง ไว ใ ห อุ ณ หภู มิ สู ง ขึ้ น บั น ทึ ก ค า อุ ณหภู มิ ข ณ ะ ที่ ตั ว ควบคุมอุณหภูมิทํางานที่จุด Cut In ว ง จ ร ไ ฟ ฟ า ต อ แ ล ะ หลอดไฟติด 9. ปรับตัวอุณหภูมิไฟที่ตําแหนงกึ่งกลาง ทดลอง ปรั บ ตั ว อุ ณ หภู มิ ไ ฟที่ ตํ า แหน ง ทําใหมอีกครั้ง กึ่ ง กลาง ทดลองทํ า ใหม อี ก ครั้ ง ตั้งแตขั้นตอนที่ 2-7

10. สรุปผลการตรวจสอบ

สรุปผลการตรวจสอบ

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2.7 การตรวจสอบคาปาซิเตอร ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ดิสชารจประจุ

คําอธิบาย นําคาปาซิเตอรมาดิส ชารจประจุ โดยใหสายไฟแตะกับขั้วทั้ง 2 ขั้ว

2. ปรับยานมัลติมิเตอรไปที่ Rx10 แลววัดที่ขั้ว ของคาปาซิเตอร

นํามัลติมิเตอรมาตั้ง Range Rx10 แลววัดที่ขั้วทั้งสองขางของ คาปาซิเตอร สังเกตผล และ บันทึกผล

3. ในกรณีที่ใชมัลติมิเตอรแบบเข็ม หากเข็มไม ถาเข็มของมัล ติมิเตอรไ มขึ้ น หรื อ ขึ้นหรือขึ้นนอยใหปรับยาน Range เปน Rx100 ขึ้ น น อ ยไปให ป รั บ Range เป น หรือ Rx10K Rx100 หรือ Rx10K

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. ดิสชารจประจุอีกครั้ง

คําอธิบาย ทําการดิสชาจนประจุอีกครั้ง

5. วัดที่ขั้วของคาปาซิเตอรทั้งสองขาง

ทําการวัดขั้วทั้งสองขาง

6. สรุปผลการตรวจสอบ

จากนั้นบันทึกผล และสรุปผลที่ได วาคาปาซิเตอรดีหรือไม

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2.8 การทดสอบสวิตชเลือก หรือ ชุดควบคุมทางไฟฟา ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตอวงจรตามแบบที่กําหนดให

คําอธิบาย ตอวงจรตามรูป

2. On เซอรกิตเบรกเกอร แลวปรับรีโมท คอนโทรล

On เซอรกิตเบรกเกอร แลว ปรับรีโมทคอนโทลควบคุมความเร็ว พัดลมจากนั้นบันทึกผล

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คําอธิบาย 3. ปรับอุณหภูมิที่ 25 องศา และปรับโหมด ปรับอุณหภูมิที่ 25 องศา และ เปน Cool ปรับโหมดเปน Cool รอประมาณ 5 นาทีแลวบันทึกผล

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ รายการตรวจสอบ 1 ตรวจสอบอุปกรณและวงจรไฟฟาของเครื่องปรับอากาศ

2

เกณฑการพิจารณา

1.1 ตรวจสอบขั้วคอมเพรสเซอร

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 ตรวจสอบโพเทนเชียลรีเลย

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 ตรวจสอบแมคเนติกคอนแทคเตอร

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 ตรวจสอบมอเตอรพัดลมคอยลรอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.5 ตรวจสอบมอเตอรพัดลมคอยลเย็น

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.6 ตรวจสอบตัวควบคุมอุณหภูมิ (เทอรโมสตัท)

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.7 ตรวจสอบคาปาซิเตอร

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.8 ทดสอบสวิตซเลือก หรือ ชุดควบคุมทางไฟฟา

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 ตรวจสอบขั้วคอมเพรสเซอร

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม 40

- ตรวจสอบไดถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลไดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อน 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อนตั้งแต 3 หนวยขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน 1.2 ตรวจสอบโพเทนเชียลรีเลย

- ตรวจสอบไดถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลไดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อน 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อนตั้งแต 3 หนวยขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน 1.3 ตรวจสอบแมคเนติกคอนแทคเตอร

- ตรวจสอบไดถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลไดไดถูกตอง ใหคะแนน 5

5

คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อน 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อนตั้งแต 3 หนวยขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน 1.4 ตรวจสอบมอเตอรพัดลมคอยลรอน

- ตรวจสอบไดถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลไดไดถูกตอง ใหคะแนน 5

5

คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อน 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อนตั้งแต 3 หนวยขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน 1.5 ตรวจสอบมอเตอรพัดลมคอยลเย็น

- ตรวจสอบไดถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลไดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อน 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อนตั้งแต 3 หนวยขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ลําดับที่

รายการประเมิน เกณฑการใหคะแนน 1.6 ตรวจสอบตัวควบคุมอุณหภูมิ (เทอรโมสตัท) - ตรวจสอบไดถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลไดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนนเต็ม 5

- ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อน 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อนตั้งแต 3 หนวยขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน 1.7 ตรวจสอบคาปาซิเตอร

- ตรวจสอบไดถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลไดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อน 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อนตั้งแต 3 หนวยขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน 1.8 ทดสอบสวิตซเลือกหรือ ชุดควบคุมทางไฟฟา - ตรวจสอบไดถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลไดไดถูกตอง ใหคะแนน 5

5

คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อน 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อนตั้งแต 3 หนวยขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน ครบถวน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบตั ิงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํา ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

คะแนนเต็ม

45

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 บอกขั้นตอนการตอสายไฟฟา 10 7 แบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได บอกวิธีการตอสายไฟฟาดวย อุปกรณได บอกขั้นตอนการเขาขั้วสายดวย หางปลา บอกขั้นตอนการใชวายนัทตอ สายได บอกขั้นตอนการใชหลอดตอ สายไฟได บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ประเมินผลภาคทฤษฏี

คะแนนที่ได 5

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได 54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 บอกขั้นตอนการตอสายไฟฟา 10 7 แบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได บอกวิธีการตอสายไฟฟาดวย อุปกรณได บอกขั้นตอนการเขาขั้วสายดวย หางปลา บอกขั้นตอนการใชวายนัทตอ สายได บอกขั้นตอนการใชหลอดตอ สายไฟได บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ประเมินผลภาคทฤษฏี

คะแนนที่ได 8

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2

ตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียว ได 1. เขาขั้วสายดวยหางปลา และย้ําหางปลาได 2. ใชหลอดตอสายไฟได 3. ใชอุปกรณในการตอสายไฟได ใชวายนัทตอสายได

30

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 21

80

56

70

35

25

23

20

14

15

20

14

10

25

18

24

210

148

162

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ตอสายไฟฟาดวยการบัดกรีได ภาคปฏิบัติที่ 1.4 แบบทดสอบ ตอสายไฟฟาดวยการพันฉนวนได ภาคปฏิบัติที่ 1.5 แบบทดสอบ ตรวจสอบและกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ภาคปฏิบัติที่ 2.1 คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 20

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลว เปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ 56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

8

2

16

162

0.381

61.72

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 77.72

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฏี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

10

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 10

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

8 × 2 = 16

คือ

=2

สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

210 57

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ ∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

80 = 0.381 210 162 × 0.381 = 61.72

คือ

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 16 + 61.72 = 77.72 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายหลักการทํางานของวงจร และอุปกรณไฟฟาใน เครื่องปรับอากาศได 2. อธิบายขั้นตอนการตรวจสอบ อุปกรณวัดวงจรไฟฟา และ อุปกรณปองกันของ เครื่องปรับอากาศได 3. ตรวจสอบอุปกรณวัดวงจรไฟฟา และอุปกรณปองกันของ เครื่องปรับอากาศได 4. อธิบายขั้นตอนการตรวจสอบ การลัดวงจร และการรั่วลงดินได

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 10 7

ประเมินผลภาคทฤษฏี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายหลักการทํางานของวงจร และอุปกรณไฟฟาใน เครื่องปรับอากาศได 2. อธิบายขั้นตอนการตรวจสอบ อุปกรณวัดวงจรไฟฟา และ อุปกรณปองกันของ เครื่องปรับอากาศได 3. ตรวจสอบอุปกรณวัดวงจรไฟฟา และอุปกรณปองกันของ เครื่องปรับอากาศได 4. อธิบายขั้นตอนการตรวจสอบ การลัดวงจร และการรั่วลงดินได

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 10 7

ประเมินผลภาคทฤษฏี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.1

ผลลัพธการเรียนรู

13

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 8

45

32

58

40

คะแนนเต็ม

อธิบายหลักการทํางานของวงจร และ อุปกรณไฟฟาในเครื่องปรับอากาศได ตรวจสอบอุปกรณวัดวงจรไฟฟา และ อุปกรณปองกันของเครื่องปรับอากาศได คะแนนรวมภาคปฏิบัติ ประเมินผลภาคปฏิบัติ

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC)

2 1.379

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบันทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.