คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
คู่มือการประเมิน 0920164170202 สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2
ชุดการฝึกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝึกที่ 11 09217313 การวิเคราะห์และแก้ไขข้อขัดข้องของ เครื่องปรับอากาศ กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
คานา คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดูลที่ 11 การ วิเคราะห์และแก้ไขข้อขัดข้องของเครื่องปรับอากาศ ฉบับนี้ ได้ พั ฒ นาขึ้ น ภายใต้ โ ครงการพั ฒ นาระบบฝึ ก และชุ ด การฝึ ก ตามความสามารถ เพื่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนาไปใช้เป็นระบบการฝึกอบรมตามความสามารถ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ ขนาดเล็ก ระดับ 2 เพื่ อ ให้ ต อบสนองความต้ อ งการของกาลั ง แรงงานและตลาดแรงงานได้ อ ย่ า งเหมาะสมมาก ยิ่ ง ขึ้ น และเพื่ อ รองรั บ ระบบการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติและระบบการรับรองความรู้ความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อส่งมอบระบบการฝึกอบรมนี้ให้แก่กาลังแรงงานกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ให้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแง่ของขอบเขต ของการให้บริการและจานวนผู้รับบริการ ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่งเสริมให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถฝึกฝนเรียนรู้ ได้ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลาย ไปให้แก่ ผู้รับการฝึกอบรม และต้องการให้ผู้รับการฝึกอบรมเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง การฝึกปฏิ บัติจะดาเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน้ น ผลลั พธ์การฝึ กอบรมในการที่ทาให้ ผู้ รับ การฝึ กอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติ ง าน ตามที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยยึดความสามารถของผู้รับการฝึกเป็นหลัก การฝึกอบรมในระบบดังกล่าว จึงเป็นรูปแบบ การฝึกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ละสาขาอาชีพ จะถูกกาหนดเป็นรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับการฝึกอบรมจาเป็น ต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และสอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึกจะต้องเรียนรู้และฝึกฝน จนกว่ า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได้ ตามมาตรฐานที่ กาหนดในแต่ ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส่ ง มอบการฝึ ก สามารถดาเนินการได้ทั้งรูปแบบการเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Paper Based) และผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ (Computer Based) โดยผู้ รั บ การฝึ ก สามารถเรี ย นรู้ ไ ด้ ด้ ว ยตนเอง (Self-Learning) ที่ บ้ า นหรื อ ที่ ทางาน และเข้ า รั บ การฝึ ก ภาคปฏิ บั ติ ตามความพร้อม ตามความสะดวกของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผล ความรู้ ค วามสามารถกั บ หน่ ว ยฝึ ก โดยมี ค รู ฝึ ก หรื อ ผู้ ส อนคอยให้ คาปรึ ก ษา แนะนาและจั ด เตรี ย มการฝึ ก ภาคปฏิ บั ติ รวมถึงจัดเตรียมและดาเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่าง ๆ อันจะทาให้สามารถเพิ่มจานวนผู้รับการฝึกได้มากยิ่งขึ้น ช่ ว ยประหยั ด เวลาในการเดิ น ทาง และประหยั ด งบประมาณค่ า ใช้ จ่ า ยในการพั ฒ นาฝี มื อ แรงงานให้ แ ก่ กาลั ง แรงงาน ในระยะยาว จึ ง ถื อ เป็ น รู ป แบบการฝึ ก ที่ มี ค วามสาคั ญ ต่ อ การพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน ทั้ ง ในปั จ จุ บั น และอนาคต ซึ่งหากมีการนาระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยทาให้ประชาชน ผู้ใ ช้แรงงาน ผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และ ผู้ประกอบอาชีพอิสระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
สารบัญ เรื่อง
หน้า
คานา
ก
สารบัญ
ข
ข้อแนะนา
1
ผลลัพธ์การเรียนรู้
5
แบบทดสอบก่อนฝึก
6
แบบทดสอบหลังฝึก
11
กระดาษคาตอบ
14
เฉลยคาตอบแบบทดสอบก่อนฝึก-หลังฝึก
15
แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หัวข้อวิชาที่ 3 0921731303 วิธีการปรับและติดตั้งความแตกต่างของช่วงการทางาน อุปกรณ์ควบคุมความดัน หัวข้อวิชาที่ 4 0921731304 ข้อบกพร่องที่เกิดจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว และแคปปิลลารี่ทิ้วป์ ตัวอย่างบันทึกผลการประเมินความสามารถ บันทึกผลการประเมินความสามารถ
ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
16 25
35 40
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
ข้อแนะนา ข้อแนะนา คือ คาอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใช้คู่มือการประเมิน เพื่อนาไปใช้ในการประเมินผลผ่านการฝึกโมดูลของผู้รับการ ฝึก โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. ผังการฝึกอบรม
1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบของคู่มือการ ประเมินที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทาบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมิน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่ อ ด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 4) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันสอบและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องสอบ - ครูฝึกกาหนดวันสอบให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ก่อนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝึกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 3) ครูฝึกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบให้คะแนนการตรวจสอบของคู่มือการประเมินที่พิมพ์จากสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 5) ครูฝึกประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่าง หลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 6) ครูฝึกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก
2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนนและการระบุความสามารถด้านความรู้ ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ต่ากว่าร้อยละ 70
เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)
3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนนและการระบุความสามารถด้านทักษะ ดังนี้ เกณฑ์การประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป หรือทา ได้ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน ต่ากว่าร้อยละ 70 หรือ ไม่ สามารถทาได้ ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน
เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)
ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูลนั้น ๆ ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนั้น และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการฝึกนั้น ๆ แล้ว
3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
4. เงื่อนไขการผ่านการฝึก ผู้รับการฝึกที่จะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบหลังฝึก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนามาคิดแบ่งเป็นสัดส่วน ภาคทฤษฏี คิดเป็นร้อยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเป็นร้อยละ 80 เมื่อนาคะแนนมารวมกัน ผู้รับการฝึกจะต้องได้ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านเกณฑ์ ทั้งนี้ ผู้รับการฝึกจะต้องทาคะแนนผ่านเกณฑ์ทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผ่านโมดูลการฝึก
4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
ผลลัพธ์การเรียนรู้ โมดูลการฝึกที่ 11 09217313 การวิเคราะห์และแก้ไขข้อขัดข้องของเครื่องปรับอากาศ 1. อธิบายวิธีการแก้ไขระบบสารทาความเย็นได้ 2. อธิบายวิธีการแก้ไขระบบไฟฟ้าภายในเครื่องปรับอากาศได้ 3. อธิบายวิธีการปรับและติดตั้งความแตกต่างของช่วงการทางานอุปกรณ์ควบคุมความดันได้ 4. ปรับและติดตั้งความแตกต่างของช่วงการทางานอุปกรณ์ควบคุมความดันได้ 5. อธิบายการแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วและแคปปิลลารี่ทิ้วป์ได้ 6. วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วและแคปปิลลารี่ทิ้วป์ได้
5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
แบบทดสอบก่อนฝึก คาชี้แจง : 1. ผู้รับการฝึกสามารถรับแบบทดสอบก่อนฝึกได้จากครูฝึก 2. อ่านคาชี้แจงหรือคาสั่งให้เข้าใจก่อนทาแบบทดสอบทุกครั้ง 3. ห้ามนาแบบทดสอบออกนอกบริเวณห้องสอบ 4. ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 5. เมื่อทาแบบทดสอบเสร็จแล้ว ให้ส่งครูฝึกเพื่อตรวจประเมินผล
6 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
แบบทดสอบก่อนฝึก โมดูลการฝึกที่ 11 09217313 การวิเคราะห์และแก้ไขข้อขัดข้องของเครื่องปรับอากาศ 1. ก่อนทาการตรวจรีเลย์ เพื่อให้แน่ใจว่าผลที่ได้จากการตรวจรีเลย์เป็นไปอย่างถูกต้อง ช่างเครื่องปรับอากาศควรตรวจ อุปกรณ์ใดก่อนทาการตรวจรีเลย์ ก. แคปปิลลารี่ทิ้วป์ ข. คาปาซิเตอร์ ค. อีวาพอเรเตอร์ ง. คอนเดนเซอร์ 2. “ความดัน ของน้ายาทางท่อซักชันต่ากว่าปกติ อุณหภูมิทางอีวาพอเรเตอร์สูงกว่าปกติ ” จากข้อความข้างต้น ตัวเลือกใดให้ข้อสันนิษฐานได้ดีที่สุด ก. ระดับน้ายาแอร์มากหรืออาจมีสิ่งอุดตันภายในระบบ ข. ระดับน้ายาแอร์น้อยหรืออาจมีสิ่งอุดตันภายในระบบ ค. ใช้น้ามันคอมเพรสเซอร์ผิดประเภท ง. ระบบวงจรไฟฟ้าเสียหาย 3. หากพบว่าในระบบทาความเย็นมีน้ายาแอร์มากเกินไป ควรทาสิ่งใดเป็นอันดับแรก ก. ปล่อยน้ายาแอร์ออกจนอยู่ในเกณฑ์ปกติ ข. เปลี่ยนน้ายาแอร์ใหม่ทั้งหมดของเก่าไม่น่าจะใช้ได้ ค. ล้างทาความสะอาดระบบทาความเย็นใหม่ทั้งหมด ง. ตรวจหารอยรั่วในระบบสารทาความเย็น 4. การเปลี่ยนแปลงระดับลูกลอยส่งผลต่ออุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างไร ก. ถ้าระดับลูกลอยสูงเกินไป อาจทาให้คอมเพรสเซอร์ชารุดเสียหายได้ ข. ถ้าระดับลูกลอยสูงเกินไป อาจทาให้ลิ้นเปิดปิดชารุดเสียหายได้ ค. ถ้าระดับลูกลอยต่าเกินไป อาจทาให้อีแวปอเรชั่นชารุดเสียหายได้ ง. ถ้าระดับลูกลอยต่าเกินไป อาจทาให้ท่อซักชันชารุดเสียหายได้ 7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
5. ความผิดปกติจากตาแหน่งใดที่จะทาให้คอนเดนเซอร์เสียหายได้ ก. คาปาซิเตอร์ ข. ท่อแคปปิลลารี่ ค. เครื่องกรอง ง. อีวาพอเรเตอร์ 6. ข้อใดเป็นวิธีการตรวจสอบมอเตอร์พัดลมเครื่องกลั่น ก. ใช้ปลายมัลติมิเตอร์วัดความสว่างของหลอดไฟ ข. ปรับสวิตซ์ไปที่ตาแหน่ง off แล้วดูความกระพริบของไฟ ค. ปรับสวิตซ์ไปที่ตาแหน่ง vent แล้วดูความสว่างของไฟ ง. ปรับสวิตซ์ไปที่ตาแหน่ง Exhaust แล้วดูความสว่างของไฟ 7. การมีน้าแข็งจับที่อีวาพอเรเตอร์หรือท่อซักชัน เกิดมาจากสาเหตุอะไร ก. มีน้ายาในระบบมากเกินไป ข. กาลังอัดมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ตา่ ค. การอุดตันของน้ายาในระบบ ง. มีน้ายาในระบบน้อยเกินไป 8. ข้อใดไม่ใช่แนวทางแก้ไขในกรณีที่เครื่องไม่ทางาน ก. เปลี่ยนฟิวส์ใหม่ ข. ตรวจรีเลย์ป้องกันมอเตอร์ ค. ตรวจแรงไฟฟ้าด้วยโวลต์มิเตอร์ ง. เปลี่ยนสายไฟที่ขาดและปรับให้แน่น
8 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
9. ข้อใดคือสาเหตุหนึ่งที่อาจทาให้เครื่องปรับอากาศไม่ทางาน ก. ฟิวส์ขาด ข. มอเตอร์พัดลมไม่ทางาน ค. เครื่องกลั่นสกปรก ง. แรงไฟฟ้าเข้าเครื่องต่า 10. ข้อใดคือปัญหาที่เกิดจากท่อแคปปิลลารี่ ก. Low Pressure ต่ากว่าปกติ ข. อุณหภูมิสูงเกินไป ค. คอมเพรสเซอร์ร้อนเกินไป ง. ท่อทางกลับเป็นน้า แข็งหรือเป็นเหงื่อ
9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
แบบทดสอบหลังฝึก คาชี้แจง : 1. 2. 3. 4. 5.
ผู้รับการฝึกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝึกได้จากครูฝึก อ่านคาชี้แจงหรือคาสั่งให้เข้าใจก่อนทาแบบทดสอบทุกครั้ง ห้ามนาแบบทดสอบออกนอกบริเวณห้องสอบ ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว เมื่อทาแบบทดสอบเสร็จแล้ว ให้ส่งครูฝึกเพื่อตรวจประเมินผล
10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
แบบทดสอบหลังฝึก โมดูลการฝึกที่ 11 09217313 การวิเคราะห์และแก้ไขข้อขัดข้องของเครื่องปรับอากาศ 1. ความผิดปกติจากตาแหน่งใดที่จะทาให้คอนเดนเซอร์เสียหายได้ ก. คาปาซิเตอร์ ข. ท่อแคปปิลลารี่ ค. เครื่องกรอง ง. อีวาพอเรเตอร์ 2. การมีน้าแข็งจับที่อีวาพอเรเตอร์หรือท่อซักชัน เกิดมาจากสาเหตุอะไร ก. มีน้ายาในระบบมากเกินไป ข. กาลังอัดมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ตา่ ค. การอุดตันของน้ายาในระบบ ง. มีน้ายาในระบบน้อยเกินไป 3. ก่อนก่อนทาการตรวจรีเลย์ เพื่อให้แน่ใจว่าผลที่ได้จากการตรวจรีเลย์เป็นไปอย่างถูกต้อง ช่างเครื่องปรับอากาศควรตรวจ อุปกรณ์ใดก่อนทาการตรวจรีเลย์ ก. แคปปิลลารี่ทิ้วป์ ข. คาปาซิเตอร์ ค. อีวาพอเรเตอร์ ง. คอนเดนเซอร์ 4. หากพบว่าในระบบทาความเย็นมีน้ายาแอร์มากเกินไป ควรทาสิ่งใดเป็นอันดับแรก ก. ปล่อยน้ายาแอร์ออกจนอยู่ในเกณฑ์ปกติ ข. เปลี่ยนน้ายาแอร์ใหม่ทั้งหมดของเก่าไม่น่าจะใช้ได้ ค. ล้างทาความสะอาดระบบทาความเย็นใหม่ทั้งหมด ง. ตรวจหารอยรั่วในระบบสารทาความเย็น
11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
5. ข้อใดคือปัญหาที่เกิดจากท่อแคปปิลลารี่ ก. Low Pressure ต่ากว่าปกติ ข. อุณหภูมิสูงเกินไป ค. คอมเพรสเซอร์ร้อนเกินไป ง. ท่อทางกลับเป็นน้า แข็งหรือเป็นเหงื่อ 6. “ความดัน ของน้ายาทางท่อซักชันต่ากว่าปกติ อุณหภูมิทางอีวาพอเรเตอร์สูงกว่าปกติ ” จากข้อความข้างต้น ตัวเลือกใดให้ข้อสันนิษฐานได้ดีที่สุด ก. ระดับน้ายาแอร์มากหรืออาจมีสิ่งอุดตันภายในระบบ ข. ระดับน้ายาแอร์น้อยหรืออาจมีสิ่งอุดตันภายในระบบ ค. ใช้น้ามันคอมเพรสเซอร์ผิดประเภท ง. ระบบวงจรไฟฟ้าเสียหาย 7. การเปลี่ยนแปลงระดับลูกลอยส่งผลต่ออุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างไร ก. ถ้าระดับลูกลอยสูงเกินไป อาจทาให้คอมเพรสเซอร์ชารุดเสียหายได้ ข. ถ้าระดับลูกลอยสูงเกินไป อาจทาให้ลิ้นเปิดปิดชารุดเสียหายได้ ค. ถ้าระดับลูกลอยต่าเกินไป อาจทาให้อีแวปอเรชั่นชารุดเสียหายได้ ง. ถ้าระดับลูกลอยต่าเกินไป อาจทาให้ท่อซักชันชารุดเสียหายได้ 8. ข้อใดเป็นวิธีการตรวจสอบมอเตอร์พัดลมเครื่องกลั่น ก. ปรับสวิตซ์ไปที่ตาแหน่ง Off แล้วดูความกระพริบของไฟ ข. ปรับสวิตซ์ไปที่ตาแหน่ง Exhaust แล้วดูความสว่างของไฟ ค. ใช้ปลายมัลติมิเตอร์วัดความสว่างของหลอดไฟ ง. ปรับสวิตซ์ไปที่ตาแหน่ง Vent แล้วดูความสว่างของไฟ
12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
9. ข้อใดไม่ใช่แนวทางแก้ไขในกรณีที่เครื่องไม่ทางาน ก. ตรวจแรงไฟฟ้าด้วยโวลต์มิเตอร์ ข. เปลี่ยนสายไฟที่ขาดและปรับให้แน่น ค. เปลี่ยนฟิวส์ใหม่ ง. ตรวจรีเลย์ป้องกันมอเตอร์ 10. ข้อใดคือสาเหตุหนึ่งที่อาจทาให้เครื่องปรับอากาศไม่ทางาน ก. ฟิวส์ขาด ข. มอเตอร์พัดลมไม่ทางาน ค. เครื่องกลั่นสกปรก ง. แรงไฟฟ้าเข้าเครื่องต่า
13 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
กระดาษคาตอบ
คะแนนที่ได้ คะแนนเต็ม
ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………… เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. คาสั่ง จงทาเครื่องหมายกากบาท
ทับข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
แบบทดสอบก่อนฝึก ก
ข
ค
แบบทดสอบหลังฝึก ก
ง
1.
1.
2.
2.
3.
3.
4.
4.
5.
5.
6.
6.
7.
7.
8.
8.
9.
9.
10.
10.
14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข
ค
ง
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
เฉลยคาตอบ แบบทดสอบก่อนฝึก ก
หมายเหตุ
ข
ค
แบบทดสอบหลังฝึก ก
ง
1.
1.
2.
2.
3.
3.
4.
4.
5.
5.
6.
6.
7.
7.
8.
8.
9.
9.
10.
10.
ข
ค
ง
ให้ครูฝึกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่าน (C) จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC) ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ แล้วจึงทาแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก
15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
หัวข้อวิชาที่ 3 0921731303 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.1 วิธกี ารปรับและติดตัง้ ความแตกต่างของช่วงการทางานอุปกรณ์ ควบคุมความดัน 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - ปรับและติดตั้งความแตกต่างของช่วงการทางานอุปกรณ์ควบคุมความดันได้
2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ 4 ชั่วโมง 3. คาชี้แจง : ให้ผู้รับการฝึกทาการวัด ปรับและทดสอบเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว (TEV)
ตารางบันทึกผล สถานะการปรับ
ค่าความดันทางออกของ เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว (PSI)
ก่อนทาการปรับตั้ง หมุนทวนเข็มนาฬิกา 2 รอบ หมุนตามเข็มนาฬิกา 2 รอบ นากระเปาะออกจากน้าแข็ง หมายเหตุ ค่าความดัน ที่ 22F ของสารทาความเย็น R-22 คือ 45 PSI ค่าความดัน ที่ 22F ของสารทาความเย็น R-12 คือ 22 PSI
16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
หมายเหตุ
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.1 วิธกี ารปรับและติดตัง้ ความแตกต่างของช่วงการทางาน อุปกรณ์ควบคุมความดัน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้าวาง กีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. แมนิโฟลด์เกจ จานวน 1 ชุด 2. ไขควงแฉก จานวน 1 ตัว 3. ไขควงแบน จานวน 1 ตัว 4. ประแจปากตาย จานวน 1 ชุด 5. ประแจเลื่อนขนาด 6 นิ้ว จานวน 1 ตัว หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. 2. 3. 4. 5.
ถังน้ายา R-22 บีกเกอร์หรือกระติกใส่น้าแข็ง แฟลร์นัตยูเนียน 1/2 นิ้ว แฟลร์นัตยูเนียน 3/8นิ้ว เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว
จานวน 1 ถัง จานวน 1 ชุด จานวน 1 ชุด จานวน 1 ชุด จานวน 1 ตัว 17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
2. ลาดับการทดสอบ วิธีการปรับและติดตั้งความแตกต่างของช่วงการทางานอุปกรณ์ควบคุมความดัน ขั้นตอนการทดสอบ 1.ต่อท่อของเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วตามรูป
คาอธิบาย ต่อท่อทางเข้าและท่อทางออก ของเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วตามรูป
2.ใส่กระเปาะในกระติกน้าแข็ง
สอดกระเปาะเข้าไปในบีกเกอร์ หรือกระติกน้าแข็ง รอสักครู่ เพื่อให้กระเปาะเย็น
18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
ขั้นตอนการทดสอบ 3.ปล่อยน้ายา R-22 ที่ความดันไม่ต่ากว่า 70 PSI
คาอธิบาย เปิดวาล์วของถังน้ายา R-22 โดย เปิดให้ความดันไม่ต่ากว่า 70 PSI
4.อ่านค่าความดันทางด้านออกแล้วบันทึกผล
อ่านค่าความดันทางด้านออก ของเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วแล้ว บันทึกผล
5.ขันสกรูเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว โดยหมุนทวนเข็ม
ขันสกรูที่ตัว เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ ว
นาฬิกา 2 รอบ
หมุนทวนเข็มนาฬิกา 2 รอบ
19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
ขั้นตอนการทดสอบ 6.ปล่อยน้ายา R-22 ที่ความดันไม่ต่ากว่า 70 PSI
คาอธิบาย ปล่อ ยน้ายา R-22 ที่ค วามดัน ไม่ต่ากว่า 70 PSI
7.อ่านค่าความดันทางด้านออกแล้วบันทึกผล
อ่ า นค่ า ความดั น ทางด้ า นออก ของเอ็ ก ซ์ แ พนชั่ น วาล์ ว แล้ ว บันทึกผล
8.ขันสกรูเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วมาให้เหมือนก่อนจะปรับ ขั น สกรู ก ลั บ มาที่ ต าแหน่ ง เดิ ม จากนั้นขันสกรูให้หมุนตามเข็มนาฬิกา 2 รอบ
เหมื อ นก่ อ นที่ จ ะปรั บ จากนั้ น ขันสกรูเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ ว หมุน ตามเข็มนาฬิกา 2 รอบ
20 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
ขั้นตอนการทดสอบ 9. ปล่อยน้ายา R-22 ทีค่ วามดันไม่ต่ากว่า 70 PSI
คาอธิบาย ปล่อยน้ายา R-22 ที่ความดันไม่ ต่ากว่า 70 PSI
10. อ่านค่าความดันทางด้านออกแล้วบันทึกผล
อ่ า นค่ า ความดั น ทางด้ า นออก ของเอ็ ก ซ์ แ พนชั่ น วาล์ ว แล้ ว บันทึกผล
11. ดึงกระเปาะออก แล้วทาให้อุ่น
ดึง กระเปาะออก แล้ว ท าให้ กระเปาะอุ่น
21 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
ขั้นตอนการทดสอบ
คาอธิบาย
12. อ่านค่าความดันทางด้านออกอีกครั้ง
อ่ า นค่ า ความดั น ทางด้ า นออก
แล้วบันทึกผล
ของเอ็ ก ซ์ แ พนชั่ น วาล์ ว แล้ ว บันทึกผล
22 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ รายการตรวจสอบ เกณฑ์การพิจารณา 1 วิธีการปรับและติดตั้งความแตกต่างของช่วงการทางานอุปกรณ์ควบคุมความดัน
2
1.1 ต่ออุปกรณ์ถูกต้อง
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.2 วัดและอ่านค่าความดันถูกต้อง
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.3 บันทึกผลถูกต้อง
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
ปฏิบัติงาน
23 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………… เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. ลาดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน
เกณฑ์การให้คะแนน
คะแนนเต็ม 15
1.1 ต่ออุปกรณ์ถูกต้อง
- จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และต่ออุปกรณ์การทดลองถูกต้องตามใบงาน ทุกจุด ให้คะแนน 5 คะแนน
5
- จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ผิด 1 ชิ้น และ/หรือ ต่ออุปกรณ์การทดลอง ผิด 1 จุด ให้คะแนน 3 คะแนน - จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ผิดตั้งแต่ 2 ชิ้น และ/หรือ ต่ออุปกรณ์การ ทดลองผิดตั้งแต่ 2 จุด ให้คะแนน 1 คะแนน 1.2 วัดและอ่านค่าความดันถูกต้อง
- วัดและอ่านค่าความดันถูกต้อง ตามขั้นตอนต่าง ๆ ทุกจุด ให้คะแนน 5 คะแนน
5
- วัดและอ่านค่าความดันผิด 1 หน่วย ให้คะแนน 3 คะแนน - วัดและอ่านค่าความดันผิดตั้งแต่ 2 หน่วยขึ้นไป ให้คะแนน 1 คะแนน 1.3 บันทึกผลถูกต้อง
- บันทึกผลถูกต้องทุกจุด ให้คะแนน 5 คะแนน - บันทึกผลผิด 1 จุด ให้คะแนน 3 คะแนน
5
- บันทึกผลผิดตั้งแต่ 2 จุด ให้คะแนน 1 คะแนน 2
กิจนิสัย
5
2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
1
ครบถ้วน
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
1 1
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
1
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
1
คะแนนเต็ม
20
หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70
ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์
หากไม่ผ่านเกณฑ์ ผู้รับการฝึกต้องขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม่ จนกระทั่งผ่านเกณฑ์ 24 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คะแนนที่ได้
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
หัวข้อวิชาที่ 4 0921731304 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 4.1 ข้อบกพร่องที่เกิดจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว และแคปปิลลารี่ทิ้วป์ 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดจากเอ็กแพนชั่นวาล์วและแคปปิลลารี่ทิ้วป์ได้
2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ 4 ชั่วโมง
3. คาชี้แจง: ให้ผู้รับการฝึกตรวจเช็คและวิเคราะห์ข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้นในเครื่องปรับอากาศ และทาการแก้ไขตาม ความเหมาะสม บันทึกค่าผลการตรวจสอบ ตารางที่ 1 ค่าความดันของสารทาความเย็น สถานะของ
ค่าความดันสารทาความ
ค่าความดันสารทาความ
เครื่องปรับอากาศ
เย็นด้าน (Low)
เย็นด้าน (HI)
(PSI)
(PSI)
หมายเหตุ
คอยล์ร้อนทางาน คอยล์ร้อนหยุดทางาน ตารางที่ 2 ค่ากระแสไฟฟ้าของเครื่องปรับอากาศ สถานะของ
ค่ากระสไฟที่อ่านได้
ค่ากระแสไฟฟ้าที่อ่านได้
เครื่องปรับอากาศ
(A)
จากเนมเพลท (A)
หมายเหตุ
คอยล์ร้อนทางาน คอยล์ร้อนหยุดทางาน วิเคราะห์อาการเสีย …………………………………………………………………………………........………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………........………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………........………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………........………………………………………………………………………………….. 25 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
…………………………………………………………………………………........………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………........………………………………………………………………………………….. แนวทางการแก้ไข …………………………………………………………………………………........………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………........………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………........………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………........………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………........………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………........…………………………………………………………………………………..
26 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขัน้ ตอนการทดสอบที่ 4.1 ข้อบกพร่องที่เกิดจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว และแคปปิลลารี่ทิ้วป์ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้าวาง กีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. แมนิโฟลด์เกจ จานวน 1 ชุด 2. ไขควงแฉก จานวน 1 ตัว 3. ไขควงแบน จานวน 1 ตัว 4. คีมช่างไฟฟ้า จานวน 1 ตัว 5. แคล้มป์ออนมิเตอร์ จานวน 1 ตัว 6. ชุดขยายท่อ จานวน 1 ชุด 7. ชุดเชื่อมแก๊ส จานวน 1 ชุด 8. ชุดบานแฟลร์ท่อ จานวน 1 ชุด 9. ชุดประแจปากตาย จานวน 1 ชุด 10. ประแจเลื่อน จานวน 1 ตัว 11. มัลติมิเตอร์ จานวน 1 ตัว หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ
27 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. เครื่องปรับอากาศ มีอาการเสียอันเนื่องมาจาก ข้อบกพร่องของเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วหรือแคปทิ้วป์ 2. แคปทิ้วป์ 3. ถังน้ายา R-22 4. เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว
28 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
จานวน 1 ตัว จานวน 1 ม้วน จานวน 1 ถัง จานวน 1 ตัว
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
2. ลาดับการปฏิบัติงาน ข้อบกพร่องที่เกิดจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว และแคปปิลลารี่ทิ้วป์ ขั้นตอนการทดสอบ 1. บันทึกข้อมูลเนมเพลท
คาอธิบาย บันทึกข้อมูลพื้นฐานของ เครื่องปรับอากาศจากเนมเพลทของ เครื่อง
2. ต่อสายแมนิโฟลด์เกจที่ท่อซัคชั่นและท่อ ลิคขวิด ถอดฝาคอนเดนซิ่งยูนิตแล้ววัด ค่ากระแสของเครื่องปรับอากาศ จากนั้น บันทึกผล
ต่อสายแมนิโฟลด์เกจที่ท่อซัคชั่น ขัน้ ตอนนนี้ยังไม่ต้องเปิด และท่อลิคขวิดของ เครือ่ งปรับอากาศ เครื่องปรับอากาศจากนั้นถอดฝาบน ที่คอนเดนซิ่งยูนิตแล้วนาแคล้มป์ ออนมิเตอร์วัดค่ากระแสของ เครื่องปรับอากาศ จากนั้นบันทึกผล
3. เปิดเครื่องปรับอากาศ 10 นาที บันทึกผล เปิดเครื่องปรับอากาศประมาณ 10 ค่าความดันสารทาความเย็น นาที ให้คอนเดนซิ่งยูนิตทางานจึง บันทึกผลค่าความดันของสารทา ความเย็นรวมทั้งค่ากระแสไฟฟ้า
29 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
ขั้นตอนการทดสอบ คาอธิบาย 4. บันทึกผล และวิเคราะห์อาการพร้อมแนว บันทึกผลการวิเคราะห์อาการเสีย ทางแก้ไข และแนวทางการแก้ไข
5. วิเคราะห์ปัญหา เพื่อทาการแก้ไข
วิ เ คราะห์ ปั ญ หาที่ พ บจากความ ชารุดที่ แคปทิ้วป์หรือเอ็กซ์แพนชั่น วาล์ว
6. ปล่อยสารทาความเย็นออกจนหมด
ค่อย ๆ ปล่อยสารทาความเย็นออก จากระบบโดยเปิดวาล์วที่แมนิโฟลด์ เกจจนหมด
7. ถอดเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วออกจากระบบ และถอดหางกระเปาะที่ทางออกของอีแวป เปอร์เรเตอร์
ใช้ ป ระแจถอดเอ็ ก ซ์ แ พนชั่ น วาล์ ว ออกจากระบบและถอดหาง กระเปาะที่ทางออกของอีแวปเปอร์ เรเตอร์
30 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
ขั้นตอนการทดสอบ 8. เปลี่ยนเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วตัวใหม่ และท่อ ทางเข้าออกเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว โดยติดตั้ง หางกระเปาะที่ทางออกอีแวปเปอร์เรเตอร์ที่ ตาแหน่งเดิม
คาอธิบาย เปลี่ ย นเอ็ ก ซ์ แ พนชั่ น วาล์ ว ตั ว ใหม่ โดยติดตั้งหางกระเปาะที่ ทางออก อี แ วปเปอร์ เ รเตอร์ ที่ ต าแหน่ ง เดิ ม และใช้ประแจติดตั้งท่อทางเข้าออก ของเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว
9. ทาสุญญากาศระบบ
ทาสุญญากาศระบบ
10. เติมสารทาความเย็น
เติมสารทาความเย็น และเดินเครื่อง จนได้ปริมาณสารทาความเย็นตาม เกณฑ์
11. เปิ ด เครื่ อ งปรั บ อากาศ 40 นาที และ ทดลองเดิ น เครื่ อ งปรั บ อากาศ สังเกตอุณหภูมิภายในห้ องและอุณหภู มิล ม ประมาณ 40 นาที และสั ง เกต เป่าออกที่คอนเดนซิ่งยูนิต แล้วบันทึกผล อุณหภูมิภายในห้องและอุณหภูมิลม เป่าออกที่คอนเดนซิ่งยูนิต จากนั้น บันทึกผล
31 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ รายการตรวจสอบ เกณฑ์การพิจารณา 1 วิธีการปรับและติดตั้งความแตกต่างของช่วงการทางานอุปกรณ์ควบคุมความดัน
2
1.1 ต่ออุปกรณ์ถูกต้อง
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.2 วัดและอ่านค่าความดันถูกต้อง
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.3 บันทึกผลถูกต้อง
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
ปฏิบัติงาน
32 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………… เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. ลาดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 วัดและอ่านค่าความดันถูกต้อง
เกณฑ์การให้คะแนน
คะแนนเต็ม 25
- วัดและอ่านค่าความดันถูกต้อง ตามขั้นตอนต่าง ๆ ทุกจุด ให้คะแนน 5 คะแนน
5
- วัดและอ่านค่าความดันผิด 1 หน่วย ให้คะแนน 3 คะแนน - วัดและอ่านค่าความดันผิดตั้งแต่ 2 หน่วยขึ้นไป ให้คะแนน 1 คะแนน 1.2 วัดและอ่านค่าความดันถูกต้อง
- วัดและอ่านค่ากระแสไฟฟ้าถูกต้อง ทุกจุด ให้คะแนน 5 คะแนน
5
- วั ด และอ่ า นค่ า กระแสไฟฟ้ า ผิ ด 1 จุ ด หรื อ 1หน่ ว ย ให้ ค ะแนน 3 คะแนน - วัดและอ่านค่ากระแสไฟฟ้าผิดตั้งแต่ 2 จุดหรือ 2 หน่วย ให้คะแนน 1 คะแนน 1.3 บันทึกผลถูกต้อง
- บันทึกผลถูกต้องทุกจุด ให้คะแนน 5 คะแนน
5
- บันทึกผลผิด 1 จุด ให้คะแนน 3 คะแนน - บันทึกผลผิดตั้งแต่ 2 จุด ให้คะแนน 1 คะแนน 1.4 เปลี่ยนเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว/แคปทิ้วป์ตัวใหม่ - เปลี่ยนเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว/แคปทิ้วป์ ได้ถูกต้องสมบูรณ์ ให้คะแนน 5
5
คะแนน - เปลี่ยนเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว/แคปทิ้วป์ ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 5 คะแนน 1.5 ทาสุญญากาศและเติมสารทาความเย็น
- ทาสุญญากาศระบบและเติมสารทาความเย็นได้ถูกต้อง ให้คะแนน 5
5
คะแนน - ทาสุญญากาศระบบ เติมสารทาความเย็นไม่ได้ตามปริมาณที่กาหนด เล็กน้อย ให้คะแนน 3 คะแนน - ทาสุญญากาศระบบ เติมสารทาความเย็นไม่ได้ตามปริมาณที่กาหนด มาก ให้คะแนน 1 คะแนน 2
กิจนิสัย
5
2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
1
ครบถ้วน
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
1 1
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
33 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
1
คะแนนที่ได้
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11 ลาดับที่
รายการประเมิน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน
เกณฑ์การให้คะแนน - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
คะแนนเต็ม 1
คะแนนเต็ม
30
หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70
ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์
หากไม่ผ่านเกณฑ์ ผู้รับการฝึกต้องขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม่ จนกระทั่งผ่านเกณฑ์
34 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คะแนนที่ได้
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
ตัวอย่างบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………….............. เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. คาชี้แจง ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผู้เข้ารับการฝึก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ ก่อนฝึก
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
ผลลัพธ์การเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 บอกขั้นตอนการต่อสายไฟฟ้า 10 7 แบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได้ บอกวิธีการต่อสายไฟฟ้าด้วย อุปกรณ์ได้ บอกขั้นตอนการเข้าขั้วสายด้วย หางปลา บอกขั้นตอนการใช้วายนัทต่อ สายได้ บอกขั้นตอนการใช้หลอดต่อ สายไฟได้ บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได้ บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกาหนดขั้วคอมเพรสเซอร์ได้ ประเมินผลภาคทฤษฏี
คะแนนที่ได้ 5
ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)
/ * หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์ คาอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนที่ผู้รับการฝึกตอบถูกลงในช่องคะแนน ที่ได้ แล้วเปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่าน (C) ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC) หากผู้รับการฝึกผ่านการประเมินผลภาคทฤษฎีแล้ว สามารถขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึก ในโมดูลถัดไปได้ 35 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝึก
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
ผลลัพธ์การเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 บอกขั้นตอนการต่อสายไฟฟ้า 10 7 แบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได้ บอกวิธีการต่อสายไฟฟ้าด้วย อุปกรณ์ได้ บอกขั้นตอนการเข้าขั้วสายด้วย หางปลา บอกขั้นตอนการใช้วายนัทต่อ สายได้ บอกขั้นตอนการใช้หลอดต่อ สายไฟได้ บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได้ บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกาหนดขั้วคอมเพรสเซอร์ได้ ประเมินผลภาคทฤษฏี
คะแนนที่ได้ 8
ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)
/ * หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์ คาอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนที่ผู้รับการฝึกตอบถูกลงในช่องคะแนน ที่ได้ แล้วเปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่าน (C) ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC) หากผู้รับการฝึกผ่านการประเมินผลภาคทฤษฎีแล้ว สามารถขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึก ในโมดูลถัดไปได้
36 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ
ผลลัพธ์การเรียนรู้
คะแนนเต็ม
แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2
ต่อสายไฟฟ้าแบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียว ได้ 1. เข้าขั้วสายด้วยหางปลา และย้าหางปลาได้ 2. ใช้หลอดต่อสายไฟได้ 3. ใช้อุปกรณ์ในการต่อสายไฟได้ ใช้วายนัทต่อสายได้
30
คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 21
80
56
70
35
25
23
20
14
15
20
14
10
25
18
24
210
148
162
แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ต่อสายไฟฟ้าด้วยการบัดกรีได้ ภาคปฏิบัติที่ 1.4 แบบทดสอบ ต่อสายไฟฟ้าด้วยการพันฉนวนได้ ภาคปฏิบัติที่ 1.5 แบบทดสอบ ตรวจสอบและกาหนดขั้วคอมเพรสเซอร์ได้ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 คะแนนรวมภาคปฏิบัติ
ประเมินผลภาคปฏิบัติ
คะแนนที่ได้ 20
ผ่าน (C)
ไม่ผ่าน (NYC)
/ * หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์ คาอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนที่ผู้รับการฝึกได้จากการปฏิบัติลงในช่องคะแนนที่ได้ แล้ว เปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ในแต่ละใบทดสอบ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์ หากไม่ผ่านเกณฑ์ ผู้รับการฝึกต้องขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม่ จนกระทั่งผ่านเกณฑ์ ครูฝึกรวมคะแนนที่ได้บันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แล้วเปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนรวมมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 และผ่านเกณฑ์ทุกใบทดสอบ 37 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
ถือว่า ผ่าน (C) ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนรวมน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC) การประเมินผลผ่านโมดูล สัดส่วนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)
คะแนนที่ได้
ค่า Factor
คะแนนที่ได้คูณ ค่า Factor
8
2
16
162
0.381
61.72
ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC) 77.72
/
* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor มากกว่าหรือเท่ากับ 70 คะแนน ถือว่าผ่านเกณฑ์ คาอธิบาย 1. ครูฝึกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผู้รับการฝึกทดสอบครั้งล่าสุด ไม่ต้องนาคะแนนแบบทดสอบก่อนฝึกและ หลังฝึกมารวมกัน 2. ครูฝึกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผู้รับการฝึกทดสอบ 3. นาคะแนนที่ได้คูณค่า Factor โดยมีตัวอย่างการคิดดังนี้ สูตรการคานวณค่า Factor ของภาคทฤษฏี คือ
20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฏี
ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ
10
ดังนั้น ค่า Factor ของภาคทฤษฏี คือ
20 10
∴ คะแนนที่ได้คูณค่า Factor
8 × 2 = 16
คือ
=2
สูตรการคานวณค่า Factor ของภาคปฏิบัติ คือ
80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ
ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ
210 38
กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
ดังนั้น ค่า Factor ของภาคปฏิบัติ คือ ∴ คะแนนที่ได้คูณค่า Factor
80 = 0.381 210 162 × 0.381 = 61.72
คือ
4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor คือ 16 + 61.72 = 77.72 5. ประเมินผลการผ่านโมดูล ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่าน (C) ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC)
39 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………….............. เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. คาชี้แจง ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผู้เข้ารับการฝึก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ ก่อนฝึก
ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายวิธีการแก้ไขระบบสารทา
คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 10 7
คะแนนที่ได้
ความเย็นได้ 2. อธิบายวิธีการแก้ไขระบบไฟฟ้า ภายในเครื่องปรับอากาศได้ 3. อธิบายวิธีการปรับและติดตั้ง ความแตกต่างของช่วงการทางาน อุปกรณ์ควบคุมความดันได้ 4. ปรับและติดตั้งความแตกต่างของ ช่วงการทางานอุปกรณ์ควบคุม ความดันได้ 5. อธิบายการแก้ไขข้อบกพร่องที่ เกิดจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วและ แคปปิลลารี่ทิ้วป์ได้ 6. วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่อง ที่เกิดจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วและ แคปปิลลารี่ทิ้วป์ได้ ประเมินผลภาคทฤษฏี
* หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์
40 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝึก
ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายวิธีการแก้ไขระบบสารทา
คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 10 7
คะแนนที่ได้
ความเย็นได้ 2. อธิบายวิธีการแก้ไขระบบไฟฟ้า ภายในเครื่องปรับอากาศได้ 3. อธิบายวิธีการปรับและติดตั้ง ความแตกต่างของช่วงการทางาน อุปกรณ์ควบคุมความดันได้ 4. ปรับและติดตั้งความแตกต่างของ ช่วงการทางานอุปกรณ์ควบคุม ความดันได้ 5. อธิบายการแก้ไขข้อบกพร่องที่ เกิดจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วและ แคปปิลลารี่ทิ้วป์ได้ 6. วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่อง ที่เกิดจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วและ แคปปิลลารี่ทิ้วป์ได้ ประเมินผลภาคทฤษฏี
* หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์
41 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ
ผลลัพธ์การเรียนรู้
คะแนนเต็ม
แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 4.1
ปรั บ และติดตั้งความแตกต่างของช่ว งการ ทางานอุปกรณ์ควบคุมความดันได้ วิ เ คราะห์ และแก้ ไ ขข้ อ บกพร่ อ งที่ เ กิ ด
20
คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 14
30
56
50
70
คะแนนที่ได้
จากเอ็กแพนชั่นวาล์วและแคปปิลลารี่ทิ้วป์ ได้ คะแนนรวมภาคปฏิบัติ ประเมินผลภาคปฏิบัติ
* หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์
42 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ผ่าน (C)
ไม่ผ่าน (NYC)
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
การประเมินผลผ่านโมดูล สัดส่วนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)
คะแนนที่ได้
ค่า Factor
คะแนนที่ได้คูณ ค่า Factor
ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)
2 1.6
* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor มากกว่าหรือเท่ากับ 70 คะแนน ถือว่าผ่านเกณฑ์
คาแนะนา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตาแหน่ง …………………………… วัน……..เดือน………………….ปี……… หมายเหตุ: ให้บันทึกผลการฝึกให้ผู้รับการฝึกแต่ละคนหลังจากจบการฝึกและการประเมิน
43 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
)
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11
44 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน