คู่มือการประเมิน ช่างเชื่อมแม็ก ระดับ 2 โมดูล 2

Page 1

หนาปก



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

คูมือการประเมิน 0920162070802 สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา)

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 2 09207211 การใชเครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกล

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

คํานํา คูมือการประเมิน สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) โมดูล 2 การใชเครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกล ฉบับนี้ ไดพัฒนาขึ้นภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือ แรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําไปใชเปนระบบ การฝกอบรมตามความสามารถ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) เพื่อใหตอบสนองความตองการของกําลัง แรงงานและตลาดแรงงานไดอยางเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และเพื่อรองรับระบบการรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ และระบบการรับรองความรูความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ใหแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมายตาง ๆ ใหกวางขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแงของขอบเขตของการใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการฝกอบรม ที่ ส ามารถรองรั บ การพั ฒ นารายบุ ค คลได เ ป น อย า งดี นอกจากนี้ เนื้ อ หาวิ ช าในหลั ก สู ต รการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปน รายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับ การฝกอบรมจําเปน ตองใชในการปฏิบัติงาน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝน จนกวาจะสามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถ ดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝก สามารถเรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

5

แบบทดสอบกอนฝก

6

แบบทดสอบหลังฝก

11

กระดาษคําตอบ

16

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

17

แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หัวขอวิชาที่ 1 0920721101 การใชเครื่องมือวัด

18

หัวขอวิชาที่ 2 0920721102 การใชเครื่องมือทั่วไป

30

หัวขอวิชาที่ 3 0920721103 การใชเครื่องมือกล

40

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ

48

บันทึกผลการประเมินความสามารถ

55

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่อ อิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงราง หลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 2 09207211 การใชเครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกล 1. อธิบายวิธีการใชเครื่องมือรางแบบ เชน สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ํา และบรรทัดออนไดอยางถูกตอง 2. อธิบายวิธีการใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิ เชน ที่วัดอุณหภูมิแบบสัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลไดอยางถูกตอง 3. อธิบายวิธีการใชอุปกรณการวัดแนวเชื่อม ไดแก เกจวัด แวนขยาย ไฟฉาย กระจกเงา ไดอยางถูกตอง 4. อธิบายวิธีการดูแลและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดไดอยางถูกตอง 5. ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดไดอยางถูกตอง 6. อธิบายวิธีการใชคีม คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบและเลื่อยมือ การใชคอนและสกัดไดอยางถูกตอง 7. อธิบายวิธีการใชดอกสวานและเครื่องเจาะ การใชประแจแบบตางๆ การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรงยกของ การใชแปรงลวด ไดอยางถูกตอง 8. อธิบายวิธีการใชหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ไดอยางถูกตอง 9. อธิบายวิธีการดูแลและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปไดอยางถูกตอง 10. ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปไดอยางถูกตอง 11. อธิบายวิธีการใชเครื่องเจียระไนไดอยางถูกตอง 12. อธิบายวิธีการใชเครื่องขัดผิวโลหะไดอยางถูกตอง 13. อธิบายวิธีการใชเครื่องกดไฮดรอลิกสไดอยางถูกตอง 14. อธิบายวิธีการใชเครื่องทดสอบการดัดงอไดอยางถูกตอง 15. อธิบายวิธีการใชเครื่องตัดชิ้นงานและเครื่องเลื่อยไดอยางถูกตอง 16. อธิบายวิธีการใชอุปกรณจับยึดไดอยางถูกตอง 17. อธิบายวิธีการใชเครื่องดูดควันไดอยางถูกตอง 18. อธิบายวิธีการดูแลและบํารุงรักษาเครื่องมือกลไดอยางถูกตอง 19. ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลไดอยางถูกตอง

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

แบบทดสอบกอนฝก คําชี้แจง : 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 2 09207211 การใชเครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกล 1. อุปกรณวัดอุณหภูมิชนิดใดที่มีวิธีการวัด โดยการนําปลายของลวดตัวนํา 2 ชนิดมาเชื่อมเขาดวยกันและทําการเปรียบเทียบ คาของอุณหภูมิที่ตางกัน ก. เทอรโมคัปเปล

ค. เครื่องมือวัดอุณหภูมิแบบสัมผัส

ข. ชอลกวัดอุณหภูมิ

ง. เครื่องมือวัดอุณหภูมิแบบดินสอ

2. หากตองการตรวจสอบรอยเชื่อมดวยสายตา ตองเลือกใชอุปกรณวัดแนวเชื่อมชนิดใด ก. สารแทรกซึม

ค. แวนขยาย

ข. ฟลมถายภาพรังสี

ง. อนุภาคแมเหล็ก

3. การหาจุดศูนยกลางของชิ้นงานโดยใชชุดฉากผสม มีวิธีการอยางไร ก. หัววัดมุมฉากวางบนชิ้นงานและขีดที่ดานบนและดานลางของชิ้นงาน จากนั้นขีดเสนเขาหากัน ข. ปรับหัวปรับมุม ไปที่มุม 90 องศา และขีดที่ดานบนและดานลางของชิ้นงาน จากนั้นขีดเสนเขาหากัน ค. วางบรรทัดเหล็กบนชิ้นงาน หาจุดกึ่งกลางและขีดที่ดานบนและดานลางของชิ้นงานจากนั้นขีดเสนเขาหากัน ง. นําชิ้นงานวางในรองตัววีของหัวหาศูนยกลางและขีด 1 ครั้ง จากนั้นหมุนไปตําแหนงใหมและขีดอีก 1 ครั้งจนไดจุดตัด 4. ถาตองการเพิ่มแรงกดของเครื่องเจียมือ (Hand Grinder) ตองปรับที่สวนใดของเครื่อง ก. ใบเจีย

ค. มอเตอร

ข. ดามจับ

ง. ตัวเครื่อง

5. วิธีการดูแลบํารุงรักษาประแจ ขอใดไมถูกตอง ก. เก็บประแจโดยแขวนไวกับผนัง ข. ทําความสะอาดทุกครั้งหลังใชงาน ค. นําประแจใสกลองเก็บประแจโดยเฉพาะหลังใชงาน ง. หามเก็บประแจในที่แหงและทาน้ํามันทุกครั้งหลังใชงาน

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

6. ในการใชเครื่องขัดผิวโลหะ หากไมทําความสะอาดชิ้นงานกอนเปลี่ยนเบอรผงขัด จะมีผลตอชิ้นงานอยางไร ก. ผิวหนาชิ้นงานจะสะสมความรอนไวมากขึ้น

ค. ชิ้นงานลื่นไมสามารถขัดตอได

ข. เกิดรอยที่ผิวหนาชิ้นงาน

ง. ชิ้นงานรอนผูขัดไมสามารถจับชิ้นงานได

7. หากตองการรักษาเครื่องมือชุดเหล็กขีดใหใชงานไดนาน จะมีวิธีการบํารุงรักษาอยางไร ก. ทาน้ํามันกันสนิมบาง ๆ หลังทําความสะอาดเครื่องมือ ข. ไมควรเก็บใสซองหรือกลองหลังใชงานเสร็จ เพื่อจะไดหยิบใชสะดวก ค. ควรใชเหล็กขีดทําเครื่องหมายทันที ในขณะที่ชิ้นงานมีอุณหภูมิสูง ง. ทําความสะอาดเครื่องมือดวยการเช็ดดวยฟองน้ํา หรือน้ําเปลาลางเทานั้น 8. หากตองการใหพื้นที่ปฏิบัติงานเชื่อมมีอากาศที่บริสุทธิ์ โดยการเคลื่อนยายอากาศที่ปนเปอนฝุนละออง และแกสพิษออก แลวดูดอากาศบริสุทธิ์เขามาแทนที่ ตองใชเครื่องดูดควันแบบใด ก. แบบดูดควันเชื่อมแบบโมบาย

ค. แบบพัดลมและเครื่องเปาลม

ข. แบบทอดูดติดบนเครื่องมือ

ง. แบบหัวเชื่อมที่มีชุดดูดควันเชื่อมประกอบ

9. การบํารุงรักษาเครื่องมือกลชนิดใด ที่ตองเช็คระดับน้ํามันเกียรและชุดเฟองทดทุก 6 เดือน ก. เครื่องขัดผิวโลหะ

ค. เครื่องทดสอบการดัดงอ

ข. เครื่องกดไฮดรอลิกส

ง. เครื่องเลื่อยสายพาน

10. ขอใด คือ ขั้นตอนแรกในการใชเครื่องเลื่อยสายพานแนวตั้ง ก. ปรับไฮโดรอลิกสเพื่อกําหนด FEED การตัดชิ้นงาน ข. เปดสวิตซเครื่องและวาลวน้ํามันหลอเย็น และตรวจสอบลูกกลิ้ง ค. ตรวจสอบความตึงของใบเลื่อย และเลือกใชใบเลื่อยใหเหมาะกับงาน ง. วัดขนาดชิ้นงานใหไดตามขนาดที่ตองการจากนั้นปรับระยะตัดชิ้นงาน

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

11. ขอใด คือ ลักษณะทาทางในการจับคอนที่ถูกตองที่สุด ก. ขณะใชคอนตอกงาน ไมควรจับปลายสุดของดามคอน ข. ไมควรจับดามคอนใหแนนเพราะจะทําใหการตอกขาดความแมนยํา ค. ควรจับดามคอนใหหางจากปลายขึ้นมาประมาณ 1 สวน 4 ของดามคอน ง. ทาในการจับคอนที่ดีที่สุดขณะใชงานควรเปนทานั่งเทานั้น 12. ขอใด ไมใช วิธีการใชงานเครื่องเจาะ ก. ศึกษาวิธีใชเครื่องมือเจาะกอนปฏิบัติงาน ข. นําชิ้นงานมารางแบบใหถูกตองโดยใชสกัดตอกนํา ค. ชิ้นงานตองยึดบนเครื่องเจาะใหแนนและมั่นคง ง. ปรับระยะหางระหวางชิ้นงานกับปลายดอกสวานใหตรงตําแหนง 13. ขอใด อธิบายเกี่ยวกับความแตกตางของการใชเครื่องเจียแบบตั้งโตะและเครื่องเจียแบบตั้งพื้นไดถูกตอง ก. แบบตั้งโตะจะมีขนาดใหญกวาแบบตั้งพื้น จึงเหมาะกับงานลับคมตัดของเครื่องมือขนาดใหญ ข. แบบตั้งโตะไมสามารถเพิ่มความสูงได แตแบบตั้งพื้นสามารถเพิ่มความสูงไดตามตองการ ค. แบบตั้งโตะมีความแข็งแรงทนทานกวาแบบตั้งพื้น จึงใชกับงานเจียตกแตงชิ้นงานจํานวนมากไดดี ง. แบบตั้งโตะเคลื่อนยายไดงายและมีความสะดวกในการใชงานมากกวาแบบตั้งพื้น 14. ขอใด อธิบายเกี่ยวกับการใชเครื่องกดไฮดรอลิกสไดถูกตอง ก. เปนเครื่องทุนแรงในการกด และอัดชิ้นงาน โดยมีกระบอกสูบไฮดรอลิกสอยูเหนือชิ้นงาน ข. เปนเครื่องทุนแรงใชเฉพาะการอัดชิ้นงานเขาเทานั้น โดยใชวิธีโยกปมดวยมือ ค. เปนเครื่องทุนแรงในการกด และอัดชิ้นงาน โดยติดตั้งกระบอกสูบไฮดรอลิกสไวใตชิ้นงาน ง. เปนเครื่องทุนแรงเพื่ออัดชิ้นงานเขาและดันชิ้นงานออก โดยไมจําเปนตองเลื่อนแปนล็อกชิ้นงาน

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

15. ขอใด อธิบายวิธีใชเครื่องทดสอบการดัดงอดังภาพไดถูกตอง

ก. แบบ Winding Bend โดยกดยึดปลายดานหนึ่งของชิ้นทดสอบไว และทําการดัดโคงที่ปลายอีกดานหนึ่ง ข. แบบ Pressing Bend โดยกดยึดปลายดานหนึ่งของชิ้นทดสอบไว และทําการดัดโคงที่ปลายอีกดานหนึ่ง ค. แบบ V-block Bend โดยกดยึดปลายดานหนึ่งของชิ้นทดสอบไว และทําการดัดโคงที่ปลายอีกดานหนึ่ง ง. แบบ Power Bend โดยกดยึดปลายดานหนึ่งของชิ้นทดสอบไว และทําการดัดโคงที่ปลายอีกดานหนึ่ง 16. ขอใด อธิบายการใชอุปกรณจับยึดไดถูกตอง ก. จิ๊กหรือฟกเจอร มีหนาที่จับยึดชิ้นงานใหติดแนนกับโครงเหล็กฉาก ข. จิ๊ก ใชกําหนดตําแหนงจับยึดชิ้นงาน และเปนตัวนําทางของเครื่องมือตัด ค. จิ๊ก ใชรวมกับเครื่องมือตัดชนิดอื่น ๆ ได แตฟกเจอร ไมสามารถใชรวมกับเครื่องมือตัดชนิดอื่นได ง. ฟกเจอร มีปลอกนําทางที่ทําดวยเหล็กพิเศษ และใชนําทางในการเจาะรูของดอกสวาน

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

แบบทดสอบหลังฝก คําชี้แจง : 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 2 09207211 การใชเครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกล 1. หากตองการตรวจสอบรอยเชื่อมดวยสายตาตองเลือกใชอุปกรณวัดแนวเชื่อมชนิดใด ก. สารแทรกซึม

ค. ฟลมถายภาพรังสี

ข. อนุภาคแมเหล็ก

ง. แวนขยาย

2. อุ ป กรณ วั ด อุ ณ หภู มิ ช นิ ด ใดที่ มี วิ ธี ก ารวั ด โดยการนํ า ปลายของลวดตั ว นํ า 2 ชนิ ด มาเชื่ อ มเข า ด ว ยกั น และทํ า การ เปรียบเทียบคาของอุณหภูมิที่ตางกัน ก. เครื่องมือวัดอุณหภูมิแบบสัมผัส

ค. เทอรโมคัปเปล

ข. ชอลกวัดอุณหภูมิ

ง. เครื่องมือวัดอุณหภูมิแบบดินสอ

3. การหาจุดศูนยกลางของชิ้นงานโดยใชชุดฉากผสม มีวิธีการอยางไร ก. นําชิ้นงานวางในรองตัววีของหัวหาศูนยกลางและขีด 1ครั้ง จากนั้นหมุนไปตําแหนงใหมและขีดอีก 1 ครั้ง จนไดจุดตัด ข. ปรับหัวปรับมุม ไปที่มุม 90 องศา และขีดที่ดานบนและดานลางของชิ้นงาน จากนั้นขีดเสนเขาหากัน ค. วางบรรทัดเหล็กบนชิ้นงาน หาจุดกึ่งกลาง และขีดที่ดานบนและดานลางของชิ้นงาน จากนั้นขีดเสนเขาหากัน ง. หัววัดมุมฉากวางบนชิ้นงานและขีดที่ดานบนและดานลางของชิ้นงาน จากนั้นขีดเสนเขาหากัน 4. ในการใชเครื่องขัดผิวโลหะ หากไมทําความสะอาดชิ้นงานกอนเปลี่ยนเบอรผงขัด จะมีผลตอชิ้นงานอยางไร ก. ผิวหนาชิ้นงานจะสะสมความรอนไวมากขึ้น

ค. เกิดรอยที่ผิวหนาชิ้นงาน

ข. ชิ้นงานลื่นไมสามารถขัดตอได

ง. ชิ้นงานรอนผูขัดไมสามารถจับชิ้นงานได

5. ถาตองการเพิ่มแรงกดของเครื่องเจียมือ (Hand Grinder) ตองปรับที่สวนใดของเครื่อง ก. ใบเจีย

ค. ดามจับ

ข. มอเตอร

ง. ตัวเครื่อง

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

6. วิธีการดูแลบํารุงรักษาประแจ ขอใดไมถูกตอง ก. หามเก็บประแจในที่แหงและทาน้ํามันทุกครั้งหลังใชงาน ข. นําประแจใสกลองเก็บประแจโดยเฉพาะหลังใชงาน ค. ทําความสะอาดทุกครั้งหลังใชงาน ง. เก็บประแจโดยแขวนไวกับผนัง 7. หากตองการรักษาเครื่องมือชุดเหล็กขีดใหใชงานไดนาน จะมีวิธีการบํารุงรักษาอยางไร ก. ทําความสะอาดเครื่องมือดวยการเช็ดดวยฟองน้ํา หรือน้ําเปลาลางเทานั้น ข. ทาน้ํามันกันสนิมบาง ๆ หลังทําความสะอาดเครื่องมือ ค. ไมควรเก็บใสซองหรือกลองหลังใชงานเสร็จ เพื่อจะไดหยิบใชสะดวก ง. ควรใชเหล็กขีดทําเครื่องหมายทันที ในขณะที่ชิ้นงานมีอุณหภูมิสูง 8. หากตองการใหพื้นที่ปฏิบัติงานเชื่อมมีอากาศที่บริสุทธิ์ โดยการเคลื่อนยายอากาศที่ปนเปอนฝุนละออง และแกสพิษออก แลวดูดอากาศบริสุทธิ์เขามาแทนที่ ตองใชเครื่องดูดควันแบบใด ก. แบบดูดควันเชื่อมแบบโมบาย

ค. แบบหัวเชื่อมที่มีชุดดูดควันเชื่อมประกอบ

ข. แบบทอดูดติดบนเครื่องมือ

ง. แบบพัดลมและเครื่องเปาลม

9. การบํารุงรักษาเครื่องมือกลชนิดใดที่ตองเช็คระดับน้ํามันเกียรและชุดเฟองทดทุก 6 เดือน ก. เครื่องเลื่อยสายพาน

ค. เครื่องทดสอบการดัดงอ

ข. เครื่องกดไฮดรอลิกส

ง. เครื่องขัดผิวโลหะ

10. ขอใด คือ ขั้นตอนแรกในการใชเครื่องเลื่อยสายพานแนวตั้ง ก. ปรับไฮโดรอลิกสเพื่อกําหนด FEED การตัดชิ้นงาน ข. ตรวจสอบความตึงของใบเลื่อย และเลือกใชใบเลื่อยใหเหมาะกับงาน ค. เปดสวิตชเครื่องและวาลวน้ํามันหลอเย็น และตรวจสอบลูกกลิ้ง ง. วัดขนาดชิ้นงานใหไดตามขนาดที่ตองการจากนั้นปรับระยะตัดชิ้นงาน

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

11. ขอใด คือ ลักษณะทาทางในการจับคอนที่ถูกตองที่สุด ก. ทาทางในการจับคอนที่ดีที่สุดขณะใชงานควรเปนทานั่งเทานั้น ข. ไมควรจับดามคอนใหแนนเพราะจะทําใหการตอกขาดความแมนยํา ค. ควรจับดามคอนใหหางจากปลายขึ้นมาประมาณ 1 สวน 4 ของดามคอน ง. ขณะใชคอนตอกงาน ไมควรจับปลายสุดของดามคอน 12. ขอใด อธิบายเกี่ยวกับความแตกตางของการใชเครื่องเจียแบบตั้งโตะและเครื่องเจียแบบตั้งพื้นไดถูกตอง ก. แบบตั้งโตะจะมีขนาดใหญกวาแบบตั้งพื้น จึงเหมาะกับงานลับคมตัดของเครื่องมือขนาดใหญ ข. แบบตั้งโตะไมสามารถเพิ่มความสูงได แตแบบตั้งพื้นสามารถเพิ่มความสูงไดตามตองการ ค. แบบตั้งโตะเคลื่อนยายไดงายและมีความสะดวกในการใชงานมากกวาแบบตั้งพื้น ง. แบบตั้งโตะมีความแข็งแรงทนทานกวาแบบตั้งพื้น จึงใชกับงานเจียตกแตงชิ้นงานจํานวนมากไดดี 13. ขอใด อธิบายวิธีใชเครื่องทดสอบการดัดงอดังภาพไดถูกตอง

ก. แบบ Power Bend โดยกดยึดปลายดานหนึ่งของชิ้นทดสอบไว และทําการดัดโคงที่ปลายอีกดานหนึ่ง ข. แบบ Pressing Bend โดยกดยึดปลายดานหนึ่งของชิ้นทดสอบไว และทําการดัดโคงที่ปลายอีกดานหนึ่ง ค. แบบ V-block Bend โดยกดยึดปลายดานหนึ่งของชิ้นทดสอบไว และทําการดัดโคงที่ปลายอีกดานหนึ่ง ง. แบบ Winding Bend โดยยึดปลายดานหนึ่งของชิ้นทดสอบไว และทําการดัดโคงที่ปลายอีกดานหนึ่ง

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

14. ขอใด อธิบายการใชอุปกรณจับยึดไดถูกตอง ก. จิ๊ก ใชกําหนดตําแหนงจับยึดชิ้นงาน และเปนตัวนําทางของเครื่องมือตัด ข. จิ๊กหรือฟกเจอร มีหนาที่จับยึดชิ้นงานใหติดแนนกับโครงเหล็กฉาก ค. จิ๊ก ใชรวมกับเครื่องมือตัดชนิดอื่น ๆ ได แตฟกเจอร ไมสามารถใชรวมกับเครื่องมือตัดชนิดอื่นได ง. ฟกเจอร มีปลอกนําทางที่ทําดวยเหล็กพิเศษ และใชนําทางในการเจาะรูของดอกสวาน 15. ขอใด อธิบายเกี่ยวกับการใชเครื่องกดไฮดรอลิกสไดถูกตอง ก. เปนเครื่องทุนแรงในการกด และอัดชิ้นงาน โดยมีกระบอกสูบไฮดรอลิกสอยูเหนือชิ้นงาน ข. เปนเครื่องทุนแรงในการกดและอัดชิ้นงาน โดยติดตั้งกระบอกสูบไฮดรอลิกสไวใตชิ้นงาน ค. เปนเครื่องทุนแรงใชเฉพาะการอัดชิ้นงานเขาเทานั้น โดยใชวิธีโยกปมดวยมือ ง. เปนเครื่องทุนแรงเพื่ออัดชิ้นงานเขาและดันชิ้นงานออก โดยไมจําเปนตองเลื่อนแปนล็อกชิ้นงาน 16. ขอใด ไมใช วิธีการใชงานเครื่องเจาะ ก. ปรับระยะหางระหวางชิ้นงานกับปลายดอกสวานใหตรงตําแหนง ข. ชิ้นงานตองยึดบนเครื่องเจาะใหแนนและมั่นคง ค. ศึกษาวิธีใชเครื่องมือเจาะกอนปฏิบัติงาน ง. นําชิ้นงานมารางแบบใหถูกตองโดยใชสกัดตอกนํา

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………........ คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

11.

11.

12.

12.

13.

13.

14.

14.

15.

15.

16.

16.

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

11.

11.

12.

12.

13.

13.

14.

14.

15.

15.

16.

16.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

หัวขอวิชาที่ 1 0920721101 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.1 การใชเครื่องมือรางแบบ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดไดอยางถูกตอง 2. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 3 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกรางแบบลงบนแผนโลหะตามแบบที่กําหนด แบบที่ 1

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

แบบที่ 2

แบบที่ 3

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

แบบที่ 4

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.1 การใชเครื่องมือรางแบบ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. บรรทัดเหล็ก

จํานวน 1 อัน

2. วงเวียน

จํานวน 1 อัน

3. เหล็กขีด

จํานวน 1 อัน

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. แผนโลหะขนาด 100 × 100 มิลลิเมตร

จํานวน 1 แผน

2. แผนโลหะขนาด 140 × 140 มิลลิเมตร

จํานวน 1 แผน

3. แผนโลหะขนาด 150 × 150 มิลลิเมตร

จํานวน 1 แผน

4. แผนโลหะขนาด 160 × 160 มิลลิเมตร

จํานวน 1 แผน

5. แบบงานตัวอยาง

จํานวน 1 ชุด

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ลําดับการทดสอบ การใชเครื่องมือรางแบบ ขั้นตอนการทดสอบ 1. เครื่องมือรางแบบ วัสดุ และชิ้นงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เตรียมเครื่องมือรางแบบ แผนโลหะ และแบบ ไมควรทําเครื่องมือและ งานตัวอยาง

บรรทัดเหล็ก

อุปกรณตกหลน เพราะ อาจเกิดการชํารุด และใชเครื่องมือ

เหล็กขีด

ตามคุณสมบัติของ เครื่องมือนั้น ๆ

วงเวียน

แผนโลหะ

แบบที่ 1

แบบที่ 2

แบบที่ 3 แบบที่ 4 แบบงานตัวอยาง

2. รางแบบที่ 1 ลงบนแผนโลหะ

ใชเหล็กขีดรางแบบที่ 1 ลงบนแผ น โลหะ ไมทําเหล็กขีดตก เพราะ ขนาด 100 × 100 มิลลิเมตร

อาจทํ า ให ป ลายของ เหล็กขีดทูได

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ 3. รางแบบเสนตามแนวนอน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

วั ด ขนาดและร า งแบบเส น ตามแนวนอน ข ณ ะ ร า ง แ บ บ ค ว ร (Horizental Line) จํานวน 10 ชอง ชองละ ระมั ด ระวั ง แผ น โลหะ 10 มิลลิเมตร

4. รางแบบเสนตามแนวตั้ง

บาด

วั ด ขนาดและร า งแบบเส น ตามแนวตั้ ง ข ณ ะ ร า ง แ บ บ ค ว ร (Column Line) จํานวน 20 ชอง ชองละ 5 ระมั ด ระวั ง แผ น โลหะ มิลลิเมตร

5. วัดและรางแบบเสนตามแบบงานตัวอยาง

บาด

ทํ า การวั ด และร า งแบบเส น ตามแบบงาน ข ณ ะ ร า ง แ บ บ ค ว ร ตัวอยางที่กําหนด ตรวจสอบความถูกตอง ระมั ด ระวั ง แผ น โลหะ แลวสงตรวจ

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

บาด


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ 6. ขีดเสนทแยงมุมบนแผนโลหะ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใชแผนโลหะขนาด 160 × 160 มิลลิเมตร ไมทําเหล็กขีดตก เพราะ ขีดเสนทแยงมุม เพื่อหาจุดศูนยกลางชิ้นงาน อาจทํ า ให ป ลายของ เหล็กขีดทูได

7. ใชวงเวียนรางแบบลงบนแผนโลหะ

ใชวงเวียนรางแบบที่ 2 โดยกางวงเวียนรัศมี ไม ทํ าวงเวี ยนตก เพราะ 25, 35, 45, 65 และ 75 มิลลิเมตร ลงบน อาจทํ า ให ค ดงอ หรื อ แผนโลหะ

8. วัดและรางแบบเสนตามแบบงานตัวอยาง

ปลายของวงเวียนทู

รางแบบเสนตามแบบงานตัวอยางที่กําหนด ข ณ ะ ร า ง แ บ บ ค ว ร ตรวจสอบความถูกตอง แลวสงตรวจ

ระมั ด ระวั ง แผ น โลหะ บาด

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ 9. รางแบบที่ 3 ลงบนแผนโลหะ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใชเหล็กขีดรางแบบที่ 3 ลงบนแผ น โลหะ ไมทําเหล็กขีดตก เพราะ ขนาด 150 × 150 มิลลิเมตร

อาจทํ า ให ป ลายของ เหล็กขีดทูได

10. รางแบบเสนตามแนวนอน

วั ด ขนาดและร า งแบบเส น ตามแนวนอน ข ณ ะ ร า ง แ บ บ ค ว ร (Horizental Line) จํานวน 15 ชอง ชองละ ระมั ด ระวั ง แผ น โลหะ 10 มิลลิเมตร

11. รางแบบเสนตามแนวตั้ง

บาด

วั ด ขนาดและร า งแบบเส น ตามแนวตั้ ง ข ณ ะ ร า ง แ บ บ ค ว ร (Column Line) จํ า นวน 6 ชอ ง ชอ งละ ระมั ด ระวั ง แผ น โลหะ 25 มิลลิเมตร

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

บาด


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ 12. วัดและรางแบบเสนตามแบบงานตัวอยาง

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ทํ า การวั ด และร า งแบบเส น ตามแบบงาน ข ณ ะ ร า ง แ บ บ ค ว ร ตัวอยางที่กําหนด ตรวจสอบความถูกตอง ระมั ด ระวั ง แผ น โลหะ แลวสงตรวจ

13. ขีดเสนทแยงมุมบนแผนโลหะ

บาด

ใชแผนโลหะขนาด 140 × 140 มิลลิเมตร ไมทําเหล็กขีดตก เพราะ ขีดเสนทแยงมุม เพื่อหาจุดศูนยกลางชิ้นงาน อาจทํ า ให ป ลายของ เหล็กขีดทูได

14. ใชวงเวียนรางแบบลงบนแผนโลหะ

ใชวงเวียนรางแบบที่ 4 โดยกางวงเวียนรัศมี ไม ทํ าวงเวี ยนตก เพราะ 15, 30, 45 และ 60 มิลลิเมตร ลงบนแผน อาจทํ า ให ค ดงอ หรื อ ปลายของวงเวียนทู

โลหะ

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ 15. รางแบบที่ 4 ลงบนแผนโลหะ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

รางแบบเสนตามแบบงานตัวอยางที่กําหนด ข ณ ะ ร า ง แ บ บ ค ว ร ตรวจสอบความถูกตอง แลวสงตรวจ

ระมั ด ระวั ง แผ น โลหะ บาด

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ 1

รายการประเมิน การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ที่ เ กี่ ย วข อ งได

2

ถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ที่ เ กี่ ย วข อ งได ถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของไม ถูกตอง ให 0 คะแนน 2

การใชเครื่องมือรางแบบ

ใชเครื่องมือรางแบบไดถูกตอง และมีความรอบครอบ ให 2 คะแนน

2

ใชเครื่องมือรางแบบไดถูกตอง แตขาดความรอบครอบ ให 1 คะแนน ใชเครื่องมือรางแบบไมถูกตอง และขาดความรอบครอบ ให 0 คะแนน 3

การรางแบบ

รางแบบถูกตอง ทุกตําแหนง ให 3 คะแนน

แบบที่ 1

รางแบบผิดพลาด 1 ตําแหนง ให 2 คะแนน รางแบบผิดพลาดมากกวา 1 ตําแหนง ให 1 คะแนน

3

รางแบบผิดพลาดทุกตําแหนง ให 0 คะแนน แบบที่ 2

รางแบบถูกตอง ทุกตําแหนง ให 3 คะแนน รางแบบผิดพลาด 1 ตําแหนง ให 2 คะแนน

3

รางแบบผิดพลาดมากกวา 1 ตําแหนง ให 1 คะแนน รางแบบผิดพลาดทุกตําแหนง ให 0 คะแนน แบบที่ 3

รางแบบถูกตอง ทุกตําแหนง ให 3 คะแนน

3

รางแบบผิดพลาด 1 ตําแหนง ให 2 คะแนน รางแบบผิดพลาดมากกวา 1 ตําแหนง ให 1 คะแนน รางแบบผิดพลาดทุกตําแหนง ให 0 คะแนน แบบที่ 4

รางแบบถูกตอง ทุกตําแหนง ให 3 คะแนน รางแบบผิดพลาด 1 ตําแหนง ให 2 คะแนน รางแบบผิดพลาดมากกวา 1 ตําแหนง ให 1 คะแนน รางแบบผิดพลาดทุกตําแหนง ให 0 คะแนน

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ลําดับที่ 4

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

ลักษณะเสน

เสนที่รางมีความคมชัด ให 2 คะแนน

คะแนนเต็ม 2

มีเสนซอนทับมากกวา 1 เสน ให 1 คะแนน มีเสนซอนทับมากกวา 2 เสน ให 0 คะแนน 5

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ

ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ไดถูกตอง ครบถวน และสะอาดเรียบรอย

3

ให 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ไดถูกตอง ครบถวน แตไมสะอาดเรียบรอย ให 1 คะแนน ไม ทํ า ความสะอาดเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และพื้ น ที่ ปฏิบัติงาน ให 0 คะแนน 6

การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน

2

เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน ไมเก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

23

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

หัวขอวิชาที่ 2 0920721102 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.1 การใชเครื่องมือทั่วไป 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปไดอยางถูกตอง 2. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 3 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกสรางชิ้นงานตอไปนี้ 1. จงรางแบบลงบนแผนเหล็กชุบสังกะสีตามที่กําหนด เพื่อตัดตรง แบบที่ 1

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

แบบที่ 2

2. จงรางแบบลงบนแผนเหล็กชุบสังกะสีตามที่กําหนด เพื่อตัดโคง แบบที่ 3

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.1 การใชเครื่องมือทั่วไป 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. กรรไกรตัดโคง

จํานวน 1 เลม

2. กรรไกรตัดตรง

จํานวน 1 เลม

3. คอนพลาสติก

จํานวน 1 อัน

4. บรรทัดเหล็ก

จํานวน 1 อัน

5. วงเวียน

จํานวน 1 อัน

6. เหล็กขีด

จํานวน 1 อัน

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. แบบชิ้นงาน

จํานวน 1 ชุด

2. แผนเหล็กชุบสังกะสีเบอร 30

จํานวน 1 แผน

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ลําดับการทดสอบ การใชเครื่องมือทั่วไป ขั้นตอนการทดสอบ 1. เครื่องมือและวัสดุ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เตรียมเครื่องมือ แบบงานตัวอยาง และแผน ไมควรทําเครื่องมือและ เหล็กชุบสังกะสีเบอร 30

กรรไกรตัดตรง

อุปกรณตกหลน เพราะ อาจเกิดการชํารุด

กรรไกรตัดโคง

และใช เ ครื่ อ งมื อ ตาม คุณสมบัติของเครื่องมือ

คอนพลาสติก

นั้น ๆ

บรรทัดเหล็ก เหล็กขีด

วงเวียน

แผนเหล็กชุบสังกะสีเบอร 30

แบบที่ 1

แบบที่ 2

แบบที่ 3 แบบชิ้นงาน

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ 2. ตัดแผนเหล็กขนาด 100 × 100 มิลลิเมตร

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตั ด แผ น เหล็ ก ชุ บ สั ง กะสี เ บอร 30 ให ไ ด ระวั ง อุ บั ติ เ หตุ ที่ อ าจ ขนาด 100 x 100 มิลลิเมตร ดวยกรรไกร เกิ ด ขึ้ น จากแผ น เหล็ ก ตัดตรง

3. รางแบบตามแบบชิ้นงาน (แบบที่ 1)

ชุบสังกะสี

รางแบบตามแบบตัว อย างที่ 1 ตรวจสอบ ใชเครื่องมือรางแบบให ความถูกตอง แลวสงใหครูฝกตรวจ

เ ห ม า ะ ส ม กั บ ง า น ที่ ปฏิบัติ

4. ตัดชิ้นงานตามแบบที่ราง

วางแผนการตัดวาควรตัดสวนใดกอน - หลัง ระวั ง อุ บั ติ เ หตุ ที่ อ าจ แลวตัดดวยกรรไกรตัดตรงตามแบบที่ราง

เ กิ ด ขึ้ น จ า ก ก า ร ใ ช กรรไกรตัดชิ้นงาน

5. ใชคอนเคาะแตงชิ้นงาน

เคาะแตงชิ้นงานรอยตัด ดวยคอนพลาสติก วางชิ้นงานบนพื้นเรีย บ กอนเคาะ

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ 6. ชิ้นงานที่เสร็จสมบูรณ

คําอธิบาย

ไดชิ้นงานที่เสร็จสมบูรณ สงชิ้นงานใหครูฝก ตรวจสอบความถู กต อง ทําการตรวจสอบ

7. ตัดแผนเหล็กขนาด 150 × 150 มิลลิเมตร

ขอควรระวัง กอนสงตรวจ

ตั ด แผ น เหล็ ก ชุ บ สั ง กะสี เ บอร 30 ให ไ ด ระวังอุบัติเหตุที่อาจ ขนาด 150 x 150 มิลลิเมตร ดวยกรรไกร เกิดขึ้นจากแผนเหล็ก ตัดตรง

8. รางแบบตามแบบชิ้นงาน (แบบที่ 2)

ชุบสังกะสี

รางแบบตามแบบตัว อย างที่ 2 ตรวจสอบ ใชเครื่องมือรางแบบให ความถูกตอง แลวสงใหครูฝกตรวจ

เ ห ม า ะ ส ม กั บ ง า น ที่ ปฏิบัติ

9. ตัดชิ้นงานตามแบบที่ราง

วางแผนการตัดวาควรตัดสวนใดกอน - หลัง ระวั ง อุ บั ติ เ หตุ ที่ อ าจ แลวตัดดวยกรรไกรตัดตรงตามแบบที่ราง

เ กิ ด ขึ้ น จ า ก ก า ร ใ ช กรรไกรตัดชิ้นงาน

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ 10. ใชคอนเคาะแตงชิ้นงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เคาะแตงชิ้นงานรอยตัด ดวยคอนพลาสติก วางชิ้นงานบนพื้นเรีย บ กอนเคาะ

11. ชิ้นงานที่เสร็จสมบูรณ

ไดชิ้นงานที่เสร็จสมบูรณ สงชิ้นงานใหครูฝก ตรวจสอบความถู กต อง ทําการตรวจสอบ

12. ตัดแผนเหล็กขนาด 160 × 160 มิลลิเมตร

กอนสงตรวจ

ตั ด แผ น เหล็ ก ชุ บ สั ง กะสี เ บอร 30 ให ไ ด ระวั ง อุ บั ติ เ หตุ ที่ อ าจ ขนาด 160 x 160 มิลลิเมตร ดวยกรรไกร เกิ ด ขึ้ น จากแผ น เหล็ ก ชุบสังกะสี

ตัดตรง

13. ลากเสนทแยงมุมเพื่อหาจุดกึ่งกลางชิ้นงาน

ลากเส น ทแยงมุ ม เพื่ อ หาจุ ด กึ่ ง กลางของ ใชเครื่องมือรางแบบให ชิ้นงาน

เ ห ม า ะ ส ม กั บ ง า น ที่ ปฏิบัติ

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ 14. รางแบบตามแบบชิ้นนงาน (แบบที่ 2)

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

รางแบบตามแบบตัว อย างที่ 2 ตรวจสอบ ใชเครื่องมือรางแบบให ความถูกตอง แลวสงใหครูฝกตรวจ

เ ห ม า ะ ส ม กั บ ง า น ที่ ปฏิบัติ

15. ตัดชิ้นงานตามแบบที่ราง

ตัดดวยกรรไกรตัดโคงตามแบบที่ราง

ระวั ง อุ บั ติ เ หตุ ที่ อ าจ เ กิ ด ขึ้ น จ า ก ก า ร ใ ช กรรไกรตัดชิ้นงาน

16. ใชคอนเคาะแตงชิ้นงาน

เคาะแตงชิ้นงานรอยตัด ดวยคอนพลาสติก วางชิ้นงานบนพื้นเรีย บ กอนเคาะ

17. ชิ้นงานที่เสร็จสมบูรณ

ได ชิ้ น งานที่ เ สร็ จ สมบู ร ณ ส ง ให ค รู ฝ ก ตรวจสอบความถู กต อง ตรวจสอบชิ้นงาน

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

กอนสงตรวจ


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ 1

รายการประเมิน การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ที่ เ กี่ ย วข อ งได ถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน

2

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ที่ เ กี่ ย วข อ งได ถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ที่ เ กี่ ย วข อ งได ถูกตองให 0 คะแนน 2

การตัดแผนเหล็กตามขนาดที่กําหนดไวในใบงาน

ตัดขนาดไดตามแบบทั้ง 3 ชิ้น ให 3 คะแนน ตัดขนาดไดไมตรงตามแบบหรือคลาดเคลื่อนทั้ง 3 ชิ้น

3

ให 0 คะแนน 3

การรางแบบ

รางแบบถูกตอง ทั้ง 3 ชิ้น ให 3 คะแนน

3

รางแบบผิดพลาด ทั้ง 3 ชิ้น ให 0 คะแนน 4

การตัดมุมแหลม

ตัดมุมแหลมพอดีกับแบบที่ราง ทุกตําแหนง ให 4 คะแนน

แบบที่ 1

ตัดมุมแหลมคลาดเคลื่อน 1 ตําแหนง ให 3 คะแนน

4

ตัดมุมแหลมคลาดเคลื่อน 2-3 ตําแหนง ให 2 คะแนน ตัดมุมแหลมคลาดเคลื่อน 4-5 ตําแหนง ให 1 คะแนน ตัดมุมแหลมคลาดเคลื่อนมากกวา 5 ตําแหนง ให 0 คะแนน แบบที่ 2

ตัดมุมแหลมพอดีกับแบบที่ราง ทุกตําแหนง ให 4 คะแนน

4

ตัดมุมแหลมคลาดเคลื่อน 1 ตําแหนง ให 3 คะแนน ตัดมุมแหลมคลาดเคลื่อน 2-3 ตําแหนง ให 2 คะแนน ตัดมุมแหลมคลาดเคลื่อน 4-5 ตําแหนง ให 1 คะแนน ตัดมุมแหลมคลาดเคลื่อนมากกวา 5 ตําแหนง ให 0 คะแนน 5

การตัดมุมฉาก

ตัดมุมฉากพอดีกับแบบที่ราง ทุกตําแหนง ให 4 คะแนน

แบบที่ 1

ตัดมุมฉากคลาดเคลื่อน 1 ตําแหนง ให 3 คะแนน

4

ตัดมุมฉากคลาดเคลื่อน 2-3 ตําแหนง ให 2 คะแนน ตัดมุมฉากคลาดเคลื่อน 4-5 ตําแหนง ให 1 คะแนน ตัดมุมฉากคลาดเคลื่อนมากกวา 5 ตําแหนง ให 0 คะแนน แบบที่ 2

ตัดมุมฉากพอดีกับแบบที่ราง ทุกตําแหนง ให 2 คะแนน ตัดมุมฉากคลาดเคลื่อน 1 ตําแหนง ให 1 คะแนน ตัดมุมฉากคลาดเคลื่อนมากกวา 1 ตําแหนง ให 0 คะแนน

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

2

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ลําดับที่ 6

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

การตัดโคง

ตั ด โค ง ตรงตามแบบ และรอยตั ด มี ค วามชั ด เจน

4

แบบที่ 3

สมบูรณมากกวา 90% ให 4 คะแนน ตั ด โค ง ตรงตามแบบ และรอยตั ด มี ค วามชั ด เจน สมบูรณตั้งแต 50% ขึ้นไป ให 2 คะแนน ตัดโคงไมตรงตามแบบ และรอยตัดไมมีความชัดเจน สมบูรณนอยกวา 50% ให 0 คะแนน

7

การตัดยายโคง

ไมมีความความผิดพลาด ให 2 คะแนน

แบบที่ 3

มีความผิดพลาด 1 จุด ให 1 คะแนน

2

มีความผิดพลาดมากกวา 1 จุด ให 0 คะแนน 8

การเคาะชิ้นงานเรียบ

เคาะชิ้นงานเรียบ ทั้ง 3 ชิ้น ให 3 คะแนน ไมมีการเคาะชิ้นงาน ทั้ง 3 ชิ้น ให 0 คะแนน

3

9

พฤติกรรมขณะปฏิบัติงานและความปลอดภัย

ขณะปฏิบัติงานคํานึงถึงความปลอดภัย ให 2 คะแนน

2

ขณะปฏิบัติงานไมคํานึงถึงความปลอดภัย ให 0 คะแนน 10

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ

ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ไดถูกตอง ครบถวน และสะอาดเรียบรอย

3

ให 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ไดถูกตอง ครบถวน แตไมสะอาดเรียบรอย ให 1 คะแนน ไม ทํ า ความสะอาดเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และพื้ น ที่ ปฏิบัติงาน ให 0 คะแนน 11

การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง ครบถวน

2

ให 2 คะแนน เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน ไมเก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

38

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

หัวขอวิชาที่ 3 0920721103 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.1 การใชเครื่องมือกล 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลไดอยางถูกตอง 2. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 3 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานตอไปนี้ 1. จงเลื่อยชิ้นงานใหไดขนาดตามแบบที่กําหนด

ภาพที่ 1 แบบชิ้นงานเลื่อย 2. จงรางแบบลงบนชิ้นงาน พรอมทั้งตอกนําศูนยในตําแหนงที่ตองการเจาะรู ตามแบบราง

ภาพที่ 2 แบบชิ้นงานเจาะ 40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.1 การใชเครื่องมือกล 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. ผูรับการฝกตองเรียนรูวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 5. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เครื่องเลื่อยชัก

จํานวน 1 เครื่อง

2. เครื่องเจาะชนิดตั้งโตะ

จํานวน 1 เครื่อง

3. คอนหัวกลม

จํานวน 1 ดาม

4. ฉาก

จํานวน 1 อัน

5. ซีแคลมป

จํานวน 1 ตัว

6. ดอกสวาน No.5

จํานวน 1 ดอก

7. ตะไบหยาบ 12 นิ้ว

จํานวน 1 ดาม

8. บรรทัดเหล็ก

จํานวน 1 อัน

9. ปากกาจับชิ้นงาน

จํานวน 1 ตัว

10. ไมรองชิ้นงาน

จํานวน 1 ชิ้น 41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

11. เหล็กขีด

จํานวน 1 อัน

12. เหล็กตอกนําศูนย

จํานวน 1 อัน

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. แบบชิ้นงาน

จํานวน 1 ชุด

2. เหล็กฉาก ขนาด 65 x 65 x 5 มิลลิเมตร

จํานวน 1 เสน

2. ลําดับการทดสอบ การใชเครื่องมือกล ขั้นตอนการทดสอบ 1. เตรียมเครื่องมือและวัสดุ

คําอธิบาย เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ

ขอควรระวัง ตรวจสอบเครื่ อ งมื อ อุปกรณ และเครื่องมื อ กล ให มี ค วามพร อ ม กอนปฏิบัติงานทุกครั้ง

เครือ่ งเลือ่ ยชัก

เครือ่ งเจาะตั้งโตะ

คอนหัวกลม

ฉาก

ซีแคลมป

ตะไบหยาบ 12 นิ้ว

ปากกาจับชิน้ งาน เหล็กขีด

ดอกสวาน No.5

บรรทัดเหล็ก

ไมรองชิ้นงาน เหล็กตอกนําศูนย

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ

แบบชิ้นงานเลื่อย

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

แบบชิ้นงานเจาะ

เหล็กฉากขนาด 65×65×5 มม.

2. ตัดเหล็กฉากใหมีขนาด 102 มิลลิเมตร

ใชเครื่องเลื่อยชัก ตัดเหล็กฉากใหมีความ ใบเลื่ อ ยที่ ใ ช ใ นการตั ด ยาว 102 มิลลิเมตร

คว รอยู น อกเส น ร า ง แบบ เพื่ อ ให ไ ด ค วาม ยาวตามที่กําหนด

3. ตะไบขอบใหเหลือความยาว 100 มิลลิเมตร

ตะไบขอบชิ้ น งานให มี ค วามยาว 100 ข ณ ะ ต ะ ไ บ ค ว ร มิลลิเมตร และตะไบพื้นผิวทั้งสองดานใหมี ตรวจสอบขนาดของ ความราบเรียบ พรอมทั้งตรวจสอบชิ้นงาน ชิ้ น งานเป น ระยะ และ ใหไดฉาก

ตรวจสอบชิ้ น งานให ไ ด ฉากทั้ง 2 ดาน

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ 4. รางแบบเจาะ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใชเหล็กขีดรางแบบเจาะ ตามแบบที่กําหนด ไมควรทําเครื่องมือ รา ง แบบตก เพราะอาจทํ า ใหชํารุด เสียหาย

5. ตอกนําศูนยชิ้นงาน

ตอกนําศูนย ณ ตําแหนงจุดตัด

ขณะตอกนํ า ศู น ย ค วร ตอกอยางระมัดระวัง

6. วางชิ้นงานบนเครื่องเจาะ

นําชิ้น งานฉากประกบกั บ ท อนไม วางบน ควรล็อกชิ้นงานดวย แทนเจาะ แลวล็อกดวยซีแคลมป

ซี แ คลมป ใ ห แ น น ก อ น ทําการเจาะ เพราะอาจ ทําใหชิ้น งานเคลื่อนตัว ได เ ป น สาเหตุ ใ ห ด อก สวานหัก

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ 7. เจาะรูขนาด 5 มิลลิเมตร

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใช เ ครื่ อ งเจาะชนิ ด ตั้ ง โต ะ เจาะรู ข นาด ปรับความเร็วรอบเครื่ อง 5 มิลลิเมตร ในตําแหนงที่ตอกนําศูนยไว

เจาะให เ หมาะสมกั บ ขนาดดอกสวาน

8. ลบครีบดวยตะไบ

ลบครีบเจาะดวยตะไบ ตรวจสอบความถูกตอง ขณะลบครี บ ควรลบ แลวสงตรวจ

ด ว ยความระมั ด ระวั ง เพราะครีบอาจบาดมือได

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ 1

รายการประเมิน การสวมอุปกรณปองกันอันตราย

เกณฑการใหคะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายไดถูกตอง ครบถวน ให 3 คะแนน

คะแนนเต็ม 3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขาดไป 1 ชิ้น ให 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขาดไปมากกวา 1 ชิ้น ให 1 คะแนน ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตราย ให 0 คะแนน 2

การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ที่ เ กี่ ย วข อ งได

2

ถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ที่ เ กี่ ย วข อ งได ถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกี่ยวของไมถูกตอง ให 0 คะแนน 3

การเลื่อยชิ้นงานดวยเครื่องเลื่อยชัก

เลื่อยไดความยาวตามแบบที่กําหนดและคลาดเคลื่อน

4

ไมเกิน ±1 มิลลิเมตร ให 4 คะแนน เลื่อยคลาดเคลื่อน ±2 มิลลิเมตร ให 2 คะแนน เลื่อยคลาดเคลื่อนมากกวา ±2 มิลลิเมตร ให 0 คะแนน 4

การตะไบขอบชิ้นงาน

ตะไบขอบชิ้ น งานทั้ ง 2 ด า น ให มี ค วามยาวตามที่

4

กําหนด ให 4 คะแนน ตะไบขอบชิ้ น งานทั้ ง 2 ด า น คลาดเคลื่ อ น ±1 มิลลิเมตร ให 2 คะแนน ตะไบขอบชิ้นงานทั้ง 2 ดาน คลาดเคลื่อนมากกวา ±1 มิลลิเมตร ให 0 คะแนน 5

การรางแบบเจาะ

รางแบบถูกตอง ให 2 คะแนน

2

รางแบบผิดพลาด 1 ตําแหนง ให 1 คะแนน รางแบบผิดพลาดมากกวา 1 ตําแหนง ให 0 คะแนน 6

การตอกนําศูนย

ตอกนําศูนยถูกตอง ทุกตําแหนง ให 2 คะแนน ตอกนําศูนยผิดพลาด ให 0 คะแนน

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

2

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ลําดับที่ 7

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การล็อกชิ้นงานกับแทนเจาะ ดวยซีแคลมป

มีการล็อกชิ้นงานกับแทนเจาะ ดวยซีแคลมป

คะแนนเต็ม 1

ให 1 คะแนน ไมมีการล็อกชิ้นงานกับแทนเจาะ ดวยซีแคลมป ให 0 คะแนน 8

การเจาะรูชิ้นงานดวยเครื่องเจาะชนิดตั้งโตะ

เจาะรูชิ้นงานถูกตอง ทุกตําแหนง ให 3 คะแนน

3

เจาะรูชิ้นงานผิดพลาด 1 ตําแหนง ให 2 คะแนน เจาะรูชิ้นงานผิดพลาดมากกวา 1 ตําแหนง หรือดอก สวานหักขณะเจาะ ให 0 คะแนน 9

พฤติกรรมขณะปฏิบัติงานและความปลอดภัย

ขณะปฏิบัติงานคํานึงถึงความปลอดภัย ให 2 คะแนน

2

ขณะปฏิบัติงานไมคํานึงถึงความปลอดภัย ให 0 คะแนน 10

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ

ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน

3

ไดถูกตอง ครบถวน และสะอาดเรียบรอย ให 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ไดถูกตอง ครบถวน แตไมสะอาดเรียบรอย ให 1 คะแนน ไม ทํ า ความสะอาดเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และพื้ น ที่ ปฏิบัติงาน ให 0 คะแนน 11

การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน

2

เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน ไมเก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 คะแนนที่ได แบบทดสอบ 1. บอกการใชเครื่องมือรางแบบ 17 12 10 กอนฝก ไดแก สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ําและ บรรทัดออนได 2. บอกการใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ไดแก ที่วัดอุณหภูมิแบบสัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลได 3. บอกการใชอุปกรณการวัดแนว เชื่อม ไดแก เกจวัด แวนขยาย ไฟฉาย กระจกเงาได 4. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือวัดได 5. บอกวิธีการใชคีม คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบและเลื่อยมือ การใชคอน และสกัดได 6. บอกการใชดอกสวานและเครื่อง เจาะ การใชประแจแบบตาง ๆ การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรง ยกของ การใชแปรงลวดได 7. บอกการใชใบหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ได 8. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือทั่วไปได 48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 9. บอกการใชเครื่องเจียระไนได 10. บอกการใชเครื่องขัดผิวโลหะได 11. บอกการใชเครื่องกดไฮดรอลิกส ได 12. บอกการใชเครื่องทดสอบการ ดัดงอได 13. บอกการใชเครื่องตัดชิ้นงานและ เครื่องเลื่อยได 14. บอกการใชอุปกรณจับยึดได 15. บอกการใชเครื่องดูดควันได 16. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือกลได ประเมินผลภาคทฤษฎี

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 แบบทดสอบ 1. บอกการใชเครื่องมือรางแบบ 17 12 หลังฝก ไดแก สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ําและ บรรทัดออนได 2. บอกการใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ไดแก ที่วัดอุณหภูมิแบบสัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลได 3. บอกการใชอุปกรณการวัดแนว เชื่อม ไดแก เกจวัด แวนขยาย ไฟฉาย กระจกเงาได 4. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือวัดได 5. บอกวิธีการใชคีม คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบและเลื่อยมือ การใชคอน และสกัดได 6. บอกการใชดอกสวานและเครื่อง เจาะ การใชประแจแบบตาง ๆ การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรง ยกของ การใชแปรงลวดได 7. บอกการใชใบหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ได 8. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือทั่วไปได 9. บอกการใชเครื่องเจียระไนได 10. บอกการใชเครื่องขัดผิวโลหะได 11. บอกการใชเครื่องกดไฮดรอลิกส ได 50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 15


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 12. บอกการใชเครื่องทดสอบการ ดัดงอได 13. บอกการใชเครื่องตัดชิ้นงานและ เครื่องเลื่อยได 14. บอกการใชอุปกรณจับยึดได 15. บอกการใชเครื่องดูดควันได 16. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือกลได ประเมินผลภาคทฤษฎี

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.3 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.3

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

45

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 32

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

33

23

25

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

40

28

40

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

30

21

23

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

18

13

12

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

16

11

17

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

20

14

18

20

14

16

20

14

17

242

170

198

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 30

ผาน (C)

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ไมผาน (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

15

1.176

17.64

198

0.331

65.538

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 83.178

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

17

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 17

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

15 × 1.176 = 17.64

คือ

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

= 1.176


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

242 80 = 0.331 242

ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ ∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

คือ

198 × 0.331 = 65.538

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 17.64 + 83.178 = 83.178 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 คะแนนที่ได แบบทดสอบ 1. อธิบายวิธีการใชเครื่องมือราง 16 11 กอนฝก แบบ เชน สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ําและ บรรทัดออนไดอยางถูกตอง 2. อธิบายวิธีการใชเครื่องมือวัด อุณหภูมิ เชน ที่วัดอุณหภูมิแบบ สัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลไดอยาง ถูกตอง 3. อธิบายวิธีการใชอุปกรณการวัด แนวเชื่อม ไดแก เกจวัด แวน ขยาย ไฟฉาย กระจกเงา ไดอยางถูกตอง 4. อธิบายวิธีการดูแลและ บํารุงรักษาเครื่องมือวัดไดอยาง ถูกตอง 5. อธิบายวิธีการใชคีม คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบ และเลื่อยมือ การใชคอนและ สกัดไดอยางถูกตอง 6. อธิบายวิธีการใชดอกสวานและ เครื่องเจาะ การใชประแจแบบ ตาง ๆ การใชชะแลง ลิ่ม 55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และแมแรงยกของ การใช แปรงลวดไดอยางถูกตอง 7. อธิบายวิธีการใชหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ไดอยาง ถูกตอง 8. อธิบายวิธีการดูแลและ บํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไป ไดอยางถูกตอง 9. อธิบายวิธีการใชเครื่องเจียระไน ไดอยางถูกตอง 10. อธิบายวิธีการใชเครื่องขัดผิว โลหะไดอยางถูกตอง 11. อธิบายวิธีการใชเครื่องกดไฮดรอลิกส ไดอยางถูกตอง 12. อธิบายวิธีการใชเครื่องทดสอบ การดัดงอไดอยางถูกตอง 13. อธิบายวิธีการใชเครื่องตัด ชิ้นงานและเครื่องเลื่อยไดอยาง ถูกตอง 14. อธิบายวิธีการใชอุปกรณจับยึด ไดอยางถูกตอง 15. อธิบายวิธีการใชเครื่องดูดควัน ไดอยางถูกตอง 16. อธิบายวิธีการดูแลและ บํารุงรักษาเครื่องมือกลไดอยาง ถูกตอง ประเมินผลภาคทฤษฎี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ 56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 แบบทดสอบ 1. อธิบายวิธีการใชเครื่องมือราง 16 11 หลังฝก แบบ เชน สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ําและ บรรทัดออนไดอยางถูกตอง 2. อธิบายวิธีการใชเครื่องมือวัด อุณหภูมิ เชน ที่วัดอุณหภูมิแบบ สัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลไดอยาง ถูกตอง 3. อธิบายวิธีการใชอุปกรณการวัด แนวเชื่อม ไดแก เกจวัด แวน ขยาย ไฟฉาย กระจกเงา ไดอยางถูกตอง 4. อธิบายวิธีการดูแลและ บํารุงรักษาเครื่องมือวัดไดอยาง ถูกตอง 5. อธิบายวิธีการใชคีม คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบ และเลื่อยมือ การใชคอนและ สกัดไดอยางถูกตอง 6. อธิบายวิธีการใชดอกสวานและ เครื่องเจาะ การใชประแจแบบ ตางๆ การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรงยกของ การใช แปรงลวดไดอยางถูกตอง 7. อธิบายวิธีการใชหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ไดอยาง ถูกตอง 57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 8. อธิบายวิธีการดูแลและ บํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไป ไดอยางถูกตอง 9. อธิบายวิธีการใชเครื่องเจียระไน ไดอยางถูกตอง 10. อธิบายวิธีการใชเครื่องขัดผิว โลหะไดอยางถูกตอง 11. อธิบายวิธีการใชเครื่องกดไฮดรอลิกส ไดอยางถูกตอง 12. อธิบายวิธีการใชเครื่องทดสอบ การดัดงอไดอยางถูกตอง 13. อธิบายวิธีการใชเครื่องตัด ชิ้นงานและเครื่องเลื่อยไดอยาง ถูกตอง 14. อธิบายวิธีการใชอุปกรณจับยึด ไดอยางถูกตอง 15. อธิบายวิธีการใชเครื่องดูดควัน ไดอยางถูกตอง 16. อธิบายวิธีการดูแลและ บํารุงรักษาเครื่องมือกลไดอยาง ถูกตอง ประเมินผลภาคทฤษฎี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.1

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาใชเครื่องมือวัดได อยางถูกตอง ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาใชเครื่องมือ ทั่วไปไดอยางถูกตอง ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาใชเครื่องมือกลได อยางถูกตอง คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

23

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 16

38

27

28

20

89

63

ประเมินผลภาคปฏิบัติ * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC)

1.25 0.899

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบันทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.