คู่มือการประเมิน ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 2 โมดูล 2

Page 1



คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

คู่มือการประเมิน 0920164170202 สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2

ชุดการฝึกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝึกที่ 2 09217207 วงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศระบบ 3 เฟส อุปกรณ์และ หลักการทางานของระบบควบคุมต่าง ๆ ที่อยู่ใน เครื่องปรับอากาศ กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

คานา คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื ่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดูล ที่ 2 วงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟส อุปกรณ์และหลักการทางานของระบบควบคุมต่าง ๆ ที่อยู่ในเครื่องปรับอากาศ ฉบับนี้ ได้ พั ฒ นาขึ้ น ภายใต้ โ ครงการพั ฒ นาระบบฝึ ก และชุ ด การฝึ ก ตามความสามารถ เพื่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงค์เ พื่ อน าไปใช้เป็ นระบบการ ฝึกอบรมตามความสามารถ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 เพื่ อ ให้ ต อบสนองความ ต้ อ งการของกาลั ง แรงงานและตลาดแรงงานได้ อ ย่ า งเหมาะสมมากยิ่ ง ขึ้ น และเพื่ อ รองรั บ ระบบการรับ รอง มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติและระบบการรับรองความรู้ความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อส่งมอบระบบการฝึกอบรมนี้ ให้ แก่กาลั งแรงงานกลุ่ มเป้ าหมายต่ า ง ๆ ให้ กว้างขวางมากยิ่ง ขึ้ น ทั้งในแง่ของขอบเขตของการให้ บริ ก ารและจ านวน ผู้รับบริการ ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่งเสริมให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถฝึกฝนเรียนรู้ ได้ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลาย ไปให้แก่ ผู้รับการฝึกอบรม และต้องการให้ผู้รับการฝึกอบรมเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง การฝึกปฏิบัติจะดาเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน้ น ผลลั พธ์การฝึ กอบรมในการที่ทาให้ ผู้ รับ การฝึ กอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติ ง าน ตามที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยยึดความสามารถของผู้รับการฝึกเป็นหลัก การฝึกอบรมในระบบดังกล่าว จึงเป็นรูปแบบ การฝึกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ละสาขาอาชีพ จะถูกกาหนดเป็นรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับการฝึกอบรมจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และสอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึกจะต้องเรียนรู้และฝึกฝน จนกว่ า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได้ ตามมาตรฐานที่ กาหนดในแต่ ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส่ ง มอบการฝึ ก สามารถดาเนินการได้ทั้งรูปแบบการเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Paper Based) และผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ (Computer Based) โดยผู้ รั บ การฝึ ก สามารถเรี ย นรู้ ไ ด้ ด้ ว ยตนเอง (Self-Learning) ที่ บ้ า นหรื อ ที่ ทางาน และเข้ า รั บ การฝึ ก ภาคปฏิ บั ติ ตามความพร้อม ตามความสะดวกของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผล ความรู้ ค วามสามารถกั บ หน่ ว ยฝึ ก โดยมี ค รู ฝึ ก หรื อ ผู้ ส อนคอยให้ คาปรึ ก ษา แนะนาและจั ด เตรี ย มการฝึ ก ภาคปฏิ บั ติ รวมถึงจัดเตรียมและดาเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่างๆ อันจะทาให้สามารถเพิ่มจานวนผู้รับการฝึกได้มากยิ่งขึ้น ช่ ว ยประหยั ด เวลาในการเดิ น ทาง และประหยั ด งบประมาณค่ า ใช้ จ่ า ยในการพั ฒ นาฝี มื อ แรงงานให้ แ ก่ กาลั ง แรงงาน ในระยะยาว จึ ง ถื อ เป็ น รู ป แบบการฝึ ก ที่ มี ค วามสาคั ญ ต่ อ การ พั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน ทั้ ง ในปั จ จุ บั น และอนาคต ซึ่งหากมีการนาระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยทาให้ประชาชน ผู้ใช้แรงงาน ผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และ ผู้ประกอบอาชีพอิสระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

สารบัญ เรื่อง

หน้า

คานา

สารบัญ

ข้อแนะนา

1

ผลลัพธ์การเรียนรู้

5

แบบทดสอบก่อนฝึก

6

แบบทดสอบหลังฝึก

10

กระดาษคาตอบ

14

เฉลยคาตอบแบบทดสอบก่อนฝึก-หลังฝึก

15

แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หัวข้อวิชาที่ 1 0921720701 ระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส

16

หัวข้อวิชาที่ 2 0921720702 วงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ

28

หัวข้อวิชาที่ 3 0921720703 อุปกรณ์ป้องกันในระบบไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ

37

หัวข้อวิชาที่ 4 0921720704 อุปกรณ์ป้องกันในระบบสารทาความเย็นในเครื่องปรับอากาศ

47

ตัวอย่างบันทึกผลการประเมินความสามารถ บันทึกผลการประเมินความสามารถ

55 60

ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ข้อแนะนา ข้อแนะนา คือ คาอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใช้คู่มือการประเมิน เพื่อนาไปใช้ในการประเมินผลผ่านการฝึกโมดูลของผู้รับการ ฝึก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝึกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบของคู่มือการ ประเมินที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทาบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมิน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 4) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันสอบและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องสอบ - ครูฝึกกาหนดวันสอบให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ก่อนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝึกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 3) ครูฝึกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบให้คะแนนการตรวจสอบของคู่มือการประเมินที่พิมพ์จากสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 5) ครูฝึกประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่าง หลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 6) ครูฝึกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก

2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนนและการระบุความสามารถด้านความรู้ ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ต่ากว่าร้อยละ 70

เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนนและการระบุความสามารถด้านทักษะ ดังนี้ เกณฑ์การประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป หรือทา ได้ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน ต่ากว่าร้อยละ 70 หรือ ไม่ สามารถทาได้ ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน

เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)

ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูลนั้น ๆ ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนั้น และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการฝึกนั้น ๆ แล้ว

3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

4. เงื่อนไขการผ่านการฝึก ผู้รับการฝึกที่จะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบหลังฝึก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนามาคิดแบ่งเป็นสัดส่วน ภาคทฤษฏี คิดเป็นร้อยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเป็นร้อยละ 80 เมื่อนาคะแนนมารวมกัน ผู้รับการฝึกจะต้องได้ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านเกณฑ์ ทั้งนี้ ผู้รับการฝึกจะต้องทาคะแนนผ่านเกณฑ์ทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผ่านโมดูลการฝึก

4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ผลลัพธ์การเรียนรู้ โมดูลการฝึกที่ 2 09217207 วงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟส อุปกรณ์ และหลักการทางาน ของระบบควบคุมต่าง ๆ ที่อยู่ในเครื่องปรับอากาศ 1. อธิบายระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 3 สาย และแบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต์ได้ 2. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 3 สาย และแบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต์ได้ 3. อธิบายวงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟสได้ 4. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟสได้ 5. อธิบายหน้าที่และหลักการทางานของอุปกรณ์ป้องกันในระบบไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟสได้ 6. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันในระบบไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศระบบไฟฟ้า 3 เฟสได้ 7. อธิบายหน้าที่และหลักการทางานของอุปกรณ์ป้องกันในระบบสารทาความเย็นในเครื่องปรับอากาศ ระบบ ไฟฟ้า 3 เฟสได้ 8. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันในระบบสารทาความเย็นในเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟสได้

5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

แบบทดสอบก่อนฝึก คาชี้แจง : 1. 2. 3. 4. 5.

ผู้รับการฝึกสามารถรับแบบทดสอบก่อนฝึกได้จากครูฝึก อ่านคาชี้แจงหรือคาสั่งให้เข้าใจก่อนทาแบบทดสอบทุกครั้ง ห้ามนาแบบทดสอบออกนอกบริเวณห้องสอบ ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว เมื่อทาแบบทดสอบเสร็จแล้ว ให้ส่งครูฝึกเพื่อตรวจประเมินผล

6 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

แบบทดสอบก่อนฝึก โมดูลการฝึกที่ 2 09217207 วงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟส อุปกรณ์ และ หลักการทางานของระบบควบคุมต่าง ๆ ทีอ่ ยู่ในเครื่องปรับอากาศ 1. ข้อใดคือข้อเสียของระบบไฟฟ้า 3 เฟส 3 สาย ก. ไม่มีสายนิวตรอน ข. สามารถใช้งานได้ทั่วไป ค. ใช้ได้เฉพาะกับไฟขนาด 220 โวลต์ ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง 2. ข้อใดคือวิธีป้องกันอันตรายจากการใช้ไฟฟ้า ก. แปลงการจ่ายไฟให้มีการส่งโวลต์ที่ต่าที่สุด ข. เพิ่มฉนวนกับสายไฟให้มากขึ้น ค. ต่อสายลงดินหรือทาสายกราวด์หนึ่งเฟส ง. เปลี่ยนไปใช้ระบบไฟ 4 สาย 3. ระบบไฟฟ้าแบบใดที่เหมาะกับการใช้งานในโรงงานอุตสาหกรรม ก. ระบบ 1 เฟส 2 สาย ข. ระบบ 1 เฟส 3 สาย ค. ระบบ 3 เฟส 2 สาย ง. ระบบ 3 เฟส 4 สาย 4. แมกเนติคอนแทคเตอร์ มีหน้าที่ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปสู่อุปกรณ์ใด ก. คาปาซิเตอร์ ข. คอมเพรสเซอร์ ค. มอเตอร์คอยล์ร้อน ง. ซีเล็กเตอร์สวิตซ์

7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

5. สภาวะ De-energize (N/C) จะเกิดขึ้น เพราะเหตุใด ก. แรงดันไฟฟ้าอยู่ในสภาวะปกติ ข. แรงดันไฟฟ้าอยู่ในสภาวะผิดปกติ ค. เริ่มมีการนับเวลาหน่วง ง. หลังจากหยุดนับเวลาหน่วง 6. ข้อใดคือองค์ประกอบของวงจรไฟฟ้าชุดคอยล์ร้อน ก. ซีเล็กเตอร์สวิตช์ ข. ขั้วพักสาย ค. แม็กเนติกคอนแทกเตอร์ ง. รีเลย์

7.

จากรูป คืออุปกรณ์ใด ก. อุปกรณ์วัดความดัน ข. อุปกรณ์ป้องกันการลัดวงจร ค. อุปกรณ์ป้องกันเฟส ง. อุปกรณ์วัดกระแสไฟฟ้า

8 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

8. เครื่องปรับอากาศแบบใดที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน ก. เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน ข. เครื่องปรับอากาศแบบติดผนัง ค. เครื่องปรับอากาศแบบเคลื่อนที่ ง. เครื่องปรับอากาศแบบเครื่องชนิดทาน้าเย็น 9. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์ในวงจรไฟฟ้าชุดคอยล์เย็น ก. คาปาซิเตอร์ ข. มอเตอร์พัดลม ค. ซีเล็กเตอร์สวิตซ์ ง. รีเลย์ 10. อุปกรณ์ควบคุมความดันชนิดใดที่ใช้กับเครื่องระเหยแบบเปียก ก. ชนิดลูกลอยความดันต่า ข. ชนิดลูกลอยความดันสูง ค. ชนิดความดันรวม ง. ชนิดแรงดันน้ามันหล่อลื่น

9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

แบบทดสอบหลังฝึก คาชี้แจง : 1. 2. 3. 4. 5.

ผู้รับการฝึกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝึกได้จากครูฝึก อ่านคาชี้แจงหรือคาสั่งให้เข้าใจก่อนทาแบบทดสอบทุกครั้ง ห้ามนาแบบทดสอบออกนอกบริเวณห้องสอบ ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว เมื่อทาแบบทดสอบเสร็จแล้ว ให้ส่งครูฝึกเพื่อตรวจประเมินผล

10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

แบบทดสอบหลังฝึก โมดูลการฝึกที่ 2 09217207 วงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟส อุปกรณ์ และ หลักการทางานของระบบควบคุมต่าง ๆ ทีอ่ ยู่ในเครื่องปรับอากาศ 1. สภาวะ De-energize (N/C) จะเกิดขึ้น เพราะเหตุใด ก. หลังจากหยุดนับเวลาหน่วง ข. เริ่มมีการนับเวลาหน่วง ค. แรงดันไฟฟ้าอยู่ในสภาวะปกติ ง. แรงดันไฟฟ้าอยู่ในสภาวะผิดปกติ 2. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์ในวงจรไฟฟ้าชุดคอยล์เย็น ก. รีเลย์ ข. คาปาซิเตอร์ ค. มอเตอร์พัดลม ง. ซีเล็กเตอร์สวิตซ์ 3. เครื่องปรับอากาศแบบใดที่เป็นที่นิยมใช้ในบ้านเรือน ก. เครื่องปรับอากาศแบบเครื่องชนิดทาน้าเย็น ข. เครื่องปรับอากาศแบบเคลื่อนที่ ค. เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน ง. เครื่องปรับอากาศแบบติดผนัง 4. ข้อใดคือข้อเสียของระบบไฟฟ้า 3 เฟส 3 สาย ก. ไม่มีข้อใดถูกต้อง ข. สามารถใช้งานได้ทั่วไป ค. ไม่มีสายนิวตรอน ง. ใช้ได้เฉพาะกับไฟขนาด 220 โวลต์

11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

5. อุปกรณ์ควบคุมความดันชนิดใดที่ใช้กับเครื่องระเหยแบบเปียก ก. ชนิดแรงดันน้ามันหล่อลื่น ข. ชนิดลูกลอยความดันต่า ค. ชนิดความดันรวม ง. ชนิดลูกลอยความดันสูง 6. ระบบไฟฟ้าแบบใดที่เหมาะกับการใช้งานในโรงงานอุตสาหกรรม ก. ระบบ 3 เฟส 4 สาย ข. ระบบ 1 เฟส 2 สาย ค. ระบบ 3 เฟส 2 สาย ง. ระบบ 1 เฟส 3 สาย 7. ข้อใดคือองค์ประกอบของวงจรไฟฟ้าชุดคอยล์ร้อน ก. รีเลย์ ข. แม็กเนติกคอนแทกเตอร์ ค. ซีเล็กเตอร์สวิตช์ ง. ขั้วพักสาย 8. แมกเนติคอนแทคเตอร์ มีหน้าที่ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปสู่อุปกรณ์ใด ก. มอเตอร์คอยล์ร้อน ข. คาปาซิเตอร์ ค. ซีเล็กเตอร์สวิตซ์ ง. คอมเพรสเซอร์

12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

9.

จากรูป คืออุปกรณ์ใด ก. อุปกรณ์ป้องกันการลัดวงจร ข. อุปกรณ์วัดกระแสไฟฟ้า ค. อุปกรณ์วัดความดัน ง. อุปกรณ์ป้องกันเฟส

10. ข้อใดคือวิธีป้องกันอันตรายจากการใช้ไฟฟ้า ก. เปลี่ยนไปใช้ระบบไฟ 4 สาย ข. ต่อสายลงดินหรือทาสายกราวด์หนึ่งเฟส ค. แปลงการจ่ายไฟให้มีการส่งโวลต์ที่ต่าที่สุด ง. เพิ่มฉนวนกับสายไฟให้มากขึ้น

13 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

กระดาษคาตอบ

คะแนนที่ได้ คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………… เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. คาสั่ง จงทาเครื่องหมายกากบาท

ทับข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

แบบทดสอบก่อนฝึก ก

แบบทดสอบหลังฝึก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

เฉลยคาตอบ แบบทดสอบก่อนฝึก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝึก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

ให้ครูฝึกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่าน (C) จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC) ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ แล้วจึงทาแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก

15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

หัวข้อวิชาที่ 1 0921720701 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.1 ระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 3 สาย และ แบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต์ ได้ 2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 4 ชั่วโมง 3. คาชี้แจง : ให้ผู้รับการฝึกต่อวงจรกาลังและวงจรควบคุม การเริ่มมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ 3 เฟส ด้วยแมคเนติคคอนแทคเตอร์

วงจรกาลังการเริ่มเดินมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ 3 เฟส ด้วยแมกเนติคคอนแทคเตอร์

16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

วงจรควบคุมการเริ่มเดินมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ 3 เฟส ด้วยแมกเนติคคอนแทคเตอร์

17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 ระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ 1. ถุงมือผ้า 2. รองเท้านิรภัย 3. ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้าวางกีด ขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. ไขควงแฉก

จานวน 1 ตัว

2. ไขควงเช็คไฟ

จานวน 1 ตัว

3. ไขควงแบน

จานวน 1 ตัว

4. คีมช่างไฟฟ้า

จานวน 1 ตัว

5. คีมตัด

จานวน 1 ตัว

6. คีมปอกสาย

จานวน 1 ตัว

7. คีมย้าหางปลา

จานวน 1 ตัว

8. มัลติมิเตอร์

จานวน 1 ตัว

9. มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ 3 เฟส

จานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ

18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. ตู้ควบคุมมอเตอร์ No.3

จานวน 1 ใบ

2. เทอร์มินอล

จานวน 1 ชุด

3. ฟิวส์พร้อมฐาน

จานวน 4 ชุด

4. แมกเนติคคอนแทคเตอร์

จานวน 1 ตัว

5. รางเดินสาย

จานวน 1 เส้น

6. สวิตซ์กดติด ปล่อยดับ 1 No, 1 No

จานวน 2 ตัว

7. สายไฟ IEC 02 ขนาด 1.5 mm2 สีน้าตาล ความยาว 10 เมตร

จานวน 1 เส้น

8. สายไฟ IEC 02 ขนาด 1.5 mm2 สีฟ้า ความยาว

3 เมตร

จานวน 1 เส้น

9. สายไฟ IEC 02 ขนาด 2.5 mm2 สีดา ความยาว

5 เมตร

จานวน 1 เส้น

10. สายไฟ IEC 02 ขนาด 2.5 mm2 สีเทา ความยาว

5 เมตร

จานวน 1 เส้น

11. สายไฟ IEC 02 ขนาด 2.5 mm2 สีน้าตาล ความยาว 5 เมตร

จานวน 1 เส้น

12. หลอดแสดงผล

จานวน 2 หลอด

13. หางปลาแฉก ขนาด 1.5 mm2 สีแดง

จานวน 50 ตัว

14. หางปลาแฉก ขนาด 2.5 mm2 สีฟ้า

จานวน 30 ตัว

15. โอเวอร์โหลดรีเลย์

จานวน 1 ตัว

19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

2. ลาดับการปฏิบัติงาน ระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตรวจเช็คอุปกรณ์

คาอธิบาย

ข้อควรระวัง

ตรวจเช็คอุปกรณ์แต่ละตัว จากนั้น

ให้ครูฝึกตรวจความพร้อมของ

ติดตั้งอุปกรณ์ลงตู้ควบคุม

อุปกรณ์และความพร้อมของวงจร ก่อนจ่ายกระแสไฟฟ้าทุกครั้ง ป้องกันอันตรายที่อาจทาให้ เสียชีวิตได้

2. ต่อวงจรกาลัง

เริ่มต่อวงจรกาลัง

20 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ 3. ต่อสายไฟ 3 เฟส เข้าฟิวส์วงจรกาลัง

คาอธิบาย ต่อสาย L1 L2 และ L3 เข้ากับ Main Fuse (F1)

4. เดินสายจากเมนฟิวส์ เข้าเมนคอนแทค

จาก Main Fuse (F1) ต่อเข้ากับ

ของแมคเนติก (K1)

Main Contact (K1)

21 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ

คาอธิบาย

5. จากขั้วเมนคอนแทคของแมคเนติกต่อ

จากขั้ว Main Contact (K1)

เข้าเมนคอนแทคของโอเวอร์โหลดรีเลย์

ต่อเข้ากับ Main Contact ของโอเวอร์โหลดรีเลย์

6. จากโอเวอร์โหลดรีเลย์ต่อเข้าเทอร์มินอล จากโอเวอร์โหลดรีเลย์ต่อเข้ากับ เทอร์มินอล U V และ W

22 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ

คาอธิบาย

7. เริ่มต่อวงจรควบคุม

เริ่มต่อวงจรควบคุม

8. ต่อสายไฟ L1 จากเทอร์มินอล เข้า

ต่อสาย L1 จากเทอร์มินอล

Control Fuse

เข้า Control Fuse (F2)

23 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ

คาอธิบาย

9. เดินสายจาก Control Fuse เข้า

จาก Control Fuse (F2) ต่อเข้ากับ

หน้าสัมผัส โอเวอร์โหลด

หน้าสัมผัส N.C ของโอเวอร์โหลดรีเลย์

10. จากหน้าสัมผัสโอเวอร์โหลด ต่อเข้า

จากหน้าสัมผัส N.C

สวิตช์ Stop

ของโอเวอร์โหลดรีเลย์ ต่อเข้ากับ Switch Stop (S1)

24 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ

คาอธิบาย

11. จากสวิตช์ Stop ต่อเข้า Switch Start

แ ล ะ จ า ก Switch Stop ( S1) ต่อเข้ากับ Switch Start (S2)

12. เดินสายจาก Switch Start ต่อเข้า

จาก Switch Start (S2) ต่อเข้ากับ

แมคเนติกคอนแทคเตอร์ และ

คอยล์แมกเนติก (ขั้ว A1) และจาก

เทอร์มินอลนิวทรัล

คอยล์แมกเนติก (ขั้ว A2) ต่อเข้ากับ เทอร์มินอลนิวทรัล

25 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ

คาอธิบาย

13. จากหน้าสัมผัสช่วย ต่อเข้า

จากหน้าสัมผัสช่วย (K1) ต่อเข้ากับ

Switch Stop

Switch Stop (S1)

14. เดินสายจากหน้าสัมผัสช่วย

ต่อจากด้านท้ายของหน้าสัมผัสช่วย

เข้าแมคเนติกคอนแทคเตอร์

เข้ากับคอยล์แมกเนติก (ขั้ว A1)

26 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ

คาอธิบาย

15. ต่อหลอดไฟ H1 เข้า

หลอดไฟ H1 ต่อเข้ากับ

แมคเนติกคอนแทคเตอร์ และอีกด้าน

คอยล์แมกเนติก (ขั้ว A1) และ

ของหลอดไฟ ต่อเข้าสายนิวทรัลที่เทอร์มินอล

อีกทางขั้วด้านหนึ่งของหลอดไฟ H1 ต่อเข้ากับ สายนิวทรัลที่เทอร์มินอล

27 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ

คาอธิบาย

16. เดินสายจากหลอดไฟ H2 เข้า

จากขั้ ว ด้ า นหนึ่ ง ของหลอดไฟ H2

หน้าสัมผัสของ โอเวอร์โหลดรีเลย์ และอีก

ต่อเข้ากับหน้าสัมผัสปกติเปิดของ

ด้านต่อเข้าสายนิวทรัลที่เทอร์มินอล

โอเวอร์โหลดรีเลย์ และขั้วด้านหนึ่ง ของหลอดไฟ H2 ต่อเข้ากับ สายนิวทรัลที่เทอร์มินอล

28 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ 17. ทดสอบการทางานของวงจร

คาอธิบาย ทดสอบการทางานของวงจรหลังต่อ มอเตอร์ ค อมเพรสเซอร์ 3 เฟส เสร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว โดยกดสวิ ตช์ S2 คอยล์แมคเนติกทางาน หลอด แ ส ด ง ผ ล H1 ติ ด ม อ เ ต อ ร์ คอมเพรสเซอร์หมุน จากนั้นกดปุ่ม สวิตช์ S1 คอยล์แมคเนติกไม่ทางาน หลอดแสดงผล H1 ดั บ มอเอตร์ คอมเพรสเซอร์หยุดหมุน นอกจากนี้ ในขณะที่ ม อเตอร์ ค อมเพรสเซอร์ ก า ลั ง ท า ง า น ใ ห้ ก ด ปุ่ ม Test Overload หลอด H2 จะติ ด และ มอเตอร์ ค อมเพรสเซอร์ จ ะหยุ ด ทางาน

29 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ รายการตรวจสอบ 1 เดินสายไฟฟ้า ระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 1.1. ความถูกต้องของวงจร - วงจรกาลัง - วงจรควบคุม 1.2 การเดินสายตู้ควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า - การใช้ขนาดสายวงจรกาลัง - การใช้ขนาดสายวงจรควบคุม - การใช้โค้ดสีของสายวงจรกาลัง - การใช้โค้ดสีของสายวงจรควบคุม - การใช้หางปลาเข้าขั้วต่อสายอุปกรณ์ - ความสวยงาม 2 กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน 2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน 2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

30 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

เกณฑ์การพิจารณา

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………… เลขประจาตัวประชาชน ……………………………….. ลาดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน

เกณฑ์การให้คะแนน

คะแนนเต็ม 24

- วงจรท างานถู ก ต้ อ ง มอเตอร์ ไ ฟฟ้ า ท างานถู ก ต้ อ ง ให้ ค ะแนน 5 คะแนน

5

1.1 ความถูกต้องของวงจร - วงจรกาลัง

- วงจรไฟฟ้าทางานไม่ถูกต้อง มอเตอร์ไฟฟ้าไม่ทางาน หรือ เกิดการ ลัดวงจร ให้คะแนน 0 คะแนน - วงจรควบคุม

- วงจรท างานถู ก ต้ อ ง มอเตอร์ ไ ฟฟ้ า ท างานถู ก ต้ อ ง ให้ ค ะแนน 5

5

คะแนน - วงจรไฟฟ้าทางานไม่ถูกต้อง มอเตอร์ไฟฟ้าไม่ทางาน หรือ เกิดการ ลัดวงจร ให้คะแนน 0 คะแนน 1.2 การเดินสายตู้ควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า - การใช้ขนาดสายวงจรกาลัง

- ถูกต้องตามที่กาหนด ให้คะแนน 2 คะแนน

2

- ผิดไปจากที่กาหนด ให้คะแนน 0 คะแนน - การใช้ขนาดสายวงจรควบคุม

- ถูกต้องตามที่กาหนด ให้คะแนน 2 คะแนน

2

- ผิดไปจากที่กาหนด ให้คะแนน 0 คะแนน - การใช้โค้ดสีของสายวงจรกาลัง

- โค้ดสีถูกต้องตามที่กาหนด ให้คะแนน 2 คะแนน - โค้ดสีผิดไปจากที่กาหนด ให้คะแนน 0 คะแนน

2

- การใช้โค้ดสีของสายวงจรควบคุม

- โค้ดสีถูกต้องตามที่กาหนด ให้คะแนน 2 คะแนน

2

- โค้ดสีผิดไปจากที่กาหนด ให้คะแนน 0 คะแนน - การใช้หางปลาเข้าขั้วต่อสายอุปกรณ์

- ขนาดของหางปลาเหมาะสมกับ ขนาดของสายไฟ หางปลายึดกับ อุปกรณ์แข็งแรง ฉนวนสายอยู่ในหางปลา (ทองแดงไม่โผล่) ให้คะแนน

3

3 คะแนน - ขนาดของหางปลาไม่เหมาะสมกับขนาดของสายไฟ หางปลาไม่ยึดกับ อุปกรณ์ ฉนวนสายไม่อยู่ในหางปลา (ทองแดงโผล่) ตัดคะแนนจุดละ 1 คะแนน - ความสวยงาม

สายไฟฟ้าโค้งงอสวยงาม เมื่อเดินสายระหว่างรางกับขั้วต่อสายของ อุปกรณ์พิจารณาช่วงคะแนนต่อไปนี้

3

- สวยงาม เป็นระเบียบ ร้อยเรียงเป็นริ้ว ให้คะแนน 3 คะแนน - สวยงาม ร้อยเรียง เป็นริ้วยึดติดไม่แข็งแรง ให้คะแนน 2 คะแนน - สวยงาม แต่ไม่ร้อ ยเรียงเป็ นริ้วที่ดี ยึดติดไม่แ ข็ งแรง ให้ คะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

31 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได้


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2 ลาดับที่

รายการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน ครบถ้วน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

คะแนนเต็ม 1

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

1

2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

1

คะแนนเต็ม

29

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70

ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์

หากไม่ผ่านเกณฑ์ ผู้รับการฝึกต้องขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม่ จนกระทั่งผ่านเกณฑ์

32 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได้


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

หัวข้อวิชาที่ 2 0921720702 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.1 วงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศที่ใช้ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟสได้ 2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบรวม 2 ชั่วโมง 3. คาชี้แจง : ให้ผู้รับการฝึกตรวจซ่อมเครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่ ที่ใช้ไฟฟ้า 3 เฟส

แบบต่อวงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศที่ใช้ระบบไฟฟ้า 3 เฟส

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 33 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 วงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศที่ใช้ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้าวางกีด ขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. ไขควงแฉก จานวน 1 ตัว 2. ไขควงแบน จานวน 1 ตัว 3. คีมตัด จานวน 1 ตัว 4. คีมย้าหางปลา จานวน 1 ตัว 5. เครื่องปรับอากาศ 48,000 BTU (3 Phase) จานวน 1 เครื่อง 6. มัลติมิเตอร์ จานวน 1 ตัว หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. 2. 3. 4. 5. 6.

เทปพันสายไฟ เทอร์มินอล สายไฟ IEC 02 ขนาด 1.5 mm2 สีน้าตาล ความยาว สายไฟ IEC 02 ขนาด 1.5 mm2 สีฟ้า ความยาว สายไฟ IEC 02 ขนาด 2.5 mm2 สีดา ความยาว สายไฟ IEC 02 ขนาด 2.5 mm2 สีเทา ความยาว

10 เมตร 5 เมตร 10 เมตร 10 เมตร

34 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

จานวน 1 เส้น จานวน 1 ชุด จานวน 1 เส้น จานวน 1 เส้น จานวน 1 เส้น จานวน 1 เส้น


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

7. สายไฟ IEC 02 ขนาด 2.5 mm2 สีน้าตาล ความยาว 10 เมตร 8. หางปลาแฉก ขนาด 1.5 mm2 สีแดง 9. หางปลาแฉก ขนาด 2.5 mm2 สีแดง 10. หางเสียบตรงตัวเมีย ขนาด 2.5 mm2 สีฟ้า

35 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

จานวน 1 เส้น จานวน 20 ตัว จานวน 15 ตัว จานวน 15 ตัว


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

2. ลาดับการปฏิบัติงาน วงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศที่ใช้ระบบไฟฟ้า 3 เฟส ขั้นตอนการทดสอบ 1. ต่อวงจรคอนเดนซิ่งยูนิต

คาอธิบาย ต่อวงจรชุดคอนเดนซิ่งยูนิต

ข้อควรระวัง ให้ครูฝึกตรวจความพร้อมของ อุปกรณ์และความพร้อมของวงจร ก่อนจ่ายกระแสไฟฟ้าทุกครั้ง ป้องกันอันตรายที่อาจทาให้ เสียชีวิตได้

2. ต่อสาย R,S,T,N จากเมนเข้าเทอร์มินอล นาระบบไฟฟ้า 3 เฟส R,S,T,N จาก เมนเข้าเทอร์มินอล

3. ต่อสาย R,S,T จากเทอร์มินอลเข้าสู่แมก

ต่อสายเฟส R,S,T จากเทอร์มินอล

เนติคคอนแทคเตอร์

เข้าหน้าสัมผัสหลักของ แมกเนติคคอนแทคเตอร์ (2,4,6,)

36 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ

คาอธิบาย

4. ต่อสาย R,S,T จากแมกเนติคคอนแทค

ต่อสายเฟส R,S,T จากหน้าสัมผัส

เตอร์เข้าขั้วคอมเพรสเซอร์

หลักของแมกเนติคคอนแทคเตอร์ (1,3,5) เข้าขั้วคอมเพรสเซอร์ 3 เฟส

5. ต่อสาย T จากแมกเนติคคอนแทคเตอร์

ต่อสายเฟส T จากหน้าสั มผั ส ของ

เข้าพัดลมระบายความร้อนและต่อตัวเก็บ

แมกเนติ ค ค อน แท คเ ต อร์ (5)

ประจุ

เข้ า กั บ พั ด ลมระบายความร้ อ น ที่คอยล์ ร้อน และต่อตัว เก็บ ประจุ เข้ากับมอเตอร์พัดลมด้วย

6. ต่อสายไฟจากเทอร์มินอลเข้ากับ LPS

ต่อสายไฟจากเทอร์มินอล (ที่ติดตั้ง D)

และต่อไปยัง HPS แบบอนุกรม จากนั้น

เข้ า กั บ LPS และต่ อ LPS อนุ ก รม

ต่อเนื่องไปยังคอยล์ของแมกเนติค โดย A1

กั บ HPS และจากHPS ต่ อ ไปยั ง

และต่อกับ A2 เข้ากับนิวทรัล

คอยล์ของแมกเนติค A1 และต่อกับ A2 เข้ากับนิวทรัล

37 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ

คาอธิบาย

7.ต่อวงจรแฟนคอยล์ยูนิต

ต่อวงจรชุดแฟนคอยล์ยูนิต

8.ต่อสาย T และ N เข้ากล่องควบคุม

ต่ อ สายเฟส T และ N เข้ า ไปยั ง กล่องควบคุมโดย T เข้าที่จุด F และ N เข้าที่คอยล์ของ IFR

9.ต่อสายกล่องควบคุมที่จุด D แล้วเดินสาย ต่อสายจากกล่องควบคุมที่ตาแหน่ง ไปเทอร์มินอลในฝั่งคอยล์ร้อน

D ภายในคอยล์เย็นแล้วเดินสายไป ที่เทอร์มินอล (ตาแหน่ง D) ที่คอยล์ ร้อน

38 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ

คาอธิบาย

10. เปิดเครื่องปรับอากาศและสังเกต

ทดลองเปิดเครื่องปรับอากาศ

การทางาน

และสั งเกตการทางาน ของชุดคอนเดนซิ่งยูนิต และชุดแฟนคอยล์ ยูนิต

11. ส่งชิ้นงาน

ส่งชิ้นงานเพื่อรับการประเมิน

39 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

4. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑ์การพิจารณา

วงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศที่ใช้ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 1.1 ต่อวงจรคอนเดนซิ่งยูนิตได้ถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 ต่อวงจรแฟนคอยล์ยูนิตได้ถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 ย้าหางปลาเข้าสายอุปกรณ์และเทอร์มินอล

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ปฏิบัติงาน

40 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………… เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. ลาดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 ต่อวงจรคอนเดนซิ่งยูนิตได้ถูกต้อง

เกณฑ์การให้คะแนน

คะแนนเต็ม 15

- วงจรทางานถูกต้อง อุปกรณ์ภายในวงจรทางานถูกต้อง ให้คะแนน 5 คะแนน

5

- วงจรไฟฟ้าทางานไม่ถูกต้อง อุปกรณ์ภายในวงจรไม่ทางาน หรือ เกิด การลัดวงจร ให้คะแนน 0 คะแนน 1.2 ต่อวงจรแฟนคอยล์ยูนิตได้ถูกต้อง

- วงจรทางานถูกต้อง อุปกรณ์ภายในวงจรทางานถูกต้อง ให้คะแนน 5

5

คะแนน - วงจรไฟฟ้าทางานไม่ถูกต้อง อุปกรณ์ภายในวงจรไม่ทางาน หรือ เกิด การลัดวงจร ให้คะแนน 0 คะแนน 1.3 ย้าหางปลาเข้าสายอุปกรณ์และเทอร์มินอล

- ขนาดของหางปลาเหมาะสมกับ ขนาดของสายไฟ หางปลายึดกับ

5

อุปกรณ์แข็งแรง ฉนวนสายอยู่ในหางปลา (ทองแดงไม่โผล่) ให้คะแนน 5 คะแนน - ขนาดของหางปลาไม่เหมาะสมกับขนาดของสายไฟ หางปลาไม่ยึดกับ อุปกรณ์ ฉนวนสายไม่อยู่ในหางปลา (ทองแดงโผล่) ตัดคะแนนจุดละ 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ้วน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

1

2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

1

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

20

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70

ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์

หากไม่ผ่านเกณฑ์ ผู้รับการฝึกต้องขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม่ จนกระทั่งผ่านเกณฑ์ 41 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได้


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

หัวข้อวิชาที่ 3 0921720703 ใบงานที่ 3.1 การต่อ Phase Protection ในชุด Condensing Unit ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติงานเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันในระบบไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟส ได้ 2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 4 ชั่วโมง 3. คาชี้แจง : ให้ผู้รับการฝึกต่อวงจร Phase Protection เข้ากับเครื่องปรับอากาศ

การต่อ Phase Protection ในชุด Condensing Unit

42 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ตารางบันทึกผล ต่อวงจร Phase Protection เข้ากับชุด Condensing Unit ต่อวงจรครบตามใบงาน ปลดสายเฟส T ออกจาก Phase Protection 1 เส้น

R-S

แรงดันไฟฟ้าที่วัดได้ S-T T-R R-N S-N

43 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

T-N

การทางานของอุปกรณ์ คอมเพรสเซอร์ พัดลมคอยล์เย็น


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.1 การต่อ Phase Protection ในชุด Condensing Unit ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้าวางกีด ขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. Phase Protection จานวน 1 ตัว 2. เซอร์กิตเบรกเกอร์ 3 เฟส 20A จานวน 1 ตัว 3. ไขควงเช็คไฟ จานวน 1 ตัว 4. ไขควงแฉก จานวน 1 ตัว 5. ไขควงแบน จานวน 1 ตัว 6. คอนเดนซิ่งยูนิตเครื่องปรับอากาศ ชนิด 3 เฟส จานวน 1 ตัว 7. คีมตัด จานวน 1 ตัว 8. คีมย้าหางปลา จานวน 1 ตัว 9. มัลติมิเตอร์ จานวน 1 ตัว หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ

44 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

เทปพันสายไฟ สายไฟ IEC 02 ขนาด 1.5 mm2 สีน้าตาล ความยาว สายไฟ IEC 02 ขนาด 2.5 mm2 สีดา ความยาว สายไฟ IEC 02 ขนาด 2.5 mm2 สีเทา ความยาว สายไฟ IEC 02 ขนาด 2.5 mm2 สีน้าตาล ความยาว หางแบบเสียบตรง ตัวเมีย ขนาด 2.5 mm2 สีฟ้า หางปลาแฉก ขนาด 1.5 mm2 สีแดง

1 เมตร 1 เมตร 1 เมตร 1 เมตร

45 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

จานวน 1 ม้วน จานวน 1 เส้น จานวน 1 เส้น จานวน 1 เส้น จานวน 1 เส้น จานวน 10 ตัว จานวน 10 ตัว


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

2. ลาดับการปฏิบัติงาน การต่อ Phase Protection ในชุด Condensing Unit ระบบไฟฟ้า 3 เฟส ขั้นตอนการทดสอบ

คาอธิบาย

ข้อควรระวัง

1.ต่อ Phase Protection เข้ากับ

ต่ อ Phase Protection เข้ า กั บ ชุ ด ให้ ค รู ฝึ ก ตรวจความพร้ อ มของ

Condensing Unit

Condensing Unit ตามใบงาน

อุปกรณ์และความพร้อมของวงจร ก่ อ นจ่ า ยกระแสไฟฟ้ า ทุ ก ครั้ ง ป้ อ ง กั น อั น ต ร า ย ที่ อ า จ ท า ใ ห้ เสียชีวิตได้

2. ON เซอร์กิตเบรกเกอร์แล้ววัด

ON เซอร์ กิ ต เบรกเกอร์ แ ล้ ว ใช้

แรงดันไฟฟ้าจากนั้นบันทึกผล

มัลติมิเตอร์วัดแรงดันไฟฟ้าระหว่าง R-S, S-T, T-R, R-N, S-N, T-N แล้ว บันทึกผล

46 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ

คาอธิบาย

3. สังเกตและบันทึกผลการทางานของ

สั ง เ ก ต ก า ร ท า ง า น ข อ ง

คอมเพรสเซอร์และพัดลมคอยล์ร้อน

คอมเพรสเซอร์ แ ละพั ด ลมคอยล์ ร้อนแล้วบันทึกผล

4.ปลดสายไฟออกจาก Phase Protection ปลดสายเฟสใดเฟสหนึ่ ง ออกจาก แล้ว ON เซอร์กิตเบรกเกอร์

Phase Protection แล้ว ON เซอร์ กิตเบรกเกอร์ อีกครั้งหนึ่ง

47 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ

คาอธิบาย

5. สังเกตและบันทึกผลการทางานของ

สังเกตการทางานของคอมเพรสเซอร์

คอมเพรสเซอร์และพัดลมคอยล์ร้อน

และพัดลมคยล์ร้อนแล้วบันทึกผล

48 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

4. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑ์การพิจารณา

ต่อ Phase Protection ในชุด Condensing Unit ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 1.1 ต่ออุปกรณ์ได้ถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 วัดค่าแรงดันไฟฟ้าได้ถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 ทดสอบการทางานของอุปกรณ์ ละบันทึกข้อมูลได้ถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 การย้าหางปลาและเข้าสายอุปกรณ์

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ปฏิบัติงาน

49 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………… เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. ลาดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 ต่ออุปกรณ์ได้ถูกต้อง

เกณฑ์การให้คะแนน

คะแนนเต็ม 20

- วงจรทางานถูกต้อง อุปกรณ์ภายในวงจรทางานถูกต้อง ให้คะแนน 5 คะแนน

5

- วงจรไฟฟ้าทางานไม่ถูกต้อง อุปกรณ์ภายในวงจรไม่ทางาน หรือ เกิด การลัดวงจร ให้คะแนน 0 คะแนน 1.2 วัดค่าแรงดันไฟฟ้าได้ถูกต้อง

- วัด และอ่านค่าแรงดันไฟฟ้าได้ถูกต้อง ให้คะแนน 5 คะแนน

5

- วัดและอ่านค่าแรงดันไฟฟ้าขาดหรือ เกิน 1-2 หน่วย ให้คะแนน 3 คะแนน - วัด และอ่านค่าแรงดันฟ้าขาดหรือเกินตั้งแต่ 3 หน่วย ให้คะแนน 1 คะแนน 1.3 ทดสอบการทางานของอุปกรณ์ ละบันทึก

- ทดสอบการทางาน และบันทึกข้อมูลได้ถูกต้อง ให้คะแนน 5 คะแนน

ข้อมูลได้ถูกต้อง

- ทดสอบการทางาน และบันทึกข้อมูลผิด ตัดคะแนน จุดละ 3 คะแนน

1.4 การย้าหางปลาและเข้าสายอุปกรณ์

- ขนาดของหางปลาเหมาะสมกับ ขนาดของสายไฟ หางปลายึดกับ

5 5

อุปกรณ์แข็งแรง ฉนวนสายอยู่ในหางปลา (ทองแดงไม่โผล่) ให้คะแนน 5 คะแนน - ขนาดของหางปลาไม่เหมาะสมกับขนาดของสายไฟ หางปลาไม่ยึดกับ อุปกรณ์ ฉนวนสายไม่อยู่ในหางปลา (ทองแดงโผล่) ตัดคะแนนจุดละ 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ้วน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1 1

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

1

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

25

50 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได้


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70

ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์

หากไม่ผ่านเกณฑ์ ผู้รับการฝึกต้องขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม่ จนกระทั่งผ่านเกณฑ์

51 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

หัวข้อวิชาที่ 4 0921720704 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 4.1 ทดสอบการทางานของอุปกรณ์ป้องกันในระบบสารทาความเย็น ในเครื่องปรับอากาศระบบไฟฟ้า 3 เฟส 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติงานเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันในระบบสารทาความเย็นในเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟส ได้

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 4 ชั่วโมง 3. คาชี้แจง : ให้ผู้รับการฝึกทดสอบการทางานของอุปกรณ์ป้องกันในระบบสารทาความเย็น ในเครื่องปรับอากาศระบบ ไฟฟ้า 3 เฟส ความดันของ เครื่องปรับอากาศ

ค่าความดัน ทางด้านต่า (PSI)

ค่าความดัน ทางด้านสูง (PSI)

กระแสเฟส R (A)

ค่าความดันตาม เกณฑ์ ค่าความดันตาม เกณฑ์ ค่าความดันตาม เกณฑ์

52 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

กระแสเฟส S (A)

กระแสเฟส T (A)


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 4.1 ทดสอบการทางานของอุปกรณ์ป้องกันในระบบสารทาความเย็น ในเครื่องปรับอากาศระบบไฟฟ้า 3 เฟส 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้าวางกีด ขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. เกจแมนิโฟลด์ จานวน 1 ชุด 2. ไขควงแฉก จานวน 1 ตัว 3. ไขควงแบน จานวน 1 ตัว 4. คลิปแอมป์ จานวน 1 ตัว 5. เครื่องปรับอากาศระบบ 3 เฟส (มี LPS และ HPS) จานวน 1 ตัว 6. ประแจเลื่อนขนาด 6 นิ้ว จานวน 1 ตัว 7. มัลติมิเตอร์ จานวน 1 ตัว หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. ถังน้ายา R-22 จานวน 1 ถัง 2. แบบบันทึกผล จานวน 1 แผ่น

53 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

2. ลาดับการปฏิบัติงาน ทดสอบการทางานของอุปกรณ์ป้องกันในระบบสารทาความเย็น ในเครื่องปรับอากาศระบบไฟฟ้า 3 เฟส ขั้นตอนการทดสอบ 1. ต่อสายเกจเข้าที่ท่อ Suction และท่อ Liquid

คาอธิบาย ต่อสายเกจแมนิโฟลด์โดยใส่สายสี น้าเงินเข้าที่ท่อ Suction (ท่อทาง ดูด) และสายสีแดงเข้าที่ท่อ Liquid (ท่อทางอัด)

2. เปิดฝาครอบคอยล์ร้อน แล้วคล้องคลิ ป เปิดฝาครอบชุดคอยล์ร้อน แล้วนา แอมป์ คลิปแอมป์คล้องสายเฟสใดเฟส หนึ่ง

3. ทิ้งไว้ 10 นาที แล้ววัดค่าความดัน และ กระแสไฟในแต่ละเฟส

ทดลองเปิดเครื่องปรับอากาศทิ้งไว้ ประมาณ 10 นาที แล้วบันทึกค่า ความดัน ทางด้านความดันต่าและ ทางด้านความดันสูงของระบบ แล้ว นาคลิปแอมป์วัดค่ากระแสไฟฟ้าใน แต่ละเฟส จากนั้นบันทึกผล

54 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ คาอธิบาย 4. ทดสอบ HPS โดยต่อถังน้ายาเข้ากับสาย ทดสอบ HPS (High Pressure สีเหลือง เปิดวาล์วเติมน้ายาเข้าระบบ อ่าน Switch) ด้วยการต่อถังน้ายาเข้ากับ ค่าความดันน้ายาและกระแสไฟฟ้าเป็นระยะ สายสีเหลือง ปิดวาล์วสีแดงไล่ อากาศในสายแล้วค่อย ๆ เปิดวาล์ว สีน้าเงินเติมน้ายาเข้าระบบ โดย อ่านค่าความดันของน้ายาและค่า กระแสไฟฟ้าจากคลิปแอมป์เป็น ระยะ ๆ

5. เมื่อ Condensing หยุดให้บันทึกค่า ความดันทางด้านสูงของระบบ และ ค่ากระแสที่ได้ก่อนเครื่องจะหยุดทางาน

เติมน้ายาไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งชุด Condensing หยุดทางาน ให้บันทึกค่าความดันทางด้านสูง ของระบบและค่ากระแสที่อ่านได้ ก่อนเครื่องจะหยุดทางาน

6. ทดสอบ LPS ถอดถังน้ายาออกจากเกจ ขณะทดสอบวาล์วสีน้าเงินและสีแดงต้องอยู่ ในตาแหน่งปิด แล้วค่อย ๆ เปิดวาล์วสีน้า เงินปล่อยน้ายาออกจากระบบจนกระทั่ง เครื่องปรับอากาศทางาน

ทดสอบ LPS (Low Pressure Switch) โดยถอดถังน้ายาออกจาก สายสีเหลือง ขณะทดสอบวาล์วสี น้าเงินและสีแดงจะอยู่ในตาแหน่ง ปิด ค่อย ๆ เปิดวาล์วสีน้าเงินปล่อย น้ายาออกจากระบบไปจนกระทั่ง เครื่องปรับอากาศทางานอีกครั้ง

55 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ

คาอธิบาย

7. ปล่อยน้ายาออกจน Condensing Unit หยุดทางาน ค่อย ๆ ปิดวาล์วสีน้าเงินเพื่อวัด ค่าความดันน้ายา บันทึกค่าความดัน ทางด้านต่า และค่ากระแสไฟฟ้าก่อนที่ เครื่องปรับอากาศจะหยุดทางาน

ปล่อยน้ายาออกจากระบบไป จนกระทั่งชุด Condensing Unit หยุดทางาน โดยระหว่างที่ปล่อย น้ายาออก ต้องคอยปิดวาล์วสีน้า เงินเพื่อวัดค่าความดันของน้ายาที่ ลดลงอย่างสม่าเสมอ และให้บันทึก ค่าความดันทางด้านต่า และค่า กระแสไฟฟ้าก่อนที่ เครื่องปรับอากาศจะหยุดทางาน

56 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ รายการตรวจสอบ เกณฑ์การพิจารณา 1 ทดสอบการทางานของอุปกรณ์ป้องกันในระบบสารทาความเย็น ในเครื่องปรับอากาศระบบไฟฟ้า 3 เฟส 1.1 ทดสอบ HPS ได้ถูกต้อง ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน 1.2 ทดสอบ LPS ได้ถูกต้อง ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน 1.3 วัดค่ากระแสไฟฟ้าได้ถูกต้อง ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน 1.4 วัดค่าความดันได้ถูกต้อง ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน 2 กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน 2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน 2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่ ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน ปฏิบัติงาน

57 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………… เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. ลาดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 ทดสอบ HPS ได้ถูกต้อง

1.2 ทดสอบ LPS ได้ถูกต้อง

1.3 วัดค่ากระแสไฟฟ้าได้ถูกต้อง

1.4 วัดค่าความดันได้ถูกต้อง

2

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ ครบถ้วน 2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน 2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

เกณฑ์การให้คะแนน - ทดสอบการทางานถูกต้อง บันทึกข้อมูลถูกต้อง ให้คะแนน 5 คะแนน - ทดสอบการท างานไม่ ถู ก ต้อ ง บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ไม่ ถู ก ต้ อ ง 1 ครั้ ง ให้ คะแนน 3 คะแนน - ทดสอบการทางานไม่ถูกต้อง บันทึกข้อมูลไม่ถูกต้องตั้งแต่ 1 ครั้งขึ้น ไป ให้คะแนน 1 คะแนน - ทดสอบการทางานถูกต้อง บันทึกข้อมูลถูกต้อง ให้คะแนน 5 คะแนน - ทดสอบการท างานไม่ ถู ก ต้อ ง บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ไม่ ถู ก ต้ อ ง 1 ครั้ ง ให้ คะแนน 3 คะแนน - ทดสอบการทางานไม่ถูกต้อง บันทึกข้อมูลไม่ถูกต้อ งตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้น ไป ให้คะแนน 1 คะแนน - วัด อ่านค่ากระแส และบันทึกข้อมูลถูกต้อง ให้คะนน 5 คะแนน - วัด อ่านค่ากระแส และบันทึกข้อมูล ไม่ถูกต้อง 1 ครั้ง ให้คะแนน 3 คะแนน - วัด อ่ า นค่า กระแส และบั นทึก ข้ อ มูล ไม่ ถู ก ตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้ นไป ให้ คะแนน 1 คะแนน - วัด อ่านค่าความดัน และบันทึกข้อมูลถูกต้อง ให้คะนน 5 คะแนน - วัด อ่านค่าความดัน และบันทึกข้อมูลไม่ถูกต้อง 1 ครั้ง ให้คะแนน 3 คะแนน - วัด อ่านค่า ความดัน และบันทึกข้อมูล ไม่ถูกตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้นไป ให้ คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

58 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

คะแนนเต็ม 20 5

5

5

5

5 1 1 1 1 1 25

คะแนนที่ได้


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์ หากไม่ผ่านเกณฑ์ ผู้รับการฝึกต้องขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม่ จนกระทั่งผ่านเกณฑ์

59 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ตัวอย่างบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………….............. เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. คาชี้แจง ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผู้เข้ารับการฝึก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ ก่อนฝึก

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผลลัพธ์การเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 บอกขั้นตอนการต่อสายไฟฟ้า 10 7 แบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได้ บอกวิธีการต่อสายไฟฟ้าด้วย อุปกรณ์ได้ บอกขั้นตอนการเข้าขั้วสายด้วย หางปลา บอกขั้นตอนการใช้วายนัทต่อ สายได้ บอกขั้นตอนการใช้หลอดต่อ สายไฟได้ บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได้ บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกาหนดขั้วคอมเพรสเซอร์ได้ ประเมินผลภาคทฤษฏี

คะแนนที่ได้ 5

ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)

/ * หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์ คาอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนที่ผู้รับการฝึกตอบถูกลงในช่องคะแนน ที่ได้ แล้วเปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่าน (C) ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC) หากผู้รับการฝึกผ่านการประเมินผลภาคทฤษฎีแล้ว สามารถขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึก ในโมดูลถัดไปได้ 60 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝึก

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผลลัพธ์การเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 บอกขั้นตอนการต่อสายไฟฟ้า 10 7 แบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได้ บอกวิธีการต่อสายไฟฟ้าด้วย อุปกรณ์ได้ บอกขั้นตอนการเข้าขั้วสายด้วย หางปลา บอกขั้นตอนการใช้วายนัทต่อ สายได้ บอกขั้นตอนการใช้หลอดต่อ สายไฟได้ บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได้ บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกาหนดขั้วคอมเพรสเซอร์ได้ ประเมินผลภาคทฤษฏี

คะแนนที่ได้ 8

ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)

/ * หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์ คาอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนที่ผู้รับการฝึกตอบถูกลงในช่องคะแนน ที่ได้ แล้วเปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่าน (C) ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC) หากผู้รับการฝึกผ่านการประเมินผลภาคทฤษฎีแล้ว สามารถขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึก ในโมดูลถัดไปได้

61 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธ์การเรียนรู้

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2

ต่อสายไฟฟ้าแบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียว ได้ 1. เข้าขั้วสายด้วยหางปลา และย้าหางปลาได้ 2. ใช้หลอดต่อสายไฟได้ 3. ใช้อุปกรณ์ในการต่อสายไฟได้ ใช้วายนัทต่อสายได้

30

คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 21

80

56

70

35

25

23

20

14

15

20

14

10

25

18

24

210

148

162

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ต่อสายไฟฟ้าด้วยการบัดกรีได้ ภาคปฏิบัติที่ 1.4 แบบทดสอบ ต่อสายไฟฟ้าด้วยการพันฉนวนได้ ภาคปฏิบัติที่ 1.5 แบบทดสอบ ตรวจสอบและกาหนดขั้วคอมเพรสเซอร์ได้ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได้ 20

ผ่าน (C)

ไม่ผ่าน (NYC)

/ * หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์ คาอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนที่ผู้รับการฝึกได้จากการปฏิบัติลงในช่องคะแนนที่ได้ แล้ว เปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ในแต่ละใบทดสอบ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์ หากไม่ผ่านเกณฑ์ ผู้รับการฝึกต้องขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม่ จนกระทั่งผ่านเกณฑ์ ครูฝึกรวมคะแนนที่ได้บันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แล้วเปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนรวมมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 และผ่านเกณฑ์ทุกใบทดสอบ 62 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ถือว่า ผ่าน (C) ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนรวมน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC) การประเมินผลผ่านโมดูล สัดส่วนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได้

ค่า Factor

คะแนนที่ได้คูณ ค่า Factor

8

2

16

162

0.381

61.72

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC) 77.72

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor มากกว่าหรือเท่ากับ 70 คะแนน ถือว่าผ่านเกณฑ์ คาอธิบาย 1. ครูฝึกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผู้รับการฝึกทดสอบครั้งล่าสุด ไม่ต้องนาคะแนนแบบทดสอบก่อนฝึกและ หลังฝึกมารวมกัน 2. ครูฝึกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผู้รับการฝึกทดสอบ 3. นาคะแนนที่ได้คูณค่า Factor โดยมีตัวอย่างการคิดดังนี้ สูตรการคานวณค่า Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฏี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

10

ดังนั้น ค่า Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 10

∴ คะแนนที่ได้คูณค่า Factor

8 × 2 = 16

คือ

=2

สูตรการคานวณค่า Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

210 63

กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ดังนั้น ค่า Factor ของภาคปฏิบัติ คือ ∴ คะแนนที่ได้คูณค่า Factor

80 = 0.381 210 162 × 0.381 = 61.72

คือ

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor คือ 16 + 61.72 = 77.72 5. ประเมินผลการผ่านโมดูล ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่าน (C) ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC)

64 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………….............. เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. คาชี้แจง ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผู้เข้ารับการฝึก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ ก่อนฝึก

1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

ผลลัพธ์การเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 อธิบายระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 3 10 7 สาย และแบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต์ได้ ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า แบบ 3 เฟส 3 สาย และแบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต์ได้ อธิบายวงจรไฟฟ้า เครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟส ได้ ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า เครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟส ได้ อธิบายหน้าที่และหลักการทางาน ของอุปกรณ์ป้องกันในระบบไฟฟ้า ในเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟสได้ ปฏิบัติงานเกี่ยวกับอุปกรณ์ ป้องกันในระบบไฟฟ้าใน เครื่องปรับอากาศระบบไฟฟ้า 3 เฟสได้ อธิบายหน้าที่และหลักการ ทางานของอุปกรณ์ป้องกันใน ระบบสารทาความเย็นใน เครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟสได้

65 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได้


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ภาคทฤษฏี

ผลลัพธ์การเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 8. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับอุปกรณ์ ป้องกันในระบบสารทาความเย็น ในเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟสได้ ประเมินผลภาคทฤษฏี

* หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์

66 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได้

ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝึก

1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

ผลลัพธ์การเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 อธิบายระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 3 10 7 สาย และแบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต์ได้ ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า แบบ 3 เฟส 3 สาย และแบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต์ได้ อธิบายวงจรไฟฟ้า เครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟส ได้ ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า เครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟส ได้ อธิบายหน้าที่และหลักการทางาน ของอุปกรณ์ป้องกันในระบบไฟฟ้า ในเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟสได้ ปฏิบัติงานเกี่ยวกับอุปกรณ์ ป้องกันในระบบไฟฟ้าใน เครื่องปรับอากาศระบบไฟฟ้า 3 เฟสได้ อธิบายหน้าที่และหลักการ ทางานของอุปกรณ์ป้องกันใน ระบบสารทาความเย็นใน เครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟสได้

67 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได้


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ภาคทฤษฏี

ผลลัพธ์การเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 8. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับอุปกรณ์ ป้องกันในระบบสารทาความเย็น ในเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟสได้ ประเมินผลภาคทฤษฏี

* หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์

68 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได้

ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธ์การเรียนรู้

29

คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 19

20

14

25

18

25

18

99

69

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส ภาคปฏิบัติที่ 1.1 3 สาย และ แบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต์ ได้ แบบทดสอบ ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า ภาคปฏิบัติที่ 2.1 เครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟสได้ แบบทดสอบ ปฏิบัติงานเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันในระบบ ภาคปฏิบัติที่ 3.1 ไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟส ได้ แบบทดสอบ ปฏิบัติงานเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันในระบบ ภาคปฏิบัติที่ 4.1 สารทาความเย็นในเครื่องปรับอากาศ ระบบ ไฟฟ้า 3 เฟส ได้ คะแนนรวมภาคปฏิบัติ ประเมินผลภาคปฏิบัติ * หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์

69 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได้

ผ่าน (C)

ไม่ผ่าน (NYC)


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

การประเมินผลผ่านโมดูล สัดส่วนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได้

ค่า Factor

คะแนนที่ได้คูณ ค่า Factor

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)

2 0.809

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor มากกว่าหรือเท่ากับ 70 คะแนน ถือว่าผ่านเกณฑ์

คาแนะนา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตาแหน่ง …………………………… วัน……..เดือน………………….ปี……… หมายเหตุ: ให้บันทึกผลการฝึกให้ผู้รับการฝึกแต่ละคนหลังจากจบการฝึกและการประเมิน

70 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

)


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

71 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.