คู่มือการประเมิน ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 2 โมดูล 3

Page 1



คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

คู่มือการประเมิน 0920164170202 สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2

ชุดการฝึกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝึกที่ 3 09217306 งานท่อและงานเชื่อม

กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

คานา คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดูลที่ 3 งานท่อ และงานเชื่อมฉบับนี้ ได้ พั ฒ นาขึ้ น ภายใต้ โ ครงการพั ฒ นาระบบฝึ ก และชุ ด การฝึ ก ตามความสามารถ เพื่อการพัฒนา ฝีมือแรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนาไปใช้เป็น ระบบการฝึ กอบรมตามความสามารถ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ ก ระดับ 2 เพื่ อ ให้ ตอบสนองความต้ อ งการของกาลั ง แรงงานและตลาดแรงงานได้ อ ย่ า งเหมาะสมมากยิ่ ง ขึ้ น และเพื่ อ รองรั บ ระบบ การรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติและระบบการรับรองความรู้ความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อส่งมอบระบบการ ฝึกอบรมนี้ให้แก่กาลังแรงงานกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ให้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแง่ของขอบเขตของการให้บริการและจานวน ผู้รับบริการ ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่งเสริมให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถฝึกฝนเรียนรู้ ได้ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลาย ไปให้แก่ ผู้รับการฝึกอบรม และต้องการให้ผู้รับการฝึกอบรมเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง การฝึกปฏิบัติจะดาเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน้ น ผลลั พธ์การฝึ กอบรมในการที่ทาให้ ผู้ รับ การฝึ กอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติ ง าน ตามที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยยึดความสามารถของผู้รับการฝึกเป็นหลัก การฝึกอบรมในระบบดังกล่าว จึงเป็นรูปแบบ การฝึกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ละสาขาอาชีพ จะถูกกาหนดเป็นรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับการฝึกอบรมจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และสอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึกจะต้องเรียนรู้และฝึกฝน จนกว่ า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได้ ตามมาตรฐานที่ กาหนดในแต่ ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส่ ง มอบการฝึ ก สามารถดาเนินการได้ทั้งรูปแบบการเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Paper Based) และผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ (Computer Based) โดยผู้ รั บ การฝึ ก สามารถเรี ย นรู้ ไ ด้ ด้ ว ยตนเอง (Self-Learning) ที่ บ้ า นหรื อ ที่ ทางาน และเข้ า รั บ การฝึ ก ภาคปฏิ บั ติ ตามความพร้อม ตามความสะดวกของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผล ความรู้ ค วามสามารถกั บ หน่ ว ยฝึ ก โดยมี ค รู ฝึ ก หรื อ ผู้ ส อนคอยให้ คาปรึ ก ษา แนะนาและจั ด เตรี ย มการฝึ ก ภาคปฏิ บั ติ รวมถึงจัดเตรียมและดาเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่าง ๆ อันจะทาให้สามารถเพิ่มจานวนผู้รับการฝึกได้มากยิ่งขึ้น ช่ ว ยประหยั ด เวลาในการเดิ น ทาง และประหยั ด งบประมาณค่ า ใช้ จ่ า ยในการพั ฒ นาฝี มื อ แรงงานให้ แ ก่ กาลั ง แรงงาน ในระยะยาว จึ ง ถื อ เป็ น รู ป แบบการฝึ ก ที่ มี ค วามสาคั ญ ต่ อ การพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน ทั้ ง ในปั จ จุ บั น และอนาคต ซึ่งหากมีการนาระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยทาให้ประชาชน ผู้ใช้แรงงาน ผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และ ผู้ประกอบอาชีพอิสระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

สารบัญ เรื่อง

หน้า

คานา

สารบัญ

ข้อแนะนา

1

ผลลัพธ์การเรียนรู้

5

แบบทดสอบก่อนฝึก

6

แบบทดสอบหลังฝึก

10

กระดาษคาตอบ

14

เฉลยคาตอบแบบทดสอบก่อนฝึก-หลังฝึก

15

แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หัวข้อวิชาที่ 1 0921730601 งานท่อ

16

หัวข้อวิชาที่ 2 0921730602 งานเชื่อม

27

ตัวอย่างบันทึกผลการประเมินความสามารถ

37

บันทึกผลการประเมินความสามารถ

42

ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ข้อแนะนา ข้อแนะนา คือ คาอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใช้คู่มือการประเมิน เพื่อนาไปใช้ในการประเมินผลผ่านการฝึกโมดูลของผู้รับการ ฝึก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝึกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบของคู่มือการ ประเมินที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทาบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมิน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 4) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันสอบและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องสอบ - ครูฝึกกาหนดวันสอบให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ก่อนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝึกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 3) ครูฝึกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบให้คะแนนการตรวจสอบของคู่มือการประเมินที่พิมพ์จากสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 5) ครูฝึกประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่าง หลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 6) ครูฝึกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก

2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนนและการระบุความสามารถด้านความรู้ ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ต่ากว่าร้อยละ 70

เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนนและการระบุความสามารถด้านทักษะ ดังนี้ เกณฑ์การประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป หรือทา ได้ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน ต่ากว่าร้อยละ 70 หรือ ไม่ สามารถทาได้ ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน

เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)

ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูลนั้น ๆ ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนั้น และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการฝึกนั้น ๆ แล้ว

3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

4. เงื่อนไขการผ่านการฝึก ผู้รับการฝึกที่จะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบหลังฝึก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนามาคิดแบ่งเป็นสัดส่วน ภาคทฤษฎี คิดเป็นร้อยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเป็นร้อยละ 80 เมื่อนาคะแนนมารวมกัน ผู้รับการฝึกจะต้องได้ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านเกณฑ์ ทั้งนี้ ผู้รับการฝึกจะต้องทาคะแนนผ่านเกณฑ์ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผ่านโมดูลการฝึก

4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ผลลัพธ์การเรียนรู้ โมดูลการฝึกที่ 3 09217306 งานท่อและงานเชื่อม 1. อธิบายวิธีการตัด การต่อ การขยาย การบานแฟลร์ และการดัดท่อได้ 2. ตัด ต่อ ขยาย บานแฟลร์ และดัดท่อได้ 3. อธิบายวิธีการเชื่อมแก๊สระหว่างท่อทองแดงกับท่อทองเหลือง และการเชื่อมต่อผ่านแก๊สไนโตรเจนได้ 4. เชื่อมแก๊สระหว่างท่อทองแดงกับท่อทองเหลือง และเชื่อมต่อผ่านแก๊สไนโตรเจนได้

5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

แบบทดสอบก่อนฝึก คาชี้แจง : 1. ผู้รับการฝึกสามารถรับแบบทดสอบก่อนฝึกได้จากครูฝึก 2. อ่านคาชี้แจงหรือคาสั่งให้เข้าใจก่อนทาแบบทดสอบทุกครั้ง 3. ห้ามนาแบบทดสอบออกนอกบริเวณห้องสอบ 4. ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 5. เมื่อทาแบบทดสอบเสร็จแล้ว ให้ส่งครูฝึกเพื่อตรวจประเมินผล

6 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

แบบทดสอบก่อนฝึก โมดูลการฝึกที่ 3 09217306 งานท่อและงานเชื่อม 1. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง เกี่ยวกับขั้นตอนการตัด ก. คว้านตกแต่งปลายท่อให้เรียบร้อย ข. ใส่เหล็กตอกเข้าไปในท่อ แล้วใช้ค้อนค่อย ๆ ตอกเหล็กตอก ค. หมุนคัตเตอร์รอบท่อช้า ๆ เพื่อให้ใบมีดฝังลงในเนื้อท่อโดยรอบ ง. ใส่ท่อเข้าไปในรูจับท่อ โดยให้ความสูงของปลายท่อเท่ากับความหนาของอะแดปเตอร์

2. จากภาพเป็นงานท่อแบบใด ก. การตัดท่อ ข. การบานแฟลร์ ค. การขยายท่อ ง. การบานท่อ 3. การตัดโดยใช้เลื่อยเหมาะสาหรับท่อชนิดใด ก. นิ่ม ข. แข็ง ค. อ่อน ง. บาง

7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

4. ในการตกแต่งปลายท่อใช้เครื่องมือใดในการตกแต่ง ก. คัดเตอร์ ข. รีมเมอร์ ค. มีด ง. เลื่อย

5. จากภาพ คือขั้นตอนใดในการบานท่อชั้นเดียว ก. ขันตัวจับให้แน่น ข. คว้านตกแต่งปลายท่อให้เรียบร้อย ค. สวมตัวบานท่อเข้าไปในตัวจับ แล้วออกแรงขันให้ตัวบานท่อกดท่อทองแดงบานออก ง. ใส่ท่อเข้าไปในรูจับท่อ ขนาดของรูกับท่อต้องเท่ากัน และให้ปลายท่อสูงกว่าตัวจับ ประมาณ 1/3 ของความสูงปากหลุม 6. หากต้องการดัดท่อให้โค้ง เพื่อให้สามารถต่อถึงกับท่ออื่นได้นั้น จะใช้เครื่องมือใด ก. รีมเมอร์ ข. เบนเดอร์ ค. แฟลร์นัต ง. คัตเตอร์ตัดท่อแบบสปริง

8 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

7. ในการดัดท่อ ถ้าต้องการดัดท่อ 90 องศา ท่อจะต้องมีลักษณะอย่างไร ก. ขนานกับพื้น ข. ตั้งฉากกับพื้น ค. เฉียง 45 องศา ง. เฉียง 135 องศา 8. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์ในการเชื่อมท่อน้ายาสารทาความเย็น ก. ไขควง ข. ประแจ ค. ถังบรรจุแก๊สอะเซทิลีน ง. ถังบรรจุแก๊สออกซิเจน 9. เปลวไฟชนิดใดให้ความร้อนสูงที่สุด ก. นิวทรัล ข. คาร์บูไรซิง ค. ออกซิไดซิง ง. นิวคาร์บูไรซิง 10. เมื่อต้องการดับเปลวไฟ ต้องปิดแก๊สชนิดใดก่อน ก. ออกซิเจน ข. ไนโตรเจน ค. ฮีเลียม ง. อะเซทิลีน

9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

แบบทดสอบหลังฝึก คาชี้แจง : 1. ผู้รับการฝึกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝึกได้จากครูฝึก 2. อ่านคาชี้แจงหรือคาสั่งให้เข้าใจก่อนทาแบบทดสอบทุกครั้ง 3. ห้ามนาแบบทดสอบออกนอกบริเวณห้องสอบ 4. ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 5. เมื่อทาแบบทดสอบเสร็จแล้ว ให้ส่งครูฝึกเพื่อตรวจประเมินผล

10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

แบบทดสอบหลังฝึก โมดูลการฝึกที่ 3 09217306 งานท่อและงานเชื่อม 1. ในการดัดท่อ ถ้าต้องการดัดท่อ 90 องศา ท่อจะต้องมีลักษณะอย่างไร ก. เฉียง 45 องศา ข. ขนานกับพื้น ค. ตั้งฉากกับพื้น ง. เฉียง 135 องศา 2. ในการตกแต่งปลายท่อใช้เครื่องมือใดในการตกแต่ง ก. เลื่อย ข. รีมเมอร์ ค. คัดเตอร์ ง. มีด 3. เปลวไฟชนิดใดให้ความร้อนสูงที่สุด ก. นิวคาร์บูไรซิง ข. นิวทรัล ค. คาร์บูไรซิง ง. ออกซิไดซิง 4. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง เกี่ยวกับขั้นตอนการตัด ก. หมุนคัตเตอร์รอบท่อช้า ๆ เพื่อให้ใบมีดฝังลงในเนื้อท่อโดยรอบ ข. คว้านตกแต่งปลายท่อให้เรียบร้อย ค. ใส่ท่อเข้าไปในรูจับท่อ โดยให้ความสูงของปลายท่อเท่ากับความหนาของอะแดปเตอร์ ง. ใส่เหล็กตอกเข้าไปในท่อ แล้วใช้ค้อนค่อย ๆ ตอกเหล็กตอก

11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

5. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์ในการเชื่อมท่อน้ายาสารทาความเย็น ก. ถังบรรจุแก๊สออกซิเจน ข. ไขควง ค. ถังบรรจุแก๊สอะเซทิลีน ง. ประแจ 6. การตัดโดยใช้เลื่อยเหมาะสาหรับท่อชนิดใด ก. บาง ข. นิ่ม ค. อ่อน ง. แข็ง 7. เมื่อต้องการดับเปลวไฟ ต้องปิดแก๊สชนิดใดก่อน ก. อะเซทิลีน ข. ออกซิเจน ค. ฮีเลียม ง. ไนโตรเจน 8. หากต้องการดัดท่อให้โค้ง เพื่อให้สามารถต่อถึงกับท่ออื่นได้นั้น จะใช้เครื่องมือใด ก. แฟลร์นัต ข. รีมเมอร์ ค. คัตเตอร์ตัดท่อแบบสปริง ง. เบนเดอร์

12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

9.

จากภาพเป็นงานท่อแบบใด ก. การบานท่อ ข. การขยายท่อ ค. การตัดท่อ ง. การบานแฟลร์

10.

จากภาพ คือขั้นตอนใดในการบานท่อชั้นเดียว ก. ใส่ท่อเข้าไปในรูจับท่อ ขนาดของรูกับท่อต้องเท่ากัน และให้ปลายท่อสูงกว่าตัวจับ ประมาณ 1/3 ของความสูงปากหลุม ข. ขันตัวจับให้แน่น ค. คว้านตกแต่งปลายท่อให้เรียบร้อย ง. สวมตัวบานท่อเข้าไปในตัวจับ แล้วออกแรงขันให้ตัวบานท่อกดท่อทองแดงบานออก

13 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

กระดาษคาตอบ

คะแนนที่ได้ คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………… เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. คาสั่ง จงทาเครื่องหมายกากบาท

ทับข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

แบบทดสอบก่อนฝึก ก

แบบทดสอบหลังฝึก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

เฉลยคาตอบ แบบทดสอบก่อนฝึก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝึก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

ให้ครูฝึกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่าน (C) จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC) ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ แล้วจึงทาแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก

15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

หัวข้อวิชาที่ 1 0921730601 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.1 งานท่อ 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - ตัด ต่อ ขยาย บานแฟลร์ และดัดท่อได้ - เชื่อมท่อทองแดงผ่านแก็สไนโตรเจนได้

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 4 ชั่วโมง

3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกปฏิบัติงานท่อตามแบบที่กาหนดให้

หน่วย: มิลลิเมตร

16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.1 งานท่อ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้าวางกีด ขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. ค้อน

จานวน 1 ตัว

2. คัตเตอร์ตัดท่อ

จานวน 1 ตัว

3. ชุดขยายท่อ

จานวน 1 ชุด

4. ชุดบานแฟลร์

จานวน 1 ชุด

5. ตลับเมตร

จานวน 1 ชุด

6. ตะไบสามเหลี่ยม

จานวน 1 ตัว

7. เบนเดอร์ดัดท่อขนาด 1/2 นิ้ว

จานวน 1 ตัว

8. รีมเมอร์

จานวน 1 ตัว

9. ชุดเชื่อม

จานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ

17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. ท่อแคปทิ้วป์ ยาว 3 เซนติเมตร

จานวน 1 เส้น

2. ท่อทองแดง ขนาด 1/2 นิ้ว ความยาว 40 เซนติเมตร จานวน 1 เส้น 3. แฟลร์นัต ขนาด 1/2 นิ้ว

จานวน 1 อัน

4. ยูเนี่ยน ขนาด 1/2 นิ้ว

จานวน 1 อัน

18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

2. ลาดับการปฏิบัติงาน 2.1 งานท่อ ขั้นตอนการทดสอบ 1. เตรียมท่อความยาว 40 เซนติเมตร

คาอธิบาย เตรียมท่อทองแดง ขนาด 1/2 นิ้ว ความยาว 40 เซนติเมตร

2. วัดความยาวท่อที่ 50 มิลลิเมตร แล้วตัด

ใช้ตลับเมตรวัดความยาว และ

โดยปลายอีกด้านหนึ่งให้ทาการขยายท่อเพื่อ กาหนดจุดที่ 50 มิลลิเมตร จากนั้น เตรียมเชื่อม จากนั้นลบคมท่อให้เรียบร้อย

ใช้คัตเตอร์ตัดท่อตามความยาว โดยเผื่อความยาวเพิ่มประมาณ 10 มิลลิเมตร สาหรับสวมท่อเข้า อีกด้าน โดยปลายด้านหนึ่งทาการ ขยายท่อเพื่อเตรียมเชื่อม จากนั้น ลบคมท่อให้เรียบร้อย

19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ขั้นตอนการทดสอบ

คาอธิบาย

3. วัดความยาวท่อ 70 มิลลิเมตรแล้วกาหนด ใช้ตลับเมตรวัดความยาวลงมาอีก จุดดัดท่อ

70 มิ ล ลิ เ มตร แล้ ว ก าหนดจุ ด เพื่อเตรียมดัดท่อ 90 องศา

4. ดัดท่อ 90 องศาตามที่ได้กาหนดจุดไว้

ใช้เบนเดอร์ดัดท่อให้ได้ 90 องศา

5. วัดความยาวท่อ 90 มิลลิเมตร แล้ว

ใช้ ตลั บเมตรวั ดความยาว 90

กาหนดจุดเพื่อเตรียมดัด

มิลลิเมตร ตามแบบ กาหนดจุดเพื่อ เตรียมดัด 45 องศา

20 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ขั้นตอนการทดสอบ

คาอธิบาย

6. ดัดท่อให้ได้มุม 45 องศา

ใช้เบนเดอร์ดัดท่อ ทามุม 45 องศา

7. จากจุดดัดที่ 45 องศา วัดความยาว

ใช้ตลับเมตรวัดความยาวจากจุดที่

70 มิลลิเมตร แล้วตัดท่อ และลบคมท่อ

ดัด 45 องศามาอีก 70 มิลลิเมตร

ให้เรียบร้อย จากนั้นพักไว้

แล้วกาหนดจุดเพื่อตัด จากนั้นตัด ท ่อ ท อ ง แ ด ง แ ล ้ว ล บ ค ม ท ่ อ ให้เรียบร้อย จากนั้นพักไว้

8. นาท่อที่ตัดไว้ในลาดับแรกมาใส่แฟลร์นัต น าท่ อ ที่ ตั ด ไว้ ใ นล าดั บ แรกมาใส่ ตามแบบ

แฟลร์นัตตามแบบ

21 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ขั้นตอนการทดสอบ 9. บานแฟลร์ตามแบบ

คาอธิบาย จากนั้ น บานแฟลร์ ต ามแบบที่ กาหนดในใบงาน

10. น าท่ อ ทั้ ง สองส่ ว นมาสวมเข้ า ด้ ว ยกั น น าท่ อ ทั้ ง สองส่ ว นมาสว ม เ ข้ า เชื่อมรอยต่อที่ 1 ที่ได้ขยายท่อไว้

ด้วยกัน และทาการเชื่อมรอยต่อที่ 1

11. ตัดแคปทิ้วป์ป์สวมในท่อ ใช้คีมบีบแล้ว ตัดแคปทิ้วป์ป์ด้วยตะไบสามเหลี่ยม เชื่อมปิดแคปทิ้วป์ป์

ยาวประมาณ 30 มิลลิเมตร จากนั้น สวมแคปทิ้ว ป์ ป์ล งในท่อประมาณ 8 มิ ล ลิ เ มตร แล้ ว ใช้ คี ม บี บ ท่ อ จากนั้นเชื่อมปิดแคปทิ้วป์ป์ให้สนิท

22 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ขั้นตอนการทดสอบ

คาอธิบาย

12. ทดสอบรอยรั่ว

ทดสอบรอยรั่วผ่านไนโตรเจน

13. ส่งชิ้นงาน

ส่งชิ้นงาน

23 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ รายการตรวจสอบ 1 ท่อในเครื่องทาความเย็น 1.1 งานตัดท่อ 1.2 งานขยายท่อ (แบบตอก) 1.3 งานบานแฟลร์ 1 ชั้น 1.4 งานดัดท่อ (เบนเดอร์) 2 กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน 2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน 2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

24 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

เกณฑ์การพิจารณา ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………… เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. ลาดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 งานตัดท่อ

1.2 งานขยายท่อ (แบบตอก)

1.3 งานบานแฟลร์ 1 ชั้น

1.4 งานดัดท่อ (เบนเดอร์)

2

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ ครบถ้วน 2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน 2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

เกณฑ์การให้คะแนน - ตั ด ท่ อ ได้ ข นาดตามที่ ก าหนด ลบคมท่ อ เรี ย บร้ อ ย ให้ ค ะแนน 5 คะแนน - ตัดท่อขาด/เกิน 1-2 มิลลิเมตร ยังมีคมท่ออยู่เล็กน้อย ให้คะแนน 3 คะแนน - ตัดท่อขาด/เกินตั้งแต่ 3 มิลลิเมตร ลบคมท่อไม่เรียบร้อย ให้คะแนน 1 คะแนน - ผิวเรียบ คอท่อ ไม่มีรอยร้าว แตก ระยะขยายได้ขนาด ให้คะแนน 5 คะแนน - ผิว เรีย บ คอท่อ มีรอยเล็ก น้อ ย ระยะขยายได้ข นาด ให้ คะแนน 3 คะแนน - ผิวเรียบ คอท่อ มีรอยร้าว แตก ระยะขยายลึก หรือตื้นเกินไป ให้ คะแนน 1 คะแนน - ผิวเรียบ ระยะความบานได้ตามขนาด ให้คะแนน 5 คะแนน - ผิวมีรอยเล็กน้อย ระยะบานได้ตามขนาด ให้คะแนน 3 คะแนน - ผิวมีรอย ระยะการบานมากเกิน ท่อมีรอยแตก ให้คะแนน 1 คะแนน - กาหนดระยะตาแหน่งดัดถูกต้อง สามารถดัดได้ 30 องศา ให้คะแนน 5 คะแนน - กาหนดระยะตาแหน่งดัดขาด/เกิน 1-2 มิลลิเมตร สามารถดัดได้ขาด/ เกิน 1-2 องศา ให้คะแนน 3 คะแนน - กาหนดระยะตาแหน่งดัดขาด/เกินตั้งแต่ 3 มิลลิเมตร สามารถดัดได้ ขาด/เกินตั้งแต่ 3 องศา ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

25 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

คะแนนเต็ม 20 5

5

5

5

5 1 1 1 1 1 25

คะแนนที่ได้


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์ หากไม่ผ่านเกณฑ์ ผู้รับการฝึกต้องขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม่ จนกระทั่งผ่านเกณฑ์

26 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

หัวข้อวิชาที่ 2 0921730602 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.1 งานเชื่อม 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - เชื่อมแก๊สระหว่างท่อทองแดงกับท่อทองเหลือง และเชื่อมต่อผ่านแก๊สไนโตรเจนได้ 2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 3 ชั่วโมง 30 นาที

3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกเชื่อมท่อทองแดง 2 ท่อเข้าด้วยกัน ด้วยวิธีการต่อไปนี้ 1. เชื่อมท่อทองแดงด้วยลวดเชื่อมทองเหลือง 2. เชื่อมท่อทองแดงด้วยลวดเชื่อมเงินผ่านแก๊สไนโตรเจน

27 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.1 งานเชื่อม 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้าวางกีด ขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. ค้อน

จานวน 1 ตัว

2. คัตเตอร์ตัดท่อ

จานวน 1 อัน

3. ชุดเชื่อมแก๊ส

จานวน 1 ชุด

4. ตลับเมตร

จานวน 1 ชุด

5. ตะไบสามเหลี่ยม

จานวน 1 ชุด

6. ปากกาจับชิ้นงาน

จานวน 1 ตัว

7. ไนโตรเจนพร้อมเกจเรกูเลเตอร์

จานวน 1 ชุด

8. รีมเมอร์

จานวน 1 ตัว

9. เลื่อยตัดเหล็ก

จานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ

28 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. เซอร์วิสวาล์วพร้อมวาล์วลูกศร

จานวน 2 ชุด

2. ท่อทองแดงขนาด 1/2 นิ้ว ความยาว 6 เซนติเมตร

จานวน 6 เส้น

3. ท่อทองแดงขนาด 3/8 นิ้ว ความยาว 6 เซนติเมตร

จานวน 6 เส้น

4. น้ายาประสาน

จานวน 1 อัน

5. ลวดเชื่อมเงิน

จานวน 1 อัน

6. ลวดเชื่อมทองเหลือง

จานวน 1 เส้น

29 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

2. ลาดับการปฏิบัติงาน 2.1 เชื่อมท่อทองแดงด้วยลวดเชื่อมทองเหลือง ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตัดท่อทองแดงตามกาหนด

คาอธิบาย ตัดท่อทองแดงตามที่กาหนดไว้ในใบ งาน พร้อมขยายท่อด้านหนึ่งทุกชิ้น

2. สวมท่อต่อเข้าด้วยกันเพื่อเตรียมเชื่อม

สวมท่อต่อเข้าด้วยกัน โดยท่อ 3/8 นิ้ว เตรียมเชื่อมด้วยลวดทองเหลือง

3. ปรับตั้งเปลวไฟเชื่อม

ปรับตั้งเปลวไฟแก๊สเชื่อม

4. เชื่อมท่อทองแดงด้วยลวดเชื่อมทองเหลือง เชื่อมท่อทองแดงด้วยลวดเชื่อม ทองเหลือง โดยใช้น้ายาประสาน โดยใช้น้ายาประสาน

30 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ขั้นตอนการทดสอบ

คาอธิบาย

5. ทดสอบรอยรั่ว

ทดสอบรอยรั่วผ่านไนโตรเจน โดยถ้าจุดเชื่อมมีรอยรั่วหรือเชื่อม ปิดไม่สนิท จะเกิดฟองอากาศ ภายในน้า

6. สิ่งชิ้นงาน

สิ่งชิ้นงานเพื่อรับการประเมิน

31 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

2.2 เชื่อมท่อทองแดงด้วยลวดเชื่อมเงินผ่านแก๊สไนโตรเจน ขั้นตอนการทดสอบ 1. ตัดท่อทองแดงตามกาหนด

คาอธิบาย ตัดท่อทองแดงตามที่กาหนดไว้ใน ใบงานพร้อมขยายท่อด้านหนึ่ง ทุกชิ้น

2. สวมท่อทองแดงเข้าด้วยกันเพื่อเตรียมนาไป

สวมท่อต่อเข้าด้วยกัน โดยท่อ 1/2 นิ้ว เตรียมเชื่อมด้วยลวดเงินโดย ผ่านแก๊สไนโตรเจน

เชื่อม

3. ต่ อ แก๊ ส ไนโตรเจน เข้ า กั บ ท่ อ ทองแดงที่ เตรี ย มต่ อ ไนโตรเจนและปล่ อ ย จะเชื่อม แล้วปล่อยแก๊สไนโตรเจน

แก๊ ส ไนโตรเจนผ่ า นเรกู เ ลเตอร์ ภายในท่ อ ที่ จ ะเชื่ อ ม ที่ ค วามดั น 2 Psi โดยปลายท่ อ อี ก ด้ า นหนึ่ ง เปิดไว้

32 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ขั้นตอนการทดสอบ 4. ปรับตั้งแก๊สเชื่อม

5. เชื่อมท่อทองแดงด้วยลวดเชื่อมเงิน

คาอธิบาย ปรับตั้งเปลวไฟแก๊สเชื่อม โดยเปิด วาล์วแก๊สอะซีทีลีน แล้ว เปิดวาล์ว หัวท่อของแก๊สออกซิเจน จากนั้น เ ปิ ด ว า ล์ ว หั ว เ ชื่ อ ม ข อ ง แ ก๊ ส อะเซทิ ลี น แล้ ว จุ ด แก๊ ส โดยให้ อุปกรณ์จุดเปลวไฟ เปิดวาล์วหัว เชื่ อ มของออกซิ เ จน เปลวไฟ จะต้องไม่มีควันดาหรือไม่มีเสียงดัง ปรั บ แต่ ง ให้ ไ ด้ เ ปลวกลาง หรื อ Neutral Flame เชื่ อ มท่ อ ทองแดงด้ ว ยลวดเชื่ อ ม เงิน

6. ทดสอบรอยรั่ว

ทดสอบรอยรั่วผ่านไนโตรเจน โดย ถ้าจุดเชื่อมมีรอยรั่ว หรือเชื่ อมปิด ไม่สนิท จะเกิดฟองอากาศภายใน น้า

7. สิ่งชิ้นงาน

สิ่งชิ้นงานเพื่อรับการประเมิน

33 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

4. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ รายการตรวจสอบ 1 การเชื่อมท่อทองแดงด้วยลวดเชื่อมทองเหลือง 1.1 งานขยายท่อ 1.2 รอยเชื่อม 1.3 การทดสอบรอยรั่ว การเชื่อมท่อทองแดงด้วยลวดเชื่อมเงิน 1.4 งานขยายท่อ 1.5 รอยเชื่อม 1.6 การทดสอบรอยรั่ว 2 กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน 2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน 2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

34 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

เกณฑ์การพิจารณา ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………… เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. ลาดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน การเชื่อมท่อทองแดงด้วยลวดเชื่อมทองเหลือง 1.1 งานขยายท่อ

1.2 รอยเชื่อม

1.3 การทดสอบรอยรั่ว

การเชื่อมท่อทองแดงด้วยลวดเชื่อมเงิน 1.4 งานขยายท่อ

1.5 รอยเชื่อม

1.6 การทดสอบรอยรั่ว

2

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ ครบถ้วน 2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน 2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

เกณฑ์การให้คะแนน

คะแนนเต็ม 30

- ขยายท่อแล้วคอท่อสมบูรณ์ เรียบร้อย ให้คะแนน 5 คะแนน - ขยายท่อแล้วคอท่อมีรอยเล็กน้อย แต่ไม่เสียหายต่อการใช้งาน ให้ คะแนน 3 คะแนน - ขยายท่อแล้วท่อมีรอยลึก ใช้งานแล้วเสียหาย ให้คะแนน 1 คะแนน - เชื่อมท่อได้แนบสนิท แข็งแรง สวยงาม ให้คะแนน 5 คะแนน - เชื่อมท่อได้ ท่อตรง แข็งแรง แต่ไม่แนบสนิท ให้คะแนน 3 คะแนน - เชื่อมท่อได้ ท่อไม่ตรง ไม่แนบสนิท ให้คะแนน 1 คะแนน - รอยเชื่อมไม่รั่ว ผสานเป็นเนื้อเดียว ให้คะแนน 5 คะแนน - รอยเชื่อมไม่รั่ว ผิวมีรอยเชื่อมไม่สม่าเสมอ รอยเชื่อมหนา ให้คะแนน 3 คะแนน - รอยเชื่อมรั่ว ให้คะแนน 1 คะแนน

5

- ขยายท่อแล้วคอท่อสมบูรณ์ เรียบร้อย ให้คะแนน 5 คะแนน - ขยายท่อแล้วคอท่อมีรอยเล็กน้อย แต่ไม่เสียหายต่อการใช้งาน ให้ คะแนน 3 คะแนน - ขยายท่อแล้วท่อมีรอยลึก ใช้งานแล้วเสียหาย ให้คะแนน 1 คะแนน - เชื่อมท่อได้แนบสนิท แข็งแรง สวยงาม ให้คะแนน 5 คะแนน - เชื่อมท่อได้ ท่อตรง แข็งแรง แต่ไม่แนบสนิท ให้คะแนน 3 คะแนน - เชื่อมท่อได้ ท่อไม่ตรง ไม่แนบสนิท ให้คะแนน 1 คะแนน - รอยเชื่อมไม่รั่ว ผสานเป็นเนื้อเดียว ให้คะแนน 5 คะแนน - รอยเชื่อมไม่รั่ว ผิวมีรอยเชื่อมไม่สม่าเสมอ รอยเชื่อมหนา ให้คะแนน 3 คะแนน - รอยเชื่อมรั่ว ให้คะแนน 1 คะแนน

5

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

35 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

5

5

5

5

5 1 1 1 1 1 35

คะแนนที่ได้


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70

ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์

หากไม่ผ่านเกณฑ์ ผู้รับการฝึกต้องขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม่ จนกระทั่งผ่านเกณฑ์

36 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ตัวอย่างบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………….............. เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. คาชี้แจง ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผู้เข้ารับการฝึก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี แบบทดสอบ ก่อนฝึก

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผลลัพธ์การเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 บอกขั้นตอนการต่อสายไฟฟ้า 10 7 แบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได้ บอกวิธีการต่อสายไฟฟ้าด้วย อุปกรณ์ได้ บอกขั้นตอนการเข้าขั้วสายด้วย หางปลา บอกขั้นตอนการใช้วายนัทต่อ สายได้ บอกขั้นตอนการใช้หลอดต่อ สายไฟได้ บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได้ บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกาหนดขั้วคอมเพรสเซอร์ได้ ประเมินผลภาคทฤษฎี

คะแนนที่ได้ 5

ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)

/ * หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์ คาอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนที่ผู้รับการฝึกตอบถูกลงในช่องคะแนน ที่ได้ แล้วเปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่าน (C) ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC) หากผู้รับการฝึกผ่านการประเมินผลภาคทฤษฎีแล้ว สามารถขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึก ในโมดูลถัดไปได้ 37 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี แบบทดสอบ หลังฝึก

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผลลัพธ์การเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 บอกขั้นตอนการต่อสายไฟฟ้า 10 7 แบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได้ บอกวิธีการต่อสายไฟฟ้าด้วย อุปกรณ์ได้ บอกขั้นตอนการเข้าขั้วสายด้วย หางปลา บอกขั้นตอนการใช้วายนัทต่อ สายได้ บอกขั้นตอนการใช้หลอดต่อ สายไฟได้ บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได้ บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกาหนดขั้วคอมเพรสเซอร์ได้ ประเมินผลภาคทฤษฎี

คะแนนที่ได้ 8

ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)

/ * หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์ คาอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนที่ผู้รับการฝึกตอบถูกลงในช่องคะแนน ที่ได้ แล้วเปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่าน (C) ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC) หากผู้รับการฝึกผ่านการประเมินผลภาคทฤษฎีแล้ว สามารถขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึก ในโมดูลถัดไปได้

38 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธ์การเรียนรู้

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2

ต่อสายไฟฟ้าแบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียว ได้ 1. เข้าขั้วสายด้วยหางปลา และย้าหางปลาได้ 2. ใช้หลอดต่อสายไฟได้ 3. ใช้อุปกรณ์ในการต่อสายไฟได้ ใช้วายนัทต่อสายได้

30

คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 21

80

56

70

35

25

23

20

14

15

20

14

10

25

18

24

210

148

162

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ต่อสายไฟฟ้าด้วยการบัดกรีได้ ภาคปฏิบัติที่ 1.4 แบบทดสอบ ต่อสายไฟฟ้าด้วยการพันฉนวนได้ ภาคปฏิบัติที่ 1.5 แบบทดสอบ ตรวจสอบและกาหนดขั้วคอมเพรสเซอร์ได้ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได้ 20

ผ่าน (C)

ไม่ผ่าน (NYC)

/ * หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์ คาอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนที่ผู้รับการฝึกได้จากการปฏิบัติลงในช่องคะแนนที่ได้ แล้ว เปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ในแต่ละใบทดสอบ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์ หากไม่ผ่านเกณฑ์ ผู้รับการฝึกต้องขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม่ จนกระทั่งผ่านเกณฑ์ ครูฝึกรวมคะแนนที่ได้บันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แล้วเปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนรวมมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 และผ่านเกณฑ์ทุกใบทดสอบ 39 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ถือว่า ผ่าน (C) ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนรวมน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC) การประเมินผลผ่านโมดูล สัดส่วนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได้

ค่า Factor

คะแนนที่ได้คูณ ค่า Factor

8

2

16

162

0.381

61.72

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC) 77.72

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor มากกว่าหรือเท่ากับ 70 คะแนน ถือว่าผ่านเกณฑ์ คาอธิบาย 1. ครูฝึกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผู้รับการฝึกทดสอบครั้งล่าสุด ไม่ต้องนาคะแนนแบบทดสอบก่อนฝึกและ หลังฝึกมารวมกัน 2. ครูฝึกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผู้รับการฝึกทดสอบ 3. นาคะแนนที่ได้คูณค่า Factor โดยมีตัวอย่างการคิดดังนี้ สูตรการคานวณค่า Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

10

ดังนั้น ค่า Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 10

∴ คะแนนที่ได้คูณค่า Factor

8 × 2 = 16

คือ

=2

สูตรการคานวณค่า Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

210 40

กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ดังนั้น ค่า Factor ของภาคปฏิบัติ คือ ∴ คะแนนที่ได้คูณค่า Factor

80 = 0.381 210 162 × 0.381 = 61.72

คือ

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor คือ 16 + 61.72 = 77.72 5. ประเมินผลการผ่านโมดูล ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่าน (C) ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC)

41 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………….............. เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. คาชี้แจง ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผู้เข้ารับการฝึก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี แบบทดสอบ ก่อนฝึก

1.

2. 3.

4.

ผลลัพธ์การเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 อธิบายวิธีการตัด การต่อ การ 10 7 ขยาย การบานแฟลร์ และการ ดัดท่อได้ ตัด ต่อ ขยาย บานแฟลร์ และดัด ท่อได้ อธิบายวิธีการเชื่อมแก๊สระหว่าง ท่อทองแดงกับท่อทองเหลือง และการเชื่อมต่อผ่านแก๊ส ไนโตรเจนได้ เชื่อมแก๊สระหว่างท่อทองแดงกับ ท่อทองเหลือง และเชื่อมต่อผ่าน แก๊สไนโตรเจนได้ ประเมินผลภาคทฤษฎี

* หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์

42 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได้

ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี แบบทดสอบ หลังฝึก

1.

2. 3.

4.

ผลลัพธ์การเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 อธิบายวิธีการตัด การต่อ การ 10 7 ขยาย การบานแฟลร์ และการ ดัดท่อได้ ตัด ต่อ ขยาย บานแฟลร์ และดัด ท่อได้ อธิบายวิธีการเชื่อมแก๊สระหว่าง ท่อทองแดงกับท่อทองเหลือง และการเชื่อมต่อผ่านแก๊ส ไนโตรเจนได้ เชื่อมแก๊สระหว่างท่อทองแดงกับ ท่อทองเหลือง และเชื่อมต่อผ่าน แก๊สไนโตรเจนได้ ประเมินผลภาคทฤษฎี

* หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์

43 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได้

ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธ์การเรียนรู้

25

คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 18

35

25

60

43

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ตัด ต่อ ขยาย บานแฟลร์ และดัดท่อได้ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ เชือ่ มแก๊สระหว่างท่อทองแดงกับท่อ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 ทองเหลือง และเชื่อมต่อผ่านแก๊สไนโตรเจน ได้ คะแนนรวมภาคปฏิบัติ ประเมินผลภาคปฏิบัติ * หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์

44 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได้

ผ่าน (C)

ไม่ผ่าน (NYC)


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

การประเมินผลผ่านโมดูล สัดส่วนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได้

ค่า Factor

คะแนนที่ได้คูณ ค่า Factor

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)

2 1.333

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor มากกว่าหรือเท่ากับ 70 คะแนน ถือว่าผ่านเกณฑ์

คาแนะนา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตาแหน่ง …………………………… วัน……..เดือน………………….ปี……… หมายเหตุ: ให้บันทึกผลการฝึกให้ผู้รับการฝึกแต่ละคนหลังจากจบการฝึกและการประเมิน

45 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

)


คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

46 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.