คู่มือการประเมิน ช่างบำรุงรักษารถยนต์ ระดับ 2 โมดูล 4

Page 1

หนาปก



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

คูมือการประเมิน 0920163100501 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 4 09210204 วัสดุและสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

คํานํา คูมือการประเมิน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดูล 4 วัสดุและสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงานฉบับนี้ ไดพัฒนาขึ้นภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ นํ า ไปใช เ ป น ระบบการฝ ก อบรมตาม ความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 เพื่อใหตอบสนองความตองการของกําลังแรงงานและตลาดแรงงานได อยางเหมาะสมมากยิ่ งขึ้น และเพื่อรองรับระบบการรั บรองมาตรฐานฝ มือแรงงานแห งชาติและระบบการรั บรองความรู ความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ใหแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมายตางๆ ใหกวางขวางมาก ยิ่งขึ้น ทั้งในแงของขอบเขตของการใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตางๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

5

แบบทดสอบกอนฝก

6

แบบทดสอบหลังฝก

10

กระดาษคําตอบ

14

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

15

แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หัวขอวิชาที่ 1 0921020401 สมบัติและการใชวัสดุกันรั่วซึม

16

หัวขอวิชาที่ 2 0921020402 สมบัติและการใชสารยึดแนน

26

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ บันทึกผลการประเมินความสามารถ

40 46

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการ ประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่อ อิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงราง หลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัตแิ กผูรับการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 4 09210204 วัสดุและสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน 1. อธิบายสมบัติวัสดุกันรั่วซึมได 2. ใชวัสดุกันรั่วซึมไดอยางถูกตอง 3. อธิบายสมบัติสารยึดแนนได 4. ใชสารยึดแนนไดอยางถูกตอง

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

แบบทดสอบกอนฝก คําชี้แจง: 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 4 09210204 วัสดุและสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน 1. ปะเก็นเหลว นิยมใชกับอุปกรณใด ก. เครื่องสูบ ข. หนาประกับของระบบแกส ค. ฝาครอบวาลว ง. อางน้ํามันเครื่อง 2. ปะเก็นชนิดใด นิยมใชกับปมน้ํา ก. ปะเก็นเหลว ข. ปะเก็นเชือก ค. ปะเก็นไมกอก ง. ปะเก็นแผน 3. ขอใด ไมใชคุณสมบัติของปะเก็นเหลว ก. ปรับใชกับพื้นผิวไดหลายรูปแบบ ข. ทนตอแรงดันไดต่ํา ค. ทนตอสารเคมี ง. ไมเกิดการลื่นไถล หรือเคลื่อนตัว 4. วัสดุที่ใชผลิตปะเก็นชนิดใด เมื่อใชงานไปนาน ๆ จะเกิดการแข็งตัว ก. ฉนวนใยแกว ข. ทองแดง ค. อะลูมิเนียม ง. ยางเทียม

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

5. ขอใด เปนสาเหตุของการรั่วของปะเก็น ก. ความหนืดของตัวกลาง ข. หนาประกับ ค. การกัดกรอน ง. การขันสลักเกลียว 6. ขอใดตอไปนี้ ไมใชวัสดุประสานสังเคราะห ก. กาวอีพอกซี

ค. กาวยูเรีย

ข. กาวซิลิโคน

ง. โซเดียมซิลิเกต

7. ขอใด คือวัสดุที่ใชทารองพื้นสําหรับงานเปลี่ยนกระจกหนารถยนต ก. เซลลูโลสดีริเวทีฟ ข. อะครีลิก ค. น้ํายาไพรเมอร ง. กาวโพลีเอสเตอรเรซิน 8. วัสดุใด นิยมใชในงานประกอบชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส ก. อัลกาไลดเรซิน

ค. กาวยูเรีย

ข. ไวนีลเรซิน

ง. กาวซิลิโคน

9. ขอใดกลาวถูกตอง เกี่ยวกับคุณสมบัติของกาวฟโนลิก ก. ทนอุณหภูมิไดต่ํา ข. ทนทานตอการกัดกรอน ค. ดูดซับความชื้นไดดี ง. นิยมใชในงานเกี่ยวกับหองเย็น

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

10. กาวชนิดใด เหมาะสําหรับงานซอมแซมตัวถังรถยนต ก. กาวเคซีน ข. กาวอีพอกซี ค. กาวฟโนลิก ง. กาวไขสัตว

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

แบบทดสอบหลังฝก คําชี้แจง: 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 4 09210204 วัสดุและสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน 1. ปะเก็นชนิดใด นิยมใชกับปมน้ํา ก. ปะเก็นเหลว ข. ปะเก็นเชือก ค. ปะเก็นไมกอก ง. ปะเก็นแผน 2. กาวชนิดใด เหมาะสําหรับงานซอมแซมตัวถังรถยนต ก. กาวเคซีน ข. กาวอีพอกซี ค. กาวฟโนลิก ง. กาวไขสัตว 3. วัสดุใด นิยมใชในงานประกอบชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส ก. อัลกาไลดเรซิน

ค. กาวยูเรีย

ข. ไวนีลเรซิน

ง. กาวซิลิโคน

4. วัสดุที่ใชผลิตปะเก็นชนิดใด เมื่อใชงานไปนาน ๆ จะเกิดการแข็งตัว ก. ฉนวนใยแกว ข. ทองแดง ค. อะลูมิเนียม ง. ยางเทียม

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

5. ขอใด คือวัสดุที่ใชทารองพื้นสําหรับงานเปลี่ยนกระจกหนารถยนต ก. เซลลูโลสดีริเวทีฟ ข. อะครีลิก ค. น้ํายาไพรเมอร ง. กาวโพลีเอสเตอรเรซิน 6. ขอใดตอไปนี้ ไมใชวัสดุประสานสังเคราะห ก. กาวอีพอกซี

ค. กาวยูเรีย

ข. กาวซิลิโคน

ง. โซเดียมซิลิเกต

7. ขอใด เปนสาเหตุของการรั่วของปะเก็น ก. ความหนืดของตัวกลาง ข. หนาประกับ ค. การกัดกรอน ง. การขันสลักเกลียว 8. ขอใด ไมใชคุณสมบัติของปะเก็นเหลว ก. ปรับใชกับพื้นผิวไดหลายรูปแบบ ข. ทนตอแรงดันไดต่ํา ค. ทนตอสารเคมี ง. ไมเกิดการลื่นไถล หรือเคลื่อนตัว 9. ปะเก็นเหลว นิยมใชกับอุปกรณใด ก. เครื่องสูบ ข. หนาประกับของระบบแกส ค. ฝาครอบวาลว ง. อางน้ํามันเครื่อง

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

10. ขอใดกลาวถูกตอง เกี่ยวกับคุณสมบัติของกาวฟโนลิก ก. ทนอุณหภูมิไดต่ํา ข. ทนทานตอการกัดกรอน ค. ดูดซับความชื้นไดดี ง. นิยมใชในงานเกี่ยวกับหองเย็น

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

หัวขอวิชาที่ 1 0921010401 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.1 การตัดปะเก็นปมน้ําเครื่องยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชวัสดุกันรั่วซึมไดอยางถูกตอง 2. ปฏิบัติงานตัดปะเก็นปมน้ําเครื่องยนตได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตัดปะเก็นปมน้ําเครื่องยนตใหถูกตองตามขั้นตอนที่กําหนด

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.1 การตัดปะเก็นปมน้ําเครื่องยนต 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก : - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชางแบบเต็มตัว 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ง าน ไม ใ ห มี อุ ป กรณ อื่ น ๆ ที่ ไ ม เ กี่ ย วข อง หรื อ วั ส ดุ อั น ตรายเช น สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เครื่องยนตตั้งแทนสําหรับฝก (ถอดสายพานออก)

จํานวน 1 ชุด

2. เหล็กตอกปะเก็น

จํานวน 1 อัน

3. คอนเหล็ก

จํานวน 1 อัน

4. แผนไมรองตอกปะเก็น

จํานวน 1 แผน

5. เกรียง

จํานวน 1 อัน

6. กรรไกร

จํานวน 1 อัน

7. ประแจวัดแรงบิด

จํานวน 1 อัน

8. โตะปฏิบัติงาน

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ปะเก็นกระดาษ ขนาด 30 x 30 เซนติเมตร

จํานวน 1 แผน

3. กาวทาปะเก็น

จํานวน 1 หลอด

2. ลําดับการทดสอบ การตัดปะเก็นปมน้ําเครื่องยนต ขั้นตอนการทดสอบ 1. ถอดปมน้ํา

คําอธิบาย โดยคลายนอตที่เสื้อสูบดานหนา และนํา ปมน้ําออก

2. ทําความสะอาดปมน้ํา

โดยการใชเกรียงขูดปะเก็นที่มีอยูเดิมออก ใหหมด แลวใชผาชุบน้ําเช็ดใหสะอาด

3. วางปะเก็นกระดาษ

วางแผ น ไม ร องตั ด ปะเก็ น ลงบนโต ะ ปฏิบัติงาน และวางปะเก็นกระดาษลงบน แผนไม

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการทดสอบ 4. ทํารอยปะเก็นบนปะเก็นกระดาษ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตรวจดู ว า ร อ งรอยของปะเก็ น เดิ ม อยู ที่ ค ว ร ท า จ า ร ะ บี ใ น บริ เ วณใด และใช จ าระบี ท าบาง ๆ ตาม ปริ ม าณที่ พ อเหมาะ รอยปะเก็นเดิม

เพราะหากทาจาระบี

วางปมน้ําบริเวณที่ทาจาระบีลงบนปะเก็น มากเกิ น ไป จะทํ า ให กระดาษ เพื่อทํารอยกอนตัดปะเก็น และ ปะเก็นกระดาษติด กั บ ยกปมน้ําออก

ปมน้ําจนแกะออกจาก กั น ยาก และหากทา นอยเกินไป จะเห็นรอย ปะเก็นเดิมไดไมชัดเจน

5. ตอกปะเก็น

ใช เ หล็ ก ตอกที่ รู ป ะเก็ น สํ า หรั บ ใส น อต ขนาดตาง ๆ ตามขนาดของนอตที่ปรากฏ บนกระดาษ

6. ตัดปะเก็น

ใช ก รรไกรตั ด ปะเก็ น กระดาษ ตามรอย จาระบี

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการทดสอบ 7. ทดลองวางปะเก็น

คําอธิบาย ทดลองประกบประเก็นที่ตัดไดกับปมน้ําวา พอดีหรือไม

8. ติดปะเก็นใหม

หากปะเก็ น ประกบกั บ ป ม น้ํ า ได พ อดี ใช กาวทาปะเก็นทาที่ปะเก็นทั้ง 2 ดาน แลว นําไปประกบกับปมน้ํา

9. ขันนอต

ขันนอตใหแนนตามคาแรงบิดที่กําหนดใน คูมือซอมประจํารถยนต โดยใชประแจวัด แรงบิด

10. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การทํารอยตัดปะเก็นดวยการทาจาระบี

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การตัดปะเก็นปมน้ําเครื่องยนต

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การขันนอตปะเก็น

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ตารางวัดคาแรงบิด

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม

3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกต อง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การทํารอยตัดปะเก็นดวยการทาจาระบี

ทํารอยตัดปะเก็นดวยการทาจาระบีไดถกู ตองตามขั้นตอน และเห็นรอยของปะเก็นเดิมชัดเจน ใหคะแนน 5 คะแนน ทํารอยตัดปะเก็นดวยการทาจาระบีไมถกู ตองตามขั้นตอน หรือ เห็นรอยของปะเก็นเดิมไดไมชัดเจน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ทํารอยตัดปะเก็นดวยการทาจาระบีไมถกู ตองตามขั้นตอน และเห็นรอยของปะเก็นเดิมไดไมชัดเจน ใหคะแนน 0 คะแนน

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

การตัดปะเก็น

ขอกําหนดในการใหคะแนน

ตัดปะเก็นไดขนาดพอดีกับปะเก็นเดิม ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนน เต็ม

5

ตัดปะเก็นไดขนาดคลาดเคลื่อนจากกับปะเก็นเดิม 1-3 เซนติเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน ตัดปะเก็นไดขนาดคลาดเคลื่อนจากกับปะเก็นเดิมมากกวา 3 เซนติเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน ตัดปะเก็นไดขนาดคลานเคลื่อน และไมเปนรูปทรงเดิม ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การขันนอตปะเก็น

ขั นนอตปะเก็นโดยใชป ระแจวัดแรงบิดตามคา ที่กาํ หนด

3

ไดถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน ขันนอตปะเก็นโดยใชประแจวัดแรงบิดตามคาที่กําหนด คลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

31

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

หัวขอวิชาที่ 2 0921010402 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.1 การเปลี่ยนกระจกหนารถยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชสารยึดแนนไดอยางถูกตอง 2. ปฏิบัติงานเรื่องสมบัติและการใชสารยึดแนนได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง 30 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานเปลี่ยนกระจกหนารถยนต

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.1 การเปลี่ยนกระจกหนารถยนต 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนตนั่งสวนบุคคล

จํานวน 1 คัน

2. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

3. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

4. เครื่องยิงซิลิโคน

จํานวน 1 เครื่อง

5. เครื่องมือจับกระจก

จํานวน 1 อัน

6. เกรียง

จํานวน 1 อัน.

7. เครื่องมือตัดกาวกระจกรถ

จํานวน 1 อัน

8. คัตเตอร

จํานวน 1 อัน

9. เครื่องมือพิเศษสําหรับงานเปลี่ยนกระจก

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. กระจกหนารถยนต

จํานวน 1 แผน

3. ซิลิโคนยึดกระจก

จํานวน 1 หลอด

4. น้ํายาประสาน

จํานวน 1 ขวด

5. น้ํายากันสนิม

จํานวน 1 ขวด

6. ยางขอบกระจก

จํานวน 1 เสน

7. เทปกาว

จํานวน 1 มวน

2. ลําดับการทดสอบ สมบัติและการใชสารยึดแนน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียร ในตํ าแหน ง P ถาเปน เกีย รธ รรมดา ให เขาเกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

3. คลุมผาสําหรับซอม

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใช ผ า คลุ ม สํ า หรั บ ซ อ มคลุ ม ที่ ก ระโปรง หน า รถ บั ง โคลนซ า ย-ขวา พวงมาลั ย และเบาะนั่ง

4. นําคิ้วขอบกระจก 2 ขางออก

ใชเครื่องมือพิเศษสําหรับเปลี่ยนกระจก งัดคิ้วขอบกระจกออกทั้ง 2 ขาง โดยเริ่ม งัดจากดานลางขึ้นไปดานบน

5. นําที่ปดน้ําฝนออก

ใชมือดึงจุกยางครอบนอตออก จากนั้น ใชประแจคลายนอตออก และยกกานที่ ปดน้ําฝนออก

6. เปดฝากระโปรงหนารถ

เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไมค้ํายัน

ล็ อ ก ไ ม ค้ํ า ยั น ฝ า กระโปรงหน า รถทุ ก

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง ครั้ง เพื่อปองกันไมให ฝ า ก ร ะ โ ป ร ง ป ด ระหวางปฏิบัติงาน

7. นําแผงกั้นดานหลังหองเครื่องออก

ใช เ ครื่ อ งมื อ พิ เ ศษสํ า หรั บ งานเปลี่ ย น กระจกงัดพุกล็อกออก จากนั้นยกแผงกั้น ดานหลังหองเครื่องออก

8. ปดฝากระโปรงหนารถ

เก็บไมล็อกค้ํายันและปดฝากระโปรงรถ

9. นําแผนประกบเสา A ทั้ง 2 ขางออก

ปลดตั ว ล็ อ กและนํ า แผ น ประกบเสา A ออก

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 10. กรีดยางขอบกระจก

คําอธิบาย ใชคัตเตอรกรีดยางขอบกระจก

ขอควรระวัง ระวังคัตเตอรบาดมือ และระวั ง คั ต เตอร โดนสีรถเปนรอย

11. กรีดกาวขอบกระจก

การกรี ด กาวขอบกระจกด า นซ า ยและ ระวั ง กระจกบาดมือ ดานขวา ใหเสียบเครื่องมือตัดกาวเขาไป และระวั ง เครื่ อ งมื อ ตรงมุมลางของกระจกและเริ่มกรีดจาก ตกใส ตั ว ถั ง รถและ ล า งขึ้ น บน ในกรณี ที่ จ ะกรี ด กาวขอบ รางกาย กระจกดานลาง ใหเสียบเครื่องมือตัดกาว เข า ไปตรงมุ ม กระจกและเครื่ อ งมื อ ไป ตามขอบกระจก โดยเริ่ ม จากซ า ยหรื อ ขวาก็ได

12. กรีดกาวขอบกระจกอีกครั้ง

ใชคัตเตอรกรีดกาวขอบกระจกที่ยังขาด ออกไมหมดซ้ํ าอี กครั้ง โดยขั้นตอนนี้ให ทําจากภายในตัวรถ

13. นํากระจกออก

ใช มื อ จั บ กระจกและยกออก โดยขั้ น ร ะ วั ง ก ร ะ จ ก แ ต ก ตอนนี้ตองใชผูรับการฝก 2 คน

และระวังกระจกบาด รางกาย

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 14. ทําความสะอาดบริเวณที่ติดตั้งกระจก

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

กรีดเศษยางออกใหเรียบ โดยยังคงเหลือ หากกรีดยางลึกลงไป ยางเสนเกาไวบาง เพื่อปองกันไมใหตัวถัง ถึ ง ตั ว ถั ง ร ถ ใ ห ใ ช รถเกิดสนิม และใชสําหรับยืดติดกับยาง น้ํายากันสนิมทา เพื่อ เสนใหม จากนั้นดูดฝุนตามขอบกระจก ปองกันการเกิดสนิม ออกใหหมด

15. ติดตั้งชุดยางกระจก

ติ ด ชุ ด ยางกระจกบริ เ วณขอบกระจก บานใหม และติดยางปองกันเสียงลมที่ ตัวถังรถ

16. ทาน้ํายากันสนิมและน้ํายาประสาน

ทาน้ํ า ยากั น สนิ ม ที่ บ ริ เ วณขอบที่ ติ ด ตั้ ง กระจกหนารถยนต

ทาน้ํายาประสานบริเวณรอบขอบกระจก บานใหม

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 17. ลงซิลิโคน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใชที่ยิงซิลิโคน ยิงซิลิโคนลงบริเวณรอบ การยิงซิลิโคนตองทํา ขอบกระจกบานใหม และบริเวณขอบที่ อย า งต อ เนื่ อ งห า ม ติดตั้งกระจกหนารถยนต

ขาดตอน เพื่อปองกัน ไมใหเกิดฟองอากาศ ซึ่ ง อาจเป น สาเหตุ ที่ ทําใหน้ําเขาได

18. ติดตั้งกระจกใหม

ใชที่จับกระจกจับกระจกบานใหม และ ร ะ วั ง ก ร ะ จ ก แ ต ก ยกไปวางลงในตํ า แหน ง เดิ ม โดยขั้ น และระวังกระจกบาด ตอนนี้ตองใชผูรับการฝก 2 คน

รางกาย

จากนั้นกดกระจกใหแนนติดกับตัวถังรถ ห ลั ง ก า ร เ ป ลี่ ย น และนํ า เทปกาวมาติ ด ยึ ด บริ เ วณขอบ กระจกหามเคลื่อนรถ กระจก เพื่อปองกันการลื่นไหล

หรือลางรถภายใน 4-6 ชั่วโมง เนื่องจากกาว ยังไมแหง อาจสงผล ใหกระจกเลื่อนได

19 เปดฝากระโปรงหนารถ

เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไมค้ํายัน

ล็ อ ก ไ ม ค้ํ า ยั น ฝ า กระโปรงหน า รถทุ ก

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง ครั้ง เพื่อปองกันไมให ฝ า ก ร ะ โ ป ร ง ป ด ระหวางปฏิบัติงาน

20. ติดตั้งแผงกั้นดานหลังหองเครื่อง

นําแผงกั้นดานหลังหองเครื่อง และพุกล็อก ประกอบกลับเขาไปในตําแหนงเดิม

21. ปดฝากระโปรงหนารถ

เก็บไมล็อกค้ํายันและปดฝากระโปรงรถ

22. ประกอบแผนประกบเสา A ทั้ง 2 ขาง

ประกอบแผ น ประกบเสา A ที่ตําแหนง เดิมทั้ง 2 ขางและกดล็อกใหเรียบรอย

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

22 ติดตั้งที่ปดน้ําฝน

นํากานปดน้ําฝนไปวางลงในตําแหนงเดิม จากนั้นใชประแจขันนอตใหแนน และปด จุกยางครอบนอต

23. ติดตั้งคิ้วขอบกระจก 2 ขาง

นําคิ้ว ขอบกระจกไปวางลงในตํา แหน ง

24. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

เดิม และใชมือกดใหแนนสนิท ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การนํากระจกเกาออก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การทาน้ํายาปองกันสนิม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การเตรียมกระจกใหมและวางกระจกแผนใหม ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

8

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

หลังปฏิบัติงาน 9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การนํากระจกเกาออก

นํากระจกเกาออกไดอยางเรียบรอย และถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

นํากระจกเกาออกไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน นํากระจกเกาออกไมเรียบรอย และไมถกู ตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การทาน้ํายาปองกันสนิม

ทาน้าํ ยาปองกันสนิมไดอยางเรียบรอย และถูกตองตามตําแหนง ใหคะแนน 5 คะแนน

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ทาน้ํายาปองกันสนิมไมเรียบรอย หรือไมถูกตองตามตําแหนง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ทาน้ํายาปองกันสนิมไมเรียบรอย และไมถูกตองตามตําแหนง ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การเตรียมกระจกใหมและวางกระจกแผนใหม

เตรียมกระจกใหมถกู ตองตามขั้นตอน และวางกระจกแผน ใหมไดเรียบรอยตรงตามตําแหนง

5

ใหคะแนน 5 คะแนน เตรียมกระจกใหมไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน แตวาง กระจกแผนใหมเรียบรอยตรงตามตําแหนง ใหคะแนน 4 คะแนน เตรียมกระจกใหมไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน แตวาง กระจกแผนใหมเรียบรอยตรงตามตําแหนง ใหคะแนน 3 คะแนน เตรียมกระจกใหมไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน และวาง กระจกแผนใหมไมเรียบรอยตรงตามตําแหนง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมกระจกใหมไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 2 ขั้นตอน และวางกระจกแผนใหมไมเรียบรอยตรงตามตําแหนง ใหคะแนน 0 คะแนน 7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ลําดับที่

9

รายการตรวจสอบ

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

33

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

1. 2.

3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟ 10 7 งายและสารอันตรายได บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได อธิบายกฎของโรงงานและปาย เตือนตาง ๆ ได อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ ได ใชอุปกรณปองกันอันตราย ประเภทตาง ๆ ได อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัย และหลักการดับเพลิงได ปฏิบัติตามวิธีการปองกัน อัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได อธิบายวิธีการปฐมพยาบาล เบื้องตนได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได ประเมินผลภาคทฤษฏี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 6

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

1. 2.

3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟ 10 7 งายและสารอันตรายได บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได อธิบายกฎของโรงงานและปาย เตือนตาง ๆ ได อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ ได ใชอุปกรณปองกันอันตราย ประเภทตาง ๆ ได อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัย และหลักการดับเพลิงได ปฏิบัติตามวิธีการปองกัน อัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได อธิบายวิธีการปฐมพยาบาล เบื้องตนได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได ประเมินผลภาคทฤษฏี

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 8

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 4.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 5.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 6.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 6.2

ใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได ปฏิบัติตามวิธีการปองกันอัคคีภัยและ หลักการดับเพลิงได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได

58

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 41

36

25

31

28

20

22

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

33

23

30

คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

155

109

113

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 30

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลว เปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (รอยละ 20) ภาคปฏิบัติ (รอยละ 80)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

8

2

16

113

0.516

58.308

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 74.308

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฏี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

10

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 10

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

8 × 2 = 16

คือ

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

=2


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

155 80 = 0.516 155

ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

คือ

113 × 0.516 = 58.308

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 16 + 58.308 = 74.308 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายสมบัติวัสดุกันรั่วซึมได 2. อธิบายสมบัติสารยึดแนนได

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 10 7

ประเมินผลภาคทฤษฏี

คะแนนที่ได 6 ผาน ไมผาน (C) (NYC)

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายสมบัติวัสดุกันรั่วซึมได 2. อธิบายสมบัติสารยึดแนนได

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 10 7

ประเมินผลภาคทฤษฏี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 6 ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

31

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 22

33

23

64

45

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ใชวัสดุกันรั่วซึมไดอยางถูกตอง ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ใชสารยึดแนนไดอยางถูกตอง ภาคปฏิบัติที่ 2.1 คะแนนรวมภาคปฏิบัติ ประเมินผลภาคปฏิบัติ * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (รอยละ 20) ภาคปฏิบัติ (รอยละ 80)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC)

2 1.25

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบันทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.