คู่มือการประเมิน ช่างบำรุงรักษารถยนต์ ระดับ 2 โมดูล 5

Page 1

หนาปก



คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

คูมือการประเมิน 0920163100502 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 5 09210205 เครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

คํานํา คูมือการประเมิน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดูล 5 เครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต ฉบับนี้ ไดพัฒนาขึ้น ภายใต โ ครงการพั ฒ นาระบบฝ ก และชุ ด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําไปใชเปนระบบการฝกอบรมตามความสามารถ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) เพื่อใหตอบสนองความตองการของกําลังแรงงานและตลาดแรงงานไดอยาง เหมาะสมมากยิ่ ง ขึ้ น และเพื่ อ รองรั บ ระบบการรั บ รองมาตรฐานฝ มื อ แรงงานแห ง ชาติ แ ละระบบการรั บ รองความรู ความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ใหแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมายตางๆ ใหกวางขวางมาก ยิ่งขึ้น ทั้งในแงของขอบเขตของการใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรั บ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

5

แบบทดสอบกอนฝก

6

แบบทดสอบหลังฝก

10

กระดาษคําตอบ

14

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

15

แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หัวขอวิชาที่ 1 0921020501 การบํารุงรักษาเครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต

16

หัวขอวิชาที่ 2 0921020502 วิธีการใชและบํารุงรักษาเครื่องชั่ง และเครื่องมือวัดทางดานชางยนต

28

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ

48

บันทึกผลการประเมินความสามารถ

54

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการ ประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่อ อิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงราง หลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัตแิ กผูรับการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 5 09210205 เครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต 1. อธิบายวิธีการบํารุงรักษาเครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนตได 2. บํารุงรักษาเครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนตได 3. อธิบายวิธีการใช วิธีบํารุงรักษาเครื่องชั่ง เครื่องมือวัดทางดานชางยนต 4. ใชและบํารุงรักษาเครื่องชั่ง เครื่องมือวัดทางดานชางยนตได

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

แบบทดสอบกอนฝก คําชี้แจง: 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 5 09210205 เครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต 1. ขอใดกลาวไมถูกตอง เกี่ยวกับการบํารุงรักษาปมลม ก. กอนระบายน้ํา ตองระบายลมออกจากถังเก็บลมกอน ข. การเปาไสกรองอากาศปมลม ตองเปาจากดานนอกเขาสูดานใน ค. การตรวจสอบระดับน้ํามันหลอลื่น จัดอยูในการตรวจสอบประจําวัน ง. ควรเติมน้ํามันหลอลื่นใหอยูในระดับ ½ ของชองดูระดับน้ํามัน 2. การตรวจสอบแหวนลูกสูบของปมลม ควรตรวจสอบตามระยะเวลาใด ก. ทุก 6 เดือน หรือ 3,000 ชั่วโมง ข. ทุก 1 เดือน หรือ 360 ชั่วโมง ค. ทุก 1 ป หรือ 6,000 ชั่วโมง ง. ทุกวัน 3. ขอใด ไมใชวิธีการบํารุงรักษาแทนอัดไฮดรอลิก ก. ปนชัยใชน้ํามันที่มีความหนืดนอย ๆ เพื่องายตอการเปลี่ยนแปลงของความหนืดเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยน ข. เอกพจนเลือกใชน้ํามันไฮดรอลิกตามชนิดของเครื่องอัด ค. โอสถตรวจสอบระดับน้ํามันของแทนอัดไฮดรอสิกไมใหต่ํากวาที่กําหนดอยูเสมอ ง. เชิดศักดิ์ตรวจสอบขอตอตาง ๆ ไมใหหลวม กอนการใชงานทุกครั้ง 4. เพราะเหตุใด จึงไมควรฉีดน้ํามันหลอลื่นเขาไปในตัวเครื่องของประแจลม ก. ฝุนละอองจะสะสมจนเกิดการอุดตัน ข. ชิ้นสวนจะถูกกัดกรอนจนเสียหาย ค. เครื่องจะหนืด และมีกําลังลดลง ง. ตัวเครื่องจะถายเทความรอนไดไมดี

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

5. ขอใดกลาวถูกตอง เกี่ยวกับการบํารุงรักษาหินเจียระไน ก. ควรใชแรงกดผิวของชิ้นงานเขากับผิวหนาของหินเจียระไนใหมากที่สุด ข. ระยะหางของแทนรองรับ ตองมากกวา 10 มิลลิเมตร ค. หามใชหินเจียระไนแบบ 380 โวลต ถาแรงเคลื่อนไฟฟาไมครบเฟส ง. ควรฉีดน้ํามันอเนกประสงคลงบนผิวหนาของหินเจียระไนทุกครั้งกอนใชงาน 6. ขอใด คือ การเก็บรักษาเครื่องชั่งสปริงแบบแขวนที่ไมถูกวิธี ก. ทําความสะอาดโดยใชผาแหงเช็ด ข. หยอดน้ํามันหลอลื่นที่เกลียวปรับศูนยทุกครั้งหลังใชงาน ค. ระวังไมใหน้ําเขาไปในเครื่องชั่ง ง. ไมชั่งน้ําหนักเกินพิกัดของเครื่องชั่ง 7. ขอใด ไมควรปฏิบัติขณะใชงานไมโครมิเตอรวัดนอก ก. ใชวัดงานที่ผานการขึ้นรูป ข. ใชไมโครมิเตอรวัดขนาดงานผิวเรียบ ค. วัดงานในขณะที่ชิ้นงานกําลังหมุนหรือเคลื่อนที่ ง. วางไมโครมิเตอรบนผานุม และแยกออกจากเครื่องมือมีคม 8. ขอใด คือ ขอควรระวังในการใชเวอรเนียรคาลิปเปอร ก. ระมัดระวังการใชแรงกด และการเลื่อนแกนสกรูบอยครั้ง ข. หามเลื่อนปากวัดไปมาบนชิ้นงาน เพราะอาจทําใหปากวัดสึกได ค. ไมควรทาน้ํามันกันสนิมบริเวณปากวัด ปองกันฝุนละอองจับติด ง. ใชมือขางที่ถนัดจับที่ปลอกสเกลหมุนวัด มือขางที่ไมถนัดหมุนที่ปลอกกระทบเลื่อน

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

9. ขอใดตอไปนี้ ไมควรทําขณะใชงานเวอรเนียรคาลิปเปอร ก. วัดชิ้นงานขณะที่ชิ้นงานหยุดนิ่ง ข. วัดชิ้นงานขณะที่ชิ้นงานอุณหภูมิหอง ค. ลบคมชิ้นงานกอนการวัด ง. ใชปากวัดนอกหรือปากวัดในขีดขนาดงาน 10. ขอใด ไมใชวิธีการบํารุงรักษาไดอัลเกจ (นาฬิกาวัด) ก. หลังใชงานใหเคลือบน้ํามัน และเก็บในกลอง ข. จับยึดใหมั่นคงเพื่อปองกันการหลนกระแทก ค. หากไมใชงานตองรีบเก็บเขาสูสภาพเดิมทันที ง. วางหรือเก็บนาฬิกาวัดแยกออกจากเครื่องมือชนิดอื่น

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

แบบทดสอบหลังฝก คําชี้แจง: 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 5 09210205 เครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต 1. การตรวจสอบแหวนลูกสูบของปมลม ควรตรวจสอบตามระยะเวลาใด ก. ทุก 6 เดือน หรือ 3,000 ชั่วโมง ข. ทุก 1 เดือน หรือ 360 ชั่วโมง ค. ทุก 1 ป หรือ 6,000 ชั่วโมง ง. ทุกวัน 2. ขอใดกลาวถูกตอง เกี่ยวกับการบํารุงรักษาหินเจียระไน ก. ควรใชแรงกดผิวของชิ้นงานเขากับผิวหนาของหินเจียระไนใหมากที่สุด ข. ระยะหางของแทนรองรับ ตองมากกวา 10 มิลลิเมตร ค. หามใชหินเจียระไนแบบ 380 โวลต ถาแรงเคลื่อนไฟฟาไมครบเฟส ง. ควรฉีดน้ํามันอเนกประสงคลงบนผิวหนาของหินเจียระไนทุกครั้งกอนใชงาน 3. ขอใด ไมใชวิธีการบํารุงรักษาแทนอัดไฮดรอลิก ก. ปนชัยใชน้ํามันที่มีความหนืดนอย ๆ เพื่องายตอการเปลี่ยนแปลงของความหนืดเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยน ข. เอกพจนเลือกใชน้ํามันไฮดรอลิกตามชนิดของเครื่องอัด ค. โอสถตรวจสอบระดับน้ํามันของแทนอัดไฮดรอสิกไมใหต่ํากวาที่กําหนดอยูเสมอ ง. เชิดศักดิ์ตรวจสอบขอตอตาง ๆ ไมใหหลวม กอนการใชงานทุกครั้ง 4. ขอใดตอไปนี้ ไมควรทําขณะใชงานเวอรเนียรคาลิปเปอร ก. วัดชิ้นงานขณะที่ชิ้นงานหยุดนิ่ง ข. วัดชิ้นงานขณะที่ชิ้นงานอุณหภูมิหอง ค. ลบคมชิ้นงานกอนการวัด ง. ใชปากวัดนอกหรือปากวัดในขีดขนาดงาน

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

5. ขอใด ไมใชวิธีการบํารุงรักษาไดอัลเกจ (นาฬิกาวัด) ก. หลังใชงานใหเคลือบน้ํามัน และเก็บในกลอง ข. จับยึดใหมั่นคงเพื่อปองกันการหลนกระแทก ค. หากไมใชงานตองรีบเก็บเขาสูสภาพเดิมทันที ง. วางหรือเก็บนาฬิกาวัดแยกออกจากเครื่องมือชนิดอื่น 6. ขอใด ไมควรปฏิบัติขณะใชงานไมโครมิเตอรวัดนอก ก. ใชวัดงานที่ผานการขึ้นรูป ข. ใชไมโครมิเตอรวัดขนาดงานผิวเรียบ ค. วัดงานในขณะที่ชิ้นงานกําลังหมุนหรือเคลื่อนที่ ง. วางไมโครมิเตอรบนผานุม และแยกออกจากเครื่องมือมีคม 7. ขอใด คือ ขอควรระวังในการใชเวอรเนียรคาลิปเปอร ก. ระมัดระวังการใชแรงกด และการเลื่อนแกนสกรูบอยครั้ง ข. หามเลื่อนปากวัดไปมาบนชิ้นงาน เพราะอาจทําใหปากวัดสึกได ค. ไมควรทาน้ํามันกันสนิมบริเวณปากวัด ปองกันฝุนละอองจับติด ง. ใชมือขางที่ถนัดจับที่ปลอกสเกลหมุนวัด มือขางที่ไมถนัดหมุนที่ปลอกกระทบเลื่อน 8. ขอใด คือ การเก็บรักษาเครื่องชั่งสปริงแบบแขวนที่ไมถูกวิธี ก. ทําความสะอาดโดยใชผาแหงเช็ด ข. หยอดน้ํามันหลอลื่นที่เกลียวปรับศูนยทุกครั้งหลังใชงาน ค. ระวังไมใหน้ําเขาไปในเครื่องชั่ง ง. ไมชั่งน้ําหนักเกินพิกัดของเครื่องชั่ง

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

9. เพราะเหตุใด จึงไมควรฉีดน้ํามันหลอลื่นเขาไปในตัวเครื่องของประแจลม ก. ฝุนละอองจะสะสมจนเกิดการอุดตัน ข. ชิ้นสวนจะถูกกัดกรอนจนเสียหาย ค. เครื่องจะหนืด และมีกําลังลดลง ง. ตัวเครื่องจะถายเทความรอนไดไมดี 10. ขอใดกลาวไมถูกตอง เกี่ยวกับการบํารุงรักษาปมลม ก. กอนระบายน้ํา ตองระบายลมออกจากถังเก็บลมกอน ข. การเปาไสกรองอากาศปมลม ตองเปาจากดานนอกเขาสูดานใน ค. การตรวจสอบระดับน้ํามันหลอลื่น จัดอยูในการตรวจสอบประจําวัน ง. ควรเติมน้ํามันหลอลื่นใหอยูในระดับ ½ ของชองดูระดับน้ํามัน

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………............... คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

หัวขอวิชาที่ 1 0921020501 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.1 การบํารุงรักษาประแจลม สวานไฟฟา และแทนอัดไฮดรอลิก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. บํารุงรักษาเครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนตได 2. ปฏิบัติงานบํารุงรักษาเครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

1. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง 30 นาที 2. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานบํารุงรักษาประแจลม สวานไฟฟา และแทนอัดไฮดรอลิก

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.1 การบํารุงรักษาประแจลม สวานไฟฟา และแทนอัดไฮดรอลิก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

2. ถาดรอง

จํานวน 1 ใบ

3. แทนอัดไฮดรอลิก

จํานวน 1 ตัว

4. ประแจลม

จํานวน 1 ตัว

5. แปรงขนออน

จํานวน 1 อัน

6. สวานไฟฟา

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. น้ํามันอเนกประสงค

จํานวน 1 กระปอง

3. น้ํามันไฮดรอลิก

จํานวน 1 แกลลอน

2. ลําดับการทดสอบ การบํารุงรักษาประแจลม สวานไฟฟา และแทนอัดไฮดรอลิก 2.1 การบํารุงรักษาประแจลม ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

1. เตรียมเครื่องมือและวัสดุ

ครูฝกจัดเตรียมประแจลม รวมทั้ง

พึงระวังเรื่องระบบ

2. ตรวจสอบสภาพภายนอก

เครื่องมือและวัสดุที่ใชในงานบํารุงรักษา

ไฟฟากอนเริ่ม

ประแจลม

ปฏิบัติงาน

ตรวจสอบชิ้ น ส ว นของประแจลมว า มีสวนใดหัก หรือแตกราวหรือไม

3. ทําความสะอาดประแจลม

ใชผาเช็ดทําความสะอาดคราบจาระบี ฝุน และสิ่งสกปรกตาง ๆ

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ 4. หลอลื่นภายในตัวเครื่อง

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ฉีดน้ํายาอเนกประสงคเขาไปในทางลมเขา และใชผาเช็ดใหสะอาด

5. ตรวจสอบการทํางาน

ทดลองตอสายลม เปดใชงาน และฟงเสียง เครื่องวาหมุนเปนปกติหรือไม

6. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

2.2 การบํารุงรักษาสวานไฟฟา ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

1. เตรียมเครื่องมือและวัสดุ

ครูฝกจัดเตรียมสวานไฟฟา รวมทั้ง

พึงระวังเรื่องระบบ

2. ตรวจสอบสภาพภายนอก

เครื่องมือและวัสดุที่ใชในงานบํารุงรักษา

ไฟฟากอนเริ่ม

สวานไฟฟา

ปฏิบัติงาน

ตรวจสอบสายไฟ วามีรอยฉีกขาดหรือไม และตรวจสอบมอเตอร วามีเศษผงติดอยู ดานในหรือไม 19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ 3. ทําความสะอาดสวาน

คําอธิบาย ใชแปรงขนออน ปดฝุนบริเวณชองระบาย ความรอนที่มอเตอร ฉี ด น้ํ า ยาอเนกประสงค ล งบนส ว นที่ เ ป น โลหะ และใชผาเช็ดใหสะอาด

4. ตรวจสอบการทํางาน

ทดลองเปด ใช งาน และฟงเสียงเครื่ อ งวา หมุนเปนปกติหรือไม

5. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2.3 การบํารุงรักษาแทนอัดไฮดรอลิก ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. เตรียมเครื่องมือและวัสดุ

ครูฝกจัดเตรียมแทนอัดไฮดรอลิก รวมทั้ง

2. ตรวจสอบคันโยก

เครื่องมือและวัสดุ ที่ใชในงานบํารุงรั ก ษา แทนอัดไฮดรอลิก ตรวจสอบคันโยกของแทนอัดไฮดรอลิกวา มีแรงกดหรือไม

3. ตรวจสอบรอยรั่วของน้ํามันไฮดรอลิก

ตรวจสอบที่ปมน้ํามันไฮดรอลิก และทออัด น้ํามันไฮดรอลิกวามีน้ํามันไฮดรอลิกรั่วซึม หรือไม

4. เปลี่ยนทออัดน้ํามันไฮดรอลิก

หากพบว าท ออั ดน้ํ ามั นไฮดร อลิ กมี รอยฉีกขาด ใหเปลี่ยนทออัดน้ํามันไฮดรอลิก ใหม

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

5. ตรวจสอบระดับน้ํามัน

ตรว จส อบระดั บ น้ํ า มั น ของแ ท น อั ด

6. ตรวจสอบสภาพของน้ํามันไฮดรอลิก

ไฮดรอลิกวาอยูในระดับที่เหมาะสมหรือไม โดยดูจ ากขีดบอกระดั บ น้ํ า มัน หรือ คู มื อ ซอมประจําแทนอัดไฮดรอลิก หากพบวา น้ํ า มัน ไฮดรอลิก มีส ีค ล้ํ า ลง หรือ มีส ภาพเปลี ่ย นไปจากเดิม ตอ ง เปลี่ยนถายน้ํามันไฮดรอลิก

7. เปลี่ยนถายน้ํามันไฮดรอลิก

เปลี่ยนน้ํามันไฮดรอลิกใหไดระดับ โดยวาง ถาดรองใต รู ถ า ยน้ํ า มั น แล ว ใช ป ระแจ คลายสกรู เ พื่ อ ถ า ยน้ํ า มั น เมื่ อ น้ํ า มั น เก า ไหลออกหมด เติมน้ํามันใหมลงในชองเติม น้ํามัน

8. ตรวจสอบสลิงปรับแทนรองรับ

ตรวจสอบวาสลิงหยอนเกินไป หรือมีรอย ฉีกขาดหรือไม

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

9. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

ที่ 1

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ วั ส ดุ อ ย า งถู ก ต อ ง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การบํารุงรักษาประแจลม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การบํารุงรักษาสวานไฟฟา

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การเปลี่ยนถายน้ํามันไฮดรอลิก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การตรวจสอบสภาพภายนอกของแท น อั ด ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ไฮดรอลิก

8

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ วัสดุหลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

10

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง

คะแนน เต็ม 3

อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การบํารุงรักษาประแจลม

บํารุงรักษาประแจลมไดถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน บํารุงรักษาประแจลมไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน บํารุงรักษาประแจลมไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน บํารุงรักษาประแจลมไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

การบํารุงรักษาสวานไฟฟา

ขอกําหนดในการใหคะแนน

บํารุงรักษาสวานไฟฟาไดถูกตองตามขั้นตอน

คะแนน เต็ม 5

ใหคะแนน 5 คะแนน บํารุงรักษาสวานไฟฟาไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน บํารุงรักษาสวานไฟฟาไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน บํารุงรักษาสวานไฟฟาไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การเปลี่ยนถายน้ํามันไฮดรอลิก

เปลี่ยนถายน้าํ มันไฮดรอลิกไดถูกตองตามขั้นตอน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน เปลี่ยนถายน้าํ มันไฮดรอลิกบกพรอง 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน เปลี่ยนถายน้าํ มันไฮดรอลิกบกพรองมากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน 7

การตรวจสอบระดั บ น้ํ า มั น และสภาพน้ํ า มั น ของ ตรวจสอบระดับน้ํามัน สภาพน้ํามัน และเติมน้ําใหมใน แทนอัดไฮดรอลิก ระดับที่เหมาะสมไดถูกตอง

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบระดั บน้ํ ามั น สภาพน้ํ ามั นไมถู กต อง 1 ขั้ นตอน แตเติมน้ําใหมในระดับที่เหมาะสมไดถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบระดั บน้ํ ามั น สภาพน้ํ ามั นไมถู กต อง 2 ขั้ นตอน แตเติมน้ําใหมในระดับที่เหมาะสมไดถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน ตรวจสอบระดั บ น้ํ า มั น สภาพน้ํ า มั น ไม ถู ก ต อ งมากกว า 2 ขั้นตอน และเติมน้ําใหมในระดับที่เหมาะสมไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 8

การตรวจสอบสภาพภายนอกของแทนอัดไฮดรอลิก

ตรวจสอบสภาพภายนอกของแทนอัดไฮดรอลิก ไดแก คันโยก รอยรั่วที่ปมน้ํามันและทออัด และสลิง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบสภาพภายนอกของแทนอัดไฮดรอลิก ไดแก คันโยก รอยรั่วที่ปมน้ํามันและทออัด และสลิง ไมครบถวน 1 ตําแหนง ใหคะแนน 3 คะแนน

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ตรวจสอบสภาพภายนอกของแทนอัดไฮดรอลิก ไดแก คันโยก รอยรั่วที่ปมน้ํามันและทออัด และสลิง ไมครบถวน 2 ตําแหนง ใหคะแนน 1 คะแนน ตรวจสอบสภาพภายนอกของแทนอัดไฮดรอลิก ไดแก คันโยก รอยรั่ วที่ ป มน้ํ ามั นและท ออั ด และสลิ ง ไม ครบถ วนมากกว า 2 ตําแหนง ใหคะแนน 0 คะแนน 9

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 10

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 11

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

43

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

หัวขอวิชาที่ 2 0921020502 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.1 การใชและการบํารุงรักษาเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องชั่ง เครื่องมือวัดทางดานชางยนตได 2. ปฏิบัติงานวัดชิ้นงานและการบํารุงรักษาโดยใชเวอรเนียคาลิปเปอรและไมโครมิเตอรได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกชั่งชิ้นงานโดยใชเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน พรอมทั้งปฏิบัติตามขั้นตอนการบํารุงรักษาที่ถูกตอง ตารางบันทึกผล ชิ้นงาน

ชิ้นงานที่ 1

ชิ้นงานที่ 2

ชิ้นงานที่ 3

น้ําหนักที่ชั่งได (กรัม)

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ชิ้นงานที่ 4

ชิ้นงานที่ 5


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.1 การใชและการบํารุงรักษาเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เครื่องชั่งสปริงแบบแขวน (5 กิโลกรัม)

จํานวน 1 ตัว

2. ขาตั้ง

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ถุงชิ้นงานสําหรับทดลองชั่งดวยเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน

จํานวน 5 ชุด

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการทดสอบ การใชและบํารุงรักษาเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือและ

ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือและ ระวังไมใหเครื่องมือวัด

ชิ้นงาน

ชิ้นงาน และใชผาเช็ดทําความสะอาด

และชิ้นงานตก เพราะ อาจทําใหบิ่นหรือ เสียหายได

2. ปรับตั้งเข็มชี้น้ําหนัก

ปรั บ ตั้ ง เข็ ม ชี้ น้ํ า หนั ก ให อ ยู ต รงกั บ ขี ด 0 โดยใชเกลียวปรับศูนย

3. ชั่งน้ําหนักชิ้นงานที่ 1

นําชิ้นงานใสในถุงพลาสติกสีทึบ แลวแขวน ที่ขอเกี่ยวของเครื่องชั่ง

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ 4. อานคาและบันทึกผล

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

อานคาในหนวยกรัม โดยเข็มชี้น้ําหนักตอง ขณะปฏิบัติงาน ระวัง อยู ใ นระดั บ สายตา และบั น ทึ ก ผลลงใน การทําเครื่องมือตกพื้น ตาราง

หรือกระแทก เพราะ อาจทําใหการบอก คาน้ําหนักคลาดเคลื่อน

5. ชั่งน้ําหนักชิ้นงานอื่น ๆ

ชั่งน้ําหนักชิ้นงานที่ 2-5 ตามขั้นตอนที่ 4 และ 5

6. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณให เรีย บร อย โดยคํานึงถึงวิ ธี การ บํารุงรักษาที่เหมาะสมสําหรับเครื่ องมื อชิ้ น นั้น ๆ

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การชั่งน้ําหนักชิ้นงานที่ 1

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การชั่งน้ําหนักชิ้นงานที่ 2

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การชั่งน้ําหนักชิ้นงานที่ 3

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การชั่งน้ําหนักชิ้นงานที่ 4

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

การชั่งน้ําหนักชิ้นงานที่ 5

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

การบํารุงรักษาเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

10

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

11

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

12

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง

คะแนน เต็ม 3

อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การชั่งน้ําหนักชิ้นงานที่ 1

ชั่งน้ําหนักชิ้นงานไดคาที่ถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน ชั่งน้ําหนักชิ้นงานไดคาคลาดเคลื่อนไมเกิน 100 กรัม ใหคะแนน 3 คะแนน ชั่งน้ําหนักชิ้นงานไดคาคลาดเคลื่อนไมเกิน 150 กรัม ใหคะแนน 1 คะแนน ชั่งน้ําหนักชิ้นงานไดคาคลาดเคลื่อนมากกวา 150 กรัม ใหคะแนน 0 คะแนน

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

การชั่งน้ําหนักชิ้นงานที่ 2

ขอกําหนดในการใหคะแนน

ชั่งน้ําหนักชิ้นงานไดคาที่ถูกตอง

คะแนน เต็ม 5

ใหคะแนน 5 คะแนน ชั่งน้ําหนักชิ้นงานไดคาคลาดเคลื่อนไมเกิน 100 กรัม ใหคะแนน 3 คะแนน ชั่งน้ําหนักชิ้นงานไดคาคลาดเคลื่อนมากกวา 100 กรัม ใหคะแนน 1 คะแนน ชั่งน้ําหนักชิ้นงานไดคาคลาดเคลื่อนมากกวา 150 กรัม ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การชั่งน้ําหนักชิ้นงานที่ 3

ชั่งน้ําหนักชิ้นงานไดคาที่ถูกตอง

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ชั่งน้ําหนักชิ้นงานไดคาคลาดเคลื่อนไมเกิน 100 กรัม ใหคะแนน 3 คะแนน ชั่งน้ําหนักชิ้นงานไดคาคลาดเคลื่อนไมเกิน 150 กรัม ใหคะแนน 1 คะแนน ชั่งน้ําหนักชิ้นงานไดคาคลาดเคลื่อนมากกวา 150 กรัม ใหคะแนน 0 คะแนน 7

การชั่งน้ําหนักชิ้นงานที่ 4

ชั่งน้ําหนักชิ้นงานไดคาที่ถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ชั่งน้ําหนักชิ้นงานไดคาคลาดเคลื่อนไมเกิน 100 กรัม ใหคะแนน 3 คะแนน ชั่งน้ําหนักชิ้นงานไดคาคลาดเคลื่อนไมเกิน 150 กรัม ใหคะแนน 1 คะแนน ชั่งน้ําหนักชิ้นงานไดคาคลาดเคลื่อนมากกวา 150 กรัม ใหคะแนน 0 คะแนน 8

การชั่งน้ําหนักชิ้นงานที่ 5

ชั่งน้ําหนักชิ้นงานไดคาที่ถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน ชั่งน้ําหนักชิ้นงานไดคาคลาดเคลื่อนไมเกิน 100 กรัม

5

ใหคะแนน 3 คะแนน ชั่งน้ําหนักชิ้นงานไดคาคลาดเคลื่อนไมเกิน 150 กรัม ใหคะแนน 1 คะแนน ชั่งน้ําหนักชิ้นงานไดคาคลาดเคลื่อนมากกวา 150 กรัม ใหคะแนน 0 คะแนน 9

การบํารุงรักษาเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน

ไม ทํ า เครื ่ อ งชั ่ ง ตกกระแทก และใช ผ  า แห ง เช็ ด หลั ง ปฏิบัติงานเสร็จ ใหคะแนน 5 คะแนน

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ทํ า เครื ่ อ งชั ่ ง ตกกระแทก หรื อ ไม ใ ช ผ  า แห ง เช็ ด หลัง ปฏิบัติงานเสร็จ อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ทํ า เครื ่อ งชั ่ง ตกกระแทก และไม ใ ช ผ  า แห ง เช็ ด หลัง ปฏิบัติงานเสร็จ ใหคะแนน 0 คะแนน 10

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 11

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 12

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

48

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

หัวขอวิชาที่ 2 0921020502 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.2 การใชและการบํารุงรักษาเวอรเนียคาลิปเปอรและไมโครมิเตอรวัดนอก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องชั่ง เครื่องมือวัดทางดานชางยนตได 2. ปฏิบัติงานการใชและการบํารุงรักษาเวอรเนียคาลิปเปอรและไมโครมิเตอรได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกวัดขนาดชิ้นงานและบํารุงรักษาเวอรเนียคาลิปเปอรและไมโครมิเตอรวัดนอก 1. วัดขนาดชิ้นงานตอไปนี้ดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร โดยใชปากวัดใน

ตารางบันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงาน ตําแหนง

A

B

C

D

E

มม.

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

F

G

H

I

J


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2. วัดขนาดชิ้นงานตอไปนี้โดยใชไมโครมิเตอรวัดนอก

ตารางบันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงาน ตําแหนง

A

B

C

D

E

มม.

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

F

G

H

I

J


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.2 การใชและการบํารุงรักษาเวอรเนียคาลิปเปอรและไมโครมิเตอรวัดนอก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ งาน ไมใหมีอุป กรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตรายเชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เวอรเนียรคาลิปเปอร ความละเอียด 1 ตอ 20 มิลลิเมตร หรือ 0.05 มิลลิเมตร จํานวน 1 อัน 2. ไมโครมิเตอรวัดนอกแบบสเกล ความละเอียด 0.01 มิลลิเมตร

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกให ทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. น้ํามันกันสนิม

จํานวน 1 ขวด

3. ชิ้นงานทดลองสําหรับวัดดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร

จํานวน 1 ชิ้น

4. ชิ้นงานทดลองสําหรับวัดดวยไมโครมิเตอรวัดนอก

จํานวน 1 ชิ้น

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการทดสอบ การใชและการบํารุงรักษาเวอรเนียคาลิปเปอรและไมโครมิเตอรวัดนอก 2.1 การวัดขนาดชิ้นงานดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือและ

ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือและ ระวังไมใหเครื่องมือวัด

ชิ้นงาน

ชิ้นงาน และใชผาเช็ดทําความสะอาด

และชิ้นงานตก เพราะ อาจทําใหบิ่นหรือ เสียหายได

2. วัดความยาวเสนผานศูนยกลางที่จุด A ของ

ใช ป ากวั ด ในของเวอร เ นี ย ร ค าลิ ป เปอร กอนการวัดงานควรลบ

ชิ้นงาน

หนีบชิ้นงานบริเวณที่จะวัด

คมของชิ้นงานให เรียบรอย เพื่อปองกัน ชิ้นงานบาดขณะ ปฏิบัติงาน

หมุนสเกลเลื่อนใหชิดชิ้นงานมากที่สุด แลว จึงหมุนสกรูล็อก

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ 3. อานคาและบันทึกผล

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

อานคาบนสเกลวัดในหนวยมิลลิเมตร และ บันทึกผลลงในตาราง

4. วัดคาที่จุดอื่น ๆ บนชิ้นงาน

วัดความยาวของจุด อื่ น ๆ บนชิ้น งานให ครบ ตามขั้นตอนที่ 2-3

5. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ขณะวั ด ชิ้ น งานหรื อ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ทํ า ความสะอาด อย า อุปกรณใหเรียบรอย

ใหเวอรเนียรคาลิปเปอร ตกหลน หรือกระแทก ทับชิ้นงาน และอยานํา สิ่งของไปวางทับ เวอรเนียรคาลิปเปอร

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2.2 การวัดขนาดชิ้นงานดวยไมโครมิเตอรวัดนอก ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือและ

ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือและ ระวังไมใหเครื่องมือวัด

ชิ้นงาน

ชิ้นงาน และใชผาเช็ดทําความสะอาด

และชิ้นงานตก เพราะ อาจทําใหบิ่นหรือ เสียหายได

2. วัดความยาวเสนผานศูนยกลางที่จุด A ของ

จับชิ้นงานใหสัมผัสกั บแกนรับ แลวหมุ น กอนการวัดงานควร

ชิ้นงาน

แกนวัดใหเขามาสัมผัสกับชิ้นงาน

ลบคมของชิ้นงานให เรียบรอย เพื่อปองกัน ชิ้นงานบาดขณะ ปฏิบัติงาน

หมุนแกนวัดใหชิดชิ้นงานมากที่สุด แลวจึง หมุนที่ตัวหยุดแรตเช็ต (Ratchet Stop)

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการทดสอบ 3. อานคาและบันทึกผล

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

อานคาที่สเกลหลักและปลอกวัดในหนวย มิลลิเมตร และบันทึกผลลงในตาราง

4. วัดคาที่จุดอื่น ๆ บนชิ้นงาน

วัดความยาวของจุดอื่น ๆ บนชิ้นงานใหครบ ตามขั้นตอนที่ 2-3

5. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ขณะวัดชิ้นงานหรือทํา ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ความสะอาด อยาให อุปกรณใหเรียบรอย โดยคํานึงถึงวิธีการ ไมโครมิ เ ตอร ต กหล น บํารุงรักษาที่เหมาะสมสําหรับ เครื่องมื อ ห รื อ ก ร ะ แ ท ก ทั บ ชิ้นนั้น ๆ

ชิ้ น งาน และอย า นํ า สิ่งของไปวางทับ ไมโครมิเตอร

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การวัดขนาดชิ้นงานดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การวัดขนาดชิ้นงานดวยไมโครมิเตอรวัดนอก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การบํารุงรักษาเวอรเนียรคาลิปเปอร

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การบํารุงรักษาไมโครมิเตอรวัดนอก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

10

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง

คะแนน เต็ม 3

อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การวัดขนาดชิ้นงานดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร

วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่ถูกตองทุกตําแหนง

5

ใหคะแนน 5 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อนนอยกวา ± 0.1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อนมากกวา ± 0.1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การวัดขนาดชิ้นงานดวยไมโครมิเตอรวัดนอก

วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่ถูกตองทุกตําแหนง ใหคะแนน 5 คะแนน

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อนนอยกวา ± 0.1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อนมากกวา ± 0.1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การบํารุงรักษาเวอรเนียรคาลิปเปอร

ชโลมน้ํามันกันสนิมหลังใชงาน และเก็บเวอรเนียรคาลิปเปอร

5

ใสกลองเรียบรอย ใหคะแนน 5 คะแนน ไมชโลมน้ํามันกันสนิมหลังใชงาน หรือไมเก็บเวอรเนียรคาลิปเปอรใสกลองใหเรียบรอย อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ไมชโลมน้ํามันกันสนิมหลังใชงาน และไมเก็บเวอรเนียรคาลิปเปอรใสกลองใหเรียบรอย ใหคะแนน 0 คะแนน 7

การบํารุงรักษาไมโครมิเตอรวัดนอก

ชโลมน้ํามันกันสนิมหลังใชงาน และเก็บไมโครมิเตอรใสกลอง เรียบรอย

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ไมชโลมน้ํามันกันสนิมหลังใชงาน หรือไมเก็บไมโครมิเตอร ใสกลองใหเรียบรอย อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ไมชโลมน้ํามันกันสนิมหลังใชงาน และไมเก็บไมโครมิเตอร ใสกลองใหเรียบรอย ใหคะแนน 0 คะแนน 8

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 9

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 10

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

38

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

1. 2.

3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟ 10 7 งายและสารอันตรายได บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได อธิบายกฎของโรงงานและปาย เตือนตาง ๆ ได อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ ได ใชอุปกรณปองกันอันตราย ประเภทตาง ๆ ได อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัย และหลักการดับเพลิงได ปฏิบัติตามวิธีการปองกัน อัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได อธิบายวิธีการปฐมพยาบาล เบื้องตนได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได ประเมินผลภาคทฤษฏี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 6

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

1. 2.

3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟ 10 7 งายและสารอันตรายได บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได อธิบายกฎของโรงงานและปาย เตือนตาง ๆ ได อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ ได ใชอุปกรณปองกันอันตราย ประเภทตาง ๆ ได อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัย และหลักการดับเพลิงได ปฏิบัติตามวิธีการปองกัน อัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได อธิบายวิธีการปฐมพยาบาล เบื้องตนได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได ประเมินผลภาคทฤษฏี

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 8

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 4.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 5.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 6.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 6.2

ใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได ปฏิบัติตามวิธีการปองกันอัคคีภัยและ หลักการดับเพลิงได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได

58

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 41

36

25

31

28

20

22

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

33

23

30

คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

155

109

113

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 30

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลว เปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (รอยละ 20) ภาคปฏิบัติ (รอยละ 80)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

8

2

16

113

0.516

58.308

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 74.308

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฏี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

10

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 10

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

8 × 2 = 16

คือ

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

=2


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

155 80 = 0.516 155

ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

คือ

113 × 0.516 = 58.308

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 16 + 58.308 = 74.308 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายวิธีการบํารุงรักษา เครื่องมือพื้นฐานทางดานชาง ยนตได 2. อธิบายวิธีการใช วิธีบํารุงรักษา เครื่องชั่ง เครื่องมือวัดทางดาน ชางยนต

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 10 7

ประเมินผลภาคทฤษฏี

คะแนนที่ได 6

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายวิธีการบํารุงรักษา เครื่องมือพื้นฐานทางดานชาง ยนตได 2. อธิบายวิธีการใช วิธีบํารุงรักษา เครื่องชั่ง เครื่องมือวัดทางดาน ชางยนต

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 10 7

ประเมินผลภาคทฤษฏี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ 54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 6

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.2

ผลลัพธการเรียนรู

43

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 30

48

34

38

27

129

91

คะแนนเต็ม

บํารุงรักษาเครื่องมือพื้นฐานทางดานชาง ยนตได ใชและบํารุงรักษาเครื่องชั่ง เครื่องมือวัด ทางดานชางยนตได ใชและบํารุงรักษาเครื่องชั่ง เครื่องมือวัด ทางดานชางยนตได คะแนนรวมภาคปฏิบัติ ประเมินผลภาคปฏิบัติ

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (รอยละ 20) ภาคปฏิบัติ (รอยละ 80)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC)

2 0.620

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบันทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.