หน้าปก
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
คู่มือการประเมิน 0920164170202 สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2
ชุดการฝึกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝึกที่ 5 09217307 การเลือกใช้ชนิดและขนาดของคอมเพรสเซอร์ ได้อย่างเหมาะสม กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
คานา คู่มือการประเมิน สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 โมดูลที่ 5 การเลือกใช้ชนิด และขนาดของคอมเพรสเซอร์ ได้อย่างเหมาะสมฉบับนี้ ได้พัฒนาขึ้นภายใต้โครงการพัฒ นาระบบฝึ กและชุดการฝึ ก ตาม ความสามารถเพื่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อนาไปใช้เป็นระบบการฝึกอบรมตามความสามารถ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาด เล็ก ระดับ 2 เพื่อให้ตอบสนองความต้องการของกาลังแรงงานและตลาดแรงงานได้อย่างเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และเพื่อรองรับ ระบบการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติและระบบการรับรองความรู้ความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อส่งมอบระบบ การฝึกอบรมนี้ให้แก่กาลังแรงงานกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ให้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแง่ของขอบเขตของการให้บริการและ จานวนผู้รับบริการ ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่ งเสริมให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถฝึกฝนเรียนรู้ได้ ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลายไปให้แก่ ผู้ รับการฝึ กอบรม และต้องการให้ ผู้ รั บ การฝึ ก อบรมเกิด การเรี ยนรู้ ด้ว ยตนเอง การฝึ กปฏิบัติจะด าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเน้นผลลัพธ์การฝึกอบรมในการที่ทาให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต้องการ โดยยึดความสามารถของผู้รับการฝึกเป็นหลัก การฝึกอบรมในระบบดังกล่าว จึงเป็นรูปแบบการ ฝึกอบรมที่สามารถรองรับ การพัฒนารายบุคคลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ละสาขาอาชีพ จะถูก กาหนดเป็นรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับการฝึกอบรมจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึกจะต้องเรียนรู้และฝึกฝนจนกว่าจะ สามารถปฏิบัติเองได้ ตามมาตรฐานที่กาหนดในแต่ละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การส่งมอบการฝึก สามารถดาเนินการได้ ทั้งรูปแบบการเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Paper Based) และผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ (Computer Based) โดยผู้รับการฝึกสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Learning) ที่บ้านหรือที่ทางาน และเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติตามความพร้อม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถกับหน่วยฝึก โดยมีครูฝึกหรือผู้สอนคอยให้คาปรึกษา แนะนาและจัดเตรียมการฝึกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดาเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่างๆ อันจะทาให้สามารถเพิ่มจานวนผู้รับการฝึกได้มากยิ่งขึ้น ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ดงบประมาณค่าใช้จ่ ายในการพัฒ นาฝี มือแรงงานให้ แก่กาลั งแรงงานในระยะยาว จึงถือเป็นรูปแบบการฝึ กที่มี ความสาคัญต่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนาระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยทาให้ประชาชน ผู้ใช้แรงงาน ผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และ ผู้ประกอบอาชีพอิสระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
สารบัญ เรื่อง
หน้า
คานา
ก
สารบัญ
ข
ข้อแนะนา
1
ผลลัพธ์การเรียนรู้
3
แบบทดสอบก่อนฝึก
4
แบบทดสอบหลังฝึก
7
กระดาษคาตอบ
10
เฉลยคาตอบแบบทดสอบก่อนฝึก-หลังฝึก
11
ตัวอย่างบันทึกผลการประเมินความสามารถ บันทึกผลการประเมินความสามารถ
12 17
ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
ข้อแนะนา ข้อแนะนา คือ คาอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใช้คู่มือการประเมิน เพื่อนาไปใช้ในการประเมินผลผ่านการฝึกโมดูลของผู้รับการ ฝึก โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. ผังการฝึกอบรม
1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
2. วิธีการประเมินผล การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบของคู่มือการ ประเมินที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทาบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมิน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 4) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก
3. การวัดและประเมินผล การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนนและการระบุความสามารถด้านความรู้ ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ต่ากว่าร้อยละ 70
เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)
ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูลนั้น ๆ ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนั้น และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการฝึกนั้น ๆ แล้ว
4. เงื่อนไขการผ่านการฝึก ผู้รับการฝึกทีจ่ ะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฏี คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านโมดูลการฝึก
2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
ผลลัพธ์การเรียนรู้ โมดูลการฝึกที่ 5 09217307 การเลือกใช้ชนิดและขนาดของคอมเพรสเซอร์ได้อย่างเหมาะสม - อธิบายวิธีการเลือกใช้ชนิดและขนาดของคอมเพรสเซอร์ได้อย่างเหมาะสม
3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
แบบทดสอบก่อนฝึก คาชี้แจง: 1. 2. 3. 4. 5.
ผู้รับการฝึกสามารถรับแบบทดสอบก่อนฝึกได้จากครูฝึก อ่านคาชี้แจงหรือคาสั่งให้เข้าใจก่อนทาแบบทดสอบทุกครั้ง ห้ามนาแบบทดสอบออกนอกบริเวณห้องสอบ ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว เมื่อทาแบบทดสอบเสร็จแล้ว ให้ส่งครูฝึกเพื่อตรวจประเมินผล
4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
แบบทดสอบก่อนฝึก โมดูลการฝึกที่ 5 09217307 การเลือกใช้ชนิดและขนาดของคอมเพรสเซอร์ได้อย่างเหมาะสม 1. ข้อใดคือคอมเพรสเซอร์ที่จาแนกลักษณะตามโครงสร้าง ก. แบบเปิด
ค. แบบโรทารี่
ข. แบบลูกสูบ
ง. แบบสโครล
2. คอมเพรสเซอร์แบบใดนิยมนามาใช้กับระบบปรับอากาศภายในรถยนต์ ก. คอมเพรสเซอร์แบบสกรู
ค. คอมเพรสเซอร์แบบโรทารี่
ข. คอมเพรสเซอร์แบบแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง
ง. คอมเพรสเซอร์แบบสโครล
3. ข้อเสียของคอมเพรสเซอร์แบบหุ้มปิด คืออะไร ก. ขนาดใหญ่
ค. ไม่สามารถแยกส่วนซ่อมได้
ข. สั่นสะเทือนขณะทางาน
ง. ใช้พื้นที่ให้การติดตั้งค่อนข้างเยอะ
4. คอมเพรสเซอร์แบบใดขับเคลื่อนโดยอาศัย “สลักเกลียว” ก. แบบหุ้ม
ค. แบบลูกสูบ
ข. แบบกึ่งปิด
ง. แบบโรทารี่
5. คอมเพรสเซอร์แบบใด นิยมใช้กับเครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่ประมาณ 250 ถึง 1,000 ตัน ก. คอมเพรสเซอร์แบบแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง
ค. คอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต
ข. คอมเพรสเซอร์แบบสโครล
ง. คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ
6. ข้อดีของคอมเพรสเซอร์แบบโรทารี่ คืออะไร ก. ป้องกันการรั่วไหลได้ดี ข. ทางานเงียบ สั่นสะเทือนเล็กน้อย ค. ใช้ความดันต่าเมื่อเทียบกับคอมเพรสเซอร์อื่น ง. สามารถถอดส่วนประกอบออกมาเช็คและตรวจซ่อมได้ง่าย 5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
7. จากภาพคือคอมเพรสเซอร์ชนิดใด ก. คอมเพรสเซอร์แบบสกรู
ค. คอมเพรสเซอร์แบบโรทารี่
ข. คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ
ง. คอมเพรสเซอร์แบบสโครล
8. คอมเพรสเซอร์แบบใดที่มีกระบอกลูกสูบหลายชุด โดยเรียงตัวในแนวนอนและลูกสูบจะเคลื่อนที่ในกระบอกสูบ ก. คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ
ค. คอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต
ข. คอมเพรสเซอร์แบบโรทารี่
ง. คอมเพรสเซอร์แบบสกรู
9. คอมเพรสเซอร์แบบแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง มีอีกชื่อหนึ่งว่าอะไร ก. แบบก้นหอย
ค. แบบจุดเดือดสูง
ข. แบบหอยโข่ง
ง. แบบความดันต่า
10. จากภาพคือคอมเพรสเซอร์ชนิดใด ก. Scroll Compressor ข. Screw Compressor ค. Centrifugal compressor ง. Swash plate compressor
6 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
แบบทดสอบหลังฝึก คาชี้แจง: 1. ผู้รับการฝึกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝึกได้จากครูฝึก 2. อ่านคาชี้แจงหรือคาสั่งให้เข้าใจก่อนทาแบบทดสอบทุกครั้ง 3. ห้ามนาแบบทดสอบออกนอกบริเวณห้องสอบ 4. ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 5. เมื่อทาแบบทดสอบเสร็จแล้ว ให้ส่งครูฝึกเพื่อตรวจประเมินผล
7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
แบบทดสอบหลังฝึก โมดูลการฝึกที่ 5 09217307 การเลือกใช้ชนิดและขนาดของคอมเพรสเซอร์ได้อย่างเหมาะสม
1. จากภาพคือคอมเพรสเซอร์ชนิดใด ก. คอมเพรสเซอร์แบบสกรู
ค. คอมเพรสเซอร์แบบโรทารี่
ข. คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ
ง. คอมเพรสเซอร์แบบสโครล
2. คอมเพรสเซอร์แบบใดที่มีกระบอกลูกสูบหลายชุด โดยเรียงตัวในแนวนอนและลูกสูบจะเคลื่อนที่ในกระบอกสูบ ก. คอมเพรสเซอร์แบบสกรู
ค. คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ
ข. คอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต
ง. คอมเพรสเซอร์แบบโรทารี่
3. คอมเพรสเซอร์แบบแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง มีอีกชื่อหนึ่งว่าอะไร ก. แบบก้นหอย
ค. แบบจุดเดือดสูง
ข. แบบหอยโข่ง
ง. แบบความดันต่า
4. ข้อใดคือคอมเพรสเซอร์ที่จาแนกลักษณะตามโครงสร้าง ก. แบบเปิด
ค. แบบโรทารี่
ข. แบบลูกสูบ
ง. แบบสโครล
5. คอมเพรสเซอร์แบบใดนิยมนามาใช้กับระบบปรับอากาศภายในรถยนต์ ก. คอมเพรสเซอร์แบบสโครล
ค. คอมเพรสเซอร์แบบแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง
ข. คอมเพรสเซอร์แบบสกรู
ง. คอมเพรสเซอร์แบบโรทารี่
8 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
6. ข้อเสียของคอมเพรสเซอร์แบบหุ้มปิด คืออะไร ก. ขนาดใหญ่
ค. ไม่สามารถแยกส่วนซ่อมได้
ข. สั่นสะเทือนขณะทางาน
ง. ใช้พื้นที่ให้การติดตั้งค่อนข้างเยอะ
7. คอมเพรสเซอร์แบบใดขับเคลื่อนโดยอาศัย “สลักเกลียว” ก. แบบหุ้ม
ค. แบบลูกสูบ
ข. แบบกึ่งปิด
ง. แบบโรทารี่
8. จากภาพคือคอมเพรสเซอร์ชนิดใด ก. Scroll Compressor ข. Screw Compressor ค. Centrifugal compressor ง. Swash plate compressor 9. คอมเพรสเซอร์แบบใด นิยมใช้กับเครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่ประมาณ 250 ถึง 1,000 ตัน ก. คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ
ค. คอมเพรสเซอร์แบบแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง
ข. คอมเพรสเซอร์แบบสโครล
ง. คอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต
10. ข้อดีของคอมเพรสเซอร์แบบโรทารี่ คืออะไร ก. ป้องกันการรั่วไหลได้ดี ข. ทางานเงียบ สั่นสะเทือนเล็กน้อย ค. ใช้ความดันต่าเมื่อเทียบกับคอมเพรสเซอร์อื่น ง. สามารถถอดส่วนประกอบออกมาเช็คและตรวจซ่อมได้ง่าย 9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
กระดาษคาตอบ
คะแนนที่ได้ คะแนนเต็ม
ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………… เลขประจาตัวประชาชน ………………………………........ คาสั่ง จงทาเครื่องหมายกากบาท
ทับข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
แบบทดสอบก่อนฝึก ก
ข
ค
แบบทดสอบหลังฝึก ก
ง
1.
1.
2.
2.
3.
3.
4.
4.
5.
5.
6.
6.
7.
7.
8.
8.
9.
9.
10.
10.
10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข
ค
ง
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
เฉลยคาตอบ แบบทดสอบก่อนฝึก ก
หมายเหตุ
ข
ค
แบบทดสอบหลังฝึก ก
ง
1.
1.
2.
2.
3.
3.
4.
4.
5.
5.
6.
6.
7.
7.
8.
8.
9.
9.
10.
10.
ข
ค
ง
ให้ครูฝึกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่าน (C) จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC) ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ แล้วจึงทาแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก
11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
ตัวอย่างบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………….............. เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. คาชี้แจง ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผู้เข้ารับการฝึก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ ก่อนฝึก
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
ผลลัพธ์การเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 บอกขั้นตอนการต่อสายไฟฟ้า 10 7 แบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได้ บอกวิธีการต่อสายไฟฟ้าด้วย อุปกรณ์ได้ บอกขั้นตอนการเข้าขั้วสายด้วย หางปลา บอกขั้นตอนการใช้วายนัทต่อ สายได้ บอกขั้นตอนการใช้หลอดต่อ สายไฟได้ บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได้ บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกาหนดขั้วคอมเพรสเซอร์ได้ ประเมินผลภาคทฤษฏี
คะแนนที่ได้ 5
ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)
/ * หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์ คาอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนที่ผู้รับการฝึกตอบถูกลงในช่องคะแนน ที่ได้ แล้วเปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่าน (C) ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC) หากผู้รับการฝึกผ่านการประเมินผลภาคทฤษฎีแล้ว สามารถขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึก ในโมดูลถัดไปได้ 12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝึก
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
ผลลัพธ์การเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 บอกขั้นตอนการต่อสายไฟฟ้า 10 7 แบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได้ บอกวิธีการต่อสายไฟฟ้าด้วย อุปกรณ์ได้ บอกขั้นตอนการเข้าขั้วสายด้วย หางปลา บอกขั้นตอนการใช้วายนัทต่อ สายได้ บอกขั้นตอนการใช้หลอดต่อ สายไฟได้ บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได้ บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกาหนดขั้วคอมเพรสเซอร์ได้ ประเมินผลภาคทฤษฏี
คะแนนที่ได้ 8
ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)
/ * หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์ คาอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนที่ผู้รับการฝึกตอบถูกลงในช่องคะแนน ที่ได้ แล้วเปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่าน (C) ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC) หากผู้รับการฝึกผ่านการประเมินผลภาคทฤษฎีแล้ว สามารถขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึก ในโมดูลถัดไปได้
13 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ
ผลลัพธ์การเรียนรู้
คะแนนเต็ม
แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2
ต่อสายไฟฟ้าแบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียว ได้ 1. เข้าขั้วสายด้วยหางปลา และย้าหางปลาได้ 2. ใช้หลอดต่อสายไฟได้ 3. ใช้อุปกรณ์ในการต่อสายไฟได้ ใช้วายนัทต่อสายได้
30
คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 21
80
56
70
35
25
23
20
14
15
20
14
10
25
18
24
210
148
162
แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ต่อสายไฟฟ้าด้วยการบัดกรีได้ ภาคปฏิบัติที่ 1.4 แบบทดสอบ ต่อสายไฟฟ้าด้วยการพันฉนวนได้ ภาคปฏิบัติที่ 1.5 แบบทดสอบ ตรวจสอบและกาหนดขั้วคอมเพรสเซอร์ได้ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 คะแนนรวมภาคปฏิบัติ
ประเมินผลภาคปฏิบัติ
คะแนนที่ได้ 20
ผ่าน (C)
ไม่ผ่าน (NYC)
/ * หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์ คาอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนที่ผู้รับการฝึกได้จากการปฏิบัติลงในช่องคะแนนที่ได้ แล้ว เปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ในแต่ละใบทดสอบ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์ หากไม่ผ่านเกณฑ์ ผู้รับการฝึกต้องขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม่ จนกระทั่งผ่านเกณฑ์
14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
ครูฝึกรวมคะแนนที่ได้บันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แล้วเปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนรวมมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 และผ่านเกณฑ์ทุกใบทดสอบ ถือว่า ผ่าน (C) ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนรวมน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC) การประเมินผลผ่านโมดูล สัดส่วนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)
คะแนนที่ได้
ค่า Factor
คะแนนที่ได้คูณ ค่า Factor
8
2
16
162
0.381
61.72
ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC) 77.72
/
* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor มากกว่าหรือเท่ากับ 70 คะแนน ถือว่าผ่านเกณฑ์ คาอธิบาย 1. ครูฝึกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผู้รับการฝึกทดสอบครั้งล่าสุด ไม่ต้องนาคะแนนแบบทดสอบก่อนฝึกและ หลังฝึกมารวมกัน 2. ครูฝึกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผู้รับการฝึกทดสอบ 3. นาคะแนนที่ได้คูณค่า Factor โดยมีตัวอย่างการคิดดังนี้ สูตรการคานวณค่า Factor ของภาคทฤษฏี คือ
20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฏี
ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ
10
ดังนั้น ค่า Factor ของภาคทฤษฏี คือ
20 10
∴ คะแนนที่ได้คูณค่า Factor
8 × 2 = 16
คือ
15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
=2
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
สูตรการคานวณค่า Factor ของภาคปฏิบัติ คือ
80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ
ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ
210 80 = 0.381 210
ดังนั้น ค่า Factor ของภาคปฏิบัติ คือ ∴ คะแนนที่ได้คูณค่า Factor
คือ
162 × 0.381 = 61.72
4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณค่า Factor คือ 16 + 61.72 = 77.72 5. ประเมินผลการผ่านโมดูล ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ผ่าน (C) ถ้าผู้รับการฝึกได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ถือว่า ไม่ผ่าน (NYC)
16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผู้เข้ารับการฝึก …………………………………………………….............. เลขประจาตัวประชาชน ………………………………. คาชี้แจง ให้ครูฝึกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผู้เข้ารับการฝึก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ ก่อนฝึก
ผลลัพธ์การเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 อธิบายวิธีการเลือกใช้ชนิดและขนาด 10 7 ของคอมเพรสเซอร์ได้อย่าง เหมาะสม ประเมินผลภาคทฤษฏี
คะแนนที่ได้
ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)
* หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์
การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝึก
ผลลัพธ์การเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 อธิบายวิธีการเลือกใช้ชนิดและขนาด 10 7 ของคอมเพรสเซอร์ได้อย่าง เหมาะสม ประเมินผลภาคทฤษฏี
* หมายเหตุ คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ถือว่าผ่านเกณฑ์
17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คะแนนที่ได้
ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
การประเมินผลผ่านโมดูล สัดส่วนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (100 คะแนน)
คะแนนที่ได้
คะแนนภาคทฤษฎีที่ได้คูณค่า Factor
ค่า Factor
ผลการ ทดสอบ ผ่าน ไม่ผ่าน (C) (NYC)
10
* หมายเหตุ คะแนนภาคทฤษฎีที่คูณค่า Factor มากกว่าหรือเท่ากับ 70 คะแนน ถือว่าผ่านเกณฑ์
คาแนะนา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตาแหน่ง …………………………… วัน……..เดือน………………….ปี……… หมายเหตุ: ให้บันทึกผลการฝึกให้ผู้รับการฝึกแต่ละคนหลังจากจบการฝึกและการประเมิน
18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
)
คู่ มื อ การประเมิ น สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน