คู่มือการประเมิน ช่างบำรุงรักษารถยนต์ ระดับ 2 โมดูล 6

Page 1

หนาปก



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คูมือการประเมิน 0920163100501 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 6 09210302

การวิเคราะหขอขัดของ และความเสียหายเบื้องตน

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คํานํา คูมือ การประเมิน สาขาชา งบํา รุง รัก ษารถยนต ระดับ 2 โมดูลที่ 6 การวิเคราะหขอขัดของและความเสี ย หาย เบื้องตน ฉบับนี้ ไดพัฒนาขึ้นภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุป ระสงคเ พื่ อนํ า ไปใชเป น ระบบการ ฝกอบรมตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 เพื่อใหตอบสนองความตองการของกําลังแรงงานและ ตลาดแรงงานไดอยางเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และเพื่อรองรับระบบการรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติและระบบการ รับรองความรูความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ใหแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมายตาง ๆ ให กวางขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแงของขอบเขตของการใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

5

แบบทดสอบกอนฝก

6

แบบทดสอบหลังฝก

10

กระดาษคําตอบ

14

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

15

แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หัวขอวิชาที่ 1 0921030201 เครือ่ งยนต

16

หัวขอวิชาที่ 2 0921030202 ระบบสงกําลัง

35

หัวขอวิชาที่ 3 0921030203 ระบบรองรับน้ําหนัก

57

หัวขอวิชาที่ 4 0921030204 ระบบบังคับเลี้ยว

78

หัวขอวิชาที่ 5 0921030205 ระบบเบรก

87

หัวขอวิชาที่ 6 0921030206 ระบบไฟฟาในรถยนต

107

หัวขอวิชาที่ 7 0921030207 ระบบอํานวยความสะดวก และความปลอดภัย

124

หัวขอวิชาที่ 8 0921030208 ตัวถังรถยนต และสีรถยนต ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ บันทึกผลการประเมินความสามารถ

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

141 148 154



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครู ฝ กมอบหมายให ผู รั บ การฝ กทํ าแบบทดสอบกอ นฝ ก (Pre-Test) ลงในกระดาษคํ าตอบของคู มื อ การประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่อ อิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงราง หลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัตแิ กผูรับการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 6 09210302 การวิเคราะหขอขัดของ และความเสียหายเบื้องตน 1. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของเครื่องยนตได 2. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของเครื่องยนตได 3. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบสงกําลังได 4. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบสงกําลังได 5. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบรองรับน้ําหนักได 6. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบรองรับน้ําหนักได 7. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบบังคับเลี้ยวได 8. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบบังคับเลี้ยวได 9. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบเบรกได 10. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบเบรกได 11. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบไฟฟาในรถยนตได 12. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบไฟฟาในรถยนตได 13. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบอํานวยความสะดวก และความปลอดภัยได 14. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบอํานวยความสะดวก และความปลอดภัยได 15. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของตัวถังรถยนต และสีรถยนตได 16. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของตัวถังรถยนต และสีรถยนต

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

แบบทดสอบกอนฝก คําชี้แจง: 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 6 09210302 การวิเคราะหขอขัดของ และความเสียหายเบื้องตน 1. ถากรองน้ํามันเชื้อเพลิงอุดตัน จะทําใหเกิดปญหาใด ก. มีเสียงอัดกระแทกเปนจังหวะเมื่อติดเครื่องยนต ข. รอบเครื่องยนตเดินเบาไมเรียบ ค. แบตเตอรี่เสื่อมสภาพ ง. รถยนตโคลงตัวขณะเลี้ยว 2. สวนประกอบใด รับกําลังจากเพลากลางและสงตอไปยังลอ ก. เฟองทาย ข. เพลาทาย ค. กระปุกเกียร ง. ชุดคลัตช 3. ความผิดปกติใด คือ อาการสั่นสะเทือนที่เกิดจากน้ําหนักเหนือสปริง ก. แหนบมวนตัวไปรอบ ๆ เพลา ขณะขับเคลื่อน ข. ลอเตนขึ้นลง เมื่อแลนบนผิวถนนที่เปนลูกคลื่น ค. ลอสั่นสะเทือนไปทางดานซายและดานขวา ง. รถโคลงตัว เพราะช็อคอัพชํารุดใชการไมได 4. ขอใด คือ สาเหตุของอาการลูกหมากปกนกฉีกขาด ก. วิ่งผานทางขรุขระดวยความเร็วสูง ข. ช็อคอัพมีคราบน้ํามันรั่วไหล ค. ดอกยางมีรอยสึกหรอผิดปกติ ง. กระปุกพวงมาลัยทํางานผิดปกติ

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. ขอใด ไมใชสาเหตุของอาการพวงมาลัยหนัก ก. แรงดันลมยางต่ํา หรือไมเทากัน ข. ระดับน้ํามันเพาเวอรในกระปุกสูงเกินกวาขีด MAX ค. ขอตอระบบบังคับเลี้ยวไมไดแนว ง. ระบบรับแรงสั่นสะเทือนหลวมคลอน 6. อาการเบรกติด มีลักษณะอยางไร ก. เบรกจมลงกวาปกติ

ค. เบรกรอนและมีกลิ่นไหม

ข. เบรกไมอยู

ง. เบรกแข็ง

7. ถาเหยียบเบรกแลวมีเสียงดัง แสดงวากําลังเกิดปญหาใด ก. เบรกแตก ข. เบรกสั่น ค. สายออนเบรกบวม ง. ผาเบรกหมด

8.

สัญลักษณขางตน มีความหมายอยางไร ก. ความรอนสูง

ค. เตือนเกี่ยวกับระบบปองกันลอตาย

ข. เตือนเกี่ยวกับระบบไฟชารจรถยนต

ง. น้ํามันเชื้อเพลิงหมด

9. การที่แอรในหองโดยสารเย็นเปนชวง ๆ หรือไมเย็น อาจเกิดจากความผิดปกติที่สวนใด ก. ลูกสูบในคอมเพรสเซอรหลวม ข. ความถวงจําเพาะแบตเตอรี่ต่ํา ค. ดรายเออรและวาลวอุดตัน ง. คาแรงดันน้ํายาแอรตก

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

10. ดินน้ํามันวิทยาศาสตร คือวัสดุที่ใชแกปญหาใด ก. ละอองสีเกาะอยูบนตัวถังรถ ข. มีคราบโคลนฝงแนนบนกระจกรถ ค. รถโดนยางมะตอย ง. สารเคมีหกรถสีบนตัวถัง

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

แบบทดสอบหลังฝก คําชี้แจง: 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 6 09210302 การวิเคราะหขอขัดของ และความเสียหายเบื้องตน 1. ขอใด คือ สาเหตุของอาการลูกหมากปกนกฉีกขาด ก. วิ่งผานทางขรุขระดวยความเร็วสูง ข. ช็อคอัพมีคราบน้ํามันรั่วไหล ค. ดอกยางมีรอยสึกหรอผิดปกติ ง. กระปุกพวงมาลัยทํางานผิดปกติ 2. ความผิดปกติใด คือ อาการสั่นสะเทือนที่เกิดจากน้ําหนักเหนือสปริง ก. แหนบมวนตัวไปรอบ ๆ เพลา ขณะขับเคลื่อน ข. ลอเตนขึ้นลง เมื่อแลนบนผิวถนนที่เปนลูกคลื่น ค. ลอสั่นสะเทือนไปทางดานซายและดานขวา ง. รถโคลงตัว เพราะช็อคอัพชํารุดใชการไมได 3. อาการเบรกติด มีลักษณะอยางไร

4.

ก. เบรกจมลงกวาปกติ

ค. เบรกรอนและมีกลิ่นไหม

ข. เบรกไมอยู

ง. เบรกแข็ง

สัญลักษณขางตน มีความหมายอยางไร ก. ความรอนสูง

ค. เตือนเกี่ยวกับระบบปองกันลอตาย

ข. เตือนเกี่ยวกับระบบไฟชารจรถยนต

ง. น้ํามันเชื้อเพลิงหมด

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. ดินน้ํามันวิทยาศาสตร คือวัสดุที่ใชแกปญหาใด ก. ละอองสีเกาะอยูบนตัวถังรถ ข. มีคราบโคลนฝงแนนบนกระจกรถ ค. รถโดนยางมะตอย ง. สารเคมีหกรถสีบนตัวถัง 6. ถากรองน้ํามันเชื้อเพลิงอุดตัน จะทําใหเกิดปญหาใด ก. มีเสียงอัดกระแทกเปนจังหวะเมื่อติดเครื่องยนต ข. รอบเครื่องยนตเดินเบาไมเรียบ ค. แบตเตอรี่เสื่อมสภาพ ง. รถยนตโคลงตัวขณะเลี้ยว 7. สวนประกอบใด รับกําลังจากเพลากลางและสงตอไปยังลอ ก. เฟองทาย ข. เพลาทาย ค. กระปุกเกียร ง. ชุดคลัตช 8. การที่แอรในหองโดยสารเย็นเปนชวง ๆ หรือไมเย็น อาจเกิดจากความผิดปกติที่สวนใด ก. ลูกสูบในคอมเพรสเซอรหลวม ข. ความถวงจําเพาะแบตเตอรี่ต่ํา ค. ดรายเออรและวาลวอุดตัน ง. คาแรงดันน้ํายาแอรตก

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

9. ขอใด ไมใชสาเหตุของอาการพวงมาลัยหนัก ก. แรงดันลมยางต่ํา หรือไมเทากัน ข. ระดับน้ํามันเพาเวอรในกระปุกสูงเกินกวาขีด MAX ค. ขอตอระบบบังคับเลี้ยวไมไดแนว ง. ระบบรับแรงสั่นสะเทือนหลวมคลอน 10. ถาเหยียบเบรกแลวมีเสียงดัง แสดงวากําลังเกิดปญหาใด ก. เบรกแตก ข. เบรกสั่น ค. สายออนเบรกบวม ง. ผาเบรกหมด

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 1 0921030201 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.1 การเปลี่ยนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของเครื่องยนตได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนกรองน้ํามันเชื้อเพลิงได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 3 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกถอดเปลี่ยนกรองน้ํามันเชื้อเพลิงใหถูกตองตามขั้นตอน

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.1 การเปลี่ยนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1 กระปองใสน้ํา

จํานวน 1 ใบ

2 เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

3 ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

4 รถยนตที่ใชเครื่องยนตดีเซล

จํานวน 1 คัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. กรองน้ํามันเชื้อเพลิง

จํานวน 1 ชุด

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ การเปลี่ยนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร

ขอควรระวัง

กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล 3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไมค้ํายัน

ล็อกไมค้ํายันฝา

และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวนหนา

กระโปรงหนารถ

รถและบังโคลนซาย-ขวา

ทุกครั้ง เพื่อปองกัน ไมใหฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

4. ถอดสายเซ็ น เซอร ต รวจสอบระดั บ น้ํ า มั น ดึ ง สายเซ็ น เซอร ต รวจสอบระดั บ น้ํ า มั น ระวั ง อย า ให ท อ น้ํ ามั น เชื้อเพลิง

เชื้อเพลิง จากนั้น คลายเข็มขัดรัดทอน้ํามัน เชื้ อ เพลิ ง เข า และท อ เชื้อเพลิงเขาและทอน้ํามันเชื้อเพลิงออก 18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

น้ํามันเชื้อเพลิงออกอยู


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง ในระดั บ ที่ ต่ํ า กว า ตั ว กรอง

5. ถอดกรองน้ํามันเชื้อเพลิงลูกเกา

คลายนอตยึดกรองน้ํ า มัน เชื้ อ เพลิง และ หมุนกรองน้ํามันเชื้อเพลิงลูกเกาออก

6. ลางหัวปมมือ

ลางหัวปมมือดวยน้ํามันเบนซิน และเช็ดให สะอาด

7. เปลี่ยนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง

ใสกรองน้ํามันเชื้อเพลิงลูกใหม ประกบตัว ห า มก อ ประกา ย ไฟ รองเขากับหัวปมมือ และขันนอตยึดกรอง บริเวณปฏิบัติงาน น้ํามันเชื้อเพลิงใหแนน

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

8. เสียบสายเซ็นเซอรตรวจสอบระดับน้ํามัน

ขันเข็มขัดรัดทอน้ํามันเชื้อเพลิงเขาและทอ

เชื้อเพลิง

น้ํามันเชื้อเพลิงออก จากนั้น เสียบสาย เซ็นเซอรตรวจสอบระดับน้ํามันเชื้อเพลิง

9. ถอดปลั๊กถายน้ํา

วางกระปองรองไวดานลางของกรองน้ํามัน เชื้อเพลิง และถอดปลั๊กถายน้ํา

10. กดปุมปมมือ

กดปุ ม ป ม มื อ จนกระทั่ ง น้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ไหลออกมา จึงหยุดปม จากนั้น ประกอบ ปลั๊กถายน้ํา 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

11. ทดสอบการทํางาน

คําอธิบาย

ติดเครื่องยนต และสังเกตไฟเตือนน้ํ า ใน กรองน้ํามันเชื้อเพลิงบนหนาปด ซึ่งจะตอง ดับ

12. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การถอดและประกอบกรองน้ํามันเชื้อเพลิง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน คะแนนที่ได เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การถอดและประกอบกรองน้ํามันเชื้อเพลิง

ถอดและประกอบกรองน้ํามันเชื้อเพลิงถูกตองทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ถอดและประกอบกรองน้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ไม ถู ก ต อ งตาม ขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ถอดและประกอบกรองน้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ไม ถู ก ต อ งตาม ขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดและประกอบกรองน้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ไม ถู ก ต อ งตาม ขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ถอดและประกอบกรองน้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ไม ถู ก ต อ งตาม ขั้นตอนมากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

23

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 1 0921030201 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.2 การแกไขปญหาเครื่องยนตสตารทไมตดิ (กรณีมอเตอรสตารทชํารุด) 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของเครื่องยนตได 2. ปฏิบัติงานแกไขปญหาเครื่องยนตสตารทไมติด (กรณีมอเตอรสตารทชํารุด)ได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลการทดสอบ รวม 3 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูเขารับการฝกปฏิบัติงานแกไขปญหาเครื่องยนตสตารทไมติด (กรณีมอเตอรสตารทชํารุด) ใหถูกตองตาม ขั้นตอน

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.2 การแกไขปญหาเครื่องยนตสตารทไมติด (กรณีมอเตอรสตารทชํารุด) 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. มัลติมิเตอร

จํานวน 1 ตัว

3. ไฮโดรมิเตอร

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. มอเตอรสตารท

จํานวน 1 ชุด

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ การแกไขปญหาเครื่องยนตสตารทไมติด (กรณีมอเตอรสตารทชํารุด) ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปน รถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรในตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขาเกียรที่ตําแหนง เกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม เป ด ฝากระโปรงรถพร อ มล็ อ กไม ค้ํ า ยั น ล็อกไมค้ํายันฝา และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวนหนา กระโปรงหนารถ รถและบังโคลนซาย-ขวา

ทุกครั้ง เพื่อปองกัน ไมใหฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

4. ตรวจสอบสภาพขั้วแบตเตอรี่

ตรวจสอบสภาพขั้วบวกและขั้วลบของ

5. ตรวจสอบแรงเคลื่อนไฟฟา

แบตเตอรี่ โดยใชมือจับแลวทดลองโยก สาย ซึ่งจะตองไมโยกคลอน ตรวจสอบแรงเคลื่อนไฟฟาของแบตเตอรี่ โดยใชมัลติมิเตอร ซึ่งจะตองมีคา 12 โวลต

6. ตรวจสอบคาความถวงจําเพาะของน้ํากรด

ตรวจสอบคาความถวงจําเพาะดวย

แบตเตอรี่

ไฮโดรมิเตอร ซึ่งจะตองอยูในระดับปกติ

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 7. ถอดขั้วแบตเตอรี่

คําอธิบาย ถอดขั้วลบและขั้วบวกของแบตเตอรี่ออก

ขอควรระวัง ตองเริ่มถอดสาย แบตเตอรี่ขั้วลบกอน ขั้วบวกเสมอ เพื่อ ปองกันอันตรายจาก กระแสไฟฟา

8. ถอดมอเตอรสตารท

ถอดขั้ ว บวกของแบตเตอรี่ ที่ ต อ อยู กั บ มอเตอร ส ตาร ท ถอดสายสวิ ต ช ส ตาร ท และคลายนอตยึดมอเตอรสตารทออก

9. เปลี่ยนมอเตอรสตารท

ใสมอเตอรสตารทตัวใหม ขันนอตยึดให แนน เสียบสายสวิตชสตารท และตอ ขั้วบวกของแบตเตอรี่เขากับมอเตอร สตารท

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 10. ขันขั้วแบตเตอรี่

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ขันขั้วบวกและขั้วลบของแบตเตอรี่ใหแนน ตองเริ่มใสสาย แบตเตอรี่ขั้วบวกกอน ขั้วลบเสมอ เพื่อ ปองกันอันตรายจาก กระแสไฟฟา

11. ทดสอบการทํางาน

ติดเครื่องยนต และดูวามอเตอรทํางาน ปกติหรือไม

12. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบแบตเตอรี่

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การถอดและประกอบมอเตอรสตารท

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน คะแนนที่ได เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา แวนตานิรภัย รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยาง

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 4 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 3 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 3 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบแบตเตอรี่

ตรวจสอบแบตเตอรีถ่ ูกตองทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบแบตเตอรี่ไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบแบตเตอรี่ไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ตรวจสอบแบตเตอรี่ไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

การถอดและประกอบมอเตอรสตารท

ถอดและประกอบมอเตอรสตารทถูกตองทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนน เต็ม 5

ถอดและประกอบมอเตอร สตาร ทไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ถอดและประกอบมอเตอร สตาร ทไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดและประกอบมอเตอร สตาร ทไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถอดและประกอบมอเตอร สตาร ทไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน มากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 2 0921030202 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.1 การเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบสงกําลังได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลการทดสอบ รวม 3 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานการเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติใหถูกตองตามขั้นตอน

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.1 การเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1 กรวยรอง

จํานวน 1 อัน

2 เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

3 ถังรองเปลี่ยนถายน้ํามัน

จํานวน 1 ใบ

4 ถาดรองเปลี่ยนถายน้ํามัน

จํานวน 1 ใบ

5 ประแจวัดแรงบิด

จํานวน 1 อัน

6 ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

7 รถยนตที่ใชเกียรอัตโนมัติ

จํานวน 1 คัน

8 ลิฟตยกรถ

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํามันเกียรอัตโนมัติ

จํานวน 4 ลิตร

2. น้ํามันเบนซิน

จํานวน 1 ลิตร

3. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

4. แหวนรองนอตถายน้ํามันเกียร

จํานวน 1 อัน

2. ลําดับการทดสอบ การเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ ขั้นตอนการทดสอบ 1. จอดรถ

คําอธิบาย จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียรที่ตําแหนง P ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม เป ด ฝากระโปรงรถพร อ มล็ อ กไม ค้ํ า ยั น ล็อกไมค้ํายันฝา และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวนหนา กระโปรงหนารถทุก รถและบังโคลนซาย-ขวา

ครั้ง เพื่อปองกันไมให ฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

4. ตรวจสอบระดับน้ํามันเกียรอัตโนมัติ

ตรวจสอบระดับน้ํามันเกียรที่ปลายกานวัด ซึ่งตองอยูระหวางขีด MIN และ MAX หรือ ขีด HOT กับ COLD

5. ยกรถขึ้น

ยกรถขึ้นจากพื้นดวยลิฟตยกรถ ใหสูง

ระวังอยาให มี คนหรื อ

ระดับสายตา

สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํ า รถขึ้ น และ ระวังรถตกจากลิฟต ยกรถ

6. ทําความสะอาดนอตถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ (กอนถอดนอตถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ)

ใชผาเช็ดทําความสะอาดนอตถ ายน้ํา มัน เกียรอัตโนมัติ 38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 7. วางถังรองน้ํามันเกียรอัตโนมัติ

คําอธิบาย วางถาดรองน้ํามันเกียรอัตโนมัติ ใหตรงกับ

ขอควรระวัง

ตําแหนงนอตถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ

8. ถอดนอตถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ

ถอดนอตถ า ยน้ํ า มั น เกี ย ร อั ต โนมั ติ อ อก ร ะ วั ง น้ํ า มั น เ กี ย ร และรอจนกระทั่งน้ํามันไหลออกหมด

9. ทําความสะอาดนอตถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ (หลังถอดนอตถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ)

กระเด็นเขาตา

ทํ า ความสะอาดนอตถ า ยน้ํ า มั น เกี ย ร ลางเศษโลหะที่ ติ ด อยู อัตโนมัติดวยน้ํามันเบนซิน

บนนอตเติ ม และนอต ถายน้ํามันเกียรออกให หมด เพื่อปองกัน เศษ โลหะปะปนกับน้ํามันที่ เปลี่ยนใหม

10. เปลี่ยนแหวนรองใหม

ประกอบแหวนรองนอตถ ายน้ํา มัน เกี ย ร อัตโนมัติ ตัวใหมเขาไปแทน

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 11. ขันนอตถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ

คําอธิบาย ประกอบนอตถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติและ

ขอควรระวัง

ขั น ตามค า แรงขั น ที่ คู มื อ ซ อ มประจํ า รถยนตกําหนดดวยประแจวัดแรงบิด

12. นํารถลงพื้น

ลดระดั บ ลิ ฟ ต ย กรถจนกระทั่ ง รถอยู ใ น ระวังอยาให มี คนหรื อ ระดับปกติ

สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํารถลง

13. เติมน้ํามันเกียรอัตโนมัติใหม

ตรวจสอบปริมาณน้ํามันเกียรจากถังรอง เปลี ่ย นถา ยน้ํ า มัน วา มีกี ่ล ิต ร แลว เติม น้ํา มัน เกีย รใ หมใ นปริม าณเทา กับ ที่ถา ย ออก

14. ตรวจสอบระดับน้ํามันเกียรอัตโนมัติ

ตรวจสอบระดับน้ํามันเกียรที่ปลายกานวัด ซึ่งตองอยูระหวางขีด MIN และ MAX หรือ ขีด HOT กับ COLD

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 15. ติดเครื่องยนต

คําอธิบาย ติดเครื่องยนตจนถึงอุณหภูมิทํางานปกติ

16. เหยียบเบรก และเปลี่ยนตําแหนงเกียร

ขณะเครื่องยนตทํางาน และเลื่อนตําแหนง เกียรไปตําแหนงตาง ๆ ทุกตําแหนงอยาง ชา ๆ จากนั้น เลื่อนเกียรกลับมาที่ตําแหนง P ดังเดิม

17. ตรวจสอบรอยรั่วซึม

ตรวจสอบรอยรั่วซึมบริเวณนอตถายน้ํามัน

18. ตรวจสอบระดั บ น้ํ า มั น เกี ย ร อั ต โนมั ติ ขณะ เกียรอัตโนมัติ เครื่องยนตทํางาน

วั ด ระดั บ น้ํ า มั น เกี ย ร อั ต โนมั ติ ข ณะติ ด เครื่องยนตอีกครั้ง หากไมไดระดับ ใหเติม จนไดระดับที่เหมาะสม

19. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การตรวจวัดระดับเติมน้ํามันเกียรอัตโนมัติหลัง ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน การเปลี่ยนถาย

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา รองเทานิรภัย แวนตานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยาง

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 4 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 3 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 3 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ

เปลี่ยนถายน้าํ มันเกียรอัตโนมัติไดถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน เปลี่ยนถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน เปลี่ยนถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน เปลี่ยนถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติไมถูกตองตามขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

เปลี่ ย นถ า ยน้ํ า มั น เกี ย ร อั ต โนมั ติ ไ ม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน มากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การตรวจวัดระดับเติมน้ํามันเกียรอัตโนมัติหลังการ

ตรวจวัดระดับน้ํามันเกียรอัตโนมัติไดถูกตองตามขั้นตอน

เปลี่ยนถาย

ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ตรวจวัดระดับน้ํามันเกียรอัตโนมัติไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจวัดระดับน้ํามันเกียรอัตโนมัติไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ตรวจวัดระดับน้ํามันเกียรอัตโนมัติไมถูกตองตามขั้นตอน มากกวา 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

คะแนน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เต็ม

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 2 0921030202 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.2 การเปลี่ยนถายน้ํามันคลัตชและไลลมคลัตช 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบสงกําลังได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนถายน้ํามันคลัตชและไลลมคลัตชได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 3 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานเปลี่ยนถายน้ํามันคลัตซและไลลมคลัตช

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.2 การเปลี่ยนถายน้ํามันคลัตชและไลลมคลัตช 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1 รถยนตที่ใชเกียรธรรมดา

จํานวน 1 คัน

2 ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

3 เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

4 ประแจวัดแรงบิด

จํานวน 1 อัน

5 ประแจขันนอตลอ

จํานวน 1 อัน

6 กระปองรองรับน้ํามันพรอมสายยางออนไลลม

จํานวน 1 ชุด

7 อุปกรณดูดน้ํามัน

จํานวน 1 ชุด

8 ลิฟตยกรถ

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํามันคลัตช

จํานวน 1 ลิตร

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ลําดับการทดสอบ การเปลี่ยนถายน้ํามันคลัตชและไลลมคลัตช ขั้นตอนการทดสอบ 1. จอดรถ

คําอธิบาย จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียรที่ตําแหนง เกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม เป ด ฝากระโปรงรถพร อ มล็ อ กไม ค้ํ า ยั น ล็อกไมค้ํายันฝา และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวนหนา กระโปรงหนารถทุก รถและบังโคลนซาย-ขวา

ครั้ง เพื่อปองกันไมให ฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

4. ดูดน้ํามันคลัตชจากกระปุก

ดูดน้ํามันคลัตชเกาออกจนหมด และเติม ระวังอยาใหน้ํามัน น้ํามันคลัตชใหมจนถึงระดับขีด MAX

คลัตชหกรดตัวถัง เพราะอาจทําใหสีของ รถยนตเสียหาย

5. เตรียมเหยียบคลัตช

ผู ป ฏิ บั ติ ง านคนหนึ่ ง เข า ไปในรถ และ

6. ยกรถขึ้น

เตรียมเหยียบคลัตช ยกรถขึ้นจากพื้นดวยลิฟตยกรถ

ระวังอยาให มี คนหรื อ สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง ขณะนํ า รถขึ้ น และ ระวังรถตกจากลิฟต ยกรถ

7. เตรียมไลลมคลัตช

ใสสายยางออนไลลมคลัตชเขากับสกรูไล ลมคลัตช และวางขวดรับน้ํามันคลัตชเกา

8. คลายสกรูไลลมคลัตช

ย้ํ า คลั ต ช แล ว เหยี ย บคลั ต ช ค า งไว ใน ระหวางนั้นคลายนอตไลลมคลัตซ โดยให น้ํ า มั น คลั ต ซ ที่ ไ หลออกถู ก เก็ บ ไว ใ น กระปองรองรับน้ํามันคลัตซที่ตอสายไวกับ สกรูไลลมคลัตซ

9. บิดสกรูไลลมคลัตช

บิดสกรูไลลมคลัตช เมื่อน้ํามันคลัตช หยุด ขณะไล ล ม ต อ งเติ ม ไหล และไลล มตามขั้น ตอนที่ 6-7 ซ้ํ าไป น้ํ า มั น ค ลั ต ช ใ ห ไ ด เรื่ อ ย ๆ จนกระทั่ ง น้ํ า มั น ในกระป อ งใส ระดับอยูเสมอ และไมมีฟองอากาศ จึงขันสกรูใหแนน

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 10. ทดลองเหยียบคลัตช

คําอธิบาย ทดลองเหยี ย บคลั ต ช เ พื่ อ ตรวจสอบว า

ขอควรระวัง

กามปูกดคลัตชทํางานเปนปกติหรือไม

11. นํารถลงพื้น

ลดระดั บ ลิ ฟ ต ย กรถจนกระทั่ ง รถอยู ใ น ระวังอยาให มี คนหรื อ ระดับปกติ

สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํารถลง

12. ตรวจสอบระดับน้ํามันคลัตช

ตรวจสอบระดั บ น้ํ า มั น คลั ต ช อี ก ครั้ ง ซึ่ ง จะตองอยูที่ระดับขีด MAX

13. ติดเครื่องยนต

ติดเครื่องยนตจนถึงอุณหภูมิทํางานปกติ

14. เปลี่ยนตําแหนงเกียร

ขณะเครื่ อ งยนต ทํ า งาน เลื่ อ นตํ า แหน ง เกียรไปตําแหนงตาง ๆ ทุกตําแหนงอยาง ชา ๆ จากนั้น เลื่อนเกียรกลับมาที่ตําแหนง P ดังเดิม

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ คําอธิบาย 15. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การไลลมน้ํามันคลัตช

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การตรวจวัดระดับและเติมน้ํามันคลัตช

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา แวนตานิรภัย รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยาง

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 4 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 3 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 3 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การไลลมน้ํามันคลัตช

ไลลมน้ํามันคลัตชไดถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ไลลมน้ํามันคลัตชไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ไลลมน้ํามันคลัตชไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ไลลมน้ํามันคลัตชไมถูกตองตามขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ไลลมน้ํามันคลัตชไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การตรวจวัดระดับและเติมน้ํามันคลัตช

ตรวจวัดระดับน้ํามันคลัตชและเติมน้ํามันคลัตชใหอยูใน

5

ระดับที่เหมาะสมได ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจวัดระดับน้ํามันคลัตชไมถูกตอง หรือ เติมน้ํามันคลัตช ในระดับที่ไมเหมาะสม อยางใดอยางหนึง่ ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจวัดระดับน้ํามันคลัตชไมถูกตอง และ เติมน้ํามันคลัตช ในระดับที่ไมเหมาะสม ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 3 0921030203 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.1 การสลับยางรถยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบรองรับน้ําหนักได 2. ปฏิบัติงานสลับยางรถยนตได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานสลับยางรถยนตใหถูกตองโดยไมตองใชยางอะไหล

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.1 การสลับยางรถยนต 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1 ประแจขันนอตลอ

จํานวน 1 อัน

2 ประแจวัดแรงบิด

จํานวน 1 อัน

3 รถยนต

จํานวน 1 คัน

4 ลิฟตยกรถ

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ การสลับยางรถยนต ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. จอดรถ

จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

3. คลายนอตลอดวยประแจขันนอตลอ

ใช ป ระแจคลายนอตล อ ออกที ล ะตั ว ตามลําดับ แคพอนอตหลวม

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

4. ยกรถขึ้น

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ยกรถขึ้นจากพื้นดวยลิฟตยกรถ ใหลอลอย ระวังอยาให มี คนหรื อ ขึ้นจากพื้น

สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํ า รถขึ้ น และ ระวังรถตกจากลิฟต ยกรถ

5. ถอดนอตลอดวยประแจขันนอตลอ

ใช ป ระแจถอดน อตล อ อ อก ที ล ะ ตั ว ตามลําดับ

6. ถอดลอออกจากดุมลอ

ถอดลอออกจากดุมลอ และวางลอรถยนต ระวั ง ล อ หล น ทั บ เท า ใหถูกตอง

หรื อ ส ว นอื่ น ๆ ของ รางกาย

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

7. สลับยาง

คําอธิบาย

สลับยาง โดยนําลอคูหลังใสแทนลอคูหนา และนําลอคูหนาใสแทนลอคูหลัง

8. ใชมือขันนอตลอ

ขั น นอตล อ ที ล ะตั ว ตามลํ า ดั บ โดยใช มื อ หมุนนอตลอใหแนนแบบพอตึงมือ

9. ขันนอตลอซ้ําดวยประแจขันนอตลอ

ใชป ระแจขัน นอตลอ ขัน นอตซ้ําใหแ น น พอตึงมือ

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 10. นํารถลงพื้น

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ลดระดั บ ลิ ฟ ต ย กรถจนกระทั่ ง รถอยู ใ น ระวังอยาให มี คนหรื อ ระดับปกติ

สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํารถลง

11. ขันนอตลอซ้ําดวยประแจวัดแรงบิด

ใชประแจวัดแรงบิดขันนอตลอซ้ําอีกครั้ง ตั ้ง คา แรงบิด ใหต รง ตามลําดับ โดยตั้งคาแรงบิดใหตรงตามที่ ตามที่คูมือซอมประจํา คูมือซอมประจํารถยนตกําหนด

รถยนตกําหนด เพราะ หากขัน นอตลอ แนน ไมเ พีย งพอ นอตอาจ หลุดขณะเคลื่อนที่จ น เกิดอุบัติเหตุ

12. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน

2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การคลายนอตลอกอนขึ้นแมแรง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การถอดนอตลอหลังขึ้นแมแรง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การขันนอตลอหลังประกอบยางอะไหล

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

ครบถวน

ใหคะแนน 3 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง

คะแนน เต็ม 3

อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

ครบทั้ง 3 ชนิด

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล หคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การคลายนอตลอกอนขึ้นแมแรง

คลายนอตลอพอหลวม และปฏิบัติตามขั้นตอนอยางถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน คลายนอตลอหลุด หรือ ไมปฏิบัติตามขั้นตอน อยางหนึ่งอยางใด ใหคะแนน 3 คะแนน คลายนอตหลุด และไมปฏิบัติตามขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

การถอดนอตลอหลังขึ้นแมแรง

ขอกําหนดในการใหคะแนน

ถอดนอตลอตามขั้นตอนถูกตอง

คะแนน เต็ม 5

ใหคะแนน 5 คะแนน ถอดนอตลอไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขัน้ ตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดนอตลอไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขัน้ ตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ถอดนอตล อ ไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอนมากกว า 2 ขั้ น ตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การขันนอตลอหลังประกอบยางอะไหล

ขันนอตลอถูกตองตามขั้นตอน และไดคาแรงบิดตามที่ กําหนด ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ขันนอตลอไมถูกตองตามขั้นตอน หรือ ไดคาแรงบิด คลาดเคลื่อน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ขันนอตลอไมถูกตองตามขั้นตอน และ ไดคาแรงบิด คลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

9

รายการตรวจสอบ

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

33

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 3 0921030203 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.2 การถอดและเปลี่ยนช็อคอัพ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบรองรับน้ําหนักได 2. ปฏิบัติงานถอดและเปลี่ยนช็อคอัพได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 3 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานถอดและเปลี่ยนช็อคอัพใหถูกตอง

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.2 การถอดและเปลี่ยนช็อคอัพ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1 รถยนต

จํานวน 1 คัน

2 ลิฟตยกรถ

จํานวน 1 ตัว

3 ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

4 ประแจขันนอตลอ

จํานวน 1 อัน

5 ประแจวัดแรงบิด

จํานวน 1 อัน

6 เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ช็อคอัพรถยนต

จํานวน 1 ชุด

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ลําดับการทดสอบ การถอดและเปลี่ยนช็อคอัพ ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

3. คลายนอตลอดวยประแจขันนอตลอ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใช ป ระแจคลายนอตล อ ออกที ล ะตั ว ตามลําดับ แคพอนอตหลวม

4. ยกรถขึ้น

ยกรถขึ้นจากพื้นดวยลิฟตยกรถ ใหลอลอย ขึ้นจากพื้น

5. ถอดนอตลอดวยประแจขันนอตลอ

ใช ป ระแจถอดน อตล อ อ อก ที ล ะ ตั ว ระวั ง ล อ หล น ทั บ เท า ตามลําดับ และนําลอออก

หรื อ ส ว นอื่ น ๆ ของ รางกาย

6. ยกรถขึ้น

ปรับ ระดับ ลิฟ ตย กรถขึ ้น ใหส ูง ระดับ ระวังอยาให มี คนหรื อ สายตา

สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง ขณะนํ า รถขึ้ น และ ระวังรถตกจากลิฟต ยกรถ

7. ถอดนอตยึดช็อคอัพ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดนอตยึดช็อคอัพ จากนั้นใชประแจถอดนอตช็อคอัพตัวลาง และตัวบน แลวดึงช็อคอัพออก

8. เปลี่ยนช็อคอัพใหม

ประกอบช็อ คอัพ ใหม แลว ขัน นอต ยึดช็อคอัพตัวบน และตัวลาง ตามลําดับ

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

9. ใชมือขันนอตลอ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใส ล อ เข า ที่ ดุ ม ล อ ขั น นอตล อ ที ล ะตั ว ตามลําดับ โดยใชมือหมุนนอตลอให แนน แบบพอตึงมือ

10. ขันนอตลอซ้ําดวยประแจขันนอตลอ

ใชป ระแจขัน นอตลอ ขัน นอตซ้ําใหแ น น พอตึงมือ

11. นํารถลงพื้น

ลดระดั บ ลิ ฟ ต ย กรถจนกระทั่ ง รถอยู ใ น ระวังอยาให มี คนหรื อ

12. ขันนอตลอซ้ําดวยประแจวัดแรงบิด

ระดับปกติ

สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํารถขึ้น

ใชประแจวัดแรงบิดขันนอตลอซ้ําอีกครั้ง ตั ้ง คา แรงบิด ใหต รง ตามลําดับ โดยตั้งคาแรงบิดใหตรงตามที่ ตามที่คูมือซอมประจํา คูมือซอมประจํารถยนตกําหนด

รถยนตกําหนด เพราะ หากขัน นอตลอ แนน ไมเ พีย งพอ นอตอาจ

72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง หลุดขณะเคลื่อนที่จ น เกิดอุบัติเหตุ

13. ทดสอบช็อคอัพ

กดแก ม รถข า งที่ เ ปลี่ ย นช็ อ คอั พ เพื่ อ ดู วาช็อคอัพทํางานเปนปกติหรือไม

14. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การถอดช็อคอัพและประกอบช็อคอัพ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การทดสอบช็อคอัพ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 3 ชนิด

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ใหคะแนน 3 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การถอดช็อคอัพและประกอบช็อคอัพ

ถอดและประกอบช็อคอัพไดถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ถอดและประกอบช็อคอัพไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ถอดและประกอบช็อคอัพไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดและประกอบช็อคอัพไมถูกตองตามขั้นตอน

75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถอดและประกอบช็อคอัพไมถูกตองตามขั้นตอน มากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การทดสอบช็อคอัพ

ทดสอบช็อคอัพไดถูกตองตามขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ทดสอบช็อคอัพไมถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

26

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 4 0921030204 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 4.1 การตรวจสอบระยะฟรีพวงมาลัย 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบบังคับเลี้ยวได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบระยะฟรีพวงมาลัยได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 3 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานตรวจสอบระยะฟรีพวงมาลัยใหถูกตอง

78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 4.1 การตรวจสอบระยะฟรีพวงมาลัย 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1 รถยนตที่ใชกระปุกเกียรธรรมดา

จํานวน 1 คัน

2 ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

3 เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. จาระบีหรือน้ํามันหลอลื่นอเนกประสงค

จํานวน 1 กระปอง

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ การตรวจสอบระยะฟรีพวงมาลัย ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. จอดรถ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง ตั้งลอและพวงมาลัยใหตรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียร ในตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขาเกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม

เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไมค้ํายัน

ล็อกไมค้ํายันฝา

และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวน

กระโปรงหนารถ

หนารถและบังโคลนซาย-ขวา

ทุกครั้ง เพื่อปองกัน ไมใหฝากระโปรงปด

ใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมบริเวณเบาะ ระหวางปฏิบัติงาน พวงมาลัย และหัวเกียร 4. ตรวจสอบระยะฟรีพวงมาลัย

บิดสวิตชกุญแจไปที่ตําแหนง ON แลว ตรวจสอบระยะฟรี โดยค อ ย ๆ หมุ น พวงมาลัยไปทางซายและทางขวา หยุด หมุนพวงมาลัยเมื่อหมดระยะฟรี โดย พวงมาลัยจะเริ่มฝด 80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

5. วัดระยะฟรีพวงมาลัย

คําอธิบาย

วัดระยะฟรีพวงมาลัย ซึ่งจะตองมีระยะ 3 เซนติเมตร

6. ปรับตั้งระยะฟรีพวงมาลัย

หากมีระยะฟรีมากกวาหรือนอยกวา 3 เซนติเมตร ตองปรับตั้งระยะฟรีใหม โดยใชประแจคลายโบลตยึดนอต ปรับตั้งระยะฟรี ใชประแจแอล ขันนอตปรับตั้งระยะฟรี จากนั้น ขันโบลต ยึดยอตปรับตั้งระยะฟรีใหแนนดังเดิม

7. ตรวจสอบระยะฟรี

คอย ๆ หมุนพวงมาลัยไปทางซายและ ทางขวาอี ก ครั้ ง และวั ด ระยะฟรี ซึ่ ง จะตองมีระยะ 3 เซนติเมตร

81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

8. ทดสอบการทํางาน

ติดเครื่องยนต และทดลองขับรถยนต โดยหมุนพวงมาลัยใหไดระยะ 3 เซนติเมตร ซึ่งรถยนตจะตองไมเลี้ยว

9. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบระยะฟรีกระปุกพวงมาลัย

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การปรับตั้งระยะฟรีกระปุกพวงมาลัย

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 3 ชนิด

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ใหคะแนน 3 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบระยะฟรีกระปุกพวงมาลัย

ตรวจสอบระยะฟรีกระปุกพวงมาลัยไดถกู ตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบระยะฟรีกระปุกพวงมาลัยไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบระยะฟรีกระปุกพวงมาลัยไมถูกตองตามขั้นตอน มากวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน

84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

การปรับตั้งระยะฟรีกระปุกพวงมาลัย

ปรับตั้งระยะฟรีกระปุกพวงมาลัยไดระยะที่ถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนน เต็ม 5

ปรั บ ตั้ ง ระยะฟรี ก ระปุ ก พวงมาลั ย ได ร ะยะคลาดเคลื่ อ น 3 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน ปรั บ ตั้ ง ระยะฟรี ก ระปุ ก พวงมาลั ย ได ร ะยะคลาดเคลื่ อ น 5 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน ปรั บ ตั้ ง ระยะฟรี ก ระปุ ก พวงมาลั ย ได ร ะยะคลาดเคลื่ อ น มากกวา 5 มิลลิเมตร ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 5 0921030205 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 5.1 การเปลี่ยนถายน้ํามันเบรกและไลลมเบรก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบเบรกได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนถายน้ํามันเบรกและไลลมเบรกได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 3 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานเปลี่ยนถายน้ํามันเบรกและไลลมเบรกใหถูกตอง

87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 5.1 การเปลี่ยนถายน้ํามันเบรกและไลลมเบรก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1 กระปองรองรับน้ํามันพรอมสายยางออนไลลม

จํานวน 1 ชุด

2 เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

3 ประแจขันนอตลอ

จํานวน 1 อัน

4 ประแจวัดแรงบิด

จํานวน 1 อัน

5 ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

6 รถยนต

จํานวน 1 คัน

7 ลิฟตยกรถ

จํานวน 1 ตัว

8 อุปกรณดูดน้ํามัน

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํามันเบรก

จํานวน 1 ลิตร

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ลําดับการทดสอบ การเปลี่ยนถายน้ํามันเบรกและไลลมเบรก ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไมค้ํายัน

ขอควรระวัง ล็อกไมค้ํายันฝา

และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวนหนา กระโปรงหนารถ รถและบังโคลนซาย-ขวา

ทุกครั้ง เพื่อปองกัน ไมใหฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

4. ดูดน้ํามันเบรกออกจากกระปุก

ดูดน้ําเบรกออกจากกระปุก และเติมน้ํามัน เบรกใหมใหไดระดับ

5. คลายนอตลอ

ใชป ระแจถอดนอตลอ ออกทีล ะตัว และ นําลอออกจากดุมลอ

6. ถอดลอออกจากดุมลอ

ยกรถขึ้นจนลอลอยจากพื้น คลายนอตลอ ระวั ง ล อ หล น ทั บ เท า และถอดลอออกจากดุมลอ

หรื อ ส ว นอื่ น ๆ ของ รางกาย

90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

7. เตรียมเหยียบเบรก

ติดเครื่องยนต และเตรียมเหยียบเบรก

8. เตรียมไลลมเบรก

ใสสายยางออนไลลมเขากับสกรูไลลมเบรก ควรไลลมจากตําแหนง และวางประแจลงบนสกรูไลลม เพื่อเตรียม ที่ไกลที่สุดกอน ไลลมเบรก

91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 9. ไลลมเบรก

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ย้ําเบรก 2-3 ครั้ง แลวเหยียบเบรกคางไว ขณะไล ล ม ต อ งเติ ม ระหวางนั้น ใชประแจคลายสกรูไลลมเบรก น้ํามันเบรกใหไดระดับ จนกระทั่งน้ํามันหยุดไหล จึงขันสกรูกลับ

อยูเสมอ และควรไลลม

ไล ล มเบรกตามวิ ธี ก ารนี้ จนกว า น้ํ า มั น จากตํ า แหน ง ที่ ไ ก ล เ บ ร ก ใ ห ก ร ะ ป อ ง ไ ล ล ม ใ ส แ ล ะ ไ ม มี ที่สุดกอน ฟองอากาศ 10. ใสลอกลับเขาที่ดุมลอ

ดับเครื่องยนต ปรับระดับลิฟตยกรถ ใสลอ กลับเขาที่ดุมลอ และขันนอตลอจนแนน

11. ขันนอตลอดวยประแจวัดแรงบิด

นํารถลงพื้น และขันนอตลอซ้ําดวยประแจ ตั ้ง คา แรงบิด ใหต รง วัดแรงบิด

ตามที่คูมือซอมประจํา รถยนตกําหนด เพราะ หากขัน นอตลอ แนน ไมเ พีย งพอ นอตอาจ หลุด ขณะเคลื่อ นที่จ น เกิดอุบัติเหตุ

12. ทดสอบการทํางาน

ติดเครื่องยนต และทดลองเหยียบเบรก ซึ่ง เบรกจะตองไมจม

92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

13. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การเปลี่ยนน้ํามันเบรก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การเตรียมไลลมเบรกและไลลมเบรก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การเปลี่ยนน้ํามันเบรก

ดูดน้ํามันเบรกเกาจากกระปุกและเติมน้าํ มันเบรกใหมใน ระดับที่เหมาะสมไดถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ดูดน้ํามันเบรกเกาจากกระปุกไมถูกตองตามขั้นตอน หรือ เติมน้ํามันเบรกใหมในระดับที่ไมเหมาะสม อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน

95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ดูดน้ํามันเบรกเกาจากกระปุกไมถูกตองตามขั้นตอน และ เติมน้ํามันเบรกใหมในระดับที่ไมเหมาะสม ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การเตรียมไลลมเบรกและไลลมเบรก

ไลลมเบรกไดถูกตองตามขั้นตอน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ไลลมเบรกไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ไลลมเบรกไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ไลลมเบรกไมถูกตองตามขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ไลลมเบรกไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน

96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

8

รายการตรวจสอบ

คะแนน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

เต็ม

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 5 0921030205 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 5.2 การทําความสะอาดดรัมเบรก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบเบรกได 2. ปฏิบัติงานทําความสะอาดดรัมเบรกได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําความสะอาดดรัมเบรกใหถูกตองตามขั้นตอน

98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 5.2 การทําความสะอาดดรัมเบรก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1 ประแจขันนอตลอ

จํานวน 1 อัน

2 ประแจวัดแรงบิด

จํานวน 1 อัน

3 ปมลม

จํานวน 1 ตัว

4 ปนเปาลม

จํานวน 1 ตัว

5 รถยนต

จํานวน 1 คัน

6 ลิฟตยกรถ

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระดาษทราย

จํานวน 1 ชุด

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน 99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ การทําความสะอาดดรัมเบรก ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง หากดึงเบรกมือไว ตองปลดเบรกมือ

3. คลายนอตลอหลัง

ใชป ระแจถอดนอตลอ หลัง ออกทีล ะตัว และนําลอออกจากดุมลอ

100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 4. ถอดลอออกจากดุมลอ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ยกรถขึ้นจนลอลอยจากพื้น คลายนอตลอ ระวั ง ล อ หล น ทั บ เท า และถอดลอออกจากดุมลอ

หรื อ ส ว นอื่ น ๆ ของ รางกาย

5. ถอดจานดรัมเบรก

ถอดจานดรัมเบรกออก และตรวจสอบ

6. ทําความสะอาดดรัมเบรก

ความบางของผาเบรกดวยสายตา ใชผ า ทรายหยาบ ขัด ทํ า ความสะอาด จานดรัมเบรกและผาเบรก จากนั้น เปา ทํา ความสะอาดชุด ปม ลอ เบรกและจาน เบรก

7. ประกอบชุดดรัมเบรก

ประกอบชุดดรัมเบรกเขาที่ตําแหนงเดิม

101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 8. ใสลอกลับเขาที่ดุมลอ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ดับเครื่องยนต ปรับระดับลิฟตยกรถ ใสลอ ตั้งคาแรงบิดใหตรง กลับเขาที่ดุมลอ ขันนอตลอจนแนน และ ตามที่คูมือซอมประจํา ขันซ้ําดวยประแจวัดแรงบิด

รถยนตกําหนด เพราะ หากขันนอตลอแนนไม เพียงพอ นอตอาจหลุด ขณะเคลื่อนที่จนเกิด อุบัติเหตุ

9. ทดสอบการทํางาน

ติดเครื่องยนต และทดลองเหยียบเบรก ซึ่ง เบรกจะตองไมจม

10. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การถอดประกอบชุดดรัมเบรก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การทําความสะอาดชุดดรัมเบรก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 3 ชนิด

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ใหคะแนน 3 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การถอดประกอบชุดดรัมเบรก

ถอดประกอบชุดดรัมเบรกไดถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ถอดประกอบชุดดรัมเบรกไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดประกอบชุดดรัมเบรกไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน

104 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ถอดประกอบชุดดรัมเบรกไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การทําความสะอาดชุดดรัมเบรก

ทําความสะอาดชุดดรัมเบรกไดสะอาด และถูกตองตามขั้นตอน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ทําความสะอาดชุดดรัมเบรกไมสะอาด หรือ ไมถูกตองตาม ขั้นตอน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดชุดดรัมเบรกไมสะอาด และ ไมถูกตองตาม ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

105 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

106 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 6 0921030206 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 6.1 การเปลี่ยนหลอดไฟหนาแบบแฮโลเจน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบไฟฟาในรถยนตได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนหลอดไฟหนาแบบแฮโลเจนได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง 30 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเปลี่ยนหลอดไฟหนาแบบแฮโลเจน

107 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 6.1 การเปลี่ยนหลอดไฟหนาแบบแฮโลเจน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

2. รถยนต

จํานวน 1 คัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. หลอดไฟหนาแบบแฮโลเจน

จํานวน 1 ชุด

108 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ การเปลี่ยนหลอดไฟหนาแบบแฮโลเจน ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่ตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร

ขอควรระวัง

กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ให เขาเกียรในตําแหนง P ถาเปน เกียรธรรมดา ใหเขาเกียรที่ ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล 3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม

เปดฝากระโปรงรถพรอมล็ อกไม ล็อกไมค้ํายันฝากระโปรง ค้ํายัน และใชผาคลุมสําหรับซอม หนารถทุกครั้ง เพื่อ คลุ ม ที่ ส ว นหน า รถและบั ง โคลน ปองกันไมใหฝากระโปรง ซาย-ขวา

4. ถอดชุดหลอดไฟหนา

ถอดชุ ด หลอดไฟหน า ดึ ง ขั้ ว สายไฟ และนํ า ยางที ่เ บา ของ หลอดไฟออก

109 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ปด ระหวางปฏิบัติงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

5. ใสหลอดไฟดวงใหม

ขอควรระวัง

นําหลอดไฟหนาเดิมออก แลวใส ห า มใช มื อ จั บ หลอดไฟ หลอดใหมเขาไปแทน

ส ว นที่ เ ป น แก ว โดยตรง เพราะจะทํ า ให ห ลอดไฟ เสียหาย

6 ประกอบชุดหลอดไฟหนา

ประกบยางเขาที่เบาของหลอดไฟ และเ ส ีย บ ขั ้ว ส า ย ไ ฟ เ ขา กับ หลอดไฟดวงใหม จากนั้นประกอบ ชุด หลอดไฟหนา เขา ที ่ตํ า แหนง เดิม

7. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณ สถานที่ปฏิบัติงาน และจัดเก็บ เครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย

110 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การถอดไฟหนาออก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การประกอบไฟหนา

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

111 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน คะแนนที่ได เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การถอดไฟหนาออก

ถอดไฟหนาออกไดถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ถอดไฟหนาออกไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดไฟหนาออกไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ถอดไฟหนาออกไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน

112 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

การประกอบไฟหนา

ประกอบไฟหนาตามขั้นตอนไดถกู ตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนน เต็ม 5

ประกอบไฟหน า ตามขั้ น ตอนไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ประกอบไฟหน า ตามขั้ น ตอนไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ประกอบไฟหน า ตามขั้ น ตอนไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน มากกวา 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

113 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

114 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 6 0921030206 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 6.2 การตรวจสอบรีเลยโดยใชมัลติมิเตอร 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบไฟฟาในรถยนตได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบรีเลยโดยใชมัลติมิเตอร 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบรีเลยโดยใชมัลติมิเตอรใหถูกตอง

115 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 6.2 การตรวจสอบรีเลยโดยใชมัลติมิเตอร 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. มัลติมิเตอร

จํานวน 1 ตัว

3. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

4. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. รีเลยชนิด 4 ขา

จํานวน 1 ตัว

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

116 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ การตรวจสอบรีเลยโดยใชมัลติมิเตอร ขั้นตอนการทดสอบ 1. จอดรถ

คําอธิบาย โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร

ขอควรระวัง

กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียร ในตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ให เขาเกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ ปองกันรถไหล 3. ตรวจสอบการทํางานของสวิตชควบคุมกระจกประตู ทดลองกดสวิ ต ช ก ระจกประตู หากมี กระจกบานใดไมเลื่อนลงเมื่อ กดสวิ ต ช ใหตรวจสอบรีเลย

4. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม

เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไม ค้ํ า ยั น ล็อกไมค้ํายันฝา และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวนหนา กระโปรงหนารถ รถและบังโคลนซาย-ขวา

ทุกครั้ง เพื่อปองกัน ไมใหฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

117 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 5. หารีเลยจากกลองฟวส

คําอธิบาย เป ด กล อ งฟ ว ส แล ว หารี เ ลย ค วบคุ ม กระจกประตู

6. ตรวจสอบรีเลยดวยมัลติมิเตอร

ตรวจสอบรีเลยดวยมัลติมิเตอร โดยปรับ ย า นการวั ด ไปที่ ค า ความต า นทาน R x 10 และสังเกตเข็มของมัลติมิเตอร แตะเข็ ม ของมั ล ติ มิ เ ตอร เ ข า กั บ ขั้ ว 85 และขั้ว 86 จากนั้น อานคาที่วัดได และแตะเข็มของมัล ติ มิเตอรเ ขา กั บ ขั้ ว 87 และขั้ว 30 จากนั้น อานคาที่วัดได

7. เปลี่ยนรีเลย

หากพบวารีเลยเสีย เปลี่ยนรีเลยใหม

118 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ คําอธิบาย 8. ตรวจสอบการทํางานของสวิตชควบคุมกระจกประตู ทดลองกดสวิตชกระจกประตูอีกครั้ง ซึ่ง อีกครั้ง กระจกตองเลื่อนลงเปนปกติ

9. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

119 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบการทํ า งานของสวิ ต ช ค วบคุ ม ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน กระจกประตู

5

การตรวจสอบและเปลี่ยนรีเลย

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

120 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

1

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน คะแนนที่ได เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 3 ชนิด

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ใหคะแนน 3 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบการทํางานของสวิตชควบคุมกระจกประตู

ตรวจสอบการทํางานของสวิตชควบคุมกระจกประตูได

5

ถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบการทํางานของสวิตชควบคุมกระจกประตูไม ถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การตรวจสอบและเปลี่ยนรีเลย

ตรวจสอบและเปลีย่ นรีเลยไดถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

121 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ตรวจสอบและเปลีย่ นรีเลยไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ตรวจสอบและเปลีย่ นรีเลยไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบและเปลีย่ นรีเลยไมถูกตองตามขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ตรวจสอบและเปลี่ยนรีเลยไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

122 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

123 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 7 0921030207 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 7.1 การเปลี่ยนมอเตอรพัดลมระบายความรอนของระบบปรับอากาศที่หมอน้ํา 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบอํานวยความสะดวก และความปลอดภัยได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนมอเตอรพัดลมระบายความรอนได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานเปลี่ยนมอเตอรพัดลมระบายความรอนใหถูกตอง

124 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 7.1 การเปลี่ยนมอเตอรพัดลมระบายความรอนของระบบปรับอากาศที่หมอน้ํา 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

3. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

4. มัลติมิเตอร

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. มอเตอรพัดลมระบายความรอน

จํานวน 1 ชุด

125 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ การเปลี่ยนมอเตอรพัดลมระบายความรอนของระบบปรับอากาศที่หมอน้ํา ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่ตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร

ขอควรระวัง

กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล 3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม

เป ด ฝากระโปรงรถพร อ มล็ อ กไม ค้ํ า ยั น ล็อกไมค้ํายันฝา และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวนหนา กระโปรงหนารถ รถและบังโคลนซาย-ขวา

ทุกครั้ง เพื่อปองกัน ไมใหฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

4. ดึงขั้วสายไฟ

ดึ ง ขั้ ว สายไฟที่ ต อ เข า กั บ พั ด ลมระบาย ความรอนออก

126 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 5. วัดแรงดันไฟฟา

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ติดเครื่องยนต และเปดแอร ใช มั ล ติ มิ เ ตอร วั ด แรงดั น ไฟฟ า กระแส ตรงที ่ป ลั ๊ก ตัว เมีย ของพั ด ลมระบาย ความรอน ซึ่งจะตองมีคาเทากับ 12 โวลต

6. คลายนอตยึดพัดลมระบายความรอน

ดับ เครื ่อ งยนต คลายนอตยึ ด พั ด ลม ระวังความรอนจาก ระบายความรอน และนําพัดลมออก

หมอน้ําหลังดับ เครื่องยนต

7. คลายนอตยึดใบพัดกับมอเตอร

คลายนอตยึดใบพัดกับมอเตอรออก และ ระวั ง ใบพั ด แตกหรื อ นําใบพัดออก

หั ก และระวั ง ใบพั ด บาดมือหรือสวนอื่น ๆ ของรางกาย

127 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 8. เปลี่ยนมอเตอรพัดลมระบายความรอน

คําอธิบาย คลายนอตยึ ด มอเตอร ออก และเปลี่ ย น มอเตอร ตั ว ใหม จากนั้ น ขั น นอตยึ ด มอเตอรใหแนน

9. ขันนอตยึดใบพัดกับมอเตอร

ประกอบใบพั ด เข า กั บ มอเตอร แล ว ขั น นอตยึดใหแนน

10. ขันนอตยึดพัดลมระบายความรอน

ประกอบพัดลมระบายความรอนกลับเขา ที่ตําแหนงเดิม แลวขันนอตยึดใหแนน

128 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

11. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

129 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การวัดแรงดันไฟฟาที่พัดลมระบายความรอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การถอดประกอบมอเตอรพัดลมระบายความรอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

130 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน คะแนนที่ได เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 3 ชนิด

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ใหคะแนน 3 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การวัดแรงดันไฟฟาที่พัดลมระบายความรอน

วัดแรงดันไฟฟาดวยมัลติมิเตอรไดถูกตองตามขั้นตอน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน วัดแรงดันไฟฟาดวยมัลติมิเตอรไมถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การถอดประกอบมอเตอรพัดลมระบายความรอน

ถอดประกอบมอเตอรพัดลมระบายความรอนไดถูกตองตาม ขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

131 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ถอดประกอบมอเตอรพัดลมระบายความรอนไมถูกตองตาม ขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ถอดประกอบมอเตอรพัดลมระบายความรอนไมถูกตองตาม ขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดประกอบมอเตอรพัดลมระบายความรอนไมถูกตองตาม ขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถอดประกอบมอเตอรพัดลมระบายความรอนไมถูกตองตาม ขั้นตอนมากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

132 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

133 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 7 0921030207 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 7.2 การเปลี่ยนมอเตอรกระจกมองขาง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบอํานวยความสะดวก และความปลอดภัยได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนมอเตอรกระจกมองขางได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานเปลี่ยนมอเตอรกระจกมองขางรถยนต

134 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 7.2 การเปลี่ยนมอเตอรกระจกมองขาง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

3. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

4. ประแจบล็อก

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. มอเตอรกระจกมองขาง

จํานวน 1 ชุด

135 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ การเปลี่ยนมอเตอรกระจกมองขาง ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่ตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร

ขอควรระวัง

กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียร ในตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ให เขาเกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล 3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม

ใช ผ า คลุ ม สํ า หรั บ ซ อ ม คลุ ม ที่ บ ริ เ วณ ล็อกไมค้ํายันฝา เบาะนั่ง พวงมาลัย และหัวเกียร

กระโปรงหนารถ ทุกครั้ง เพื่อปองกัน ไมใหฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

4. เปดแผนปดกระจกมองขาง

ใชไขควงปากแบน งัดแผนปดกระจกมอง ใ ช ผ า ร อ ง บ ร ิเ ว ณ ขางดานใน

กระจกมองขา ง กอ น งัดแผนปดกระจก เพื่อ ปอ งกัน รอยขีด ขว น จากการใชไขควง

136 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 5. ถอดกระจกมองขาง

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใชป ระแจบล็อ กคลายนอตยึด กระจก ใช มื อ รองที่ ตั ว กระจก มองขางออก ดึงสายไฟออกจากมอเตอร ก อ น ค ล า ย น อ ต ตั ว จากนั้ น ใช ไ ขควงแฉกคลายนอตยึ ด สุดทาย เพราะกระจก มอเตอร และนํามอเตอรออก

จะหลุ ด ทั น ที ห ลั ง จาก คลายนอต

6. เปลี่ยนมอเตอรกระจกมองขาง

เปลี ่ย นมอเตอรต ัว ใหม ขั น นอตยึ ด มอเตอรใหแนน และเสียบสายไฟเข าที่ มอเตอร

7. ทดสอบการทํางาน

กดสวิตชพับกระจกมองขาง ซึ่งกระจก จะตองพับเก็บเปนปกติ

8. ประกอบกระจกมองขาง

ขันนอตยึดกระจกมองขาง และขันนอต ยึดแผนปดกระจกมองขางใหแนน

137 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

9. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การถอดประกอบมอเตอรกระจกมองขาง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

138 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน คะแนนที่ได เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การถอดประกอบมอเตอรกระจกมองขาง

ถอดประกอบมอเตอรกระจกมองขางไดถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ถอดประกอบมอเตอรกระจกมองขางไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ถอดประกอบมอเตอรกระจกมองขางไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดประกอบมอเตอรกระจกมองขางไมถูกตองตามขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน

139 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ถอดประกอบมอเตอรกระจกมองขางไมถูกตองตามขั้นตอน มากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

23

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

140 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 8 0921030208 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 8.1 การลางรถอยางถูกวิธี 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของตัวถังรถยนต และสีรถยนต 2. ปฏิบัติงานทําความสะอาดคราบดินโคลนบนรถยนตได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติทําความสะอาดคราบดินโคลนบนรถยนตตามขั้นตอนที่ถูกตอง

141 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 8.1 การลางรถอยางถูกวิธี 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. กระปองใสน้ํา

จํานวน 1 ใบ

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ฟองน้ําทําความสะอาดรถยนต

จํานวน 1 อัน

2. ฟองน้ําทําความสะอาดลอรถยนต

จํานวน 1 อัน

3. น้ํายาทําความสะอาดรถยนต

จํานวน 1 แกลลอน

4. น้ํายาทําความสะอาดลอรถยนต

จํานวน 1 แกลลอน

5. ผาชามัวร

จํานวน 1 ผืน

6. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

142 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ การทําความสะอาดคราบดินโคลนบนรถยนต ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่ตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียร ในตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ให เขาเกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

3. ฉีดพรมน้ําลงบนตัวรถ

ฉีด พรมน้ํ า ใหทั ่ว รถ เพื ่อ ขจัด เศษฝุ น และคราบโคลนบนตัวรถ

4. ทําความสะอาดลอรถ

ชโลมน้ํ า ยาทํ า ความสะอาดลงบนลอ ทั้ง 4 ลอ ใชฟองน้ําขัด และใชน้ําฉีดลาง ใหสะอาด

143 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

5. ทําความสะอาดตัวถังรถ

ชโลมน้ํายาทําความสะอาดลงบนตัว ถัง รถยนต โดยเริ่มชโลมจากสว นบนของ รถ ไปยังสวนลางของรถ ใชฟองน้ําขั ด และใชน้ําฉีดลางใหสะอาด

6. เช็ดรถใหแหง

ใชผาชามัวรเช็ดน้ําใหแหงจากส ว นบน ไปยังสวนลางของรถ

7. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

144 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การลางทําความสะอาดรถอยางถูกวิธี

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

145 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน คะแนนที่ได เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การลางทําความสะอาดรถอยางถูกวิธี

ลางทําความสะอาดรถอยางถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ลางทําความสะอาดรถไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ลางทําความสะอาดรถไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ลางทําความสะอาดรถไมถูกตองตามขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ลางทําความสะอาดรถไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน

146 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

คะแนน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น

เต็ม 3

ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

23

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

147 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

1. 2.

3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟ 10 7 งายและสารอันตรายได บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได อธิบายกฎของโรงงานและปาย เตือนตาง ๆ ได อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ ได ใชอุปกรณปองกันอันตราย ประเภทตาง ๆ ได อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัย และหลักการดับเพลิงได ปฏิบัติตามวิธีการปองกัน อัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได อธิบายวิธีการปฐมพยาบาล เบื้องตนได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได ประเมินผลภาคทฤษฏี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

148 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 6

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

1. 2.

3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟ 10 7 งายและสารอันตรายได บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได อธิบายกฎของโรงงานและปาย เตือนตาง ๆ ได อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ ได ใชอุปกรณปองกันอันตราย ประเภทตาง ๆ ได อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัย และหลักการดับเพลิงได ปฏิบัติตามวิธีการปองกัน อัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได อธิบายวิธีการปฐมพยาบาล เบื้องตนได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได ประเมินผลภาคทฤษฏี

149 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 8

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

150 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 4.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 5.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 6.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 6.2

ใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได ปฏิบัติตามวิธีการปองกันอัคคีภัยและ หลักการดับเพลิงได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได

58

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 41

36

25

31

28

20

22

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

33

23

30

คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

155

109

113

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 30

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลว เปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

151 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (รอยละ 20) ภาคปฏิบัติ (รอยละ 80)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

8

2

16

113

0.516

58.308

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 74.308

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฏี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

10

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 10

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

8 × 2 = 16

คือ

152 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

=2


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

155 80 = 0.516 155

ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

คือ

113 × 0.516 = 58.308

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 16 + 58.308 = 74.308 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

153 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

8.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 วิเคราะหขอขัดของ 10 7 ความเสียหายเบื้องตนของ เครื่องยนตได วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบสงกําลังได วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบรองรับน้ําหนักได วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบบังคับเลี้ยวได วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบเบรกได วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบไฟฟาในรถยนตได วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบอํานวยความสะดวกและ ความปลอดภัยได วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของตัวถัง รถยนต และสีรถยนตได 154 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 6


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาคทฤษฏี

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ประเมินผลภาคทฤษฏี

คะแนนที่ได ผาน ไมผาน (C) (NYC)

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

ผลลัพธการเรียนรู วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ เครื่องยนตได วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบสงกําลังได วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบรองรับน้ําหนักได วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบบังคับเลี้ยวได วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบเบรกได วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบไฟฟาในรถยนตได วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบอํานวยความสะดวกและ ความปลอดภัยได

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 10 7

155 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 6


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาคทฤษฏี

ผลลัพธการเรียนรู 8. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ตัวถังรถยนต และสีรถยนตได

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

ประเมินผลภาคทฤษฏี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 4.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 5.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 5.2

แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ เครื่องยนตได แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ เครื่องยนตได แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบสงกําลังได แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบสงกําลังได แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบรองรับน้ําหนักได แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบรองรับน้ําหนักได แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบบังคับเลี้ยวได แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบเบรกได แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบเบรกได

23

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 16

28

20

28

20

28

20

33

23

26

18

28

20

28

20

28

20

156 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

28

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 20

28

20

28

20

23

16

23

16

380

269

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 6.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 6.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 7.1

แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบไฟฟาในรถยนตได แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบไฟฟาในรถยนตได แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบอํานวยความสะดวก และความ ปลอดภัยได แบบทดสอบ แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ภาคปฏิบัติที่ 7.2 ระบบอํานวยความสะดวก และความ ปลอดภัยได แบบทดสอบ แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ภาคปฏิบัติที่ 8.1 ตัวถังรถยนต และสีรถยนต คะแนนรวมภาคปฏิบัติ ประเมินผลภาคปฏิบัติ * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

157 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (รอยละ 20) ภาคปฏิบัติ (รอยละ 80)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC)

2 0.210

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบันทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

158 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

159 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.