คู่มือการประเมิน ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 2 โมดูล 6

Page 1



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คูมือการประเมิน 0920164170202 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 2

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 6 09217308 วิธีการประกอบติดตั้งระบบทอสารทําความเย็น ที่ใชในเครื่องปรับอากาศ กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คํานํา คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดูลที่ 6 วิธีการ ประกอบติดตั้งระบบทอสารทําความเย็นที่ใชในเครื่องปรับอากาศ ฉบับนี้ ได พั ฒ นาขึ้ น ภายใต โ ครงการพั ฒ นาระบบฝก และชุ ด การฝ ก ตามความสามารถ เพื่ อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําไปใชเปนระบบการฝกอบรมตามความสามารถ สาขาชางเครื่องปรับอากาศใน บานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 2 เพื่ อ ให ต อบสนองความต อ งการของกํา ลั ง แรงงานและตลาดแรงงานได อ ย า ง เหมาะสมมากยิ่ ง ขึ้ น และเพื่ อ รองรั บ ระบบการรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานแหง ชาติและระบบการรับรองความรู ความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ใหแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมายตาง ๆ ใหกวางขวางมาก ยิ่งขึ้น ทั้งในแงของขอบเขตของการใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสง มอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแก ผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน น ผลลั พธก ารฝ กอบรมในการที่ ทํา ใหผู รับ การฝ กอบรมมีค วามสามารถในการปฏิ บัติง าน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่ง ไดจากการวิเคราะหง านอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูกกําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่ง ผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝน จนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส ง มอบการฝ ก สามารถดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผู รั บ การฝ ก สามารถเรี ย นรู ไ ด ด ว ยตนเอง (Self-Learning) ที่ บ า นหรื อ ที่ ทํา งาน และเข า รั บ การฝ ก ภาคปฏิ บัติ ตามความพรอม ตามความสะดวกของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมิน ผล ความรู ค วามสามารถกั บ หน ว ยฝ ก โดยมี ค รู ฝ ก หรื อ ผู ส อนคอยให คํา ปรึ ก ษา แนะนํา และจั ด เตรี ย มการฝ ก ภาคปฏิ บั ติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตางๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ช ว ยประหยั ด เวลาในการเดิ น ทาง และประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มื อ แรงงานให แ ก กํา ลั ง แรงงาน ในระยะยาว จึ ง ถื อ เป น รู ป แบบการฝ ก ที่ มี ค วามสํา คั ญ ต อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน ทั้ ง ในป จ จุ บั น และอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใชในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึง การฝกอบรมเพื่อพัฒ นาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา สารบัญ

ก ข

ขอแนะนํา ผลลัพธการเรียนรู

1 4

แบบทดสอบกอนฝก แบบทดสอบหลังฝก

6 10

กระดาษคําตอบ เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

14 14

แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หัวขอวิชาที่ 1 0921730801 การเดินทอสารทําความเย็น ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ

16 30

บันทึกผลการประเมินความสามารถ

36

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการ ฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการ ประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัตใิ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่อ อิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงราง หลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 6 09217308 วิธีการประกอบติดตั้งระบบทอสารทําความเย็นที่ใชในเครื่องปรับอากาศ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

อธิบายวิธีการเดินทอเพื่อใหสารทําความเย็นและน้ํามันหลอลื่นไหลวนเวียนในระบบไดถูกตอง เดินทอเพื่อใหสารทําความเย็นและน้ํามันหลอลื่นไหลวนเวียนในระบบได อธิบายวิธีการเดินทอเพื่อปองกันไมใหสารทําความเย็นเหลวเขาไปในทางดูด และทําอันตรายตอคอมเพรสเซอรได เดินทอเพื่อปองกันไมใหสารทําความเย็นเหลวเขาไปในทางดูดและทําอันตรายตอคอมเพรสเซอรได อธิบายวิธีการเดินทอเพื่อเฉลี่ยสารทําความเย็นใหแผงทําความเย็น (Evaporator) ตั้งแต 2 ตัวขึ้นไปได เดินทอเพื่อเฉลี่ยสารทําความเย็นใหแผงทําความเย็น (Evaporator) ตั้งแต 2 ตัวขึ้นไปได อธิบายวิธีการเลือกหรือเปลี่ยนขนาด และความยาวของแคปปลลารี่ทิ้วปได

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

แบบทดสอบกอนฝก คําชี้แจง : 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 6 09217308 วิธีการประกอบติดตั้งระบบทอสารทําความเย็นที่ใชในเครื่องปรับอากาศ 1. ขอใดคือผลจากการเลือกใชทอน้ํายาขนาดเล็ก ก. เกิดความดันตกครอมระหวางทอมากขึ้น ข. เพิม่ ประสิทธิภาพใหเครื่องมากขึ้น ค. ลดคาใชจาย ง. สะดวกตอการติดตั้งและใชงาน 2. สาเหตุที่ตองใชเทปพันปดปลายทอ เพราะอะไร ก. ปองกันการสลับสาย ข. ปองกันฝุนและความชื้น ค. ปองกันการลัดวงจร ง. ปองกันการเกิดการแลกเปลี่ยนความรอน 3. ทอใดที่ตออยูระหวางคอนเดนเซอรกับคอมเพรสเซอรแอร ก. ทอซัคชั่น ข. ทอน้ําทิ้ง ค. ทอดิสชารจ ง. ทออัลลอยด 4. การติดตั้งทอสารทําความเย็นในระบบ VRF จะใชวิธีการใดเหมาะสมที่สุด ก. ข. ค. ง.

วิธีการย้ําทอแกส และทอของเหลวระดับเดียวกันตามแนวตั้ง วิธีการเรียงทอแกส และทอของเหลวระดับเดียวกันตามแนวนอน วิธีการเรียงทอแกส และทอของเหลวคนละระดับตามแนวตั้ง วิธีการเรียงทอแกส และทอของเหลวคนละระดับตามแนวแนวนอน

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. กรณีไมมีน้ํามันหลอลื่นไหลกลับเขาคอมเพรสเซอร ควรแกปญหาอยางไร ก. ติดตั้ง Oil-trap แบบ T-trap ข. ติดตั้ง Oil-trap แบบ P-trap ค. ติดตั้ง Oil-trap แบบ S-trap ง. ติดตั้ง Oil-trap แบบ U-trap 6. การติดตั้งแบบใดที่ทําใหเกิดความดันตกลง ก. ติดตั้งคอนเด็นซิ่งต่ํากวาอีวาพอเรเตอร ข. ติดตั้งอีวาพอเรเตอรต่ํากวาคอนเด็นซิ่ง ค. ติดตั้งคอนเด็นซิ่งสูงกวาอีวาพอเรเตอร ง. ติดตั้งอีวาพอเรเตอรสูงกวาคอนเด็นซิ่ง 7. ขอใดคือความสูงที่เหมาะกับขนาดเสนผานศูนยกลาง 12.7 mm ก. 1.1-1.3 ข. 1.5-1.7 ค. 1.6-1.8 ง. 1.9-2.1 8. แคปปลลารี่ทิ้วปแบบใดติดตั้งในแฟนคอยล ก. แคปปลลารี่ทิ้วปแบบฉีดนอก ข. แคปปลลารี่ทิ้วปแบบฉีดใน ค. แคปปลลารี่ทิ้วปแบบสเปรย ง. แคปปลลารี่ทิ้วปแบบผสม

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

9. ในการเดินทอน้ํายาในแนวดิ่ง ไมควรเดินเกินกี่เมตร ก. 5 เมตร ข. 10 เมตร ค. 15 เมตร ง. 20 เมตร 10. ความดันตกครอมของทอน้ํายา ถูกกําหนดไวที่เทาไหร ก. ดานดูด 1 Psi/100 ft ดานสง 1 Psi/100 ft ข. ดานดูด 1.5 Psi/100 ft ดานสง 1.5 Psi/100 ft ค. ดานดูด 2.5 Psi/100 ft ดานสง 2.5 Psi/100 ft ง. ดานดูด 2 Psi/100 ft ดานสง 4 Psi/100 ft

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

แบบทดสอบหลังฝก คําชี้แจง : 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 6 09217308 วิธีการประกอบติดตั้งระบบทอสารทําความเย็นที่ใชในเครื่องปรับอากาศ 1. ขอใดคือความสูงที่เหมาะกับขนาดเสนผานศูนยกลาง 12.7 mm ก. 1.6-1.8 ข. 1.1-1.3 ค. 1.9-2.1 ง. 1.5-1.7 2. การติดตั้งทอสารทําความเย็นในระบบ VRF จะใชวิธีการใดเหมาะสมที่สุด ก. วิธีการเรียงทอแกส และทอของเหลวคนละระดับตามแนวตั้ง ข. วิธีการย้ําทอแกส และทอของเหลวระดับเดียวกันตามแนวตั้ง ค. วิธีการเรียงทอแกส และทอของเหลวคนละระดับตามแนวแนวนอน ง. วิธีการเรียงทอแกส และทอของเหลวระดับเดียวกันตามแนวนอน 3. ความดันตกครอมของทอน้ํายา ถูกกําหนดไวที่เทาไหร ก. ดานดูด 2.5 Psi/100 ft ดานสง 2.5 Psi/100 ft ข. ดานดูด 2 Psi/100 ft ดานสง 4 Psi/100 ft ค. ดานดูด 1 Psi/100 ft ดานสง 1 Psi/100 ft ง. ดานดูด 1.5 Psi/100 ft ดานสง 1.5 Psi/100 ft 4. ทอใดที่ตออยูระหวางคอนเดนเซอรกับคอมเพรสเซอรแอร ก. ทอน้ําทิ้ง ข. ทอซัคชั่น ค. ทออัลลอยด ง. ทอดิสชารจ

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. แคปปลลารี่ทิ้วปแบบใดติดตั้งในแฟนคอยล ก. แคปปลลารี่ทิ้วปแบบฉีดนอก ข. แคปปลลารี่ทิ้วปแบบผสม ค. แคปปลลารี่ทิ้วปแบบฉีดใน ง. แคปปลลารี่ทิ้วปแบบผสม 6. สาเหตุที่ตองใชเทปพันปดปลายทอ เพราะอะไร ก. ปองกันการเกิดการแลกเปลี่ยนความรอน ข. ปองกันการสลับสาย ค. ปองกันการลัดวงจร ง. ปองกันฝุนและความชื้น 7. กรณีไมมีน้ํามันหลอลื่นไหลกลับเขาคอมเพรสเซอร ควรแกปญหาอยางไร ก. ติดตั้ง Oil-trap แบบ P-trap ข. ติดตั้ง Oil-trap แบบ U-trap ค. ติดตั้ง Oil-trap แบบ T-trap ง. ติดตั้ง Oil-trap แบบ S-trap 8. ในการเดินทอน้ํายาในแนวดิ่ง ไมควรเดินเกินกี่เมตร ก. 15 เมตร ข. 5 เมตร ค. 20 เมตร ง. 10 เมตร

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

9. ขอใดคือผลจากการเลือกใชทอน้ํายาขนาดเล็ก ก. เพิ่มประสิทธิภาพใหเครื่องมากขึ้น ข. เกิดความดันตกครอมระหวางทอมากขึ้น ค. สะดวกตอการติดตั้งและใชงาน ง. ลดคาใชจา ย 10. การติดตั้งแบบใดที่ทําใหเกิดความดันตกลง ก. ติดตั้งอีวาพอเรเตอรสูงกวาคอนเด็นซิ่ง ข. ติดตั้งอีวาพอเรเตอรต่ํากวาคอนเด็นซิ่ง ค. ติดตั้งคอนเด็นซิ่งสูงกวาอีวาพอเรเตอร ง. ติดตั้งคอนเด็นซิ่งต่ํากวาอีวาพอเรเตอร

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1. 2.

1. 2. 3. 4.

3. 4. 5. 6. 7.

5. 6. 7. 8. 9.

8. 9. 10.

10.

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1. 2. 3.

1. 2. 3. 4. 5.

4. 5. 6. 7. 8.

6. 7. 8. 9. 10.

หมายเหตุ

9. 10.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 1 0921730801 แบบทดสอบภาคปฏิบัติที่ 1.1 การเดินทอสารทําความเย็น 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1.

เดินทอเพื่อใหสารทําความเย็นและน้ํามันหลอลื่นไหลวนเวียนในระบบได

2. 3.

เดิน ทอเพื่อปองกันไมใหสารทําความเย็นเหลวเขาไปในทางดูดและทําอันตรายตอคอมเพรสเซอรไ ด เดินทอเพื่อเฉลี่ยสารทําความเย็นใหแผงทําความเย็น (Evaporator) ตั้งแต 2 ตัวขึ้นไปได

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ 6 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง : ใหผูรับการฝกเดินทอสารทําความเย็น ในรูปแบบที่กําหนด ดังนี้ 1. 2.

เดินทอสารทําความเย็นกรณีที่คอยลรอนติดตั้งอยูสูงกวาคอยลเย็น เดินทอสารทําความเย็นกรณีที่คอยเย็นสูงกวาคอยลรอน

3.

เดินทอสารทําความเย็นกรณีที่มีแผงทําความเย็น 2 ตัว

เดินทอสารทําความเย็นกรณีที่คอยลรอนติดตั้งอยูสูงกวาคอยลเย็น

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

เดินทอสารทําความเย็นกรณีที่คอยเย็นสูงกวาคอยลรอน

เดินทอสารทําความเย็นกรณีที่มีแผงทําความเย็น 2 ตัว

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.1 การเดินทอสารทําความเย็น 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวางกีด ขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขควงแฉก จํานวน 1 ตัว 2. ไขควงแบน จํานวน 1 ตัว 3. คอน จํานวน 1 คอน 4. คีมชางไฟฟา จํานวน 1 ตัว 5. คีมตัด จํานวน 1 ตัว 6. คีมล็อค จํานวน 1 ตัว 7. เครื่องปรับอากาศ จํานวน 1 ชุด 8. ชุดเครื่องมืองานทอ (ตัด บาน ขยาย ดัด) จํานวน 1 ชุด 9. ชุดเชื่อมแกส จํานวน 1 ชุด 10. ชุดดอกสวานเจาะเหล็ก จํานวน 1 ชุด 11. ชุดประแจปากตาย จํานวน 1 ชุด 12. ดอกสวานเจาะปูน จํานวน 1 ชุด 13. ประแจเลื่อน 8 นิ้ว จํานวน 1 ตัว 18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

14. สวานไฟฟา จํานวน 1 ตัว 15. โฮลซอ จํานวน 1 ตัว หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ขาแขวนยึดคอยลเย็น จํานวน 1 ชุด 2. ฉนวนหุมทอ จํานวน 2 เสน 3. เทปพันทอ จํานวน 2 มวน 4. พุกตะกั่ว เบอร 3/8 นิ้ว จํานวน 1 ชุด 5. พุกพลาสติก เบอร 10 จํานวน 1 ชุด 6. ลวดเชื่อมเงิน จํานวน 2 เสน 7. สกรู เบอร 3/8 นิ้ว จํานวน 1 ชุด 8. สกรูเกลียวปลอย เบอร 10 จํานวน 1 ชุด

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการปฏิบัติงาน 2.1 เดินทอสารทําความเย็นกรณีที่คอยลรอนติดตั้งอยูสูงกวาคอยลเย็น ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. ติดตั้งเพลทหรือขาแขวนแฟนคอยล

ติดตั้งแผนเพลท/ขาแขวนติดตั้ง แฟนคอยลยูนิต

2. ติดตั้งแฟนคอยล

ติดตั้งแฟนคอยลยูนิต

3. ติดตั้งคอนเดนซิ่งยูนิต

ติดตั้งคอนเดนซิ่งยูนิต

4. ดัดทอแฟนคอยลยูนิตเตรียมทํา P-Trap

ดัดทอจากแฟนคอยลยูนิตออกมา เพื่อเตรียมทํา P-Trap

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

5. ทํา P-Trap

ทํา P-Trap

6. เดินทอเชื่อมแฟนคอยลกับคอนเดนซิ่ง

เดินทอเชื่อมตอระหวาง แฟนคอยลยูนิต และคอนเดนซิ่งยูนิต

7. หุมฉนวนทอทองแดง

หุมฉนวนทอทองแดง

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

8. บานแฟลรและขันแฟลรใสทอซัคชั่นและ บานแฟลรและขันแฟลรใสทอซัคชั่น ทอลิควิด และทอลิควิด

9. พันเทปพันทอ

พันเทปพันทอใหเรียบรอย

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2.2 เดินทอสารทําความเย็นกรณีที่คอยลเย็นติดตั้งอยูสูงกวาคอยลรอน ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย ติดตั้งแผนเพลท / ขาแขวน

1. ติดตั้งเพลทหรือขาแขวนแฟนคอยล

ติดตั้งแฟนคอยลยูนิต

2. ติดตั้งแฟนคอยล

ติดตั้งแฟนคอยลยูนิต

3. ติดตั้งคอนเดนซิ่งยูนิต

ติดตั้งคอนเดนซิ่งยูนิต

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

4. ดัดทอแฟนคอยลยูนิตเตรียมทํา P-Trap

ดัดทอจากแฟนคอยลยูนิตออก มาเพื่อเตรียมทํา P-Trap

5. ทํา P-Trap

ทํา P-Trap

6. เดินทอเชื่อมแฟนคอยลกับคอนเดนซิ่ง

เดินทอเชื่อมตอระหวาง แฟนคอยลยูนิต และคอนเดนซิ่ง ยูนิต

7. หุมฉนวนทอทองแดง

หุมฉนวนทอทองแดง

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

8. บานแฟลรและขันแฟลรใสทอซัคชั่นและทอลิควิด

บ า น แ ฟ ล ร แ ล ะ ขั น แ ฟ ล ร ใสทอซัคชั่นและทอลิควิด

9. พันเทปพันทอ

พันเทปพันทอใหเรียบรอย

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2.3 เดินทอเพื่อเฉลี่ยสารทําความเย็นใหแผงทําความเย็นตั้งแต 2 ตัวขึ้นไป ขั้นตอนการทดสอบ 1. ติดตั้งเพลทหรือขาแขวนแฟนคอยล

คําอธิบาย ติ ด ตั้ ง แผ น เพลท/ขาแขวนติ ด ตั้ ง แฟนคอยลยูนิต

2. ติดตั้งแฟนคอยลยูนิตทั้ง 2 ตัว

ติดตั้งแฟนคอยลยูนิต ตัวที่ 1 แลวติดตั้งแฟนคอยลยูนิตตัวที่ 2

3. ติดตั้งคอนเดนซิ่ง

ติดตั้งคอนเดนซิ่งยูนิต

4. ดัดทอแฟนคอยลยูนิตตัวที่ 1 เพื่อเตรียมทํา Invert- ดัดทอจากแฟนคอยลยูนิต ตัวที่ 1 Trap ออกมาเพื่อเตรียม Invert-Trap

5. ทํา Invert-Trap

ทํา Invert-Trap ของแฟนคอยล ตัวที่ 1

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

6. เดินทอเชื่อมตอระหวางแฟนคอยลยูนิต ตัวที่ 1 กับ จาก Invert-Trap เดินทอเชื่อม คอนเดนซิ่งยูนิต ตอระหวางแฟนคอยลยูนิต ตัวที่ 1 กับคอนเดนซิ่งยูนิต

7. หุมฉนวนทอ

หุมฉนวนทอทองแดง

8. บานแฟลรและขันแฟลรใสทอซัคชั่นและทอลิควิด

บานแฟลรและขันแฟลร ใสทอซัคชั่น และทอลิควิด

9. ดัดทอแฟนคอยลยูนิตตัวที่ 2 เพื่อเตรียมทํา Invert- ดัดทอจากแฟนคอยลยูนิต Trap ตัวที่ 2 ออกมาเพื่อเตรียม Invert-Trap

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 10. ทํา Invert-Trap

คําอธิบาย ทํา Invert-Trap ของแฟนคอยลตัวที่ 2

11. เดิน ทอเชื่อมตอระหวางแฟนคอยลยูนิต ตัวที่ 2 จาก Invert-Trap เดินทอเชื่อม ตอ กับคอนเดนซิ่งยูนิต

ระหวางแฟนคอยลยูนิต ตัวที่ 2 กับ คอนเดนซิ่งยูนิต

12. หุมฉนวนทอ

หุมฉนวนทอทองแดง

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

13. บานแฟลรและขันแฟลรใสทอซัคชั่นและทอลิควิด บานแฟลร แ ละขั น แฟลร ใส ท อ พันเทปพันทอใหเรียบรอย ซัคชั่นและทอลิควิด พันเทปพันทอ ใหเรียบรอย

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

1

เดินทอสารทําความเย็นกรณีที่คอยลรอนติดตั้งอยูสูงกวาคอยลเย็น 1.1 งานดัดทอ P-Trap

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 รอยเชื่อม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

เดินทอสารทําความเย็นกรณีที่คอยลเย็นติดตั้งอยูสูงกวาคอยลรอน 1.3 งานดัดทอ Invert-Trap

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 รอยเชื่อม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

เดินทอเพื่อเฉลี่ยสารทําความเย็นใหแผงทําความเย็นตั้งแต 2 ตัว ขึ้นไป

2

1.5 งานดัดทอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.6 รอยเชื่อม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตองและ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 งานดัดทอ P-Trap

คะแนนเต็ม 30

- กํ า หยดระยะดั ดได ถู ก ต อง ทํ า P-Trap ได ส วยงาม ให ค ะแนน 5 คะแนน

5

- กําหนดระยะตําแหนงดัดขาด หรือเกิน ตั้งแต 1-2 มิลลิเมตร หรือ ดัด ขาด หรือ เกิน 1-2 องศา ใหคะแนน 3 คะแนน - กําหนดระยะตําแหนงดัดขาด หรือเกิน ตั้งแต 3 มิลลิเมตรขึ้นไป หรือ ดัดขาด หรือ เกินตั้งแต 3 องศาขึ้นไป ใหคะแนน 3 คะแนน 1.2 รอยเชื่อม

- เชื่อมทอไดแนบสนิท แข็งแรง ทอตรงสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - เชื่อมทอไดตรง แข็งแรง แตไมแนบสนิท ใหคะแนน 3 คะแนน - เชื่อมทอไมตรง ไมแข็งแรง ไมแนบสนิท ใหคะแนน 1 คะแนน

5

1.3 งานดัดทอ Invert-Trap

- กําหยดระยะดัดไดถูกตอง ทํา Invert-Trap ไดสวยงาม ใหคะแนน 5

5

คะแนน - กําหนดระยะตําแหนงดัดขาด หรือเกิน ตั้งแต 1-2 มิลลิเมตร หรือ ดัด ขาด หรือ เกิน 1-2 องศา ใหคะแนน 3 คะแนน - กําหนดระยะตําแหนงดัดขาด หรือเกิน ตั้งแต 3 มิลลิเมตรขึ้นไป หรือ ดัดขาด หรือ เกินตั้งแต 3 องศาขึ้นไป ใหคะแนน 3 คะแนน 1.4 รอยเชื่อม

- เชื่อมทอไดแนบสนิท แข็งแรง ทอตรงสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- เชื่อมทอไดตรง แข็งแรง แตไมแนบสนิท ใหคะแนน 3 คะแนน - เชื่อมทอไมตรง ไมแข็งแรง ไมแนบสนิท ใหคะแนน 1 คะแนน 1.5 งานดัดทอ

- กําหยดระยะดัดไดถูกตอง ทํา Invert-Trap ไดสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- กําหนดระยะตําแหนงดัดขาด หรือเกิน ตั้งแต 1-2 มิลลิเมตร หรือ ดัด ขาด หรือ เกิน 1-2 องศา ใหคะแนน 3 คะแนน - กําหนดระยะตําแหนงดัดขาด หรือเกิน ตั้งแต 3 มิลลิเมตรขึ้นไป หรือ ดัดขาด หรือ เกินตั้งแต 3 องศาขึ้นไป ใหคะแนน 3 คะแนน 1.6 รอยเชื่อม

2

- เชื่อมทอไดแนบสนิท แข็งแรง ทอตรงสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - เชื่อมทอไดตรง แข็งแรง แตไมแนบสนิท ใหคะแนน 3 คะแนน - เชื่อมทอไมตรง ไมแข็งแรง ไมแนบสนิท ใหคะแนน 1 คะแนน

5

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ครบถวน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํา

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 35

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 บอกขั้นตอนการตอสายไฟฟา 10 7 แบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได บอกวิธีการตอสายไฟฟาดวย อุปกรณได บอกขั้นตอนการเขาขั้วสายดวย หางปลา บอกขั้นตอนการใชวายนัทตอ สายได บอกขั้นตอนการใชหลอดตอ สายไฟได บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ประเมินผลภาคทฤษฏี

คะแนนที่ได 5

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได 33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 บอกขั้นตอนการตอสายไฟฟา 10 7 แบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได บอกวิธีการตอสายไฟฟาดวย อุปกรณได บอกขั้นตอนการเขาขั้วสายดวย หางปลา บอกขั้นตอนการใชวายนัทตอ สายได บอกขั้นตอนการใชหลอดตอ สายไฟได บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ประเมินผลภาคทฤษฏี

คะแนนที่ได 8

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2

ตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียว ได 1. เขาขั้วสายดวยหางปลา และย้ําหางปลาได 2. ใชหลอดตอสายไฟได 3. ใชอุปกรณในการตอสายไฟได ใชวายนัทตอสายได

30

คะแนนที่ผา นเกณฑ รอยละ 70 21

80

56

70

35

25

23

20

14

15

20

14

10

25

18

24

210

148

162

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ตอสายไฟฟาดวยการบัดกรีได ภาคปฏิบัติที่ 1.4 แบบทดสอบ ตอสายไฟฟาดวยการพันฉนวนได ภาคปฏิบัติที่ 1.5 แบบทดสอบ ตรวจสอบและกําหนดขัว้ คอมเพรสเซอรได ภาคปฏิบัติที่ 2.1 คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 20

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลว เปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผา นเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ 35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

8

2

16

162

0.381

61.72

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 77.72

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฏี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

10

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 10

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

8 × 2 = 16

คือ

=2

สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

210 36

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ ∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

80 = 0.381 210 162 × 0.381 = 61.72

คือ

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 16 + 61.72 = 77.72 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 คะแนนที่ได แบบทดสอบ 1. อธิบายวิธีการเดินทอเพื่อใหสาร 10 7 กอนฝก ทําความเย็นและน้ํามันหลอลื่น ไหลวนเวียนในระบบไดถูกตอง 2. เดินทอเพื่อใหสารทําความเย็น และน้ํามันหลอลื่นไหลวนเวียนใน ระบบได 3. อธิบายวิธีการเดินทอเพื่อปองกัน ไมใหสารทําความเย็นเหลวเขาไป ในทางดูด และทําอันตรายตอ คอมเพรสเซอรได 4. เดินทอเพื่อปองกันไมใหสารทํา ความเย็นเหลวเขาไปในทางดูด และทําอันตรายตอ คอมเพรสเซอรได 5. อธิบายวิธีการเดินทอเพื่อเฉลี่ย สารทําความเย็นใหแผงทําความ เย็น (Evaporator) ตั้งแต 2 ตัว ขึ้นไปได 6. เดินทอเพื่อเฉลี่ยสารทําความเย็น ใหแผงทําความเย็น (Evaporator) ตั้งแต 2 ตัวขึ้นไป ได

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาคทฤษฏี

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 7. อธิบายวิธีการเลือกหรือเปลี่ยน ขนาด และความยาวของแคปปล ลารี่ทิ้วปได ประเมินผลภาคทฤษฏี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายวิธีการเดินทอเพื่อใหสาร 10 7 ทําความเย็นและน้ํามันหลอลื่น ไหลวนเวียนในระบบไดถูกตอง เดินทอเพื่อใหสารทําความเย็น และน้ํามันหลอลื่นไหลวนเวียนใน ระบบได อธิบายวิธีการเดินทอเพื่อปองกัน ไมใหสารทําความเย็นเหลวเขาไป ในทางดูด และทําอันตรายตอ คอมเพรสเซอรได เดินทอเพื่อปองกันไมใหสารทํา ความเย็นเหลวเขาไปในทางดูด และทําอันตรายตอ คอมเพรสเซอรได อธิบายวิธีการเดินทอเพื่อเฉลี่ย สารทําความเย็นใหแผงทําความ เย็น (Evaporator) ตั้งแต 2 ตัว ขึ้นไปได เดินทอเพื่อเฉลี่ยสารทําความเย็น ใหแผงทําความเย็น (Evaporator) ตั้งแต 2 ตัวขึ้นไป ได อธิบายวิธีการเลือกหรือเปลี่ยน ขนาด และความยาวของแคปปล ลารี่ทิ้วปได ประเมินผลภาคทฤษฏี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ 40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

35

คะแนนที่ผา นเกณฑ รอยละ 70 25

35

25

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ 1. เดินทอเพื่อใหสารทําความเย็นและ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 น้ํามันหลอลื่นไหลวนเวียนในระบบได 2. เดินทอเพื่อปองกันไมใหสารทําความ เย็นเหลวเขาไปในทางดูดและทํา อันตรายตอคอมเพรสเซอรไ ด 3. เดินทอเพื่อเฉลี่ยสารทําความเย็นใหแผง ทําความเย็น (Evaporator) ตั้งแต 2 ตัว ขึ้นไปได คะแนนรวมภาคปฏิบัติ ประเมินผลภาคปฏิบัติ * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC)

2 2.256

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบันทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.