คู่มือการประเมิน ช่างบำรุงรักษารถยนต์ ระดับ 2 โมดูล 7

Page 1

หนาปก



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

คูมือการประเมิน 0920163100501 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 7 09210206

การหลอลื่นและการเลือกใชสารหลอลื่น

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

คํานํา คูมือการประเมิน สาขาชางบํา รุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดูล 7 การหลอลื่นและการเลือกใชสารหลอลื่นฉบับนี้ รวมถึงการทําระบบติดตามลูกคาเบื้องตนนี้ ไดพัฒนาขึ้นภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อ การพัฒนาฝมือแรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ นําไปใชเปนระบบการฝกอบรมตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 เพื่อใหตอบสนองความตองการของ กําลังแรงงานและตลาดแรงงานไดอยางเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และเพื่อรองรับระบบการรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ และระบบการรับรองความรูความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ใหแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมาย ตางๆ ใหกวางขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแงของขอบเขตของการใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตางๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

5

แบบทดสอบกอนฝก

6

แบบทดสอบหลังฝก

10

กระดาษคําตอบ

14

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

15

แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หัวขอวิชาที่ 1 0921020601 การเลือกใชและวิเคราะหสารหลอลื่นที่จะนํามาใชกับสวนตาง ๆ ของรถยนต 16 หัวขอวิชาที่ 2 0921020602 การใชและวิเคราะหขอขัดของความเสียหายของสวนตาง ๆ ของรถยนต 35 ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ บันทึกผลการประเมินความสามารถ

48 54

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการ ประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝก ประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่อ อิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงราง หลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 7 09210206 การหลอลื่นและการเลือกใชสารหลอลื่น 1. บอกวิธีการเลือกใชและวิเคราะหสารหลอลื่นที่จะนํามาใชกับสวนตาง ๆ ของรถยนตได 2. เลือกใชสารหลอลื่นไดเหมาะสมกับสวนตาง ๆ ของรถยนตได 3. อธิบายและวิเคราะหขอขัดของความเสียหายของสวนตาง ๆ ของรถยนตกรณีใชสารหลอลื่นผิดมาตรฐานกําหนดได 4. แกไขขอขัดของความเสียหายสวนตาง ๆ ของรถยนตกรณีใชสารหลอลื่นผิดมาตรฐานกําหนดได

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

แบบทดสอบกอนฝก คําชี้แจง: 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 7 09210206 การหลอลื่นและการเลือกใชสารหลอลื่น 1. ขอใด ไมใชหนาที่ของน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต ก. ลดความฝดของเครื่องยนต ข. ระบายความรอนจากการเผาไหมภายในกระบอกสูบ ค. เปนซีลปองกันความดันรั่วไหล ง. กัดกรอนคราบเขมาที่เกาะติดอยูในกระบอกสูบ 2. น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเกรดใด ทดสอบที่อุณหภูมิ – 25 องศาเซลเซียส ก. 5W-20 ข. 15W-30 ค. 20W-50 ง. 10W-60 3. น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตระดับใด ไมมีการเติมสารเพิ่มคุณภาพ ก. SA ข. SN ค. CB ง. CD II 4. น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซิน ระดับ SB เหมาะสําหรับเครื่องยนตเบนซินลักษณะใด ก. เครื่องยนตขนาดเล็กที่มีกําลังอัดสูง ข. เครื่องยนตที่ทํางานเบา และมีกําลังอัดต่ํา ค. เครื่องยนตขนาดใหญ และมีกําลังอัดสูง ง. เครื่องยนตทํางานหนัก รอบเดินสูง

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

5. น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซล ระดับ CD เหมาะสําหรับเครื่องยนตดีเซลลักษณะใด ก. เครื่องยนตทํางานเบา และมีกําลังอัดต่ํา ข. เครื่องยนตที่มีซุปเปอรชารจ ค. เครื่องยนตที่ทํางานหนัก ง. เครื่องยนตที่มีกําลังอัดสูง 6. น้ํามันเกียรในขอใด เหมาะสําหรับเฟองหนอน และเพลาลอ ก. GL-1

ค. GL-2

ข. GL-3

ง. GL-4

7. หากกระปุกเกียรของรถสามารถรับแรงไดเพียงระดับปานกลาง ควรใชน้ํามันเกียรเกรดใด ก. GL-3 ข. GL-4 ค. GL-5 ง. GL-6 8. การใชน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตผิดเกรด อาจกอใหเกิดปญหาใด ก. ชิ้นสวนเสียดสีกันจนไดรับความเสียหาย

ค. อางน้ํามันเครื่องมีรอยรั่วซึม

ข. ฝาสูบอุดตัน

ง. ปมน้ํามันเครื่องทํางานผิดปกติ

9. การใชเครื่องยนตในระยะทางไกล จะทําใหเกิดปญหาใด ก. เครื่องยนตติดยากในชวงอากาศเย็น ข. การไหลตัวของน้ํามันไมสม่ําเสมอ ค. เครื่องยนตมีความรอนสะสมสูง ง. น้ํามันหลอลื่นเสื่อมประสิทธิภาพ

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

10. เพราะเหตุใด เครื่องยนตของรถยนตไมไดใชงานในระยะเวลานาน จึงเกิดการสึกหรอ ก. น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตระเหยไปหมด ข. น้ําในหมอน้ําแหง ค. น้ํามันหลอลื่นที่คางอยูแหงและเสื่อมสภาพ ง. ระบบจุดระเบิดไมไดทํางานเปนเวลานาน

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

แบบทดสอบหลังฝก คําชี้แจง: 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 7 09210206 การหลอลื่นและการเลือกใชสารหลอลื่น 1. การใชน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตผิดเกรด อาจกอใหเกิดปญหาใด ก. ชิ้นสวนเสียดสีกันจนไดรับความเสียหาย

ค. อางน้ํามันเครื่องมีรอยรั่วซึม

ข. ฝาสูบอุดตัน

ง. ปมน้ํามันเครื่องทํางานผิดปกติ

2. น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตระดับใด ไมมีการเติมสารเพิ่มคุณภาพ ก. SA ข. SN ค. CB ง. CD II 3. ขอใด ไมใชหนาที่ของน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต ก. ลดความฝดของเครื่องยนต ข. ระบายความรอนจากการเผาไหมภายในกระบอกสูบ ค. เปนซีลปองกันความดันรั่วไหล ง. กัดกรอนคราบเขมาที่เกาะติดอยูในกระบอกสูบ 4. น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซล ระดับ CD เหมาะสําหรับเครื่องยนตดีเซลลักษณะใด ก. เครื่องยนตทํางานเบา และมีกําลังอัดต่ํา ข. เครื่องยนตที่มีซุปเปอรชารจ ค. เครื่องยนตที่ทํางานหนัก ง. เครื่องยนตที่มีกําลังอัดสูง

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

5. เพราะเหตุใด เครื่องยนตของรถยนตไมไดใชงานในระยะเวลานาน จึงเกิดการสึกหรอ ก. น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตระเหยไปหมด ข. น้ําในหมอน้ําแหง ค. น้ํามันหลอลื่นที่คางอยูแหงและเสื่อมสภาพ ง. ระบบจุดระเบิดไมไดทํางานเปนเวลานาน 6. การใชเครื่องยนตในระยะทางไกล จะทําใหเกิดปญหาใด ก. เครื่องยนตติดยากในชวงอากาศเย็น ข. การไหลตัวของน้ํามันไมสม่ําเสมอ ค. เครื่องยนตมีความรอนสะสมสูง ง. น้ํามันหลอลื่นเสื่อมประสิทธิภาพ 7. น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซิน ระดับ SB เหมาะสําหรับเครื่องยนตเบนซินลักษณะใด ก. เครื่องยนตขนาดเล็กที่มีกําลังอัดสูง ข. เครื่องยนตที่ทํางานเบา และมีกําลังอัดต่ํา ค. เครื่องยนตขนาดใหญ และมีกําลังอัดสูง ง. เครื่องยนตทํางานหนัก รอบเดินสูง 8. หากกระปุกเกียรของรถสามารถรับแรงไดเพียงระดับปานกลาง ควรใชน้ํามันเกียรเกรดใด ก. GL-3 ข. GL-4 ค. GL-5 ง. GL-6

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

9. น้ํามันเกียรในขอใด เหมาะสําหรับเฟองหนอน และเพลาลอ ก. GL-1

ค. GL-2

ข. GL-3

ง. GL-4

10. น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเกรดใด ทดสอบที่อุณหภูมิ – 25 องศาเซลเซียส ก. 5W-20 ข. 15W-30 ค. 20W-50 ง. 10W-60

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หัวขอวิชาที่ 1 0921020601 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.1 การตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซิน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เลือกใชสารหลอลื่นไดเหมาะสมกับสวนตาง ๆ ของรถยนตได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซินได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเลือกน้ํามันหลอลื่นสําหรับเครื่องยนตเบนซิน และเขียนรายละเอียดลงในตารางบันทึกผล ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ เกรดของน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต

รายละเอียด

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.1 การตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซิน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - หนากากชนิดแผนกรองอากาศ - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - โตะปฏิบัติการ

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 0W-40 /API SN/CF

จํานวน 1 แกลลอน

2. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 10W-30 / API CI-4/SL

จํานวน 1 แกลลอน

3. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 10W-50 /API CF-4/SL

จํานวน 1 แกลลอน

4. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 15W-40 /API CH-4/SJ

จํานวน 1 แกลลอน

5. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 15W-40 /API CI-4/ SL

จํานวน 1 แกลลอน

6. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 15W-40 /API CJ-4

จํานวน 1 แกลลอน

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

7. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 20W-50 /API SJ

จํานวน 1 แกลลอน

8. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 30 /API CC/SD

จํานวน 1 แกลลอน

9. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 40 /API CC/ SD

จํานวน 1 แกลลอน

10. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 40 /API SD/CC

จํานวน 1 แกลลอน

11. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 40 /API SL/CF

จํานวน 1 แกลลอน

12. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-30 /API CI-4

จํานวน 1 แกลลอน

13. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-30 /API CJ-4/SM

จํานวน 1 แกลลอน

14. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-30 /API SN/CF

จํานวน 1 แกลลอน

15. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-40 /API SN/CF

จํานวน 1 แกลลอน

16. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ลําดับการทดสอบ การเลือกใชน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซิน ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

1. จัดเตรียมน้ํามัน

ครูฝกจัดเตรียมน้ํามันชนิดตาง ๆ

ขณะปฏิบัติงาน

2. เลือกหยิบน้ํามัน

บนโตะ

ควรหลีกเลี่ยง การกอประกาย ไฟ

ผู รั บ การฝ ก เลื อ กหยิ บ น้ํ า มั น ที ล ะ แกลลอน 3. สังเกตน้ํามัน

สังเกตตัวเลขแสดงเกรดของ

ไมควรสูดดมไอ

น้ํามันหลอลื่น วาเปนน้ํามันสําหรับ

น้ํามันอาจเปน

เครื่องยนตเบนซิน หรือดีเซล

อันตรายตอ ระบบหายใจ และเสี่ยงตอการ

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง เปนโรคมะเร็ง ปอดอีกดวย

4. บันทึกผลลงในตาราง

เมื่อทราบวาน้ํามั นแกลลอนบ า งใด คือน้ํามันหลอลื่นสําหรับเครื่องยนต เบนซิน บันทึกเกรดของน้ํามัน และ รายละเอียดลงในตาราง

5. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณ สถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

ที่ 1

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซิน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้ํามันหลอลื่น

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

เฉลยแบบทดสอบภาคปฏิบัติ แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.1 การตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซิน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เลือกใชสารหลอลื่นไดเหมาะสมกับสวนตาง ๆ ของรถยนตได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซินได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเลือกน้ํามันหลอลื่นสําหรับเครื่องยนตเบนซิน และเขียนรายละเอียดลงในตารางบันทึกผล ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ เกรดของน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต

รายละเอียด

น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 0W-40 /API

เหมาะกับเครื่องยนตเบนซินรุนใหม ทําความสะอาดเครื่องยนตไดอยางมี

SN/CF

ประสิทธิภาพและควบคุมการเกิดคราบเขมาสะสม

น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 20W-50 /API SJ

มีการเพิม่ ความสามารถในการลดคราบจับของลูกสูบขณะอุณหภูมิสูง ลดอัตราการกินน้ํามันเครื่อง และลดการเกิดฟอง น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 40 /API SD/CC เหมาะกับเครื่องยนตเบนซินประเภทรถยนตนั่งและรถบรรทุกเล็ก รวมทั้ง เพิ่มประสิทธิภาพการชะลาง ปองกันการรวมตัวกับออกซิเจน และการสึกหรอ น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 40 /API SL/CF ลดการสะสมคราบสกปรกขณะอุณหภูมิสูง และยืดอายุการใชงานของน้ํามัน น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-30 /API SN/CF เหมาะกับเครื่องยนตเบนซินรุนใหม ทําความสะอาดเครื่องยนตไดอยาง มีประสิทธิภาพและควบคุมการเกิดคราบเขมาสะสม น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-40 /API SN/CF มีคุณสมบัติเชนเดียวกัน แตแตกตางกันที่ระดับความหนืด

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

รายการตรวจสอบ

ลําดับที่

1

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา หนากากชนิดแผนกรองอากาศ รองเทานิรภัย

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 4 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่ม สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 3 ชนิด ปฏิบัติงาน

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 3 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซิน

การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซินไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซินไมถูกตอง 1 ชนิด หรือ ไมครบถวน 1 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 4 คะแนน การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซินไมถูกตอง 2 ชนิด หรือ ไมครบถวน 2 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซินไมถูกตอง 3 ชนิด หรือ ไมครบถวน 3 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซินไมถูกตอง มากกวา 3 ชนิด หรือ ไมครบถวนมากกวา 3 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้ํามันหลอลื่น

ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้าํ มันหลอลื่นไดถูกตอง ครบถวน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้าํ มันหลอลื่นไมถูกตอง 1 ชนิด หรือ ไมครบถวน 1 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 4 คะแนน ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้าํ มันหลอลื่นไมถูกตอง 2 ชนิด หรือ ไมครบถวน 2 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้าํ มันหลอลื่นไมถูกตอง 3 ชนิด หรือ ไมครบถวน 3 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้าํ มันหลอลื่นไมถูกตอง มากกวา 3 ชนิด หรือ ไมครบถวนมากกวา 3 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หัวขอวิชาที่ 1 0921020601 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.2 การตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซล 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เลือกใชสารหลอลื่นไดเหมาะสมกับสวนตาง ๆ ของรถยนตได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซลได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเลือกน้ํามันหลอลื่นสําหรับเครื่องยนตดีเซล และเขียนรายละเอียดลงในตารางบันทึกผล ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ เกรดของน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต

รายละเอียด

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.2 การตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซล 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - หนากากชนิดแผนกรองอากาศ - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - โตะปฏิบัติการ

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 0W-40 /API SN/CF

จํานวน 1 แกลลอน

2. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 10W-30 / API CI-4/SL

จํานวน 1 แกลลอน

3. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 10W-50 /API CF-4/SL

จํานวน 1 แกลลอน

4. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 15W-40 /API CH-4/SJ

จํานวน 1 แกลลอน

5. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 15W-40 /API CI-4/ SL

จํานวน 1 แกลลอน

6. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 15W-40 /API CJ-4

จํานวน 1 แกลลอน

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

7. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 20W-50 /API SJ

จํานวน 1 แกลลอน

8. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 30 /API CC/SD

จํานวน 1 แกลลอน

9. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 40 /API CC/ SD

จํานวน 1 แกลลอน

10. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 40 /API SD/CC

จํานวน 1 แกลลอน

11. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 40 /API SL/CF

จํานวน 1 แกลลอน

12. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-30 /API CI-4

จํานวน 1 แกลลอน

13. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-30 /API CJ-4/SM

จํานวน 1 แกลลอน

14. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-30 /API SN/CF

จํานวน 1 แกลลอน

15. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-40 /API SN/CF

จํานวน 1 แกลลอน

16. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ลําดับการทดสอบ การเลือกใชน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซล ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

1. จัดเตรียมน้ํามัน

ครูฝกจัดเตรียมน้ํามันชนิดตาง ๆ

ขณะปฏิบัติงาน

2. เลือกหยิบน้ํามัน

บนโตะ

ควรหลีกเลี่ยง การกอประกาย ไฟ

ผูรับ การฝกเลือกหยิบน้ํามันทีละ แกลลอน 3. สังเกตน้ํามัน

สังเกตตัวเลขแสดงเกรดของ

ไมควรสูดดมไอ

น้ํามันหลอลื่น วาเปนน้ํามัน

น้ํามันอาจเปน

สําหรับเครื่องยนตเบนซิน หรือ

อันตรายตอ

ดีเซล

ระบบหายใจ และเสี่ยงตอ การเปน

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง โรคมะเร็งปอด อีกดวย

4. บันทึกผลลงในตาราง

เมื่อทราบวาน้ํามันแกลลอนบางใด คือน้ํามันหลอลื่นสําหรับเครื่องยนต ดีเซล บันทึกเกรดของน้ํามัน และ รายละเอียดลงในตาราง

5. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณ สถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

ที่ 1

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ วั ส ดุ อ ย า งถู ก ต อ ง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซล

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้ํามันหลอลื่น

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ วัสดุหลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

เฉลยแบบทดสอบภาคปฏิบัติ แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.2 การตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซล 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เลือกใชสารหลอลื่นไดเหมาะสมกับสวนตาง ๆ ของรถยนตได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซินได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเลือกน้ํามันหลอลื่นสําหรับเครื่องยนตเบนซิน และเขียนรายละเอียดลงในตารางบันทึกผล ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ เกรดของน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต

รายละเอียด

น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 10W-30 / API CI-4/SL

มีการเพิ่มคุณสมบัติการชะลาง การทําความสะอาดบริเวณลูกสูบ และควบคุมการเกิดคราบเขมาสะสม น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 15W-40 /API CH-4/SJ เหมาะกับเครื่องยนตดีเซลสภาพงานหนัก เพิ่มประสิทธิภาพ จาก น้ํามันระดับ CG4 ควบคุมการกระจายของเขมา และลดคราบสกปรก ที่ลูกสูบ น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 15W-40 /API CI-4/ SL มีการเพิ่มคุณสมบัติการชะลาง การทําความสะอาดบริเวณลูกสูบ และควบคุมการเกิดคราบเขมาสะสม น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 15W-40 /API CJ-4 เหมาะกับเครื่องยนตดีเซลรุนใหม กําหนดอัตราธาตุกํามะถัน ฟอสฟอรัส และปริมาณเถาเพิ่ม และปกปองอุปกรณกําจัดมลพิษที่ติดตั้ง มากับยานยนต น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 30 /API CC/SD เหมาะกับเครื่องยนตดีเซลทีมีซุปเปอรชารจ และปองกันการเกิดสนิม และการกัดกรอนไดดี น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 40 /API CC/ SD เหมาะกับเครื่องยนตดีเซลทีมีซุปเปอรชารจ และปองกันการเกิดสนิม และการกัดกรอนไดดี เหมือนน้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 30 /API CC/SD แตแตกตางกันที่ระดับความหนืด 30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

เกรดของน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต

รายละเอียด

น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-30 /API CI-4

มีการเพิ่มคุณสมบัติการชะลาง การทําความสะอาดบริเวณลูกสูบ และควบคุมการเกิดคราบเขมาสะสม น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-30 /API CJ-4/SM เหมาะกับเครื่องยนตดีเซลรุนใหม กําหนดอัตราธาตุกํามะถัน ฟอสฟอรัส และปริมาณเถาเพิ่ม รวมทั้งปกปองอุปกรณกําจัดมลพิษที่ ติดตั้งมากับยานยนต

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา หนากากชนิดแผนกรองอากาศ รองเทานิรภัย

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 4 ชนิด

และชุดปฏิบัตกิ ารชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่ม

ใหคะแนน 3 คะแนน

ปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 3 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 3 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซล

การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซลไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซลไมถูกตอง 1 ชนิด หรือ ไมครบถวน 1 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 4 คะแนน

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซลไมถูกตอง 2 ชนิด หรือ ไมครบถวน 2 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซลไมถูกตอง 3 ชนิด หรือ ไมครบถวน 3 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซลไมถูกตอง มากกวา 3 ชนิด หรือ ไมครบถวนมากกวา 3 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้ํามันหลอลื่น

ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้าํ มันหลอลื่นไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้าํ มันหลอลื่นไมถูกตอง 1 ชนิด หรือ ไมครบถวน 1 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 4 คะแนน ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้าํ มันหลอลื่นไมถูกตอง 2 ชนิด หรือ ไมครบถวน 2 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้าํ มันหลอลื่นไมถูกตอง 3 ชนิด หรือ ไมครบถวน 3 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้าํ มันหลอลื่นไมถูกตอง มากกวา 3 ชนิด หรือ ไมครบถวนมากกวา 3 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หัวขอวิชาที่ 2 0921020602 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.1 การถอดและเปลีย่ นเพลาลูกเบี้ยวและฝาสูบ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของความเสียหายของสวนตาง ๆ ของรถยนต กรณีใชสารหลอลื่นผิดมาตรฐานที่กําหนดได 2. ปฏิบัติงานถอดและเปลี่ยนเพลาลูกเบี้ยวและฝาสูบได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 3 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกถอดและเปลี่ยนเพลาลูกเบี้ยวและฝาสูบ

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.1 การถอดและเปลี่ยนเพลาลูกเบี้ยวและฝาสูบ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - หนากากชนิดแผนกรองอากาศ - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

2. เครื่องยนตตั้งแทน

จํานวน 1 เครื่อง

3. โตะปฏิบัติการ

จํานวน 1 ตัว

4. ประแจวัดแรงบิด

จํานวน 1 อัน

5. ประแจกระบอก

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ปะเก็นทอรวมไอเสีย

จํานวน 1 แผน

2. ปะเก็นฝาสูบ

จํานวน 1 แผน

3. ฝาสูบใหม (ตรงกับเครื่องที่ใช)

จํานวน 1 ตัว

4. เพลาราวลิ้น

จํานวน 2 ตัว

5. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ลําดับการทดสอบ การถอดและเปลี่ยนเพลาลูกเบี้ยวและฝาสูบ (กรณีที่เพลาลูกเบี้ยว ประกับแบริ่ง และผิวหนารองรับเพลาลูกเบี้ยว ไอดีและไอเสียชํารุด) ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ

เตรียมเครื่องยนตตั้ งแทน และอุป กรณ

2. ถอดทอรวมไอเสีย

ตางๆ บนโตะปฏิบัติการ ถอดทอรวมไอเสียออก โดยคลายนอตยึด ออกดวยประแจกระบอก

3. นําปะเก็นทอไอเสียออก

นําปะเก็นทอไปเสียออก

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 4. ถอดทอรวมไอดี

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใชประแจปากตายคลายนอตยึดทอรวม ระวังทอรวมไอดีหลน ไอดี ด า นบนออก จากนั้ น ใช ป ระแจ ทับรางกาย กระบอกคลายนอตยึ ด ท อ ไอดี ที่ อ ยู ดานลางออก แลวจึงยกทอรวมไอดีออก

5. ถอดฝาครอบวาลว

ใช ป ระแจกระบอกคลายโบลต ยึ ด ฝา การคลายโบลตยึดฝา ครอบวาล อ อก และยกฝาครอบวาล ว ครอบวาลวตองคลาย ออก

6. ถอดพูลเลย

ครอบประแจกระบอกที่ หั ว นอตของ พูลเลย จากนั้นใชคอนเคาะที่ดามประแจ 38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

จากนอกเขาใน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย และใชประแจคลายนอตยึดออก แลวจึง ยกพูลเลยออก

7. ถอดฝาครอบสายพานราวลิ้น

ใชประแจกระบอกคลายนอตยึดฝาครอบ สายพานราวลิ้ น ออกออก และยกฝา ครอบสายพานราวลิ้นออก

8. ถอดสายพาน

ใ ช ป ร ะ แ จ ก ร ะ บ อ ก ค ล า ย น อ ต ยึ ด สายพานใหหลวม เพื่อใหสายพานหยอน และปลดสายพานออก

9. ถอดเพลาราวลิ้น

ใช ป ระแจกระบอกคลายโบลต ยึ ด ฝา ครอบเพลาราวลิ้นและเพลาราวลิ้นออก จากนั้ น ยกฝาครอบเพลาราวลิ้ น และ เพลาราวลิ้นออก

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 10. ถอดฝาสูบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใชประแจกระบอกคลายโบลตยึดฝาสูบ การคลายโบลต ยึ ด ออก แลวจึงยกฝาสูบออก

ฝาสูบตองคลายจาก นอกเขาใน

11. เปลี่ยนปะเก็นฝาสูบ

นํ า ปะเก็ น ฝาสู บ เก า ออก จากนั้ น ใช

12. ใสปะเก็นใหม

ประแจกระบอกหมุนลูกสูบที่ 1 และ 4 เพื่ อ ดั น ลู ก สู บ ขึ้ น มา แล ว จึ ง นํ า ปะเก็ น ใหมมาวางลงในตําแหนงเดิม

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ 13. ประกอบฝาสูบใหม

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

นํ า ฝาสู บ ใหม ที่ ป ระกอบวาล ว ไอดี และ ก า ร ขั น โ บ ล ต ยึ ด วาล ว ไอเสี ย เรี ย บร อ ยแล ว วางลงที่ ฝาสูบตองขั นจากใน ตําแหนงเดิม จากนั้นขันโบลตยึดฝาสูบ ออกนอก ดวยประแจกระบอก และใชประแจวั ด แรงบิ ด ขั น ซ้ํ า อี ก ครั้ ง ตามค า แรงขั น ที่ กําหนดไวในคูมือซอมประจํารถยนต

14. ประกอบเพลาราวลิ้น

วางเพลาราวลิ้ น ใหม ล งที่ ตํ า แหน ง เดิ ม จากนั้ น ปรั บ หมุ น เพลาราวลิ้ น เพื่ อ ให เพลาอยูในจังหวะการทํางานของลูกสูบ และวาลวที่ถูกตอง

15. ประกอบใสฝาครอบเพลาราวลิ้น

นํ า ฝาครอบเพลาราวลิ้ น มาวางลงใน ห า มหมุ น เพล าข อ ตําแหนงเดิม ขันนอตยึดฝาครอบเพลา เหวี่ย งและเพลาราว ราวลิ้น ดว ยประแจวัดแรงบิดใหได ตาม ลิ้ น เพราะจะทํ า ให คาแรงขันที่กําหนดไวในคูมือซอมประจํา ตํ า แหน ง ที่ ป รั บ ไว รถยนต

เคลื่อน ก า ร ขั น โ บ ล ต ยึ ด ฝาครอบเพลาราวลิ้น ต อ งขั น จากในออก นอก

16. ใสสายพานไทมมิ่ง

ใสสายพานไทมมิ่งเขาไปในตําแหนงเดิม จากนั้นปรับตั้งสายพานใหตึงตามระยะ อางอิงที่คูมือกําหนด 41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

17. ประกอบฝาครอบสายพานไทมมิ่ง

คําอธิบาย

นํ า ฝาครอบสายพานไทม มิ่ ง มาวางที่ ตําแหนงเดิม จากนั้นใชประแจกระบอก ขันนอตใหแนน

18. ประกอบพูลเลย

นํ า พู ล เล ย ม าวางที่ ตํ า แหน ง เดิ ม ใช ประแจกระบอกขันนอตยึดพูลเลย

19. ประกอบฝาครอบวาลว

นําฝาครอบวาลว มาวางที่ตําแหนงเดิ ม ใชป ระแจกระบอกขัน นอตยึดฝาครอบ วาลว

20. ประกอบทอรวมไอดี

นําทอรวมไอดีมาวางที่ตําแหนงเดิม ใช ประแจแหวนขั น นอตด า นบน และใช ประแจกระบอกขันนอตดานลาง 42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

21 ประกอบทอรวมไอเสีย

นําปะเก็นใหมมาวางที่ตําแหนงเดิม และ

22. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

นํ า ท อ ร ว มไอเสี ย ใหม ม าประกบ ใช ประแจกระบอกขันนอตยึดทอไอเสีย ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

ที่ 1

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

ถอดประกอบทอรวมไอเสียและปะเก็น

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ถอดประกอบทอรวมไอดี

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ถอดประกอบสายพานไทมมิ่ง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

ถอดประกอบเพลาราวลิ้น

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

10

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 1 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

ถอดประกอบทอรวมไอเสียและปะเก็น

ถอดประกอบทอรวมไอเสียและปะเก็นถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ถอดประกอบทอรวมไอเสียและปะเก็นไมถูกตองตาม ขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ถอดประกอบทอรวมไอเสียและปะเก็นไมถูกตองตาม ขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดประกอบทอรวมไอเสียและปะเก็นไมถูกตองตาม ขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ถอดประกอบทอรวมไอเสียและปะเก็นไมถูกตองตาม ขั้นตอนมากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

ถอดประกอบทอรวมไอดี

ถอดประกอบทอรวมไอดีถูกตองตาม ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ถอดประกอบทอรวมไอดีไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ถอดประกอบทอรวมไอดีไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดประกอบทอรวมไอดีไมถูกตองตามขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถอดประกอบท อ ร ว มไอดี ไมถู ก ต อ งตามขั้ นตอนมากกว า 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ถอดประกอบสายพานไทมมิ่ง

ถอดประกอบสายพานไทมมิ่งถูกตองตามขั้นตอน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ถอดประกอบสายพานไทม มิ่ ง ไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ถอดประกอบสายพานไทม มิ่ ง ไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดประกอบสายพานไทม มิ่ ง ไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถอดประกอบสายพานไทม มิ่ ง ไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน มากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแน 7

ถอดประกอบเพลาราวลิ้น

ถอดประกอบเพลาราวลิ้นถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ถอดประกอบเพลาราวลิ้นไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ถอดประกอบเพลาราวลิ้นไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดประกอบเพลาราวลิ้นไมถูกตองตามขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถอดประกอบเพลาราวลิ้นไม ถูกต องตามขั้ นตอนมากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับที่

8

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

คะแนน เต็ม

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 9

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 10

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ป ฏิ บั ติ ง า นได อ ย า งสมบู ร ณ ภ า ยในเว ลาที่ กํ า หนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ป ฏิ บั ติ ง า น เ กิ น เ ว ล า ที่ กํ า ห น ด ไ ม เ กิ น 5 น า ที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

38

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

1. 2.

3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟ 10 7 งายและสารอันตรายได บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได อธิบายกฎของโรงงานและปาย เตือนตาง ๆ ได อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ ได ใชอุปกรณปองกันอันตราย ประเภทตาง ๆ ได อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัย และหลักการดับเพลิงได ปฏิบัติตามวิธีการปองกัน อัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได อธิบายวิธีการปฐมพยาบาล เบื้องตนได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได ประเมินผลภาคทฤษฏี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 6

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

1. 2.

3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟ 10 7 งายและสารอันตรายได บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได อธิบายกฎของโรงงานและปาย เตือนตาง ๆ ได อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ ได ใชอุปกรณปองกันอันตราย ประเภทตาง ๆ ได อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัย และหลักการดับเพลิงได ปฏิบัติตามวิธีการปองกัน อัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได อธิบายวิธีการปฐมพยาบาล เบื้องตนได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได ประเมินผลภาคทฤษฏี

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 8

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 4.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 5.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 6.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 6.2

ใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได ปฏิบัติตามวิธีการปองกันอัคคีภัยและ หลักการดับเพลิงได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได

58

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 41

36

25

31

28

20

22

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

33

23

30

คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

155

109

113

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 30

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลว เปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (รอยละ 20) ภาคปฏิบัติ (รอยละ 80)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

8

2

16

113

0.516

58.308

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 74.308

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฏี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

10

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 10

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

8 × 2 = 16

คือ

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

=2


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

155 80 = 0.516 155

ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

คือ

113 × 0.516 = 58.308

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 16 + 58.308 = 74.308 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกวิธีการเลือกใชและวิเคราะห สารหลอลื่นที่จะนํามาใชกับ สวนตาง ๆ ของรถยนตได 2. อธิบายและวิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายของสวนตาง ๆ ของรถยนตกรณีใชสารหลอลื่น ผิดมาตรฐานกําหนดได

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 10 7

ประเมินผลภาคทฤษฏี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 6

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกวิธีการเลือกใชและ วิเคราะหสารหลอลื่นที่จะ นํามาใชกับสวนตาง ๆ ของ รถยนตได 2. อธิบายและวิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายของสวนตาง ๆ ของรถยนตกรณีใชสารหลอลื่น ผิดมาตรฐานกําหนดได

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 10 7

คะแนนที่ได 6

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

ประเมินผลภาคทฤษฏี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.1

เลือกใชสารหลอลื่นไดเหมาะสมกับสวน ตางๆ ของรถยนตได เลือกใชสารหลอลื่นไดเหมาะสมกับสวน ตางๆ ของรถยนตได แกไขขอขัดของความเสียหายสวนตาง ๆ ของรถยนตกรณีใชสารหลอลื่นผิดมาตรฐาน กําหนดได คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

28

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 20

28

20

38

27

94

67

ประเมินผลภาคปฏิบัติ * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ 55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (รอยละ 20) ภาคปฏิบัติ (รอยละ 80)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC)

2 0.851

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบันทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.