คู่มือการประเมิน ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 3 โมดูล 2

Page 1

หนาปก



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

คูมือการประเมิน 0920164170203 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 2 09217310 การใชเครื่องมือวัดตาง ๆ ที่ใชในเครื่องปรับอากาศ

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

คํานํา คูมือการประเมิน สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3 โมดูล 2 การใชเครื่องมือวัด ตางๆ ที่ใชในเครื่องปรับอากาศ ฉบับนี้ ไดพัฒนาขึ้นภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการ พัฒนาฝมือแรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําไปใช เปนระบบการฝกอบรมตามความสามารถ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 3 เพื่อให ตอบสนองความตองการของกําลังแรงงานและตลาดแรงงานไดอยางเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และเพื่อรองรับระบบการรับรอง มาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติและระบบการรับรองความรูความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ ใหแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมายตางๆ ใหกวางขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแงของขอบเขตของการใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตางๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

5

แบบทดสอบกอนฝก

6

แบบทดสอบหลังฝก

9

กระดาษคําตอบ

12

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

12

แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หัวขอวิชาที่ 5 0921721005 สาเหตุของขอผิดพลาดของอุปกรณควบคุมแรงดันและอุปกรณควบคุม อุณหภูมิ

14

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ

20

บันทึกผลการประเมินความสามารถ

25

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขอแนะนําขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการ ฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการ ประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่อ อิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงราง หลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัตแิ กผูรับการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 2 09217210 การใชเครื่องมือวัดตาง ๆ ที่ใชในเครื่องปรับอากาศ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

อธิบายความหมายของอุณหภูมิกระเปาะเปยกและกระเปาะแหงได ใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิได อธิบายความหมายของความชื้นของอากาศได ใชเครื่องมือวัดความชื้นของอากาศได อธิบายความหมายและการวัดปริมาณความรอนได ใชเครื่องมือวัดปริมาณความรอนได อธิบายความหมายและการวัดอัตราการไหลของมวล อัตราการไหลของปริมาตร และความเร็วได ใชเครื่องมือวัดอัตราการไหลของมวล อัตราการไหลของปริมาตร และความเร็วได อธิบายขั้นตอนและหาสาเหตุขอขัดของและขอผิดพลาดที่คลายกันของอุปกรณควบคุมแรงดัน และอุปกรณควบคุม อุณหภูมิได 10. วิเคราะหสาเหตุของขอขัดของและขอผิดพลาดที่คลายกันของอุปกรณควบคุมแรงดัน และอุปกรณควบคุมอุณหภูมิ

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

แบบทดสอบกอนฝก คําชี้แจง: 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 2 09217210 การใชเครื่องมือวัดตาง ๆ ที่ใชในเครื่องปรับอากาศ 1. เครื่องมือใดใชวัดความเขมขนของความรอน ก. บารอมิเตอร

ค. เทอรโมเซตติ้ง

ข. เทอรโมมิเตอร

ง. เทอรโมสตารทเตอร

2. อุณหภูมิกระเปาะแหงวัดไดจากขอใด ก. มิเตอรวัดอุณหภูมิ แกวงในน้ํา ดูคาจากความชื่นที่เพิ่มขึ้น ข. มิเตอรวัดอุณหภูมิ แกวงในอากาศ ดูคาจากความชื่นที่ระเหยไป ค. มิเตอรวัดอุณหภูมิที่มีผาหุมน้ํา แกวงในน้ํา ดูคาจากความชื่นที่เพิ่มขึ้น ง. มิเตอรวัดอุณหภูมิที่มีผาหุมน้ํา แกวงในอากาศ ดูคาจากความชื่นที่ระเหยไป 3. เครื่องมือในขอใด ใชวัดคาความชื้นสัมพัทธในอากาศ ก. บารอมิเตอร

ค. ไฮโกรมิเตอรแบบกระเปาะเปยก–กระเปาะแหง

ข. เครื่องวัดอุณหภูมิอินฟาเรด

ง. ไฮโดรมิเตอร

4. หากปริมาณความชื้นที่มีอยูในอากาศมากจะทําใหอากาศเปนอยางไร ก. ทําใหเกิดการระเหยอากาศเย็น

ค. ขัดขวางไมใหเกิดการระเหยอากาศจะเย็น

ข. ทําใหเกิดการระเหยอากาศจะรอน

ง. ขัดขวางไมใหเกิดการระเหยอากาศจะรอน

5. ขอใดคืออัตราสวนระหวางความชื้นที่มีอยูจริงในขณะนั้นหารดวยความชื้นอิ่มตัว ก. ความชื้น

ค. ความชื้นสัมพัทธ

ข. ความชื้นเฉลี่ย

ง. ความชื้นสัมบูรณ

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

6. ขอใดไมใชสาเหตุของทอทางกลับเปนน้ําแข็งหรือเปนเหงื่อ ก. ความดันทางต่ําตัด ข. เอ็กซแพนชั่นวาลวอุดตัน ค. แคปปลลารี่ทิ้วปเล็กเกินไป ง. เอ็กซแพนชั่นวาลวเล็กเกินไป 7. ขอใดคือความรอนจําเพาะ ก. ปริมาณความรอนที่ตองทําใหวัตถุหนัก 1 กรัม มีอุณหภูมิเปลี่ยนไป 1 องศาเซลเซียส ข. ปริมาณความรอนที่ตองทําใหวัตถุหนัก 1 กรัม มีอุณหภูมิเปลี่ยนไป 1 องศาฟาเรนไฮต ค. ปริมาณความรอนที่ตองทําใหวัตถุหนัก 1 ปอนด มีอุณหภูมิเปลี่ยนไป 1 องศาเซลเซียส ง. ปริมาณความรอนที่ตองทําใหวัตถุหนัก 1 ปอนด มีอุณหภูมิเปลี่ยนไป 1 องศาฟาเรนไฮต 8. น้ํา 20 ปอนด มีอุณหภูมิเดิม 20 องศาฟาเรนไฮต ถูกทําใหรอนจนกระทั่งมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 100 องศาฟาเรนไฮต จงหา คาปริมาณความรอน (C=1) ก. 800

ค. 2400

ข. 1600

ง. 3600

9. ขอใดคือปริมาตรของของไหลซึ่งไหลผานทอหรือชองการไหลใดๆ ในหนึ่งหนวยเวลา ก. อัตราการไหล

ค. ความเร็วการไหล

ข. อัตรามวลไหล

ง. อัตราปริมาตรไหล

10. เมื่อระบบลูกลอยความดันต่ํามีสารทําความเย็นนอยเกินไป จะมีวิธีการแกไขอยางไร ก. เติมสารทําความเย็นจนถึงระดับที่ถูกตอง ข. เปลี่ยนชนิดของสารทําความเย็นที่จะเติมเขาไปใหม ค. เติมสารทําความเย็นจนเต็มในระบบลูกลอยความดันต่ํา ง. ทําการถายสารทําความเย็นออกจากระบบลูกลอยทั้งหมด

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

แบบทดสอบหลังฝก คําชี้แจง: 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 2 09217210 การใชเครื่องมือวัดตาง ๆ ที่ใชในเครื่องปรับอากาศ 1. หากปริมาณความชื้นที่มีอยูในอากาศมากจะทําใหอากาศเปนอยางไร ก. ทําใหเกิดการระเหยอากาศเย็น

ค. ขัดขวางไมใหเกิดการระเหยอากาศจะเย็น

ข. ทําใหเกิดการระเหยอากาศจะรอน

ง. ขัดขวางไมใหเกิดการระเหยอากาศจะรอน

2. ขอใดคืออัตราสวนระหวางความชื้นที่มีอยูจริงในขณะนั้นหารดวยความชื้นอิ่มตัว ก. ความชื้น

ค. ความชื้นสัมพัทธ

ข. ความชื้นเฉลี่ย

ง. ความชื้นสัมบูรณ

3. ขอใดไมใชสาเหตุของทอทางกลับเปนน้ําแข็งหรือเปนเหงื่อ ก. เอ็กซแพนชั่นวาลวเล็กเกินไป ข. ความดันทางต่ําตัด ค. เอ็กซแพนชั่นวาลวอุดตัน ง. แคปปลลารี่ทิ้วปเล็กเกินไป 4. เครื่องมือใดใชวัดความเขมขนของความรอน ก. เทอรโมเซตติ้ง

ค. เทอรโมสตารทเตอร

ข. บารอมิเตอร

ง. เทอรโมมิเตอร

5. อุณหภูมิกระเปาะแหงวัดไดจากขอใด ก. มิเตอรวัดอุณหภูมิ แกวงในน้ํา ดูคาจากความชื่นที่เพิ่มขึ้น ข. มิเตอรวัดอุณหภูมิ แกวงในอากาศ ดูคาจากความชื่นที่ระเหยไป ค. มิเตอรวัดอุณหภูมิที่มีผาหุมน้ํา แกวงในน้ํา ดูคาจากความชื่นที่เพิ่มขึ้น ง. มิเตอรวัดอุณหภูมิที่มีผาหุมน้ํา แกวงในอากาศ ดูคาจากความชื่นที่ระเหยไป

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

6. เครื่องมือในขอใด ใชวัดคาความชื้นสัมพัทธในอากาศ ก. ไฮโกรมิเตอรแบบกระเปาะเปยก–กระเปาะแหง

ค. ไฮโดรมิเตอร

ข. เครื่องวัดอุณหภูมิอินฟาเรด

ง. บารอมิเตอร

7. น้ํา 20 ปอนด มีอุณหภูมิเดิม 20 องศาฟาเรนไฮต ถูกทําใหรอนจนกระทั่งมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 100 องศาฟาเรนไฮต จงหา คาปริมาณความรอน (C=1) ก. 800

ค. 2400

ข. 1600

ง. 3600

8. ขอใดคือปริมาตรของของไหลซึ่งไหลผานทอหรือชองการไหลใดๆ ในหนึ่งหนวยเวลา ก. อัตราการไหล

ค. ความเร็วการไหล

ข. อัตรามวลไหล

ง. อัตราปริมาตรไหล

9. เมื่อระบบลูกลอยความดันต่ํามีสารทําความเย็นนอยเกินไป จะมีวิธีการแกไขอยางไร ก. ข. ค. ง.

เติมสารทําความเย็นจนเต็มในระบบลูกลอยความดันต่ํา เติมสารทําความเย็นจนถึงระดับที่ถูกตอง เปลี่ยนชนิดของสารทําความเย็นที่จะเติมเขาไปใหม ทําการถายสารทําความเย็นออกจากระบบลูกลอยทั้งหมด

10. ขอใดคือความรอนจําเพาะ ก. ปริมาณความรอนที่ตองทําใหวัตถุหนัก 1 กรัม มีอุณหภูมิเปลี่ยนไป 1 องศาเซลเซียส ข. ปริมาณความรอนที่ตองทําใหวัตถุหนัก 1 กรัม มีอุณหภูมิเปลี่ยนไป 1 องศาฟาเรนไฮต ค. ปริมาณความรอนที่ตองทําใหวัตถุหนัก 1 ปอนด มีอุณหภูมิเปลี่ยนไป 1 องศาเซลเซียส ง. ปริมาณความรอนที่ตองทําใหวัตถุหนัก 1 ปอนด มีอุณหภูมิเปลี่ยนไป 1 องศาฟาเรนไฮต

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………........ คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

หัวขอวิชาที่ 5 0921721005 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 5.1 การหาสาเหตุของขอผิดพลาดของอุปกรณควบคุมแรงดันและอุปกรณ ควบคุมอุณหภูมิ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - วิเคราะหสาเหตุขอขัดของ และขอผิดพลาดที่คลายกันของอุปกรณควบคุมแรงดัน และอุปกรณควบคุมอุณหภูมิ

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 10 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกบันทึกขอมูล ขอบกพรองและแนวทางการแกปญหา

TIME

Chiller Pressure ( Psi ) in

out

Condenser Pressure ( Psi ) in

out

Chiller

Condenser

Water Temp ( Fº )

Water Temp ( Fº )

leaving

return

leaving

Current Phase

return

A

B

C

Full Load Amps %

07.30 A.M. 09.00 A.M. 11.00 A.M. 13.00 P.M. 15.00 P.M. 17.00 P.M.

TIME

Oil Temp Pressure ( F°)

( Psi )

Condenser Small Temp Pressure Difference ( F°)

(Psig)

Evaporator Small Temp Pressure Difference ( F°)

(Psig)

07.30 A.M. 09.00 A.M. 11.00 A.M. 13.00 P.M. 15.00 P.M. 17.00 P.M.

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

Set Temp ( F°/C°)

Out Side Temp ( F°/C°)

Remark

kw


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 5.1 การหาสาเหตุของขอผิดพลาดของอุปกรณควบคุมแรงดันและอุปกรณควบคุม อุณหภูมิ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวาง กีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - เครื่องปรับอากาศแบบระบายความรอนดวยน้ํา ขนาด 150 ตัน จํานวน 1 ตัว หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ชุดเครื่องเขียน

จํานวน 1 ชุด

2. ใบบันทึกขอมูล (Log Sheet)

จํานวน 1 แผน

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ลําดับการทดสอบ การหาสาเหตุของขอผิดพลาดของอุปกรณควบคุมแรงดันและอุปกรณควบคุมอุณหภูมิ ขั้นตอนการทดสอบ 1. ศึกษาคูมือการใชงาน

คําอธิบาย ศึกษาคูมือการใชงาน เครื่องปรับอากาศแบบระบายความ รอนดวยน้ํา ในรุนที่จะทําการ ปฏิบัติงาน

2. เลือกเมนูวัดคา

กดปุมเมนูเลือกการวัดคาตาง ๆ ของ เครื่อง

3. บันทึกผลใน Log Sheet

บันทึกผลลงใน Log Sheet

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง

การบันทึกผลจะทําการบันทึกทุก ๆ 2 ชั่วโมง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการทดสอบ คําอธิบาย 4. วิเคราะหการทํางาน จากขอมูลที่มี พรอม วิเคราะหขอมูลจาก Log Sheet แนวทางแกไข (หากเสีย) และขอสังเกตอื่น ๆ พรอมเสนอแนว ทางแกไข

คําแนะนําใน

ค า ความดั น ของสารทํ า ความเย็ น ทางดาน Low Side และ High Side จะมีคาความดันเทาใด ขึ้นอยูกับวา เครื่องปรับ อากาศนั้น ๆ ใชส ารทํา ความเย็นชนิดใด เชน สารทําความ เย็น R-22 จะมี Low Side ประมาณ 60-70 Psi (ปอนด ต อ ตารางนิ้ ว ) High Side ประมาณ 245-280 Psi สารทํ า ความเย็ น 134A จะมี Low Side ป ร ะ ม า ณ 35- 40 Psi High Side ประมาณ 100-120 Psi

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ รายการตรวจสอบ เกณฑการพิจารณา 1 การหาสาเหตุของขอผิดพลาดของอุปกรณควบคุมแรงดันและอุปกรณควบคุมอุณหภูมิ 1.1 การบันทึกขอมูล

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 การวิเคราะหผลจากขอมูลใน Log Sheet และการสังเกต

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

เพิ่มเติม 2

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม 10

1.1 การบันทึกขอมูล

- บันทึกขอมูลใน Log Sheet สม่ําเสมอทุก 2 ชั่วโมง ขอมูลมีความ ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- บั น ทึ ก ข อ มู ล ใน Log Sheet โดยลงเวลาไม ส ม่ํ า เสมอ ข อ มู ล ไม ครบถวน หักคะแนน จุดละ 1 คะแนน 1.2 การวิเคราะหผลจากขอมูลใน Log Sheet - วิ เคราะห ผลไดถู กต อง ให แ นวทางการแกป ญหาที่สอดคลองกับ และการสังเกตเพิ่มเติม

5

อาการ หรือขอผิดพลาดที่พบ ใหคะแนน 5 คะแนน - วิเคราะหผลผิดพลาด ใหแนวทางไมสอดคลองกับขอผิดปกติที่พบ หรือที่บันทึกไว หักคะแนน จุดละ 1 คะแนน

2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตอง

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

และครบถวน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบตั ิงาน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

1

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํา

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

15

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 บอกขั้นตอนการตอสายไฟฟา 10 7 แบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได บอกวิธีการตอสายไฟฟาดวย อุปกรณได บอกขั้นตอนการเขาขั้วสายดวย หางปลา บอกขั้นตอนการใชวายนัทตอ สายได บอกขั้นตอนการใชหลอดตอ สายไฟได บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ประเมินผลภาคทฤษฏี

คะแนนที่ได 5

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 บอกขั้นตอนการตอสายไฟฟา 10 7 แบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได บอกวิธีการตอสายไฟฟาดวย อุปกรณได บอกขั้นตอนการเขาขั้วสายดวย หางปลา บอกขั้นตอนการใชวายนัทตอ สายได บอกขั้นตอนการใชหลอดตอ สายไฟได บอกขั้นตอนการบัดกรี และการ พันฉนวนได บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และ การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ประเมินผลภาคทฤษฏี

คะแนนที่ได 8

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2

ตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียว ได 1. เขาขั้วสายดวยหางปลา และย้ําหางปลาได 2. ใชหลอดตอสายไฟได 3. ใชอุปกรณในการตอสายไฟได ใชวายนัทตอสายได

30

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 21

80

56

70

35

25

23

20

14

15

20

14

10

25

18

24

210

148

162

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ตอสายไฟฟาดวยการบัดกรีได ภาคปฏิบัติที่ 1.4 แบบทดสอบ ตอสายไฟฟาดวยการพันฉนวนได ภาคปฏิบัติที่ 1.5 แบบทดสอบ ตรวจสอบและกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได ภาคปฏิบัติที่ 2.1 คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 20

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลว เปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ 22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

8

2

16

162

0.381

61.72

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 77.72

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบตั ิที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฏี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

10

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฏี คือ

20 10

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

8 × 2 = 16

คือ

=2

สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

210 23

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ ∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

80 = 0.381 210 162 × 0.381 = 61.72

คือ

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 16 + 61.72 = 77.72 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ กอนฝก

1.

2. 3. 4. 5. 6. 7.

8.

9.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายความหมายของอุณหภูมิ 10 7 กระเปาะเปยกและกระเปาะแหง ได ใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิได อธิบายความหมายของความชื้น ของอากาศได ใชเครื่องมือวัดความชื้นของ อากาศได อธิบายความหมายและการวัด ปริมาณความรอนได ใชเครื่องมือวัดปริมาณความรอน ได อธิบายความหมายและการวัด อัตราการไหลของมวล อัตราการ ไหลของปริมาตร และความเร็ว ได ใชเครื่องมือวัดอัตราการไหลของ มวล อัตราการไหลของปริมาตร และความเร็วได อธิบายขั้นตอนและหาสาเหตุ ขอขัดของและขอผิดพลาดที่ คลายกันของอุปกรณควบคุม แรงดัน และอุปกรณควบคุม อุณหภูมิได

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาคทฤษฏี

ผลลัพธการเรียนรู 10. วิเคราะหสาเหตุของขอขัดของ และขอผิดพลาดที่คลายกันของ อุปกรณควบคุมแรงดัน และ อุปกรณควบคุมอุณหภูมิ

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ประเมินผลภาคทฤษฏี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

การประเมินผลภาคทฤษฏี ภาคทฤษฏี แบบทดสอบ หลังฝก

1.

2. 3. 4. 5. 6. 7.

8.

9.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายความหมายของอุณหภูมิ 10 7 กระเปาะเปยกและกระเปาะแหง ได ใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิได อธิบายความหมายของความชื้น ของอากาศได ใชเครื่องมือวัดความชื้นของ อากาศได อธิบายความหมายและการวัด ปริมาณความรอนได ใชเครื่องมือวัดปริมาณความรอน ได อธิบายความหมายและการวัด อัตราการไหลของมวล อัตราการ ไหลของปริมาตร และความเร็ว ได ใชเครื่องมือวัดอัตราการไหลของ มวล อัตราการไหลของปริมาตร และความเร็วได อธิบายขั้นตอนและหาสาเหตุ ขอขัดของและขอผิดพลาดที่ คลายกันของอุปกรณควบคุม แรงดัน และอุปกรณควบคุม อุณหภูมิได

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาคทฤษฏี

ผลลัพธการเรียนรู 10. วิเคราะหสาเหตุของขอขัดของ และขอผิดพลาดที่คลายกันของ อุปกรณควบคุมแรงดัน และ อุปกรณควบคุมอุณหภูมิ

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ประเมินผลภาคทฤษฏี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

15

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 11

15

11

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ วิเคราะหสาเหตุขอขัดของ และขอผิดพลาด ภาคปฏิบัติที่ 5.1 ทีค่ ลายกันของอุปกรณควบคุมแรงดันและ อุปกรณควบคุมอุณหภูมิ คะแนนรวมภาคปฏิบัติ ประเมินผลภาคปฏิบัติ * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC)

2 5.333

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบนั ทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.