คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
คูมือการประเมิน 0920162070803 สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3
ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝกที่ 7 09207225 คณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตน ที่สัมพันธกับงานเชื่อม
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
คํานํา คูมือการประเมิน สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 โมดูล 7 คณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธ กับ งานเชื่อ ม ฉบับนี้ ไดพัฒนาขึ้นภายใตโ ครงการพัฒ นาระบบฝ กและชุ ดการฝ กตามความสามารถเพื่ อการพั ฒนาฝ มื อ แรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําไปใชเปนระบบ การฝ กอบรมตามความสามารถ สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 เพื่อใหต อบสนองความต องการของกํ าลั ง แรงงานและ ตลาดแรงงานไดอยางเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และเพื่อรองรับ ระบบการรับ รองมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติและระบบ การรับรองความรูความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ใหแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมายตาง ๆ ใหกวางขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแงของขอบเขตของการใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการฝกอบรม ที่ ส ามารถรองรั บ การพั ฒ นารายบุ ค คลได เ ป น อย า งดี นอกจากนี้ เนื้ อ หาวิ ช าในหลั ก สู ต รการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น
กรมพัฒนาฝมือแรงงาน
ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
สารบัญ เรื่อง
หนา
คํานํา
ก
สารบัญ
ข
ขอแนะนํา
1
ผลลัพธการเรียนรู
3
แบบทดสอบกอนฝก
4
แบบทดสอบหลังฝก
7
กระดาษคําตอบ
10
เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก
11
ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ บันทึกผลการประเมินความสามารถ
12 19
ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. ผังการฝกอบรม
1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
2. วิธีการประเมินผล การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
3. การวัดและประเมินผล การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70
เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)
ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว
4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก
2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 7 09207225 คณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกบั งานเชื่อม 1. 2. 3. 4. 5. 6.
นําคณิตศาสตรพื้นฐาน ไดแก การบวก ลบ คูณ หาร การหารอยละไปใชไดอยางถูกตอง นําการวัดและการคํานวณความยาว มุม พื้นที่ ปริมาตร น้ําหนัก ความดันไปใชไดอยางถูกตอง นําการแปลงหนวยของมาตรวัด มาตรฐานตาง ๆ ไปใช ไดอยางถูกตอง นําเครื่องคํานวณไปใชไดอยางถูกตอง วิเคราะหสาเหตุและการปองกันการกัดกรอนและการสึกหรอไดอยางถูกตอง วิเคราะหโลหะวิทยาที่สัมพันธกับงานเชื่อม อิทธิพลของความรอนที่มีตอชิ้นงานเชื่อม การอุนชิ้นงาน (Preheat) และการใหความรอนหลังเชื่อม (Post Heat) ไดอยางถูกตอง
3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
แบบทดสอบกอนฝก คําชี้แจง : 1. 2. 3. 4. 5.
ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล
4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 7 09207225 คณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกบั งานเชื่อม 1. ชะลอทํางานเชื่อมเสียหาย 25 ชิ้น จากจํานวนงานทั้งหมด 250 ชิ้น ชะลอทํางานเสียหายกี่เปอรเซ็นต ก. 10%
ค. 20%
ข. 15%
ง. 25%
2. วิเชียรตองการตัดแผนเหล็กสี่เหลี่ยมผืนผาที่มีขนาดความกวางเทากับ 20 เซนติเมตร ยาว 30 เซนติเมตร ตัดแบงออกเปน แผนยอย ๆ ขนาด 5 x 10 เซนติเมตร วิเชียรจะตัดแผนยอย ๆ ไดทั้งหมดกี่แผน ก. 9 แผน
ค. 24 แผน
ข. 12 แผน
ง. 30 แผน
3. สมภพตองการปรับคากระแสใหมีคาเทากับ 25000 mA แตสเกลที่ตูเชื่อมเปน A สมภพตองปรับสเกลไปที่เลขใด ก. 0.25 A
ค. 25 A
ข. 2.5 A
ง. 250 A
4. ในการใช เ ครื่ องคิ ดเลข ยี่ ห อ CASIO คํานวณหาคําตอบของ 25 + 30 × 75 ÷ 2 ข อ ใดต อ ไปนี้ คื อคํา ตอบที่ ได จากการคํานวณ ก. 2062.5
ค. 1137.5
ข. 2063
ง. 1150
5. กรเอกมอบหมายงานใหธนพรกับธนพล เชื่อมเกาอี้จํานวน 360 ตัว โดยใหระยะเวลาในการทํา 3 วัน แตละคนจะตอง เชื่อมเกาอี้วันละกี่ตัวใหเสร็จตามระยะเวลาที่กําหนดใหพอดี ก. 30 ตัว
ค. 60 ตัว
ข. 45 ตัว
ง. 80 ตัว
5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
6. การผุกรอนของโลหะหรือที่เรียกวา เหล็กเปนสนิม เกิดมาจากสาเหตุใด ก. เกิดจากการสะสมของธาตุที่สามารถเกิดเปนสารประกอบออกไซดไดกัดกรอนผิวหนา ข. เกิดจากการกระตุนของกระแสไฟฟาทําใหอะตอมของโลหะบริเวณผิวหนาหลุดไป ค. เกิดจากอะตอมของโลหะที่ถูกออกซิไดซรวมตัวกับออกซิเจนในอากาศแลวเกิดเปนออกไซดของโลหะ ง. เกิดจากการไดรับความรอนสูงเปนระยะเวลานาน 7. ธาตุใดที่มีผลโดยตรงตอการกําหนดอุณหภูมิอุนชิ้นงาน ก. ทองแดง (Cu)
ค. แมงกานีส (Mn)
ข. อะลูมิเนียม (Al)
ง. คารบอน (C)
8. โลหะชิ้นงานในขอใดไมจําเปนตองอุนชิ้นงาน ก. เหล็กกลาคารบอนสูง
ค. เหล็กกลาคารบอนปานกลาง
ข. เหล็กกลาผสมสูง
ง. เหล็กกลาละมุน
9. การลดความเคนคงคางดวยความรอนจะกระทําในขั้นตอนใดของงานเชื่อม ก. กอนเชื่อม
ค. ตลอดการเชื่อม
ข. กอนเชื่อมแนวที่ 2
ง. หลังเชื่อม
10. ขอใดคือขอมูลที่ตองกําหนดกอนการใหความรอนหลังเชื่อม ก. ชวงเวลาที่จะรักษาอุณหภูมิในการอบ
ค. แรงกระทําที่ตองทดสอบหลังการอบ
ข. สารเคมีที่ตองเคลือบผิวหนาหลังใหความรอน
ง. วิธีทดสอบความแข็งแรงของชิ้นงาน
6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
แบบทดสอบหลังฝก คําชี้แจง : 1. 2. 3. 4. 5.
ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล
7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 7 09207225 คณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกบั งานเชื่อม 1. ธาตุใดที่มีผลโดยตรงตอการกําหนดอุณหภูมิอุนชิ้นงาน ก. ทองแดง (Cu)
ค. แมงกานีส (Mn)
ข. อะลูมิเนียม (Al)
ง. คารบอน (C)
2. ขอใดคือขอมูลที่ตองกําหนดกอนการใหความรอนหลังเชื่อม ก. ชวงเวลาที่จะรักษาอุณหภูมิในการอบ
ค. แรงกระทําที่ตองทดสอบหลังการอบ
ข. สารเคมีที่ตองเคลือบผิวหนาหลังใหความรอน
ง. วิธีทดสอบความแข็งแรงของชิ้นงาน
3. การลดความเคนคงคางดวยความรอนจะกระทําในขั้นตอนใดของงานเชื่อม ก. กอนเชื่อม
ค. ตลอดการเชื่อม
ข. กอนเชื่อมแนวที่ 2
ง. หลังเชื่อม
4. วิเชียรตองการตัดแผนเหล็กสี่เหลี่ยมผืนผาที่มีขนาดความกวางเทากับ 20 เซนติเมตร ยาว 30 เซนติเมตร ตัดแบงออกเปน แผนยอย ๆ ขนาด 5 x 10 เซนติเมตร วิเชียรจะตัดแผนยอย ๆ ไดทั้งหมดกี่แผน ก. 9 แผน
ค. 24 แผน
ข. 12 แผน
ง. 30 แผน
5. โลหะชิ้นงานในขอใดไมจําเปนตองอุนชิ้นงาน ก. เหล็กกลาคารบอนสูง
ค. เหล็กกลาคารบอนปานกลาง
ข. เหล็กกลาผสมสูง
ง. เหล็กกลาละมุน
6. สมภพตองการปรับคากระแสใหมีคาเทากับ 25000 mA แตสเกลที่ตูเชื่อมเปน A สมภพตองปรับสเกลไปที่เลขใด ก. 0.25 A
ค. 25 A
ข. 2.5 A
ง. 250 A
8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
7. กรเอกมอบหมายงานใหธนพรกับธนพล เชื่อมเกาอี้จํานวน 360 ตัว โดยใหระยะเวลาในการทํา 3 วัน แตละคนจะตอง เชื่อมเกาอี้วันละกี่ตัวใหเสร็จตามระยะเวลาที่กําหนดใหพอดี ก. 30 ตัว
ค. 60 ตัว
ข. 45 ตัว
ง. 80 ตัว
8. ชะลอทํางานเชื่อมเสียหาย 25 ชิ้น จากจํานวนงานทั้งหมด 250 ชิ้น ชะลอทํางานเสียหายกี่เปอรเซ็นต ก. 10%
ค. 20%
ข. 15%
ง. 25%
9. ในการใช เ ครื่ อ งคิ ด เลข ยี่ ห อ CASIO คํา นวณหาคํา ตอบของ 25 + 30 × 75 ÷ 2 ขอ ใดต อ ไปนี้คือ คํา ตอบที่ ไ ด จากการคํานวณ ก. 2062.5
ค. 1137.5
ข. 2063
ง. 1150
10. การผุกรอนของโลหะหรือที่เรียกวา เหล็กเปนสนิม เกิดมาจากสาเหตุใด ก. เกิดจากการสะสมของธาตุที่สามารถเกิดเปนสารประกอบออกไซดไดกัดกรอนผิวหนา ข. เกิดจากการกระตุนของกระแสไฟฟาทําใหอะตอมของโลหะบริเวณผิวหนาหลุดไป ค. เกิดจากอะตอมของโลหะที่ถูกออกซิไดซรวมตัวกับออกซิเจนในอากาศแลวเกิดเปนออกไซดของโลหะ ง. เกิดจากการไดรับความรอนสูงเปนระยะเวลานาน
9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
กระดาษคําตอบ
คะแนนที่ได คะแนนเต็ม
ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท
ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว
แบบทดสอบกอนฝก ก
ข
ค
แบบทดสอบหลังฝก ก
ง
1.
1.
2.
2.
3.
3.
4.
4.
5.
5.
6.
6.
7.
7.
8.
8.
9.
9.
10.
10.
10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ข
ค
ง
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก
หมายเหตุ
ข
ค
แบบทดสอบหลังฝก ก
ง
1.
1.
2.
2.
3.
3.
4.
4.
5.
5.
6.
6.
7.
7.
8.
8.
9.
9.
10.
10.
ข
ค
ง
ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 คะแนนที่ได แบบทดสอบ 1. บอกการใชเครื่องมือรางแบบ 17 12 10 กอนฝก ไดแก สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ําและ บรรทัดออนได 2. บอกการใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ไดแก ที่วัดอุณหภูมิแบบสัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลได 3. บอกการใชอุปกรณการวัดแนว เชื่อม ไดแก เกจวัด แวนขยาย ไฟฉาย กระจกเงาได 4. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือวัดได 5. บอกวิธีการใชคีม คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบและเลื่อยมือ การใชคอน และสกัดได 6. บอกการใชดอกสวานและเครื่อง เจาะ การใชประแจแบบตาง ๆ การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรง ยกของ การใชแปรงลวดได 7. บอกการใชใบหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ได 8. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือทั่วไปได 12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ภาคทฤษฎี
ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 9. บอกการใชเครื่องเจียระไนได 10. บอกการใชเครื่องขัดผิวโลหะได 11. บอกการใชเครื่องกดไฮดรอลิกส ได 12. บอกการใชเครื่องทดสอบการ ดัดงอได 13. บอกการใชเครื่องตัดชิ้นงานและ เครื่องเลื่อยได 14. บอกการใชอุปกรณจับยึดได 15. บอกการใชเครื่องดูดควันได 16. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือกลได ประเมินผลภาคทฤษฎี
คะแนนที่ได
ผาน ไมผาน (C) (NYC)
/
* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได
13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 แบบทดสอบ 1. บอกการใชเครื่องมือรางแบบ 17 12 หลังฝก ไดแก สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ําและ บรรทัดออนได 2. บอกการใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ไดแก ที่วัดอุณหภูมิแบบสัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลได 3. บอกการใชอุปกรณการวัดแนว เชื่อม ไดแก เกจวัด แวนขยาย ไฟฉาย กระจกเงาได 4. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือวัดได 5. บอกวิธีการใชคีม คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบและเลื่อยมือ การใชคอน และสกัดได 6. บอกการใชดอกสวานและเครื่อง เจาะ การใชประแจแบบตาง ๆ การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรง ยกของ การใชแปรงลวดได 7. บอกการใชใบหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ได 8. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือทั่วไปได 9. บอกการใชเครื่องเจียระไนได 10. บอกการใชเครื่องขัดผิวโลหะได 11. บอกการใชเครื่องกดไฮดรอลิกส ได 14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คะแนนที่ได 15
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ภาคทฤษฎี
ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 12. บอกการใชเครื่องทดสอบการ ดัดงอได 13. บอกการใชเครื่องตัดชิ้นงานและ เครื่องเลื่อยได 14. บอกการใชอุปกรณจับยึดได 15. บอกการใชเครื่องดูดควันได 16. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือกลได ประเมินผลภาคทฤษฎี
คะแนนที่ได
ผาน ไมผาน (C) (NYC)
/
* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได
15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ
ผลลัพธการเรียนรู
คะแนนเต็ม
แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.3 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.3
ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได
45
คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 32
ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได
33
23
25
ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได
40
28
40
ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได
30
21
23
ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได
18
13
12
ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได
16
11
17
ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง คะแนนรวมภาคปฏิบัติ
20
14
18
20
14
16
20
14
17
242
170
198
ประเมินผลภาคปฏิบัติ
คะแนนที่ได 30
ผาน (C)
* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ไมผาน (NYC)
/
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกบั คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)
คะแนนที่ได
คา Factor
คะแนนที่ไดคูณ คา Factor
15
1.176
17.64
198
0.331
65.538
ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 83.178
/
* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบตั ิที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฎี คือ
20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี
ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ
17
ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฎี คือ
20 17
∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor
15 × 1.176 = 17.64
คือ
17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
= 1.176
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ
80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ
ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ
242 80 = 0.331 242
ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ ∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor
คือ
198 × 0.331 = 65.538
4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 17.64 + 83.178 = 83.178 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)
18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 คะแนนที่ได แบบทดสอบ 1. นําคณิตศาสตรพื้นฐาน ไดแก 10 7 กอนฝก การบวก ลบ คู ณ หาร การหารอยละไปใชไดอยางถูกตอง 2. นําการวัดและการคํานวณความ ยาว มุม พื้นที่ ปริมาตร น้ําหนัก ความดันไปใชไดอยางถูกตอง 3. นําการแปลงหนวยของมาตรวัด มาตรฐานตาง ๆ ไปใช ไดอยางถูกตอง 4. นําเครื่องคํานวณไปใช ไดอยางถูกตอง 5. วิเคราะหสาเหตุและการปองกัน การกัดกรอนและการสึกหรอ ไดอยางถูกตอง 6. วิเคราะหโลหะวิทยาที่สัมพันธกับ งานเชื่อม อิทธิพลของความรอน ที่มีตอชิ้นงานเชื่อม การอุนชิ้นงาน (Preheat) และการใหความรอน หลังเชื่อม (Post Heat) ไดอยางถูกตอง ประเมินผลภาคทฤษฎี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ 19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ผาน ไมผาน (C) (NYC)
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี
ผลลัพธการเรียนรู
คะแนนเต็ม
แบบทดสอบ หลังฝก
1. นําคณิตศาสตรพื้นฐาน ไดแก การบวก ลบ คู ณ หาร การหารอยละไปใชไดอยางถูกตอง 2. นําการวัดและการคํานวณความ ยาว มุม พื้นที่ ปริมาตร น้ําหนัก ความดันไปใชไดอยางถูกตอง 3. นําการแปลงหนวยของมาตรวัด มาตรฐานตาง ๆ ไปใช ไดอยางถูกตอง 4. นําเครื่องคํานวณไปใช ไดอยางถูกตอง 5. วิเคราะหสาเหตุและการปองกัน การกัดกรอนและการสึกหรอ ไดอยางถูกตอง 6. วิเคราะหโลหะวิทยาที่สัมพันธกับ งานเชื่อม อิทธิพลของความรอน ที่มีตอชิ้นงานเชื่อม การอุนชิ้นงาน (Preheat) และการใหความรอน หลังเชื่อม (Post Heat) ไดอยางถูกตอง
10
ประเมินผลภาคทฤษฎี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ
20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 7
คะแนนที่ได
ผาน ไมผาน (C) (NYC)
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (100 คะแนน)
คะแนนที่ได
คะแนนภาคทฤษฎีที่ไดคูณคา Factor
คา Factor
ผลการ ทดสอบ ผาน ไมผาน (C) (NYC)
10
* หมายเหตุ คะแนนภาคทฤษฎีที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบันทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน
21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
)
คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน