คู่มือการประเมิน ช่างบำรุงรักษารถยนต์ ระดับ 1 โมดูล 6

Page 1

หนาปก



คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คูมือการประเมิน 0920163100501 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 6 09210203 สวนประกอบของรถยนต

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คํานํา คูมือการประเมิน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 โมดูล 6 สวนประกอบของรถยนต ฉบับนี้ ไดพัฒนาขึ้น ภายใต โ ครงการพั ฒ นาระบบฝ ก และชุ ด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําไปใชเปนระบบการฝกอบรมตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 เพื่อใหตอบสนองความตองการของกําลังแรงงานและตลาดแรงงานไดอยางเหมาะสม มากยิ่งขึ้น และเพื่อรองรับระบบการรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติและระบบการรับรองความรูความสามารถใน อนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ใหแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมายตางๆ ใหกวางขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแงของ ขอบเขตของการใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตางๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

5

แบบทดสอบกอนฝก

6

แบบทดสอบหลังฝก

10

กระดาษคําตอบ

14

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

15

แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หัวขอวิชาที่ 1 0921020301 สวนประกอบของเครื่องยนต หัวขอวิชาที่ 3 0921020303 ระบบสงกําลัง หัวขอวิชาที่ 4 0921020304 ระบบรองรับน้ําหนัก

16 31 61

หัวขอวิชาที่ 5 0921020305 ระบบบังคับเลี้ยว

78

หัวขอวิชาที่ 6 0921020306 ระบบเบรก

96

หัวขอวิชาที่ 7 0921020307 ระบบไฟฟาในรถยนต

117

หัวขอวิชาที่ 8 0921020308 ระบบตัวถังรถยนต

137

หัวขอวิชาที่ 9 0921020309 ระบบอํานวยความสะดวกและความปลอดภัย

152

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ บันทึกผลการประเมินความสามารถ

172 178

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการ ฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการ ประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่อ อิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงราง หลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 6 09210203 สวนประกอบของรถยนต 1. อธิบายหนาที่และโครงสรางของสวนประกอบของเครื่องยนตได 2. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับสวนประกอบของเครื่องยนตได 3. อธิบายหลักการทํางานของเครื่องยนตแกสโซลีน ดีเซล และระบบระบายความรอนได 4. อธิบายหนาที่และโครงสรางของระบบสงกําลังได 5. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบสงกําลังได 6. อธิบายหนาที่และโครงสรางของระบบรองรับน้ําหนักได 7. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบรองรับน้ําหนักได 8. อธิบายหนาที่และโครงสรางของระบบบังคับเลี้ยวได 9. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบบังคับเลี้ยวได 10. อธิบายหนาที่และโครงสรางของระบบเบรกได 11. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบเบรกได 12. อธิบายหนาที่และโครงสรางของระบบไฟฟาในรถยนตได 13. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบไฟฟาในรถยนตได 14. อธิบายหนาที่และโครงสรางของระบบตัวถังรถยนตได 15. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบตัวถังรถยนตได 16. บอกชื่อ หนาที่ และหลักการทํางานของระบบอํานวยความสะดวก ระบบความปลอดภัยของตัวรถยนตได 17. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบอํานวยความสะดวก ระบบความปลอดภัยของตัวรถยนตได

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

แบบทดสอบกอนฝก คําชี้แจง : 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 6 09210203 สวนประกอบของรถยนต

1. จากภาพคือสวนประกอบใดของเครื่องยนต ก. ลูกสูบ

ค. ขอเหวี่ยง

ข. วาลว

ง. ลูกกระทุง

2. ขอใดตอไปนี้ เปนคุณสมบัติที่จะทําใหการทํางานของเครื่องยนตแกสโซลีนมีประสิทธิภาพสูงสุด ก. กําลังอัดของแตละสูบมีแรงอัดไมเทากัน ข. ประกายไฟของหัวเทียนมีประกายไฟเบาตอเนื่อง ค. มีสวนผสมของอากาศและน้ํามันเชื้อเพลิงที่เหมาะสม ง. มีอากาศเขาสูกระบอกสูบมาก 3. ขอใดตอไปนี้บอกหนาที่ของคลัตชไดถูกตอง ก. เชื่อมอยูระหวางเครื่องยนตกับชุดเฟองเกียร ข. คั่นอยูระหวางเครื่องยนตกับลอ ค. คั่นอยูระหวางเครื่องยนตกับเฟองเพลา ง. คั่นอยูระหวางเครื่องยนตกับเพลา 4. ขอใด ไมใชหนาที่ของระบบรองรับน้ําหนัก ก. ชวยลดแรงเสียดทานระหวางลอกับพื้นถนน

ค. ชวยใหการบังคับรถมีประสิทธิภาพ

ข. ลดอาการโคลง และการโยนตัวของตัวถัง

ง. ลดความเคนที่เกิดขึ้นกับชิ้นสวนรถยนต

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. ขอใดตอไปนี้ ไมควรทําขณะถอดเปลี่ยนพวงมาลัยแบบลูกปนหมุนเวียน ก. ดูดขาไกเพื่อดึงขาไกออกจากคันสงและถอดฝาครอบโดยการหมุนสกรูปรับตั้งทวนเข็มนาฬิกา ข. ใชเครื่องมือถอดนอตล็อกโดยไมตองถอดแยกเรือนลูกปนออกจากเพลาเฟองตัวหนอน ค. ดูดขาไกเพื่อดึงขาไกออกจากคันสงและถอดฝาครอบโดยการหมุนสกรูปรับตั้งตามเข็มนาฬิกา ง. ทําเครื่องหมายที่ขอตอพวงมาลัยกอนถอดขาไกและเพลาของเฟองตัวหนอน 6. สวนประกอบในขอใดตอไปนี้ไมอยูในชุดดิสกเบรก ก. จานเบรก

ค. ผาเบรก

ข. คาลิปเปอร

ง. สปริงดึงกลับ

7. ขอใดตอไปนี้เปนหลักการทํางานของหมอลมเบรก ก. เชื่อมตอกับทอไอเสียเพื่อดูดอากาศเขาไปเผาไหม ข. เชื่อมตอกับทอไอดีเพื่อดูดอากาศเขาไปเผาไหม ค. เชื่อมตอกับทอแมปมเบรกเพื่อดูดอากาศเขาไปเผาไหม ง. เชื่อมตอกับทอน้ํามันเครื่องเพื่อดูดน้ํามันเขาไปลดแรงดัน 8. สวนประกอบใดในขอตอไปนี้เกี่ยวของกับระบบชารจไฟ ก. คานิสเตอร ข. แคตตาไลติกคอนเวอรเตอร ค. มอเตอรสตารท ง. อัลเตอรเนเตอร 9. ขอใดตอไปนี้หมายถึงตัวถังและแชสซี ก. เปนสวนประกอบที่มีขนาดใหญที่สุด ข. เปนโครงสรางภายนอกของรถ ค. เปนตัวชวยในการลดแรงเสียดทานระหวางพื้นถนน ง. เปนสวนที่ปกคลุมและยึดชิ้นสวนตางๆ ของรถยนต

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

10. ขอใดตอไปนี้คือหนาที่ของถุงลมนิรภัย ก. ชวยซับแรงกระแทกเมื่อเกิดอุบัติเหตุ ข. ชวยซับแรงกระแทกเมื่อรถตกหลุม ค. ชวยซับแรงกระแทกระหวางลอ ง. ชวยซับแรงกระแทกเมื่อรถเสียการทรงตัว

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

แบบทดสอบหลังฝก คําชี้แจง : 1. ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก 2. อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง 3. หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ 4. ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 5. เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 6 09210203 สวนประกอบของรถยนต 1. ขอใดตอไปนี้เปนหลักการทํางานของหมอลมเบรก ก. เชื่อมตอกับทอไอเสียเพื่อดูดอากาศเขาไปเผาไหม ข. เชื่อมตอกับทอไอดีเพื่อดูดอากาศเขาไปเผาไหม ค. เชื่อมตอกับทอแมปมเบรกเพื่อดูดอากาศเขาไปเผาไหม ง. เชื่อมตอกับทอน้ํามันเครื่องเพื่อดูดน้ํามันเขาไปลดแรงดัน

2. จากภาพคือสวนประกอบใดของเครื่องยนต ก. ลูกสูบ

ค. ขอเหวี่ยง

ข. วาลว

ง. ลูกกระทุง

3. ขอใดตอไปนี้ ไมควรทําขณะถอดเปลี่ยนพวงมาลัยแบบลูกปนหมุนเวียน ก. ทําเครื่องหมายที่ขอตอพวงมาลัยกอนถอดขาไกและเพลาของเฟองตัวหนอน ข. ใชเครื่องมือถอดนอตล็อกโดยไมตองถอดแยกเรือนลูกปนออกจากเพลาเฟองตัวหนอน ค. ดูดขาไกเพื่อดึงขาไกออกจากคันสงและถอดฝาครอบโดยการหมุนสกรูปรับตั้งตามเข็มนาฬิกา ง. ดูดขาไกเพื่อดึงขาไกออกจากคันสงและถอดฝาครอบโดยการหมุนสกรูปรับตั้งทวนเข็มนาฬิกา 4. ขอใดตอไปนี้ เปนคุณสมบัติที่จะทําใหการทํางานของเครื่องยนตแกสโซลีนมีประสิทธิภาพสูงสุด ก. กําลังอัดของแตละสูบมีแรงอัดไมเทากัน ข. ประกายไฟของหัวเทียนมีประกายไฟเบาตอเนื่อง ค. มีสวนผสมของอากาศและน้ํามันเชื้อเพลิงที่เหมาะสม ง. มีอากาศเขาสูกระบอกสูบมาก 11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. สวนประกอบในขอใดตอไปนี้ไมอยูในชุดดิสกเบรก ก. จานเบรก

ค. ผาเบรก

ข. คาลิปเปอร

ง. สปริงดึงกลับ

6. ขอใดตอไปนี้บอกหนาที่ของคลัตชไดถูกตอง ก. เชื่อมอยูร ะหวางเครื่องยนตกับชุดเฟองเกียร ข. คั่นอยูระหวางเครื่องยนตกับลอ ค. คั่นอยูระหวางเครื่องยนตกับเฟองเพลา ง. คั่นอยูระหวางเครื่องยนตกับเพลา 7. ขอใด ไมใชหนาที่ของระบบรองรับน้ําหนัก ก. ลดความเคนที่เกิดขึ้นกับชิ้นสวนรถยนต

ค. ชวยใหการบังคับรถมีประสิทธิภาพ

ข. ชวยลดแรงเสียดทานระหวางลอกับพื้นถนน

ง. ลดอาการโคลง และการโยนตัวของตัวถัง

8. ขอใดตอไปนี้คือหนาที่ของถุงลมนิรภัย ก. ชวยซับแรงกระแทกเมื่อเกิดอุบัติเหตุ ข. ชวยซับแรงกระแทกเมื่อรถตกหลุม ค. ชวยซับแรงกระแทกระหวางลอ ง. ชวยซับแรงกระแทกเมื่อรถเสียการทรงตัว 9. ขอใดตอไปนี้หมายถึงตัวถังและแชสซี ก. เปนสวนประกอบที่มีขนาดใหญที่สุด ข. เปนโครงสรางภายนอกของรถ ค. เปนตัวชวยในการลดแรงเสียดทานระหวางพื้นถนน ง. เปนสวนที่ปกคลุมและยึดชิ้นสวนตางๆ ของรถยนต

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

10. สวนประกอบใดในขอตอไปนี้เกี่ยวของกับระบบชารจไฟ ก. คานิสเตอร ข. แคตตาไลติกคอนเวอรเตอร ค. มอเตอรสตารท ง. อัลเตอรเนเตอร

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 1 0921010301 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.1 การสํารวจสวนประกอบของเครื่องยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับสวนประกอบของเครื่องยนตได 2. ปฏิบัติงานสํารวจสวนประกอบของเครื่องยนตได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 3 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกบอกสวนประกอบของชิ้นสวนเครื่องยนตลงในตาราง ตัวอยางตารางบันทึกผลการทดสอบ ชื่อสวนประกอบ เครือ่ งยนต

ประเภทของสวนประกอบ เครือ่ งยนต อยูกับที่

ตําแหนงบนเครื่องยนต

เคลื่อนที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

หนาที่


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ชื่อสวนประกอบ เครือ่ งยนต

ประเภทของสวนประกอบ เครือ่ งยนต อยูกับที่

ตําแหนงบนเครื่องยนต

เคลื่อนที่

13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

หนาที่


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 1.1 การสํารวจสวนประกอบของเครื่องยนต 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. โตะปฏิบัติการ

จํานวน 1 ตัว

2. เสื้อสูบ

จํานวน 1 เครื่อง

3. ปลอกสูบ

จํานวน 1 ตัว

4. ฝาสูบ

จํานวน 1 ตัว

5. เพลาขอเหวี่ยง

จํานวน 1 ตัว

6. ลอชวยแรง

จํานวน 1 ลอ

7. แหวนลูกสูบ

จํานวน 1 ชุด

8. ลูกสูบ

จํานวน 1 ลูก

9. กานสูบ

จํานวน 1 ตัว

10. เพลาลูกเบี้ยว

จํานวน 1 ชุด 18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

11. วาลว

จํานวน 1 ชุด

12. ฝาครอบวาลว

จํานวน 1 ชุด

13. ปะเก็นฝาสูบ

จํานวน 1 ชุด

14. อางน้ํามันหลอลื่น

จํานวน 1 อาง

15. ปมน้ํามันหลอลื่น

จํานวน 1 ตัว

16. หัวดูดน้ํามันหลอลื่น

จํานวน 1 หัว

17. กรองน้ํามันหลอลื่น

จํานวน 1 ตัว

18. ชุดกลไกขับเพลาลูกเบี้ยวแบบสายพาน

จํานวน 1 ชุด

19. หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง

จํานวน 1 ชุด

20. หัวเทียน

จํานวน 1 ตัว

21. ทอรวมไอดี

จํานวน 1 ทอ

22. ทอรวมไอเสีย

จํานวน 1 ทอ

23. แบริ่ง

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ การสํารวจสวนประกอบของเครื่องยนต ขั้นตอนการทดสอบ 1. จัดเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ

คําอธิบาย ครูฝก จัด เตรีย มเครื่อ งยนตที่ถ อดชิ้น ส ว น ออกแลว และชิ้นสวนเครื่องยนตชนิดตาง ๆ

2. เลือกหยิบชิ้นสวนเครื่ องยนต

ผูรับการฝกเลือกหยิ บชิ้นสว นเครื่ องยนต ที่ ครูฝกจัดเตรียมไว ครั้งละ 1 ชิ้น

3. สังเกตและบันทึกผล

สังเกตวาชิ้น สว นเครื่องยนตที่เลือกมาเปน ชิ้นสวนประเภทอยูกับที่ หรือ เคลื่อนที่ และ สังเกตตําแหนงของชิ้นสวน วาอยูที่สวนใด ของเครื่องยนต จากนั้น บัน ทึกขอมูล ลงใน ตารางบันทึกผล

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 4. ทําตามขั้นตอนที่ 2 – 3 อีกครั้ง

คําอธิบาย ผูรับ การฝกเลือกศึกษาชิ้น สว นเครื่อ งยนต อื่น ๆ และบันทึกขอมูลลงในตารางบันทึกผล จนกระทั่งครบทุกชิ้น

5. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิบัติงาน และจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหเรียบรอย

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน

2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทอยูกับที่

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทเคลื่อนที่

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

หลังปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

เฉลยแบบทดสอบภาคปฏิบัติ แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 1.1 การสํารวจสวนประกอบของเครื่องยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับสวนประกอบของเครื่องยนตได 2. ปฏิบัติงานสํารวจสวนประกอบของเครื่องยนตได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 3 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกบอกสวนประกอบของชิ้นสวนเครื่องยนตลงในตาราง ตัวอยางเฉลยแบบทดสอบภาคปฏิบัติ ชื่อสวนประกอบ เครือ่ งยนต 1 เสื้อสูบ

ประเภทของสวนประกอบ เครือ่ งยนต อยูกับที่ 

ตําแหนงบนเครื่องยนต

หนาที่

เคลื่อนที่ เปนโครงสรางหลักของ

ใชเปนโครง เพื่อประกอบ

เครื่องยนต

ชิ้นสวนภายในเครื่องยนต เชน เพลาขอเหวี่ยง ลูกสูบ กานสูบ กรองน้ํามัน และอาง น้ํามันเครื่องเขาดวยกัน

2. ปลอกสูบ

ประกอบอยูภายในเสื้อสูบ

ลดการสึกหรอของเสื้อสูบ มี อยูทั้งในเครื่องยนตเบนซิน และเครื่องยนตดีเซล

3. ฝาสูบ

ฝาสูบจะถูกติดตั้งไวบริเวณ

เปนที่ติดตั้งกลไกวาลวและ

สวนบนสุดของเสื้อสูบ และขัน เพลาลูกเบี้ยว รวมทั้งเปน ยึดนอตติดกับเสื้อสูบ

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

สวนประกอบของหองเผาไหม


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ชื่อสวนประกอบ เครือ่ งยนต 4. เพลาขอเหวี่ยง

ประเภทของสวนประกอบ เครือ่ งยนต อยูกับที่

ตําแหนงบนเครื่องยนต

หนาที่

เคลื่อนที่ 

เพลาขอเหวี่ยงมีแกนที่ยื่น

รับแรงกระทําที่สงมาจากกาน

ออกไปนอกเสื้อสูบทั้งสองดาน สูบ (Connecting Rod) โดย ดานหนึ่งยึดติดกับลอชวยแรง รับแรงระเบิดที่เกิดการจุด สวนอีกดานหนึ่งจะยึดติดกับ

ระเบิดเหนือลูกสูบ

พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง 5. ลอชวงแรง

ยึ ดติ ดกั บเพลาข อเหวี่ ย งด าน ห มุ น ไ ป พ ร อ ม กั บ เ พ ล า ทาย

ขอเหวี่ยง และชวยสงแรงที่ได จากจังหวะอัดลงสูลอรถยนต

6. แหวนลูกสูบ

ประกอบอยูในรองแหวนของ

ผนึ ก กํ า ลั ง อั ด ไม ใ ห เ กิ ด การ

ลูกสูบ

รั่ว ไหลในจังหวะอัด ปองกัน แกสที่เกิดจากการเผาไหมรั่ว ผ า นแหวนลู ก สู บ เข า ไปใน ห อ งเพลาข อ เหวี่ ย ง และ กวาดน้ํามันหลอลื่นตามผนัง ลูกสูบในจังหวะที่ลูกสูบเลื่อน กลับลงไปสูอางน้ํามันหลอลื่น

7. ลูกสูบ

ประกอบอยูภายในกระบอกสูบ อั ด ไอดี ใ นจั ง หวะอั ด ขั บ ไล โดยมีกานสูบตอกับสลักลูกสูบ แก ส ไอเสี ย ออกจากกระบอก เปลี่ยนการเคลื่อนที่ไปยังเพลา สู บในจั งหวะคาย ส งแรงจาก ขอเหวี่ยง

การระเบิ ดผ านก านสู บไปยั ง เพลาขอเหวี่ยงในจังหวะระเบิด ทํ า ใ ห เ กิ ด สุ ญ ญ า ก า ศ ใ น ก ร ะ บ อ ก สู บ แ ล ะ ทํ า ใ ห แรงดัน บรรยากาศภายนอก

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ชื่อสวนประกอบ เครือ่ งยนต

ประเภทของสวนประกอบ เครือ่ งยนต อยูกับที่

ตําแหนงบนเครื่องยนต

หนาที่

เคลื่อนที่ ผลักดันไอดีเขาสูกระบอกสูบ ในจังหวะดูด 

8. กานสูบ

ดานบนประกอบกับสลัก

ถายทอดพลังงานจากลูกสูบที่

ลูกสูบ อีกด านหนึ่ง ประกอบ

ถูกกระแทกดวยแรงระเบิด

ติดกับ เพลาข อเหวี่ย ง 

9. เพลาลูกเบี้ยว

รถยนตรุนเกาจะอยูขางเสื้อสูบ ควบคุมการเปด-ปดวาลวไอดี แตรถยนตรุนใหมจะติดตั้งไว

และวาลวไอเสีย เพื่อใหเกิด

บนฝาลูกสูบ และจัดวางวาลว

การไหลของอากาศดีและไอ

อยูบนฝาสูบดวย

เสีย เขา-ออกกระบอกสูบ อยางสม่ําเสมอ

10. วาลว

สวมใสอยูภายในปลอกนํา

เปดรูไอดีและไอเสียระหวาง

วาลวที่ฝาสูบ

การบรรจุไอดีและคายไอเสีย ปดรูไอดีและไอเสียใหสนิท เพื่อปองกันอากาศรั่วใน จังหวะอัดและจังหวะระเบิด

11. ฝาครอบวาลว

ครอบอยูบริเวณดานบนของ

ปองกันการรั่วของ

ฝาสูบ

น้ํามันเครื่องที่ใชในการหลอ ลืน่ และระบายความรอนของ กระเดื่องวาลว

12. ปะเก็นฝาสูบ

ระหวางฝาสูบกับเสื้อสูบ

อุดไมใหของเหลวไหลออกมา ได และเป น ส ว นที่ ช ว ยให หนาสัมผัสของฝาสูบกับ เสื้อสูบทั้งสองสวนแนบชิดกัน

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ชื่อสวนประกอบ เครือ่ งยนต 13. อางน้ํามันหลอลื่น

ประเภทของสวนประกอบ เครือ่ งยนต อยูกับที่

ตําแหนงบนเครื่องยนต

หนาที่

เคลื่อนที่

ติดตั้งอยูดานลางสุดของเสื้อสูบ กักเก็บน้ํามันหลอลื่น และ รักษาระดับของ น้ํามันหลอลื่นที่ดานลางของ อางน้ํามันไว ในขณะที่ รถยนตไมไดระดับ

14. ปมน้ํามันหลอลื่น

ติดตั้งอยูบริเวณเสื้อสูบ

ดูดน้ํามันเครื่องจากถัง แลว ดันน้ํามันเครื่องใหไหลไปหลอ ลื่นสวนตาง ๆ ของ เครื่องยนต

15. หัวดูดน้ํามันหลอลื่น

ติดตั้งไวบริเวณกนอาง

ดูดน้ํามันหลอลื่นจากอาง

น้ํามันหลอลื่น และมีทอตอไป น้ํามันเครื่องผานปมดูดไป ยังปมน้ํามันหลอลื่น

ตามชิ้นสวนตาง ๆ ของ เครื่องยนต

16. กรองน้ํามันหลอลื่น

ดานขางเครื่องยนต

กรองสิ่งแปลกปลอมที่มากับ น้ํามันหลอลื่น

17. ชุดกลไกขับเพลา ลูกเบี้ยวแบบโซราวลิ้น

คลองระหวางเฟองเพลาลูก

ทําใหเครื่องยนตทํางานตาม

เบี้ยวกับเฟองราวลิ้น

จังหวะดูด อัด ระเบิด คาย โดยใชกลไกวาลว

18. หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง

อยูดานบนฝาสูบ

ฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงเขาสูหอง เผาไหม

19. หัวเทียน

หัวเทียนจะสวมเขาไปกับ

สรางประกายไฟซึ่งจะรับไฟ

เกลียวของฝาสูบ และสวน

แรงสูงมาจากคอยลจุดระเบิด

ปลายของหัวเทียนจะยื่นเขา

เพื่อใชในการจุดระเบิด

ไปยังหองเผาไหม

ภายในหองเผาไหม

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ชื่อสวนประกอบ เครือ่ งยนต 20. ทอรวมไอดี 21. ทอรวมไอเสีย

ประเภทของสวนประกอบ เครือ่ งยนต อยูกับที่  

ตําแหนงบนเครื่องยนต

หนาที่

เคลื่อนที่ ติดตั้งอยูบริเวณดานขางของ

เปนทางผานใหอากาศไหล

ฝาสูบของเครื่องยนต

ผานไปยังหองเผาไหม

อยูดานบนของฝาสูบ

เปนทางเดินของแกสไอเสียที่ เกิดจากการเผาไหมภายใน กระบอกสูบ

22. แบริ่ง

แบริ่งหลักยึดเพลาขอเหวี่ยง

รับน้ําหนัก และถายทอดแรง

ในหองเพลาขอเหวี่ยง และ

ที่เกิดขึ้นจากเพลาลงไปสู

แบริ่งกานสูบประกอบอยู

อุปกรณตาง ๆ

ระหวางกานสูบและขอเหวี่ยง

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ครบถวน

ใหคะแนน 3 คะแนน

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทอยูกับที่

สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทอยูกับทีไ่ ดถูกตอง และครบถวนทุกชิ้นสวน ใหคะแนน 5 คะแนน สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทอยูกับที่ไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน ไมเกิน 3 ชิ้นสวน ใหคะแนน 3 คะแนน สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทอยูกับที่ไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน ไมเกิน 5 ชิ้นสวน ใหคะแนน 1 คะแนน สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทอยูกับทีไ่ มถกู ตอง หรือ ไมครบถวนเกิน 5 ชิ้นสวน ใหคะแนน 0 คะแนน

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทเคลื่อนที่

สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทเคลื่อนที่ไดถูกตอง และครบถวนทุกชิ้นสวน ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนน เต็ม 5

สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทเคลื่อนที่ไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน ไมเกิน 3 ชิ้นสวน ใหคะแนน 3 คะแนน สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทเคลื่อนที่ไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน ไมเกิน 5 ชิ้นสวน ใหคะแนน 1 คะแนน สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทเคลื่อนที่ไมถูกตอง หรือ ไมครบถวนเกิน 5 ชิ้นสวน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง และไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 3 0921020303 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.1 การตรวจสอบและปรับตั้งแปนเหยียบคลัตชแบบไฮดรอลิก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบสงกําลังได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบแปนเหยียบคลัตชแบบไฮดรอลิกได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบและปรับตั้งแปนเหยียบคลัตชแบบไฮดรอลิก

ภาพที่ 1 โครงสรางระบบคลัตช

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.1 การตรวจสอบและปรับตัง้ แปนเหยียบคลัตชแบบไฮดรอลิก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

3. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

4. ตลับเมตร

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ การตรวจสอบและปรับตั้งแปนเหยียบคลัตชแบบไฮดรอลิก ขั้นตอนการทดสอบ 1. จอดรถ

คําอธิบาย โดยพื้นที่ตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขา เกียรในตําแหนง P ถาเปนเกียร ธรรมดา ใหเขาเกียรที่ตําแหนง เกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

3. คลุมผาสําหรับซอม

ใชผาคลุมสําหรับซอมภายในตัวรถ บริเวณเบาะ พวงมาลัย หัวเกียร

4. ตรวจสอบความสูงของแปนเหยียบคลัตช

ใช ต ลั บ เมตรวั ด ระยะจากพื้ น ถึ ง แปนเหยียบคลัตช ซึ่งจะตองวัดได 145 – 155 มิลลิเมตร หรือตามที่ คูมือซอมประจํารถยนตกําหนด

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 5. ปรับตั้งความสูงของแปนเหยียบคลัตช

คําอธิบาย คลายนอตและหมุ น โบลต ป รับ ตั้ง

ขอควรระวัง

ความสูงของแปน เหยีย บคลัตชให ไดระยะ

กดแปนเหยียบคลัตชจนมีแรงตาน ควรย้ําแปน

6. ทดสอบแปนเหยียบคลัตช

ของแผนคลัตช ซึ่งจะตองมีระยะฟรี เหยียบคลัตช ของแผนคลัตช

หลาย ๆ ครั้ง กอนตรวจสอบ ระยะฟรี

7. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณ สถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

ที่ 1

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบความสูงของแปนเหยียบคลัตช

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การปรับตั้งความสูงของแปนเหยียบคลัตช

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบความสูงของแปนเหยียบคลัตช

ตรวจสอบความสู ง ของแป น เหยี ย บคลั ต ช ไ ด ถู ก ต อ ง ไมคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ตรวจสอบความสูงของแปนเหยียบคลัตชคลาดเคลื่อนไมเกิน 5 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบความสู ง ของแป น เหยี ย บคลั ต ช ค ลาดเคลื่ อ น เกินกวา 5 มิลลิเมตร ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การปรับตั้งความสูงของแปนเหยียบคลัตช

ปรับตั้งความสูงของแปนเหยียบคลัตชไดถูกตองตามขั้นตอน และคาความสูงไมคลาดเคลื่อน

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ใหคะแนน 5 คะแนน ปรับตั้งความสูงของแปนเหยียบคลัตชไมถูกตองตามขั้นตอน หรือคาความสูงคลาดเคลื่อน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ปรับตั้งความสูงของแปนเหยียบคลัตชไมถูกตองตามขั้นตอน และคาความสูงคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 3 0921020303 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.2 การเปลี่ยนถายน้ํามันเฟองทายรถยนตขับเคลื่อนลอหลัง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบสงกําลังได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนถายน้ํามันเฟองทายรถยนตขับเคลื่อนลอหลังได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเปลี่ยนถายน้ํามันเฟองทายรถยนตขับเคลื่อนลอหลัง

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.2 การเปลี่ยนถายน้ํามันเฟองทายรถยนตขับเคลื่อนลอหลัง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนตขับเคลื่อนลอหลัง

จํานวน 1 คัน

2. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

3. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

4. ประแจวัดแรงบิด

จํานวน 1 อัน

5. แหวนรองนอตถายน้ํามันเฟองทาย

จํานวน 1 อัน

6. ถังรองเปลี่ยนถายน้ํามัน

จํานวน 1 ใบ

7. ลิฟตยกรถ

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํามันเฟองทาย

จํานวน 1 แกลลอน

2. น้ํามันเบนซิน

จํานวน 1 ลิตร

3. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ลําดับการทดสอบ การเปลี่ยนถายน้ํามันเฟองทายรถยนตขับเคลื่อนลอหลัง ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

3. ยกรถขึ้น

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ยกรถขึ้ น จากพื้ น ด ว ยลิ ฟ ต ย กรถ เพื่ อ ระวังอยาให มี คนหรื อ เปลี่ยนถายน้ํามันเฟองทาย

สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํารถขึ้น และระวัง รถตกจากลิฟตยกรถ

4. วางถังรองน้ํามันเฟองทาย

วางถั ง รองน้ํ า มั น เฟ อ งท า ย ให ต รงกั บ ตําแหนงนอตถายน้ํามันเฟองทาย

5. ทําความสะอาดนอตเติมน้ํามันเฟองทาย (กอนถอดนอตเติมน้ํามันเฟองทาย)

ใชผาเช็ดทําความสะอาดนอตเติมน้ํามัน เฟองทาย

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 6. ถอดนอตเติมน้ํามันเฟองทาย

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใช ป ระแจถอดนอตเติ ม น้ํ า มั น เฟ อ งท า ย ออก

7. ทําความสะอาดนอตถายน้ํามันเฟองทาย (กอนถอดนอตถายน้ํามันเฟองทาย)

8. ถอดนอตถายน้ํามันเฟองทาย

ใชผาเช็ดทําความสะอาดนอตถ ายน้ํา มัน เฟองทาย

ถอดนอตถ า ยน้ํ า มั น เฟ อ งท า ยออก ด ว ย ระวังน้ํามันกระเด็นใส ประแจ และรอจนกระทั่งน้ํามันเฟองทาย ตาและรางกาย ไหลออกหมด

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 9. ทําความสะอาดนอตเติมน้ํามันเฟองทาย (หลังถอดนอตเติมน้ํามันเฟองทาย) 10. ทําความสะอาดนอตถายน้ํามันเฟองทาย (หลังถอดนอตถายน้ํามันเฟองทาย)

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ทําความสะอาดนอตเติมน้ํามันเฟองท าย ลางเศษโลหะที่ติดอยู ดวยน้ํามันเบนซิน

บนนอตเติมและนอต

ทําความสะอาดนอตถายน้ํามันเฟองทาย ถายน้ํามันเฟองทาย ออกใหหมด ปองกัน ดวยน้ํามันเบนซิน เศษโลหะปะปนกับ น้ํามันที่เปลี่ยนใหม

11. เปลี่ยนแหวนรองใหม

ประกอบแหวนรองนอตถ ายน้ํ า มั น เฟ อ ง ห า มใช แ หวนรองผิ ด ทายตัวใหมเขาไปแทน

ขนาด เพราะอาจทําให น้ํามันรั่วซึม

12. ขันนอตถายน้ํามันเฟองทาย

ประกอบนอตถายน้ํามันเฟองทาย และขัน ตามคาแรงขัน ที่คูมือซอมประจํารถยนต กําหนดดวยประแจวัดแรงบิด

13. เติมน้ํามันเฟองทายใหม

เติ ม น้ํ า มั น เฟ อ งท า ยใหม ให ไ ด ร ะดั บ ขณะเติ ม น้ํ า มั น เฟ อ ง เดียวกันกับรูเติมลาง โดยเติมจนน้ํามันเริ่ม ท า ย ต อ ง มี ถั ง ร อ ง ไหลออกมาจากรูเติม หรือตามปริมาณที่ เปลี่ย นถายน้ํามัน รอง คูมือซอมประจํารถกําหนด

อยูดานลางเสมอ เพื่อ ปองกันน้ํามันหกลงบน พื้น

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 14. ขันนอตเติมน้ํามันเฟองทาย

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ประกอบนอตเติมน้ํามันเฟองทาย และขัน ตามคาแรงขัน ที่คูมือซอมประจํารถยนต กําหนดดวยประแจวัดแรงบิด

15. นํารถลงพื้น

ลดระดั บ ลิ ฟ ต ย กรถจนกระทั่ ง รถอยู ใ น ระวังอยาให มี คนหรื อ

16. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ระดับปกติ

สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ

อุปกรณ

หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํารถลง ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

ที่ 1

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การประกอบนอตถา ยน้ํา มันเฟองทายโดยใช ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ประแจวัดแรงบิด

5

การประกอบนอตเติมน้ํามันเฟองทายโดยใช

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ประแจวัดแรงบิด 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง 2

ใหคะแนน 0 คะแนน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การประกอบนอตถายน้ํามันเฟองทายโดยใชประแจวัด

ประกอบนอตถายน้าํ มันเฟองทายโดยใชประแจวัดแรงบิดได

แรงบิด

ถูกตองตามขั้นตอน และคาแรงขันไมคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 5 คะแนน ประกอบนอตถายน้ํามันเฟองทายโดยใชประแจวัดแรงบิด ไมถูกตองตามขั้นตอน หรือ ไดคาแรงขันคลาดเคลื่อน อยางใด อยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ประกอบนอตถายน้ํามันเฟองทายโดยใชประแจวัดแรงบิด ไมถูกตองตามขั้นตอน และ ไดคาแรงขันคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

การประกอบนอตเติมน้ํามันเฟองทายโดยใชประแจวัด แรงบิด

ประกอบนอตเติมน้ํามันเฟองทายโดยใชประแจวัดแรงบิดได ถูกตองตามขั้นตอน และคาแรงขันไมคลาดเคลื่อน

คะแนน เต็ม 5

ใหคะแนน 5 คะแนน ประกอบนอตเติมน้ํามันเฟองทายโดยใชประแจวัดแรงบิด ไมถูกตองตามขั้นตอน หรือ ไดคาแรงขันคลาดเคลื่อน อยางใด อยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ประกอบนอตเติมน้ํามันเฟองทายโดยใชประแจวัดแรงบิด ไมถูกตองตามขั้นตอน และ ไดคาแรงขันคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 3 0921020303 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.3 การเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรแบบธรรมดา 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบสงกําลังได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรแบบธรรมดาได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําการเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรแบบธรรมดา

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.3 การเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรแบบธรรมดา 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนตเกียรธรรมดา

จํานวน 1 คัน

2. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

3. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

4. ประแจวัดแรงบิด

จํานวน 1 อัน

5. แหวนรองนอตถายน้ํามันเกียร

จํานวน 1 อัน

6. ถังรองเปลี่ยนถายน้ํามัน

จํานวน 1 ใบ

7. ลิฟตยกรถ

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํามันเกียร

จํานวน 1 แกลลอน

2. น้ํามันเบนซิน

จํานวน 1 ลิตร

3. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ลําดับการทดสอบ การเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรแบบธรรมดา ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียรที่ตําแหนง เกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

3. ยกรถขึ้น

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ยกรถขึ้นจากพื้นดวยลิฟตยกรถ เพื่อ

ระวังอยาให มี คนหรื อ

เปลี่ยนถายน้ํามันเกียร

สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํ า รถขึ้ น และ ระวังรถตกจากลิฟตยก รถ

4. วางถังรองน้ํามันเกียร

วางถังรองน้ํามันเกียร ใหตรงกับตําแหนง นอตถายน้ํามันเกียร

5. ทําความสะอาดนอตเติมน้ํามันเกียร (กอนถอดนอตเติมน้ํามันเกียร)

ใชผาเช็ดทําความสะอาดนอตเติมน้ํามัน เกียร

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

6. ถอดนอตเติมน้ํามันเกียร

ใชประแจถอดนอตเติมน้ํามันเกียรออก

7. ทําความสะอาดนอตถายน้ํามันเกียร

ใชผาเช็ดทําความสะอาดนอตถ ายน้ํา มัน

(กอนถอดนอตถายน้ํามันเกียร)

8. ถอดนอตถายน้ํามันเกียร

ขอควรระวัง

เกียร

ถอดนอตถายน้ํามันเกียรออก ดวยประแจ ระวังน้ํามันกระเด็นใส และรอจนกระทั่งน้ํามันเกียรไหลออกหมด ตาและรางกาย

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 9. ทําความสะอาดนอตเติมน้ํามันเกียร (หลังถอดนอตเติมน้ํามันเกียร) 10. ทําความสะอาดนอตถายน้ํามันเกียร (หลังถอดนอตถายน้ํามันเกียร)

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ทําความสะอาดนอตเติมน้ํามันเกีย ร ดว ย ลางเศษโลหะที่ ติ ด อยู น้ํามันเบนซิน

บนนอตเติ ม และนอต

ทําความสะอาดนอตถายน้ํามันเกียร ด ว ย ถายน้ํามันเกียรออกให หมด เพื่อปองกัน เศษ น้ํามันเบนซิน โลหะปะปนกับน้ํามันที่ เปลี่ยนใหม

11. เปลี่ยนแหวนรองใหม

ประกอบแหวนรองนอตถ ายน้ํ ามั น เกี ย ร ห า มใช แ หวนรองผิ ด ตัวใหมเขาไปแทน

ขนาด เพราะอาจทําให น้ํามันรั่วซึม

12. ขันนอตถายน้ํามันเกียร

ประกอบนอตถายน้ํามันเกียรและขันตาม ค า แรงขั น ที่ คู มื อ ซ อ มประจํ า รถยนต กําหนดดวยประแจวัดแรงบิด

13. เติมน้ํามันเกียรใหม

เติมน้ํามันเกียรใหม ใหไดระดับเดียวกันกับ ขณะเติ ม น้ํ า มั น เกี ย ร รูเติมลาง โดยเติมจนน้ํามันเริ่มไหลออกมา ต อ งมี ถั ง รองเปลี่ ย น จากรู เ ติ ม หรื อ ตามปริ ม าณที่ คู มื อ ซ อ ม ถ า ย น้ํ า มั น ร อ ง อ ยู ประจํารถยนตกําหนด

ด า นล า งเสมอ เพื่ อ ปองกันน้ํามันหกลงบน พื้น

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 14. ขันนอตเติมน้ํามันเกียร

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ประกอบนอตเติมน้ํามันเกียรและขั นตาม ค า แรงขั น ที่ คู มื อ ซ อ มประจํ า รถยนต กําหนดดวยประแจวัดแรงบิด

15. นํารถลงพื้น

ลดระดั บ ลิ ฟ ต ย กรถจนกระทั่ ง รถอยู ใ น ระวังอยาให มี คนหรื อ

16. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ระดับปกติ

สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ

อุปกรณ

หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํารถลง ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

ที่ 1

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การประกอบนอตถายน้ํามันเกียรโดยใชประแจ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน วัดแรงบิด

5

การประกอบนอตเติมน้ํามันเกียรโดยใชประแจ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน วัดแรงบิด

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การประกอบนอตถายน้ํามันเกียรโดยใชประแจวัดแรงบิด ประกอบนอตถ า ยน้ํ า มั นเกี ย ร โ ดยใช ป ระแจวั ดแรงบิ ด ได ถูกตองตามขั้นตอน และคาแรงขันไมคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 5 คะแนน ประกอบนอตถ า ยน้ํ า มั น เกี ย ร โ ดยใช ป ระแจวั ด แรงบิ ด ไมถูกตองตามขั้นตอน หรือ ไดคาแรงขันคลาดเคลื่อน อยางใด อยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ประกอบนอตถ า ยน้ํ า มั น เกี ย ร โ ดยใช ป ระแจวั ด แรงบิ ด ไมถูกตองตามขั้นตอน และ ไดคาแรงขันคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การประกอบนอตเติมน้ํามันเกียรโดยใชประแจวัดแรงบิด ประกอบนอตเติม น้ํ า มั น เกี ย ร โ ดยใช ป ระแจวั ดแรงบิ ด ได

5

ถูกตองตามขั้นตอน และคาแรงขันไมคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 5 คะแนน ประกอบนอตเติ ม น้ํ า มั น เกี ย ร โ ดยใช ป ระแจวั ด แรงบิ ด ไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน หรื อ ได ค า แรงขั น คลาดเคลื่ อ น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ประกอบนอตเติ ม น้ํ า มั น เกี ย ร โ ดยใช ป ระแจวั ด แรงบิ ด ไมถูกตองตามขั้นตอน และ ไดคาแรงขันคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 4 0921020304 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 4.1 การตรวจสอบลูกหมากปกนกและความหนืดของลูกหมาก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบรองรับน้ําหนักได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบลูกหมากปกนกและความหนืดของลูกหมากได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําการตรวจสอบลูกหมากปกนกและความหนืดของลูกหมากได

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 4.1 การตรวจสอบลูกหมากปกนกและความหนืดของลูกหมาก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ งาน ไมใหมีอุป กรณอื่ น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตรายเชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

3. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

4. ประแจวัดแรงบิด

จํานวน 1 อัน

5. เหล็กงัดลูกหมาก

จํานวน 1 อัน

6. แมแรงตะเฆ

จํานวน 1 ตัว

7. ขาตั้งรองรับรถ

จํานวน 4 ตัว

8. หมอนรองลอรถกันลื่นไถล

จํานวน 4 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ลําดับการทดสอบ การตรวจสอบลูกหมากปกนกและความหนืดของลูกหมาก ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

จอดรถใหตรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 3. ขึ้นแมแรงยกรถ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ยกรถขึ้นดวยแมแรง และรองรับดวยขาตั้ง ห า มมุ ด เข า ใต ท อ งรถ รองรับรถ

เพื่อปองกันอันตรายใน ก ร ณี ที่ แ ม แ ร ง ไ ม สามารถรองรับน้ําหนัก ของรถได

4. โยกปกนกตัวลางขึ้นลง

ซึ่งปกนกตัวลางจะตองไมหลวมคลอน

5. ตรวจสอบลูกหมากปกนกตัวลาง

ใชเหล็กงัดลูกหมาก งัดใตลูกหมากตัวลาง

6.ตรวจสอบลูกหมากปกนกตัวบน

ใชเหล็กงัดลูกหมากงัดลอใหขยับขึ้นลง

7. ตรวจสอบความหนืดของลูกหมาก

ใช ป ระแจวั ด แรงบิ ด ตรวจสอบค า ความ ยางหุ ม ลู ก หมากต อ ง หนื ด ในขณะเริ่ ม หมุ น และหมุ น อย า ง อยูในสภาพดี ไมฉีกขาด หากยางหุ ม ลู ก หมาก 64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ต อ เนื่ อ ง โดยค า แรงบิ ด เป น ไปตาม เสียหาย ใหเปลี่ยนกอน มาตรฐานคูมือซอมรถยนต

ตรวจสอบความหนืด

8. นํารถลงพื้น

ขึ้นแมแรง เพื่อนําขาตั้งออก และนํารถลง ระวังอยาให มี คนหรื อ

9. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

สูพื้น

สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํารถลง

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

ที่ 1

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบสภาพความหลวมของลูกหมาก ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ปกนกตัวบนและลูกหมากปกนกตัวลาง

5

การตรวจสอบความหนืดของลูกหมาก โดยใช

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ประแจวัดแรงบิด 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบสภาพความหลวมของลูกหมากปกนกตัว บนและลูกหมากปกนกตัวลาง

ตรวจสอบสภาพความหลวมของลูกหมากปกนกตัวบนและ ลูกหมากปกนกตัวลาง ไดถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบสภาพความหลวมของลูกหมากปกนกตัวบน หรือ ลูกหมากปกนกตัวลาง ไมถกู ตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบสภาพความหลวมของลูกหมากปกนกตัวบน และ ลูกหมากปกนกตัวลาง ไมถูกตองตามขั้นตอน

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การตรวจสอบความหนืดของลูกหมาก โดยใชประแจวัด

ตรวจสอบความหนืดของลูกหมาก โดยใชประแจวัดแรงบิด

แรงบิด

ไดถูกตองตามขั้นตอน และคาแรงขันไมคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ตรวจสอบความหนืดของลูกหมาก โดยใชประแจวัดแรงบิด ไมถูกตองตามขั้นตอน หรือ ไดคาแรงขันคลาดเคลื่อน อยางใด อยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบความหนืดของลูกหมาก โดยใชประแจวัดแรงบิด ไมถูกตองตามขั้นตอน และ ไดแรงขันคาคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 4 0921020304 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 4.2 การตรวจสอบช็อคอัพค้ํารองรับรถ หรือ ระบบรองรับรถแบบ MacPherson Strut 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบรองรับน้ําหนักได 2. ปฏิบัติงานบอกสวนประกอบและตรวจสอบช็อคอัพค้ํารองรับรถได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกบอกสวนประกอบและตรวจสอบช็อคอัพค้ํารองรับรถได

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 4.2 การตรวจสอบช็อคอัพค้ํารองรับรถ หรือ ระบบรองรับรถแบบ MacPherson Strut 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. ลิฟตยกรถ

จํานวน 1 ตัว

3. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

4. ประแจกระบอก

จํานวน 1 ชุด

5. ประแจวัดแรงบิด

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ การตรวจสอบช็อคอัพค้ํารองรับรถ หรือ ระบบรองรับรถแบบ MacPherson Strut ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขาเกียร ที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 3. คลายนอตลอดวยประแจขันนอตลอ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใชประแจคลายนอตลอหนาทั้งสองลอออก ทีละตัวตามลําดับ แคพอนอตหลวม

4. ยกรถขึ้น

ยกรถขึ้นดวยลิฟตยกรถแบบ 2 เสา โดยให ระวั งรถตกจากลิฟต ยก รถอยูสูงขึ้นจากพื้นเล็กนอย

รถ โดยคานยกจะตอง อยูในระดับเดียวกันทั้ง ซายและขวา

5. ถอดนอตลอหนาขางซายดวยประแจขันนอตลอ

ใชป ระแจถอดนอตล อหนา ขา งซา ยออก

6. ถอดนอตลอหนาขางขวาดวยประแจขันนอตลอ

ทีละตัวตามลําดับ และนําลอออก ใช ป ระแจถอดนอตล อ หน าข า งขวาออก ระวั ง ล อ หล น ทั บ เท า ทีละตัวตามลําดับ และนําลอออก

หรื อ ส ว นอื่ น ๆ ของ รางกาย

7. ตรวจสอบยางรองสปริงตัวบน

ตรวจสอบยางรองสปริ ง ตั ว บนส ว นที่ หากยางคลุ มระบบ คลุมลงมาที่ช็อคอัพสวนบน ซึ่งจะตองไมมี ช็อคอัพฉีกขาด หรือมี รอยฉีกขาด

น้ํ า มั น รั่ ว ไ ห ล ต อ ง เปลี่ ย นยางคลุ ม หรื อ เปลี่ยนช็อคอัพ

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 8. ตรวจสอบการรั่วซึมของน้ํามันช็อคอัพ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตรวจสอบการรั่ ว ซึ ม ของน้ํ า มั น ช็ อ คอั พ ที่กระบอกช็อคอัพ

9. นํารถลงพื้น

ลดระดั บ ลิ ฟ ต ย กรถจนกระทั่ ง รถอยู ใ น ระดับปกติ

10. คลุมผาสําหรับซอม

ใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวนหนารถ และบังโคลนซาย-ขวา

11. กดแกมรถสวนบน

ผูป ฏิบัติงานยืน อยูบ ริเวณแกมรถดานใด ควรลองกดแก มรถซ้ํ า ด า นหนึ่ ง ใช มื อ ทั้ ง สองข า งกดแก ม รถ หลาย ๆ ครั้ ง เพื่ อ ให สวนบนดวยน้ําหนักพอประมาณ

สปริ ง เข า ที่ ก อ นการ กดเพื่อทดสอบช็อคอัพ

รี บ ปล อ ยมื อ ขึ้ น รถจะต อ งยกตั ว กลั บ สู ระดับปกติ หากรถยุบตัวขึ้นลงหลายครั้ง แสดงวาช็อคอัพทํางานผิดปกติ และตรวจสอบแกมรถอีกดานดวยวิธีการเดิม

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

12. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

ที่ 1

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบช็อคอัพค้ํารองรับรถ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบช็อคอัพรองรับรถ

ตรวจสอบยางรองสปริงตัวบนของช็อคอัพ และการรั่วซึม ของน้ํามันช็อคอัพไดถูกตองทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบยางรองสปริงตัวบนของช็อคอัพ หรือ การรั่วซึม ของน้ํามันช็อคอัพไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบยางรองสปริงตัวบนของช็อคอัพ และ การรั่วซึม ของน้ํามันช็อคอัพไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

คะแนน เต็ม

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

23

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 5 0921020305 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 5.1 การตรวจสอบลูกหมากบังคับเลี้ยวแบบเฟองสะพาน (Rack and Pinion) 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบบังคับเลี้ยวได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบลูกหมากบังคับเลี้ยวแบบเฟองสะพาน (Rack and Pinion) ได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบลูกหมากบังคับเลี้ยวแบบเฟองสะพาน (Rack and Pinion)

78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 5.1 การตรวจสอบลูกหมากบังคับเลี้ยวแบบเฟองสะพาน (Rack and Pinion) 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. ลิฟตยกรถ

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ การตรวจสอบลูกหมากบังคับเลี้ยวแบบเฟองสะพาน (Rack and Pinion) ขั้นตอนการทดสอบ 1. จอดรถ

คําอธิบาย จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 3. ยกรถขึ้น

คําอธิบาย ขอควรระวัง ยกรถขึ้ น จากพื้ น ด ว ยลิ ฟ ต ย กรถ เพื่ อ ให ระวังอยาให มี คนหรื อ สปริ ง และแขนป ก นกที่ ทํ า หน า ที่ ร องรั บ สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ น้ําหนักรถยนตเปนอิสระ

หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํ า รถขึ้ น และ ระวังรถตกจากลิฟตยก รถ

4. ตรวจสอบยางหุมลูกหมากและจาระบีที่ลูกหมาก ยางหุมลูกหมาก จะตองไมมีรองรอยฉีก ขาด

5. ตรวจสอบลูกหมากที่ลอหนาทั้ง 2 ลอ

ใชมือทั้ง 2 ขาง จับ ลอในแนวระดับและ โยกเขาออก จากนั้น จับลอในแนวดิ่ง และ โยกเข า ออกอี ก ครั้ ง เพื่ อ ดู ค วามหลวม คลอนของลูกหมาก หากลอไมขยับ แสดง วาลูกหมากปกติ

81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 6. นํารถลงพื้น

คําอธิบาย ลดระดับลิฟตยกรถจนกระทั่งรถอยูใน

ขอควรระวัง ระวังอยาให มี คนหรื อ

7. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ระดับปกติ

สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ

อุปกรณ

หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํารถลง ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

ที่ 1

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบลูกหมาก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบลูกหมากที่ลอหนา

ตรวจสอบความหลวมคลอนของลูกหมากไดถูกตอง ทั้งใน แนวระดับและแนวดิ่ง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ตรวจสอบความหลวมคลอนของลูกหมากในแนวระดับ หรือ แนวดิ่งไดถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบความหลวมคลอนของลูกหมากในแนวระดับ และ แนวดิ่งไมได ใหคะแนน 0 คะแนน 5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

23

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 5 0921020305 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 5.2 การตรวจสอบการไลลมน้ํามันเพาเวอรของระบบบังคับเลี้ยว 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบบังคับเลี้ยวได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบการไลลมวงจรน้ํามันเพาเวอรของระบบบังคับเลี้ยวได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติการตรวจสอบการไลลมวงจรน้ํามันเพาเวอรของระบบบังคับเลี้ยว

86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 5.2 การตรวจสอบการไลลมน้ํามันเพาเวอรของระบบบังคับเลี้ยว 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. น้ํามันพวงมาลัยเพาเวอร

จํานวน 1 ขวด

87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ การตรวจสอบการไลลมน้ํามันเพาเวอรของระบบบังคับเลี้ยว ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดั บ เครื่ อ งยนต แ ละเข า เกี ย ร ที่ ตํ า แหน ง เกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม เป ด ฝากระโปรงรถพร อ มล็ อ กไม ค้ํ า ยั น ล็อกไมค้ํายันฝา และใชผาคลุมสําหรับ ซอมคลุมที่บ ริเวณ กระโปรงหนารถทุก สวนหนารถและบังโคลนซาย-ขวา

ครั้ง เพื่อปองกันไมให ฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

4. ตรวจสอบระดับน้ํามันเพาเวอร

ระดั บ น้ํ า มั น เพาเวอร ที่ เ หมาะสมจะอยู ระหวางขีด MIN และ MAX

5. เติมน้ํามันเพาเวอร

หากพบว า น้ํ า มั น เพาเวอร ต่ํ า กว า ระดั บ เติมจนกวาจะไดระดับที่เหมาะสม

89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

6. ติดเครื่องยนต

ติดเครื่องยนต โดยใหเครื่องยนตเดินเบา

7. สังเกตฟองอากาศที่กระปุกน้ํามันเพาเวอร

(1,000 รอบ/นาที)

8. ตรวจสอบน้ํามันเพาเวอรขณะหมุนพวงมาลัย

ติดเครื่องยนต พรอมกับหมุนพวงมาลัยจน สุดไปทางซายและทางขวา 3 – 4 ครั้ง ครั้งละประมาณ 2 – 3 วินาที จากนั้น สังเกตกระปุกน้ํามันเพาเวอร ซึ่ง จะตองไมมีฟองอากาศ ขณะหมุนพวงมาลัย น้ํามันเพาเวอร จะตองไมมีสีขุน

90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

9. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

ที่ 1

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบระดับของน้ํามันเพาเวอร

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การหมุ น พวงมาลั ย และสั ง เกตฟองอากาศที่ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน กระปุกน้ํามันเพาเวอร

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบระดับของน้ํามันเพาเวอร

ตรวจสอบระดับของน้ํามันเพาเวอรและเติมน้ํามันเพาเวอร ไดถูกตองตามขั้นตอน ให 5 คะแนน ตรวจสอบระดับของน้ํามันเพาเวอรและเติมน้ํามันเพาเวอร บกพรอง 1 ขั้นตอน ให 3 คะแนน ตรวจสอบระดับของน้ํามันเพาเวอรและเติมน้ํามันเพาเวอร บกพรองมากวา 1 ขั้นตอน ให 0 คะแนน

93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

การหมุนพวงมาลัยและสังเกตฟองอากาศที่กระปุกน้ํามัน หมุ น พวงมาลั ย และสั ง เกตฟองอากาศในน้ํ า มั น เพาเวอร เพาเวอร ไดถกู ตองทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนน เต็ม 5

หมุ น พวงมาลั ย หรื อ สั ง เกตฟองอากาศไม ถู ก ต อ งตาม ขั้นตอน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน หมุ น พวงมาลั ย และ สั ง เกตฟองอากาศไม ถู ก ต อ งตาม ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 6 0921020306 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 6.1 การเปลี่ยนผาดิสกเบรก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบเบรกได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนผาดิสกเบรกได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเปลี่ยนผาดิสกเบรก

96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 6.1 การเปลี่ยนผาดิสกเบรก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - หนากากชนิดแผนกรองอากาศ - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. ลิฟตยกรถ

จํานวน 1 ตัว

3. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

4. ประแจถอดนอตลอ

จํานวน 1 ตัว

5. ประแจวัดแรงบิด

จํานวน 1 ตัว

6. ปมลม

จํานวน 1 ตัว

7. ปนเปาลม

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. เชือกไนลอน

จํานวน 1 เสน

3. ผาดิสกเบรก

จํานวน 1 ชุด

4. จาระบี

จํานวน 1 กระปอง

2. ลําดับการทดสอบ การเปลี่ยนผาดิสกเบรก ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง N ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

3. คลายนอตลอดวยประแจขันนอตลอ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใชประแจคลายนอตลอออกทีละตัว ตามลําดับ แคพอนอตหลวม

4. ยกรถขึ้น

ยกรถขึ้นดวยลิฟตยกรถแบบ 2 เสา ใหลอ ระวังรถตกจากลิฟตยก ลอยขึ้นจากพื้น

รถ โดยคานยกจะตอง อยูในระดับเดียวกันทั้ง ซายและขวา

5. ถอดนอตลอดวยประแจขันนอตลอ

ใชประแจถอดนอตลอออกทีละตัว

6. ถอดลอออกจากดุมลอ

ตามลําดับ ถอดลอออกจากดุมลอ และวางลอรถยนต ระวั ง ล อ หล น ทั บ เท า ใหถูกตอง

หรื อ ส ว นอื่ น ๆ ของ รางกาย

99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

7. ถอดโบลตและนอตยึดคาลิปเปอร

ถอดโบลตและนอตยึดคาลิปเปอรออก

8. ถอดผาดิสกเบรก

ถอดผาดิสกเบรกเกาออกจากคาลิปเปอร และใชเชือกผูกยึดคาลิปเปอรเบรกไว เพื่อ ปองกันทอเบรกชํารุด

100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

9. ทําความสะอาดชุดคาลิปเปอรและจานดิสกเบรก หมุ น ดุ ม ล อ และใช ป น ลม เป า ทํ า ความ สะอาดชุดคาลิปเปอรและจานดิสกเบรก

10. ประกอบแผนกันเสียง

ประกอบแผนกันเสียงเขากับผาดิสกเบรก ใหมดวยการทาจาระบี

11. ประกอบผาดิสกเบรก

ประกอบผาดิสกเบรกเขากับคาลิปเปอร

101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 12.ประกอบชุดคาลิปเปอรเขากับจานดิสกเบรก

คําอธิบาย ใชมือดันลูกสูบของคาลิเปอรใหยุบตัว จน สามารถประกอบชุดคาลิเปอรเขากับจาน ดิสกเบรกได ขันนอตยึดชุดคาลิปเปอรเขากับดุมลอให แนนตามคาแรงขันที่กําหนด

13. ทดสอบการทํางานของดิสกเบรก (1)

ติดเครื่องยนต และเหยียบเบรก ขณะเหยียบเบรก ใชมือหมุนดุมลอ ซึ่งดุม ลอจะตองไมหมุน

14. ทดสอบการทํางานของดิสกเบรก (2)

ปลอยเบรก และใชมือหมุน ดุมล อ ซึ่งดุม ลอจะตองหมุน

102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

15. ประกอบลอเขากับดุมลอ

ประกอบล อ เข า กั บ ดุ ม ล อ ด ว ยคว าม

16. ใชมือขันนอตลอ

ระมัดระวัง

ขอควรระวัง

ขั น นอตล อ ที ล ะตั ว ตามลํ า ดั บ โดยใช มื อ หมุนนอตลอใหแนนแบบพอตึงมือ

17. ขันนอตลอซ้ําดวยประแจขันนอตลอ

ใชป ระแจขัน นอตลอ ขัน นอตซ้ําใหแ น น พอตึงมือ

18. นํารถลงพื้น

ลดระดั บ ลิ ฟ ต ย กรถจนกระทั่ ง รถอยู ใ น ระวังอยาให มี คนหรื อ

19. ขันนอตลอซ้ําดวยประแจวัดแรงบิด

ระดับปกติ

สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํารถลง

ใชประแจวัดแรงบิดขันนอตลอซ้ําอีกครั้ง ตั ้ง คา แรงบิด ใหต รง ตามลําดับ โดยตั้งคาแรงบิดใหตรงตามที่ ตามที่คูมือซอมประจํา คูมือซอมประจํารถยนตกําหนด

รถยนตกําหนด เพราะ หากขัน นอตลอ แนน ไมเ พีย งพอ นอตอาจ หลุดขณะเคลื่อนที่จ น เกิดอุบัติเหตุ

103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

20. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การถอดนอตลอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การวางลอรถยนต

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การถอดผาดิสกเบรก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การเปลี่ยนผาดิสกเบรกและประกอบชุดดิสกเบรก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

การขันนอตลอหลังประกอบลอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

10

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

11

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

104 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง 2

ใหคะแนน 0 คะแนน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง หนากากชนิดแผนกรอง ครบทั้ง 4 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน อากาศ ไดอยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 3 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การถอดนอตลอ

ถอดนอตลอถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดนอตลอไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขัน้ ตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถอดนอตลอไมเปนไปตามขั้นตอนมากกวา 1 ขั้นตอน หรือ ถอดนอตลอไมออก ใหคะแนน 0 คะแนน

105 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

การวางลอรถยนต

ขอกําหนดในการใหคะแนน

วางลอรถยนตในตําแหนงที่ถูกตอง และวางฝงที่กระทะลอ

คะแนน เต็ม 3

เวาลงกับพื้น ใหคะแนน 3 คะแนน วางลอรถยนตในตําแหนงที่ไมถูกตอง หรือวางฝงที่กระทะ ลอนูนลงกับพื้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน วางลอรถยนตในตําแหนงที่ไมถูกตอง และวางฝงที่กระทะ ลอนูนลงกับพื้น ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การถอดผาดิสกเบรก

ถอดผาดิสกเบรกถูกตองทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ถอดผาดิสกเบรกไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ถอดผาดิสกเบรกไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดผาดิสกเบรกไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 7

การเปลี่ยนผาดิสกเบรกและประกอบชุดดิสกเบรก

เปลี่ ย นผ า ดิ ส ก เ บรกและประกอบชุ ด ดิ ส ก เ บรกถู ก ต อ ง

5

ทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน เปลี่ยนผาดิสกเบรกและประกอบชุดดิสกเบรกไมถูกตองตาม ขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน เปลี่ยนผาดิสกเบรกและประกอบชุดดิสกเบรกไมถูกตองตาม ขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน เปลี่ยนผาดิสกเบรกและประกอบชุดดิสกเบรกไมถูกตองตาม ขั้นตอนมากกวา 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 8

การขันนอตลอหลังประกอบลอ

ขันนอตลอถูกตองตามขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ขันนอตลอไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ขันนอตลอไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 9

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

106 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 10

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 11

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

37

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

107 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 6 0921020306 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 6.2 การตรวจสอบการทํางานของหมอลมเบรกรถยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบเบรกได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบการทํางานของหมอลมเบรกได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบการทํางานของหมอลมเบรกรถยนต

108 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 6.2 การตรวจสอบการทํางานของหมอลมเบรกรถยนต 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

109 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ การตรวจสอบการทํางานของหมอลมเบรกรถยนต ขั้นตอนการทดสอบ 1. จอดรถ

คําอธิบาย โ ดยพื้ น ที่ จ อดรถต อ งมั่ น คงแล ะ แข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณี ที่ เ ป น รถยนต อั ต โนมั ติ ให เ ข า เกี ย ร ใ นตํ า แหน ง P ถ า เป น เกี ย ร ธรรมดา ใหเขาเกียร ที่ตํ าแหน งเกี ย ร วาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

3. คลุมผาสําหรับซอม

คลุมผาสําหรับซอมบริเวณพวงมาลัย หัวเกียร และเบาะนั่ง

110 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 4. เหยียบแปนเบรก

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ให ผู รั บ การฝ ก ทดลองเหยี ย บแป น ระดั บ น้ํ า มั น เบรก เบรกใหจมลง 2-3 ครั้ง เพื่อตรวจสอบ จะตองอยูระหวาง การทํางาน ซึ่งแปนเบรกจะใหแรงกด ขีด MAX กับ MIN มากกวาปกติ

5. สังเกตการทํางานของเบรก ครั้งที่ 1

ติ ด เครื่ อ งยนต ค า งไว สั ก ครู และดั บ เครื่องยนต จากนั้น ทดลองเหยียบแปนเบรกด ว ย กํา ลัง ปกติ 2 -3 ครั้ง ถาแปนเหยียบ เบรกสูงขึ้นตามลําดับแสดงวา หมอลม เบรกทํางานปกติ

6. สังเกตการทํางานของเบรก ครั้งที่ 2

ติดเครื่องยนตอีกครั้ง และเหยียบแปน เบรก จากนั้น ดับเครื่องยนต โดยยังคง เหยี ย บแป น เหยี ย บเบรกค า งไว ประมาณ 30 วินาที

111 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

7. สังเกตความสูงแปนเหยียบเบรก

ใหผูรับการฝกสังเกตความสูงของแปน เหยียบเบรก หากไมมีการเปลี่ยนแปลง แสดงวาหมอลมเบรกทํางานปกติ

8. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณ ส ถ า น ที่ ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ จั ด เ ก็ บ เครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย

112 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การตรวจสอบหมอลมเบรกขั้นที่หนึ่ง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การตรวจสอบหมอลมเบรกขั้นที่สอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

113 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม

3

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบหมอลมเบรกครั้งที่ 1

ตรวจสอบหมอลมเบรกไดถกู ตองตามขัน้ ตอน และสามารถ สังเกตอาการผิดปกติได (ถามี) ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบหม อลมเบรกไม ถูกต องตามขั้นตอน 1 ขั้ นตอน หรื อ ไม สามารถสั งเกตอาการผิ ดปกติ ได (ถ า มี ) อย า งใด อยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน

114 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ตรวจสอบหม อ ลมเบรกไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอนมากกว า 1 ขั้นตอน และ ไมสามารถสังเกตอาการผิดปกติได (ถามี) ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การตรวจสอบหมอลมเบรกครั้งที่ 2

ตรวจสอบหมอลมเบรกไดถกู ตองตามขัน้ ตอน และสามารถ

5

สังเกตอาการผิดปกติได (ถามี) ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบหม อลมเบรกไม ถูกต องตามขั้นตอน 1 ขั้ นตอน หรื อ ไม สามารถสั งเกตอาการผิ ดปกติ ได (ถ า มี ) อย า งใด อยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบหมอลมเบรกไมถกู ตองตามขัน้ ตอนมากกวา 1 ขั้นตอน และ ไมสามารถสังเกตอาการผิดปกติได (ถามี) ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

115 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

116 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 7 0921020307 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 7.1 การตรวจสอบคอยลจุดระเบิด 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบไฟฟาในรถยนตได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบคอยลจุดระเบิดได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบคอยลจุดระเบิด ตารางบันทึกผล วัด

คาที่วัดได (Ω)

วัดคาความตานทานภายใน วัดคาความตานทานขดลวดปฐมภูมิ การวัดคาความตานขดลวดทุติยภูมิ

117 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 7.1 การตรวจสอบคอยลจุดระเบิด 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. มัลติมิเตอร

จํานวน 1 ตัว

2. คอยลระบบจุดระเบิดแบบธรรมดา

จํานวน 1 ลูก

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ปากกา

จํานวน 1 ดาม

118 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ 2.1 วัดความตานทานภายใน ขั้นตอนการทดสอบ 1.เตรียมเครื่องมือสําหรับวัดความตานทาน

คําอธิบาย ขอควรระวัง เตรียมมัลติมิเตอรและอุปกรณไฟฟาที่ ระวังไมใหเครื่องมือ จะนํามาวัด

และอุปกรณไฟฟาตก เพราะอาจทําใหบิ่น หรือเสียหายได

2. ตอสายมัลติมิเตอร

ตอสายสีแดงเขากับขั้วบวก และตอสาย สีดําเขากับขั้วลบของมัลติมิเตอร

119 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 3. ตรวจสอบมัลติมิเตอร

คําอธิบาย ขอควรระวัง นําเข็มของมัลติมิเตอรมาแตะกัน แลว ควรตรวจสอบและ ตรวจสอบวาเข็มของมัลติมิเตอรชี้ที่เลข ปรับตั้งเข็มของ 0 หรือไม

มัลติมิเตอรใหชี้ที่เลข 0 ทุกครั้ง กอนวัด ชิ้นงานใหม เพื่อ ปองกันคา คลาดเคลื่อน

4. ปรับตั้งยานการวัด

ปรับตั้งยานการวัดไปที่ R x 1

5. วัดคาความตานทาน

นําเข็มสีแดงของมัลติมิเตอรแตะที่ ขั้วบวกของตัวความตานทาน นําเข็มสีดําของมัลติมิเตอรแตะที่ขั้วลบ ของตัวความตานทาน

120 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 6. สังเกตและบันทึกผล

คําอธิบาย เข็มบนหนาปดจะตองขยับ ขึ้นตามคา

ขอควรระวัง

ความตานทานที่กําหนด หากเข็มไมขยับ แสดงวาขดลวดความ ตานทานขาด

2.2 วัดความตานทานขดลวดปฐมภูมิ ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. ปรับตั้งยานการวัด

ปรับตั้งยานการวัดไปที่ R x 1

2. วัดคาความตานทาน

นําเข็มสีแดงของมัลติมิเตอรแตะที่ ขั้วบวกของคอยลจุดระเบิด นําเข็มสีดําของมัลติมิเตอรแตะที่ขั้วลบ ของคอยลจุดระเบิด

121 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 3. สังเกตและบันทึกผล

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เข็มบนหนาปดจะตองขยับ ขึ้น ตามค า ความตานทานที่กําหนด หากเข็มไมขยับ แสดงวาขดลวดความ ตานทานขาด

2.3 วัดความตานทานขดลวดทุติยภูมิ ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. ปรับตั้งยานการวัด

ปรับตั้งยานการวัดไปที่ R x 1

2. วัดคาความตานทาน

นําเข็มสีแดงของมัลติมิเตอรแตะที่ขั้วไฟ แรงสูงออกของคอยลจุดระเบิด นําเข็มสีดําของมัลติมิเตอรแตะที่ขั้วลบ ของคอยลจุดระเบิด

122 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 3. สังเกตและบันทึกผล

คําอธิบาย เข็ ม บนหน า ป ดจะต อ งขยั บ ขึ้ น ตามค า ความตานทานที่กําหนด หากเข็มไม ขยับ แสดงวาขดลวดความ ตานทานขาด

4. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

123 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานภายใน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานขดลวด

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฐมภูมิ 6

การใช มั ล ติ มิ เ ตอร วั ด ค า ความต า นทานขดลวด ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ทุติยภูมิ

7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

124 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานภายใน

ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานภายในไดถูกตองตาม ขั้นตอน และวัดคาไดถูกตอง ไมคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 5 คะแนน ใช มั ลติ มิ เตอร วั ดค า ความต า นทานภายในไม ถู ก ต อ งตาม ขั้นตอน หรือ วัดคาคลาดเคลื่อน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานภายในไมถูกตองตาม ขั้นตอน และ วัดคาคลาดเคลื่อน

125 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานขดลวดปฐมภูมิ

ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานขดลวดปฐมภูมิ ไดถูกตอง ตามขั้นตอน และวัดคาไดถูกตอง ไมคลาดเคลื่อน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานขดลวดปฐมภูมิ ไมถูกตอง ตามขั้นตอน หรือ วัดคาคลาดเคลื่อน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานขดลวดปฐมภูมิ ไมถูกตอง ตามขั้นตอน และ วัดคาคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานขดลวดทุติยภูมิ

ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานขดลวดทุติยภูมิ ไดถูกตอง ตามขั้นตอน และวัดคาไดถูกตอง ไมคลาดเคลื่อน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานขดลวดทุติยภูมิ ไมถูกตอง ตามขั้นตอน หรือ วัดคาคลาดเคลื่อน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานขดลวดทุติยภูมิ ไมถูกตอง ตามขั้นตอน และ วัดคาคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน

126 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

9

รายการตรวจสอบ

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

33

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

127 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 7 0921020307 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 7.2 การเปลี่ยนหลอดไฟเลี้ยว 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบไฟฟาในรถยนตได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนหลอดไฟหนาได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเปลี่ยนหลอดไฟเลี้ยว

128 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 7.2 การเปลี่ยนหลอดไฟเลี้ยว 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

3. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. หลอดไฟเลี้ยว

จํานวน 1 ชุด

129 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ การเปลี่ยนหลอดไฟเลี้ยว ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่ตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ตรวจสอบไฟเลี้ยว

ตรวจสอบไฟเลี้ยวหนาและไฟเลี้ยวทาย วาติดเปนปกติหรื อไม กอนดําเนิน การ เปลี่ยนชุดหลอดไฟเลี้ยว

3. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียร ในตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขาเกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

130 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

4. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เป ดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไมค้ํายัน ล็ อ ก ไ ม ค้ํ า ยั น ฝ า และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่บริเวณ กระโปรงหนารถ สวนหนารถและบังโคลนซาย-ขวา

ทุ ก ครั้ ง เพื่ อ ป อ งกั น ไมใหฝ ากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

5. ถอดชุดหลอดไฟเลี้ยวหนา

ถอดชุ ด หลอดไฟเลี้ ย วหน า ดึง ปลั ๊ก ที่ เสีย บอยู ก ับ หลอดไฟเลี ้ย ว และถอด หลอดไฟเลี้ยวดวงเดิมออกจากขั้ว โดย หมุนทวนเข็มนาฬิกา

131 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 6. ใสหลอดไฟเลี้ยวหนาดวงใหม

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

นํ า หลอดไฟเลี้ ย วดวงใหม ใ ส เ ข า ไปที่ ตําแหนงเดิม และหมุนตามเข็มนาฬิกา ใหแนน

7. ประกอบชุดหลอดไฟเลี้ยวหนา

เสีย บปลั ๊ก และใสช ุด หลอดไฟเลี ้ย ว หนารถกลับเขาที่ตําแหนงเดิม

8. ถอดชุดหลอดไฟเลี้ยวทาย

คลายสกรูฝาครอบไฟเลี้ยวทาย และนํา หลอดไฟเลี้ยวทายออก

9. ใสหลอดไฟเลี้ยวทายดวงใหม

ใส ห ลอดไฟเลี้ ย วท า ยดวงใหม เ ข า ที่ ห า มใช มื อ จั บ ที่ ตั ว ตําแหนงเดิม

132 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

หลอดไฟโดยตรง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

10. ประกอบชุดหลอดไฟเลี้ยวทาย

ใสส กรูฝ าครอบไฟเลี้ย วทายกลับ เขาที่ ตําแหนงเดิม และขันใหแนน

11. ทดสอบการทํางาน

ติ ด เครื่ อ งยนต ทดลองเป ด ไฟเลี้ ย วทั้ ง ข า งซ า ยแล ะข า งขว า แล ว สั ง เกต สัญลักษณไฟเลี้ยวบนหนาปด

12. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

133 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การถอดไฟเลี้ยวออก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การประกอบไฟเลี้ยว

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

134 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การถอดและประกอบไฟเลี้ยวหนา

ถอดและประกอบไฟเลี้ยวหนาไดถูกตองตามขั้นตอน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ถอด หรื อ ประกอบไฟเลี้ ย วหน า ไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอด และ ประกอบไฟเลี้ยวหนาไมถูกตองตามขั้นตอน มากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การถอดและประกอบไฟเลี้ยวทาย

ถอดและประกอบไฟเลี้ยวทายไดถูกตองตามขั้นตอน

135 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ใหคะแนน 5 คะแนน ถอด หรือ ประกอบไฟเลี้ยวทายไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอด และ ประกอบไฟเลี้ยวทายไมถูกตองตามขั้นตอน มากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 136 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 8 0921020308 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 8.1 การสํารวจสวนประกอบของรถยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบตัวถังรถยนตได 2. ปฏิบัตงิ านสํารวจสวนประกอบของรถยนต 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 15 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกสํารวจสวนประกอบของรถยนต และบันทึกลงในตาราง ตัวอยางตารางบันทึกผลการทดสอบ ลําดับ

ชื่อสวนประกอบของรถยนต

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

137 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

หนาที่


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 8.1 การสํารวจสวนประกอบของรถยนต 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - รถยนต

จํานวน 1 คัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ปากกา

จํานวน 1 ดาม

138 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ การสํารวจสวนประกอบของรถยนต ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่ตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียร ในตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

3. สํารวจสวนประกอบของรถยนต

สํา รวจสว นประกอบของรถยนต และ บันทึกผลลงในตาราง

139 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

4. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ขอควรระวัง

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การตรวจสอบสวนประกอบของรถยนต

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

140 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

เฉลยแบบทดสอบภาคปฏิบัติ แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 8.1 การสํารวจสวนประกอบของรถยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบตัวถังรถยนตได 2. ปฏิบัตงิ านสํารวจสวนประกอบของรถยนต 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 15 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกสํารวจสวนประกอบของรถยนต และบันทึกลงในตาราง ตัวอยางเฉลยแบบทดสอบภาคปฏิบัติ ลําดับ 1

ชื่อสวนประกอบของรถยนต

หนาที่

กันชนหนา

ปกป อ งรถให ไ ด รั บ ความเสี ย หายน อ ยที่ สุ ด เมื่ อ เกิ ด อุบัติเหตุจากดานหนา

2

ยางรถยนต

ชว ยใหร ถยนตเคลื่อนที่ไดอยางมีประสิทธิภาพและ ปลอดภัย ชวยระงับการสั่นสะเทือนขั้นแรกและชวย รองรับน้ําหนักของรถยนต

3

กระทะลอ

ทําหนาที่ขับเคลื่อนใหรถยนตเคลื่อนที่ รักษารูปทรง ของยาง และชวยยึดยางใหติดกับดุมลอ

4

กันชนหลัง

อุปกรณชวยปกปองรถใหไดรับความเสียหายนอยลง เมื่อเกิดอุบัติเหตุจากดานหลัง

5

กระจกมองขาง

ทําหนาที่เปนตัวกลางใหผูขับขี่มองเห็นรถที่จะมาจาก ดานขางได

6

กระจกบังลมหนา

ทํ า หน า ที่ ป อ งกั น ลม เศษหิ น เศษดิ น หรื อ วั ต ถุ แปลกปลอมเขามาภายในรถ

141 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับ 7

ชื่อสวนประกอบของรถยนต

หนาที่

ไฟตัดหมอก

ทําหนาที่สองสวางเมื่อมีฝนตก หรือหมอกลงจัด เพื่อ ชวยใหผูขับขี่มองเห็นทัศนวิสัยไดชัดเจนขึ้น

8

ไฟใหญหนา

ทําหนาที่สองสวาง ใหผูขับขี่สามารถมองเห็นทัศนวิสัย ไดในยามค่ําคืน

9

ไฟเลี้ยว

ทํ า หน า ที่ ส ง สั ญ ญาณ ให ร ถคั น อื่ น ทราบว า ผู ขั บ ขี่ กําลังจะเลี้ยวรถ

10

มือเปดประตูรถดานนอก

เปนอุปกรณที่ใชเปดประตูรถจากดานนอก

142 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบสวนประกอบของรถยนต

ตรวจสอบสวนประกอบของรถยนตไดถกู ตอง และครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบสวนประกอบของรถยนตไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน 1 สวนประกอบ ใหคะแนน 4 คะแนน ตรวจสอบสวนประกอบของรถยนตไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน 2 สวนประกอบ ใหคะแนน 3 คะแนน

143 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ตรวจสอบสวนประกอบของรถยนตไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน 3 สวนประกอบ ใหคะแนน 2 คะแนน ตรวจสอบสวนประกอบของรถยนตไมถูกตอง และ ไมครบถวน มากกวา 3 สวนประกอบ ใหคะแนน 0 คะแนน 5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

3

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน

6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไม ค รบถ ว น หรื อ ไม จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

23

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

144 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 8 0921020308 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 8.2 การสํารวจโครงสรางของรถยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบตัวถังรถยนตได 2. ปฏิบัติงานสํารวจโครงสรางของรถยนต 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 15 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกสํารวจสวนประกอบของโครงสรางรถยนต และบันทึกลงในตาราง

145 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ตัวอยางตารางบันทึกผลผลการทดสอบ ลําดับ

สวนประกอบของโครงสรางรถยนตตัวถังแบบซีดาน

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

146 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 8.2 การสํารวจโครงสรางของรถยนต 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - โครงสรางรถยนตตัวถังแบบซีดาน

จํานวน 1 คัน

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ปากกา

จํานวน 1 ดาม

147 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ การสํารวจโครงสรางของรถยนต ขั้นตอนการทดสอบ 1. เตรียมโครงรถ

คําอธิบาย ครูฝกจัดเตรียมโครงรถ บนพื้นที่มั่นคง และแข็งแรง

2. สํารวจโครงสรางของรถยนต

สํารวจโครงสรางของรถยนต แบบ ซีดานจากนั้น บันทึกผลลงในตาราง

148 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ 3. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

คําอธิบาย ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณ

ขอควรระวัง

ส ถ า น ที่ ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ จั ด เ ก็ บ เครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การตรวจสอบสวนประกอบของโครงสรางรถยนต ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ตัวถังแบบซีดาน

5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

149 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบสวนประกอบของโครงสรางรถยนต ตัวถัง ตรวจสอบสวนประกอบของของโครงสรางรถยนตไดถูกตอง แบบซีดาน

และครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบสวนประกอบของของโครงสรางรถยนตไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน 1 สวนประกอบ ใหคะแนน 4 คะแนน ตรวจสอบสวนประกอบของของโครงสรางรถยนตไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน 2 สวนประกอบ ใหคะแนน 3 คะแนน

150 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ตรวจสอบสวนประกอบของของโครงสรางรถยนตไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน 3 สวนประกอบ ใหคะแนน 2 คะแนน ตรวจสอบสวนประกอบของของโครงสรางรถยนตไมถูกตอง และ ไมครบถวน มากกวา 3 สวนประกอบ ใหคะแนน 0 คะแนน 5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

23

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 151 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 9 0921020309 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 9.1 การทดลองระบบควบคุมความเร็วรถอัตโนมัติ (Cruise Control) 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบอํานวยความสะดวก ระบบความปลอดภัยของตัวรถยนตได 2. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบควบคุมความเร็วรถอัตโนมัติ (Cruise Control) ได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลองใชระบบควบคุมความเร็วรถอัตโนมัติ (Cruise Control)

152 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 9.1 การทดลองระบบควบคุมความเร็วรถอัตโนมัติ (Cruise Control) 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - รถยนตที่มีระบบควบคุมความเร็วอัตโนมัติ (Cruise Control) จํานวน 1 คัน หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

153 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ การทดลองระบบควบคุมความเร็วรถอัตโนมัติ (Cruise Control) ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. ติดเครื่องยนต

ขอควรระวัง

ติ ด เครื่ อ งยนต โ ดยกดปุ ม สตาร ท คาดเข็มขัดนิรภัย รถยนต

เพื่อความ ปลอดภัย

2. เรงเครื่องยนตไปที่ 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง

เหยีย บคัน เรงจนความเร็ว อยูที่ 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง

3. เปดใชงานระบบควบคุมความเร็วรถอัตโนมัติ

ก ด ปุ ม CRUISE เ พื ่อ เป ด ใช ง าน ระบบควบคุ มความเร็ วรถอัตโนมัติ และสั ง เกตบนหน า ป ด จะต อ งมี สั ญ ลั ก ษณ CRUISE MAIN ปรากฏ ขึ้น

154 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย กดปุ ม SET เพื ่อ ตั ้ง ให ค วามเร็ ว

4. ปรับตั้งความเร็ว

คงที่ ณ ขณะนั้น

5. ลดความเร็ว

กดปุม DECEL เพื่อลดความเร็ ว ให เหลือแค 50 กิโลเมตร/ชั่วโมง

6. เพิ่มความเร็ว

กดปุม ACCEL เพื่อ เพิ่ม ความเร็ ว เปน 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง

155 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

7. หยุดการทํางานของระบบควบคุมความเร็วอัตโนมัติ

ก ด ปุ ม CANCEL แ ล ะ ส ัง เ ก ต ความเร็ว ณ ขณะนั้น

8. คืนคาความเร็ว

กดปุ ม RES เพื ่อ คืน คา ความเร็ ว และสัง เกตความเร็ว ที่ ห น า ปด ซึ่ง จะตองมีคาเทากับ ความเร็ว ที่ตั้ ง ไว ครั้งแรก

9. หยุดการทํางานของระบบควบคุมความเร็วอัตโนมัติ

คอ ย ๆ เหยีย บที ่แ ปน เบรก และ สังเกตความเร็ว ณ ขณะนั้น

156 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

10. คืนคาความเร็ว

กดปุ ม RES เพื ่อ คืน คา ความเร็ ว และสัง เกตความเร็ว ที่ ห น า ปด ซึ่ง จะตองมีคาเทากับ ความเร็ว ที่ตั้ ง ไว ครั้งแรก

11. หยุดการทํางานของระบบควบคุมความเร็วอัตโนมัติ

คอ ย ๆ เหยีย บคัน เรง และสัง เกต ความเร็ว ณ ขณะนั้น

12. คืนคาความเร็ว

กดปุ ม RES เพื ่อ คืน คา ความเร็ ว และสัง เกตความเร็ว ที่ ห น า ปด ซึ่ง จะตองมีคาเทากับ ความเร็ว ที่ตั้ ง ไว ครั้งแรก

157 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

13. ปดใชงานระบบควบคุมความเร็วรถอัตโนมัติ

ก ด ปุ ม CRUISE เ พื ่อ ป ด ใช ง าน ระบบควบคุมความเร็วรถอัตโนมัติ และสั ง เกตบนหน า ป ด สั ญ ลั ก ษณ CRUISE MAIN จะดับลง

14. จอดรถ

จอดรถ ดับเครื่องยนต และเขาเกียร ที่ ตํ าแหน ง P และดึ งเบรกมื อ เพื่ อ ปองกันรถไหล

15. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณ สถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย

158 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การปรั บ ตั้ ง ความเร็ ว เมื่ อ ใช ง านระบบควบคุ ม ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความเร็วอัตโนมัติ

5

การเพิ่มและลดความเร็ว เมื่อใชงานระบบควบคุม ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความเร็วอัตโนมัติ

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

159 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การเปดใชงานระบบควบคุมความเร็ว และปรับตั้ง

กดปุ ม เป ด ใช ง านระบบ และปรั บ ตั้ ง ค า ความเร็ ว คงที่

ความเร็วคงที่ได

ไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน กดปุ ม เป ด ใช ง านระบบ หรื อ ปรั บ ตั้ ง ค า ความเร็ ว คงที่ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน กดปุ ม เป ด ใช ง านระบบ และปรั บ ตั้ ง ค า ความเร็ ว คงที่ ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

160 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

การเพิ่ ม และลดความเร็ ว เมื่ อ ใช ง านระบบควบคุ ม ปรับเพิ่มและลดความเร็วตามทีก่ ําหนดไดถูกตอง ความเร็วอัตโนมัติ ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนน เต็ม 5

ปรั บ เพิ่ ม หรื อ ลดความเร็ ว ไม ไ ด ตามที่ กํ า หนด อย า งใด อยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ป รั บ เ พิ่ ม แ ล ะ ล ด ค ว า ม เ ร็ ว ไ ม ไ ด ต า ม ที่ กํ า ห น ด ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

161 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

162 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หัวขอวิชาที่ 9 0921020309 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 9.2 การทดลองระบบเบรกปองกันลอล็อก (ABS) 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบอํานวยความสะดวก ระบบความปลอดภัยของตัวรถยนตได 2. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบเบรกปองกันลอล็อก (ABS) ได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลองใชระบบเบรกปองกันลอล็อก (ABS)

163 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 9.2 การทดลองระบบเบรกปองกันลอล็อก (ABS) 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนตที่มีระบบเบรกปองกันลอล็อก (ABS)

จํานวน 1 คัน

2. รถยนตที่มีระบบเบรกปองกันลอล็อก (ABS)

จํานวน 1 คัน

3. กรวยจราจร

จํานวน 2 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

164 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการทดสอบ การทดลองระบบเบรกปองกันลอล็อก (ABS) 2.1 เปรียบเทียบระยะเบรกของรถที่มีระบบ ABS และไมมีระบบ ABS ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

1. ติดเครื่องยนต

ติดเครื่องยนต

ขอควรระวัง คาดเข็มขัดนิรภัย เพื่อความปลอดภัย

2. ขับรถทีไ่ มมีระบบ ABS จนถึงระยะทางที่กําหนด

เข า เกี ย ร D และขั บ รถด ว ย ความเร็ว 60 กิโ ลเมตร/ชั่ว โมง จนถึงจุดที่กําหนด

3. เหยียบเบรก

เหยีย บเบรกอยา งกะทั น หั น จนกระทั่ งรถหยุ ดสนิ ท และวาง กรวยจราจร เพื่อทําเครื่องหมาย ตรงจุดที่รถหยุด

165 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

4. ขับรถทีม่ ีระบบ ABS จนถึงระยะทางที่กาํ หนด

ขอควรระวัง

เข า เกี ย ร D และขั บ รถด ว ย ความเร็ ว 60 กิ โ ลเมตร/ชั่ ว โมง จนถึงจุดที่กําหนด

5. เหยียบเบรก

เหยี ย บเบรกอย า งกะทั นหั น จนกระทั่ งรถหยุ ดสนิ ท และวาง กรวยจราจร เพื่อทําเครื่องหมาย ตรงจุดที่รถหยุด สังเกตระยะทาง ที่รถทั้ง 2 คันใชเบรก

2.2 เปรียบเทียบการบังคับเลี้ยวของรถที่มีระบบ ABS และไมมีระบบ ABS ขั้นตอนการทดสอบ 1. ขับรถที่ไมมีระบบ ABS จนถึงระยะทางที่กําหนด

คําอธิบาย ขอควรระวัง เ ข า เ กี ย ร D แ ล ะ ขั บ ร ถ ด ว ย ความเร็ ว 60 กิ โ ลเมตร/ชั่ ว โมง จนถึงจุดที่กําหนด

166 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย ขอควรระวัง กอ นที่จ ะถึ ง สิ่ ง กีด ขวางเหยีย บ

2.เหยียบเบรก

เบรกอยา งกะทัน กัน แลว หัก พวงมาลัยเพื่อหลบสิ่งกีดขวาง

3. สังเกตการทํางานของระบบ

รถจะยัง คงเคลื ่อ นที ่ไ ด แตล อ รถยนตจ ะไม ส ามารถหั ก เลี้ ย ว หลบสิ่งกีดขวางได

4. ขับรถที่มีระบบ ABS จนถึงระยะทางที่กําหนด

เ ข า เ กี ย ร D แ ล ะ ขั บ ร ถ ด ว ย ความเร็ ว 60 กิ โ ลเมตร/ชั่ ว โมง จนถึงจุดที่กําหนด

167 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย ขอควรระวัง กอ นที่จ ะถึ ง สิ่ ง กีด ขวางเหยีย บ

5. เหยียบเบรก

เบรกอยางกะทัน หัน จนกระทั่ง รถหยุดสนิท

6. สังเกตการทํางาน

โดยรถจะตองหักเลี้ยวหลบสิ่งกีด ขวางได

7. จอดรถ

จอดรถ ดั บ เครื่ อ งยนต แ ละเข า เกีย รที่ตําแหนง P และดึ ง เบรก มือ เพื่อปองกันรถไหล

8. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณ สถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ ใ ห เรียบรอย

168 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การขั บ รถและการเหยี ย บเบรกเพื่ อให ร ะบบ ABS ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ทํางาน

5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

169 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ……………………………….

ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

ครบถวน

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การขับรถและการเหยียบเบรกเพื่อใหระบบ ABS ทํางาน ขับรถตามความเร็วที่กําหนด และเหยียบเบรกเพื่อใหระบบ ABS ทํางาน ไดอยางถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน ขับรถไมเปนไปตามความเร็วที่กําหนด หรือ เหยียบเบรก เพื่อใหระบบ ABS ทํางานไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน

170 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ขับรถไมเปนไปตามความเร็วที่กําหนด และ เหยียบเบรก เพื่อใหระบบ ABS ทํางานไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

23

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ถือวา ไมผานเกณฑ

หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

171 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี แบบทดสอบ กอนฝก

1. 2.

3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟ 10 7 งายและสารอันตรายได บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได อธิบายกฎของโรงงานและปาย เตือนตาง ๆ ได อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ ได ใชอุปกรณปองกันอันตราย ประเภทตาง ๆ ได อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัย และหลักการดับเพลิงได ปฏิบัติตามวิธีการปองกัน อัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได อธิบายวิธีการปฐมพยาบาล เบื้องตนได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได ประเมินผลภาคทฤษฎี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

172 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 6

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี แบบทดสอบ หลังฝก

1. 2.

3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟ 10 7 งายและสารอันตรายได บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได อธิบายกฎของโรงงานและปาย เตือนตาง ๆ ได อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ ได ใชอุปกรณปองกันอันตราย ประเภทตาง ๆ ได อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัย และหลักการดับเพลิงได ปฏิบัติตามวิธีการปองกัน อัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได อธิบายวิธีการปฐมพยาบาล เบื้องตนได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได ประเมินผลภาคทฤษฎี

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ 173 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 8

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนน ที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

174 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 4.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 5.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 6.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 6.2

ใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได ปฏิบัติตามวิธีการปองกันอัคคีภัยและ หลักการดับเพลิงได ปฐมพยาบาลเบื้องตนได

58

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 41

36

25

31

28

20

22

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

33

23

30

คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

155

109

113

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 30

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลว เปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

175 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (รอยละ 20) ภาคปฏิบัติ (รอยละ 80)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

8

2

16

113

0.516

58.308

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 74.308

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

10

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 10

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

8 × 2 = 16

คือ

176 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

=2


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

155 80 = 0.516 155

ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

คือ

113 × 0.516 = 58.308

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 16 + 58.308 = 74.308 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผา น (NYC)

177 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก ……………………………………………………..............เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู

แบบทดสอบ

1. อธิบายหนาที่และโครงสรางของ

กอนฝก

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 10

สวนประกอบของเครื่องยนตได 2. อธิบายหลักการทํางานของ เครื่องยนตแกสโซลีน ดีเซล และระบบระบายความรอนได 3. อธิบายหนาที่และโครงสรางของ ระบบสงกําลังได 4. อธิบายหนาที่และโครงสรางของ ระบบรองรับน้ําหนักได 5. อธิบายหนาที่และโครงสรางของ ระบบบังคับเลี้ยวได 6. อธิบายหนาที่และโครงสรางของ ระบบเบรกได 7. อธิบายหนาที่และโครงสรางของ ระบบไฟฟาในรถยนตได 8. อธิบายหนาที่และโครงสรางของ ระบบตัวถังรถยนตได

178 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

7

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

คะแนนที่ได

9. บอกชื่อ หนาที่ และหลักการ ทํางานของระบบอํานวยความ สะดวกระบบความปลอดภัยของ ตัวรถยนตได ผาน ไมผาน (C)

ประเมินผลภาคทฤษฎี

(NYC)

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

แบบทดสอบ

1. อธิบายหนาที่และโครงสราง

หลังฝก

ของสวนประกอบของ

10

เครื่องยนตได 2. อธิบายหลักการทํางานของ เครื่องยนตแกสโซลีน ดีเซล และระบบระบายความรอนได 3. อธิบายหนาที่และโครงสราง ของระบบสงกําลังได 4. อธิบายหนาที่และโครงสราง ของระบบรองรับน้ําหนักได 5. อธิบายหนาที่และโครงสราง ของระบบบังคับเลี้ยวได 6. อธิบายหนาที่และโครงสราง ของระบบเบรกได 7. อธิบายหนาที่และโครงสราง ของระบบไฟฟาในรถยนตได 179 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

7

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

คะแนนที่ได

8. อธิบายหนาที่และโครงสราง ของระบบตัวถังรถยนตได 9. บอกชื่อ หนาที่ และหลักการ ทํางานของระบบอํานวยความ สะดวกระบบความปลอดภัย ของตัวรถยนตได ผาน ไมผาน (C)

ประเมินผลภาคทฤษฎี

(NYC)

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ แบบทดสอบ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับสวนประกอบของ

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70

28

20

28

20

28

20

28

20

28

20

23

16

ภาคปฏิบัติที่ 1.1 เครื่องยนตได แบบทดสอบ

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบสง

ภาคปฏิบัติที่ 3.1 กําลังได แบบทดสอบ

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบสง

ภาคปฏิบัติที่ 3.2 กําลังได แบบทดสอบ

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบสง

ภาคปฏิบัติที่ 3.3 กําลังได แบบทดสอบ

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบ

ภาคปฏิบัติที่ 4.1 รองรับน้ําหนักได แบบทดสอบ

ปฏิบัตงิ านบอกสวนประกอบและตรวจสอบ

ภาคปฏิบัติที่ 4.2 ช็อคอัพค้ํารองรับรถได 180 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาคปฏิบัติ แบบทดสอบ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบ

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70

23

16

28

20

37

26

28

20

33

23

28

20

23

16

23

16

28

20

23

16

274

193

คะแนนที่ได

ภาคปฏิบัติที่ 5.1 บังคับเลี้ยวได แบบทดสอบ

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบ

ภาคปฏิบัติที่ 5.2 บังคับเลี้ยวได แบบทดสอบ

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบ

ภาคปฏิบัติที่ 6.1 เบรกได แบบทดสอบ

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบ

ภาคปฏิบัติที่ 6.2 เบรกได แบบทดสอบ

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบ

ภาคปฏิบัติที่ 7.1 ไฟฟาในรถยนตได แบบทดสอบ

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบ

ภาคปฏิบัติที่ 7.2 ไฟฟาในรถยนตได แบบทดสอบ

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบ

ภาคปฏิบัติที่ 8.1 ตัวถังรถยนตได แบบทดสอบ

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบ

ภาคปฏิบัติที่ 8.2 ตัวถังรถยนตได แบบทดสอบ

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบอํานวยความสะดวก

ภาคปฏิบัติที่ 9.1 ระบบความปลอดภัยของตัวรถยนตได แบบทดสอบ

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบอํานวยความสะดวก

ภาคปฏิบัติที่ 9.2 ระบบความปลอดภัยของตัวรถยนตได คะแนนรวมภาคปฏิบัติ ประเมินผลภาคปฏิบัติ * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ 181 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

การประเมินผลผานโมดูล ผลการ สัดสวนการคิด คะแนน

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ

ทดสอบ

ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC)

ภาคทฤษฎี

2

(รอยละ 20) ภาคปฏิบัติ

0.291

(รอยละ 80) * หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ

คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. (

) ตําแหนง ……………………………

วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบันทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

182 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช างบํารุงรั กษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

183 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.