คู่มือผู้รับการฝึก ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 1 โมดูล 10

Page 1

หนาปก



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

คูมือผูรับการฝก 0920164170201 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 10 09217305 การติดตั้งและทดสอบเครือ่ งปรับอากาศ

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

คํานํา

คูมือผูรับการฝก สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 โมดูล 10 การติดตั้งและ ทดสอบเครื่ องปรั บอากาศฉบับ นี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการ ภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูรับการฝกไดใชเปนเครื่องมือ ในการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ หลังเรียนจบโมดูลการฝก ผูรับการสามารถติดตั้ง เดินสายไฟ การหุมฉนวน เพื่อการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ รวมถึงการบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศ และการแกปญหาเบื้องตนไดถูกตอง ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

สารบั ญ

เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

1

โมดูลการฝกที่ 10 09217305 การติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ หัวขอวิชาที่ 1 0921730501 สถานที่ติดตั้ง

15

หัวขอวิชาที่ 2 0921730502 การเดินทอ

24

หัวขอวิชาที่ 3 0921730503 กฎขอบังคับของการไฟฟา

32

หัวขอวิชาที่ 4 0921730504 การเลือกสายไฟฟาและการตอวงจร

47

หัวขอวิชาที่ 5 0921730505 อุปกรณปองกันทางไฟฟา

71

หัวขอวิชาที่ 6 0921730506 การเดินสายไฟและติดตั้งเครื่องปรับอากาศ

83

หัวขอวิชาที่ 7 0921730507 การทดสอบเครื่อง

97

หัวขอวิชาที่ 8 0921730508 การแกไขอาการขัดของ

117

หัวขอวิชาที่ 9 0921730509 การปองกันความชื้น

134

หัวขอวิชาที่ 10 0921730510 การบํารุงรักษาเครื่อง

147

คณะผูจัดทําโครงการ

165

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ขอแนะนําสําหรับผูร ับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ขอวิชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเข า ใช ง านระบบ แบงสว นการใชง านตามความรับ ผิด ชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดัง ภาพในหนา 2 ซึ่งรายละเอียดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

.

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถั ด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามทีก่ ําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผูรับการฝกดาวนโหลดแอปพลิ เคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวนโหลดแอปพลิ เ คชั น สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิ เ คชั น DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวน โ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมาฝก ภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อในวัน และเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด 7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

- หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5 การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 8

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6 เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและ การพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164170201

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางเครื่องปรับอากาศในบาน และการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก เพื่ อ ให มี ค วามรู ค วามสามารถและทั ศ นคติ ต ามมาตรฐานฝ มื อ แรงงานแห ง ชาติ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูในการปฏิบัติงานเกี่ยวกั บงานชางไฟฟา งานชางเครื่องทําความเย็น และชางเครื่องปรั บ อากาศ ไดอยางปลอดภัย 1.2 มี ความรู เ กี่ ย วกั บ หน ว ยวั ดของระบบต า ง ๆ ที่ใชงานในเครื่องทํา ความเย็น และเครื่ องปรั บ อากาศ และ สามารถอานแบบเครื่องกล แบบทางไฟฟาเบื้องตน รวมทั้งแบบวงจรไฟฟาที่เกี่ยวกับงานเครื่องทําความเย็น 1.3 มีความรูเกี่ยวกับทฤษฎีไฟฟา 1.4 มีความรูความสามารถในการใชงานเครื่องมือวัดงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ 1.5 มีความรูความสามารถในการตอสายไฟฟาตามแบบที่กําหนด 1.6 มีความรูความสามารถในการตัด ปรับแตง ขยาย บาน ดัด และการเชื่อมทอทองแดง 1.7 มีความรูเกี่ยวกับหลักการทําความเย็นและสารทําความเย็น 1.8 มีความรูเกี่ยวกับสวนประกอบระบบทําความเย็นแบบแกสอัดไอ 1.9 มีความรูความสามารถในการตรวจสอบวงจรไฟฟาในเครื่องปรับอากาศ 1.10 มีความรูความสามารถในการติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ 2. ระยะเวลาการฝก ผู รั บ การฝ กจะได รั บ การฝ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบัน พัฒ นาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 82 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แต ล ะคน มี ผ ลให ผู รั บ การฝ กจบการฝ ก ไม พร อ มกัน สามารถจบกอ นหรื อ เกิน ระยะเวลาที่ กําหนดไว ในหลักสูตรได 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใหอยูในดุ ล ยพิ นิ จ ของผู อํา นวยการ สถาบั น พั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน หรื อ ผู อํา นวยการสํา นั ก งานพั ฒ นาฝ มื อ แรงงานที่ เ ป น หน ว ยฝ ก ตามความสามารถ จะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 10 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 10 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. ชาง เครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 10 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920164170201 2. ชื่อโมดูลการฝก รหัสโมดูลการฝก 09217305 3. ระยะเวลาการฝก รวม 19 ชั่วโมง 15 นาที ทฤษฎี 5 ชั่วโมง 15 นาที ปฏิบัติ 14 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหน วย หน ว ยการฝ กนี้ พั ฒ นาขึ้น ใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับ การฝ ก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายขั้นตอนการเลือกสถานที่ติดตั้ง และขอควรระวังในการติดตั้งได 2. อธิบายขั้นตอนการเดินทอสารทําความเย็นและทอน้ําทิ้งได 3. อธิบายวิธีการเลือกใชขนาดของสายไฟฟา การปฏิบัติตามกฎขอบังคับ ในการเดินสายไฟฟาของการไฟฟานครหลวง และการไฟฟาสวนภูมิภาค การเลือกใช อุปกรณปองกันกระแสเกินและสวิตซตัดตอนอัตโนมัติไดอยางเหมาะสม 4. อธิบายการเลือกขนาดสายไฟฟาที่เหมาะสม สายดิน และการตอวงจรไฟฟาได 5. อธิบายการเลือกใชอุปกรณปองกันกระแสเกินและสวิตซตัดตอนอัตโนมัติที่เหมาะสม 6. ติดตั้งและเดินสายไฟแบบเดินลอยหรือรอยทอได 7. อธิบายขั้นตอนการทดสอบการทํางานของเครื่องปรับอากาศได 8. ทดสอบการทํางานของเครื่องปรับอากาศได 9. อธิบายขั้นตอนการแกไขอาการขัดของของเครื่องปรับอากาศเบื้องตนได 10. แกไขอาการขัดของของเครื่องปรับอากาศเบื้องตนได 11. อธิบายขั้นตอนการหุมฉนวนทอเย็น บุฉนวนของทอสงลมเย็น ตลอดจน การปองกันไมใหความชื้นกลั่นตัวเปนหยด การอุดรอยตอตามผนังและตามที่แขวน หรือยึดทอได 12. หุมฉนวนทอเย็น บุฉนวนของทอสงลมเย็น ตลอดจนการปองกันไมใหความชื้น กลั่นตัวเปนหยด การอุดรอยตอตามผนังและตามที่แขวนหรือยึดทอ 13. อธิบายขั้นตอนการบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศได 14. บํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศได สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 การติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

5. พื้นฐาน ความสามารถของ ผูรับการฝก

ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1. มี ค วามรู พื้ น ฐานเกี่ ย วกั บ การติ ด ตั้ ง เดิ น สายไฟ การหุ ม ฉนวน เพื่ อ การติ ด ตั้ ง เครื่ อ งปรั บ อากาศ รวมถึ ง การบํ า รุ ง รั ก ษาเครื่ อ งปรั บ อากาศ และการแก ป ญ หา เบื้องตน หรือเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวของจากหนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 9 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายขั้นตอน หัวขอที่ 1 : สถานที่ติดตั้ง 0:30 0:30 การเลือกสถานที่ติดตั้ง และ ขอควรระวัง ในการติดตั้งได 2. อธิ บ ายขั้ น ตอนการเดิ น ท อ หัวขอที่ 2 : การเดินทอ 0:30 0:30 สารทํา ความเย็ น และ ท อน้ําทิ้ ง ได 3. อธิบายการเลือกใช หัวขอที่ 3 : กฎขอบังคับของการไฟฟา 0:30 0:30 ขนาดของสายไฟฟา การปฏิบัติตามกฎขอบังคับ ในการเดินสายไฟฟาของ การไฟฟานครหลวง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค การเลือกใชอุปกรณปองกัน กระแสเกินและสวิตซตัดตอน อัตโนมัติไดอยางเหมาะสม 4. อธิบายวิธีการเลือก หัวขอที่ 4 : การเลือกสายไฟฟาและการตอวงจร 0:30 0:30 ขนาดสายไฟฟาที่เหมาะสม สายดิน และการตอวงจรไฟฟาได 5. อธิบายการเลือกใชอุปกรณ หัวขอที่ 5 : อุปกรณปองกันทางไฟฟา 0:30 0:30 ปองกันกระแสเกินและ สวิตซตัดตอนอัตโนมัติ 13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ที่เหมาะสม 6. ติดตั้งและเดินสายไฟ แบบเดินลอยหรือรอยทอได 7. อธิบายขั้นตอนการทดสอบการ ทํางานของเครื่องปรับอากาศ ได 8. ทดสอบการทํางานของ เครื่องปรับอากาศได 9. อธิบายขั้นตอนการแกไข อาการขัดของ ของเครื่องปรับอากาศเบื้องตนได 10. แกไขอาการขัดของของ เครื่องปรับอากาศเบื้องตนได 11. อธิบายขั้นตอนการหุมฉนวน ทอเย็น บุฉนวนของ ทอสงลมเย็น ตลอดจน การปองกันไมใหความชื้น กลั่นตัวเปนหยด การอุดรอยตอตามผนัง และ ตามที่แขวนหรือยึดทอได 12. หุมฉนวนทอเย็น บุฉนวนของ ทอสงลมเย็น ตลอดจน การปองกันไมใหความชื้น กลั่นตัวเปนหยด การอุดรอยตอตามผนังและ ตามที่แขวนหรือยึดทอได 13. อธิบายขั้นตอนการบํารุงรักษา เครื่องปรับอากาศได 14. บํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศได

หัวขอที่ 6 : การเดินสายไฟ

0:30

-

0:30

หัวขอที่ 7 : การทดสอบเครื่อง

0:30

4:00

4:30

หัวขอที่ 8 : การแกไขอาการขัดของ

0:45

3:00

3:45

หัวขอที่ 9 : การปองกันความชื้น

0:30

4:00

4:30

หัวขอที่ 10 : การบํารุงรักษาเครื่อง

0:30

3:00

3:30

รวมทั้งสิ้น

5:15

14:00 19:15

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921730501 สถานที่ติดตั้ง (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายขั้นตอนการเลือกสถานที่ติดตั้ง และขอควรระวังในการติดตั้งได

2. หัวขอสําคัญ 1. การเลือกสถานที่ติดตั้ง 2. ขอควรระวังในการติดตั้ง

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรา งหลั กสู ตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับ การฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารั บ การฝ กในโมดู ล ที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม นุกูล แกวมะหิงษ. 2558. เครื่องปรับอากาศ (ภาคทฤษฎี). กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมอาชีวะ. สุธิกานต วงษเสถียร. 2549. ระบบไฟฟาควบคุม เครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศ. ปทุมธานี : สกายบูกส. 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 สถานที่ตดิ ตั้ง การติด ตั ้ง เครื ่อ งปรับ อากาศจํ า เป น ตอ งมี ก ารเลือ กสถานที ่ต ิด ตั ้ ง ใหเ หมาะสมเพื ่ อ ให เ ครื ่ อ งปรับ อากาศมี ประสิทธิภาพในการทํางานไดอยางสมบูรณ โดยเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวนจะประกอบไปดวย ชุดคอยลเย็นและชุ ด คอยล ร อ น ซึ่ ง มี ก ารพิ จ ารณาตํา แหน ง ในการติ ด ตั้ ง ต า งกั น ดั ง นี้ 1. การเลื อ กสถานที่ ติ ด ตั้ ง ประกอบด ว ย 2 ส ว นคื อ 1.1 การเลื อ กตํา แหน ง ในการติ ด ตั้ ง ชุ ด คอยล เ ย็ น 1) ติดตั้งในตําแหนงที่ความเย็นสามารถกระจายไดทั่วหอง ไมถูกกีดขวาง 2) ผนังที่จะยึดเครื่องตองมีความแข็งแรงเพียงพอในการรับน้ําหนัก 3) ตําแหนงของการเจาะทอสารทําความเย็น ควรงายตอการเจาะ และไมมีสิ่งกีดขวางดังตัวอยางในภาพที่ 1.1

ภาพที่ 1.1 ตําแหนงติดตั้งงายตอการเจาะ 4) โดยรอบพื้นที่ติดตั้งควรมีพื้นที่วางพอประมาณ เพื่อใหสะดวกในการติดตั้งและซอมบํารุง 5) ไมควรติดตั้งในตําแหนงที่ทําใหผูอยูอาศัยโดนลมเย็นโดยตรง เพราะอาจทําใหเกิดอาการเจ็บปวยได 6) ตองติดตั้งคอยลเย็นใหไดระดับ และน้ําทิ้งสามารถไหลออกไดสะดวกไมหยดภายในหอง 7) ในการเจาะรูต องระวั งไม ใหโ ดนสายไฟ และเจาะในลัก ษณะเอีย งลงดานนอกเล็กนอย เพื่อปองกัน ไมใหน้ําฝนดานนอกสาดเขามาภายในหอง 8) ติดตั้งใหหางจากโทรทัศนหรือวิทยุอยางนอย 1 เมตร เพราะอาจรบกวนสัญญาณโทรทัศนและวิทยุ ดังภาพ ที่ 1.2 17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ภาพที่ 1.2 ตัวอยางการติดตั้งเครื่องปรับอากาศใหหางจากสัญญาณโทรทัศนและวิทยุ 9) ติด ตั้ง ใหหางจากหลอดไฟฟลูอ อเรสเซนตใหมากที่สุด เพื่อ ปอ งกัน แสงรบกวนการสงสัญญาณของ รีโมทคอนโทรล ดังภาพที่ 1.3

ภาพที่ 1.3 ติดตั้งใหหางจากแสงรบกวน 1.2 การเลือกตําแหนงในการติดตั้งชุดคอยลรอน 1) เลือกตําแหนงที่สามารถระบายความรอนไดดี ไมมีสิ่งกีดขวาง ดังภาพที่ 1.4

ภาพที่ 1.4 ตําแหนงที่ตั้งระบายอากาศไดดี 18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

2) วางเครื่องหางจากบริเวณที่มีถังแกสไวไฟตาง ๆ ดังภาพที่ 1.5

ภาพที่ 1.5 วางใหหางวัตถุไวไฟ 3) หลีกเลี่ยงการติดตั้งเครื่ องในพื้น ที่ที่มีคราบน้ํามัน เครื่ อง หรือกระทบกั บ ไอน้ําทะเล ซึ่งจะสรางความ เสียหายใหแกเครื่อง 4) ไมติดตั้งไวใกลแหลงกําเนิดความรอน ควรอยูในบริเวณที่อุณหภูมิโดยรอบไมเกิน 40 องศาเซลเซียส 5) จุดติดตั้งตองงายในการติดตั้งและซอมบํารุง ดังภาพที่ 1.6

ภาพที่ 1.6 ติดตั้งในที่งายตอการซอมบํารุง 6) ตําแหนงที่ติดตั้งตองอยูใกลชุดคอยลเย็น เพื่อเดินทอใหไดระยะที่เหมาะสมและลดการสูญเสียแรงดัน 7) ควรมีหลังคากันแดด และมีการถายเทอากาศที่ดี 8) ตําแหนงติดตองไมทําใหเกิดเสียงรบกวน โดยเฉพาะการติดตั้งในพื้นที่ชุมชน 9) หามติดตั้งชุดคอยลรอนบนผนังที่มีความลาดเอียงมาก เพราะเสี่ยงตอการตกลงมา 10) เมื่อตองติดตั้งชุดคอยลรอนบนหลังคา ใหใชแผนยางรองเพื่อลดความสั่นสะเทือน 11) ติดตั้งตัวเครื่องบนขาเหล็กที่แข็งแรง และมีความสูงพอที่จะปองกันน้ําทวม 12) ไมควรติดตั้งคอยลรอนใกลกรงสัตว หรือบริเวณที่ปลูกตนไม ดังภาพที่ 1.7 19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ภาพที่ 1.7 ไมติดตั้งในที่มีตนไมกีดขวาง 13) ควรติดตั้งใหหางจากตําแหนงที่มือเด็กเอื้อมถึง หรือทําลูกกรงลอมเพื่อความปลอดภัย

ภาพที่ 1.8 ลอมลูกกรงเพื่อความปลอดภัยจากมือเด็ก 14) ตอ งติด ตั ้ง ชุด คอยลร อ นในแนวราบ เพราะการติด ตั ้ง แบบลาดเอีย งจะสง ผลใหน้ํ า มัน ไหลเขา กระบอกสูบ ทําใหคอมเพรสเซอรเสียหายได 15) ติดตั้งหางจากเสาอากาศโทรทัศนอยางนอย 3 เมตร เพื่อปองกันสัญญาณรบกวน 16) ติดตั้งใหอยูในทิศทางเดียวกับลม ดังภาพที่ 1.9

ภาพที่ 1.9 ติดตั้งใหอยูในทิศทางเดียวกับลม 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

17) กอนติด ตั้งตองปรับ ตั้งสกรูใหขาคอมเพรสเซอรล อยตัว อยูบ นสปริงพอดี เพื่อไมใหเ กิดเสีย งดังเวลา ทํางาน 2. ขอควรระวังในการติดตั้ง 1) การติดตั้งเครื่องปรับอากาศตองใชชางเครื่องปรับอากาศที่มีความชํานาญเทานั้น 2) หามอัดอากาศหรือออกซิเจนเขาไปในระบบน้ํายา เนื่องจากจะทําใหเกิดการระเบิด! 3) ไมควรใชสารทําความเย็นหลายชนิดปนกัน 4) ถาหากเกิดการรั่วของสารทําความเย็นภายในหอง ตองรีบเปดหนาตางเพื่อระบายอากาศออก ดังภาพที่ 1.10

ภาพที่ 1.10 ระบายอากาศหากเกิดการรั่วของสารทําความเย็น 5) ตรวจสอบอยางละเอียด เพื่อใหแนใจวาไมมีการรั่วไหลของสารทําความเย็น 6) ไมควรติดตั้งเครื่องปรับอากาศในหองที่ไมมีชองระบายอากาศ เนื่องจากสารทําความเย็นจะแทนที่อากาศในหอง สงผลตอระบบหายใจและมีอันตรายถึงชีวิต ดังภาพที่ 1.11

ภาพที่ 1.11 ไมควรติดตั้งเครื่องปรับอากาศในที่ไมมีชองระบายอากาศ 7) การติดตั้งที่ผิดวิธี อาจจะทําใหเกิดอันตรายได เชน ไฟฟารั่ว น้ํายารั่ว ไฟไหม และการระเบิด 21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. สถานที่ใดเหมาะกับการติดเครื่องปรับอากาศ (คอยลรอน) มากที่สุด ก. กําแพงดานนอกของหองใกลจากคอยลเย็น ข. กําแพงดานนอกของหองไกลจากคอยลเย็น ค. ริมรั้วบาน โดยหันดานลมออกเขาหาตนไมใหญ ง. ริมรั้วบาน โดยหันดานลมออกชิดกําแพง 2. บริเวณใดเหมาะกับการติดเครื่องปรับอากาศ (คอยลเย็น) มากที่สุด ก. กึ่งกลางของกําแพงภายในหอง จากทั้งดานซาย ขวา และจากบนลงลาง ข. กึ่งกลางของกําแพงภายในหอง หางจากฝาประมาณ 10 เซนติเมตร ค. บริเวณใตเตียง เพื่อไมใหลมเย็นกระจายไปไกล ง. บริเวณหัวเตียง เพื่อใหเย็นหลับสบาย 3. เพื่อใหเกิดความเย็นที่มีประสิทธิภาพ ผูใชรับรูไดถึงความเบาสบายชื่นฉ่ํา ควรเติมสารทําความเย็นหลายชนิดปนกัน ก. ไมถูกตอง เพราะอาจเกิดการระเบิดได ข. ไมถูกตอง เพราะปกตินั้นควรเติมเพียง 2 ชนิด ค. ถูกตอง เพราะเครื่องปรับอากาศจะไดมีอายุการใชงานที่ยืนยาว ง. ถูกตอง เพราะอุณหภูมิที่เย็นพอดี เกิดจากสารทําความเย็นที่หลากหลาย

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921730502 การเดินทอ (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายขั้นตอนการเดินทอสารทําความเย็นและทอน้ําทิ้งได

2. หัวขอสําคัญ 1. การเดินทอสารทําความเย็น 2. การเดินทอน้ําทิ้ง

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรา งหลั กสู ตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับ การฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารั บ การฝ กในโมดู ล ที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม นุกูล แกวมะหิงษ. 2558. เครื่องปรับอากาศ (ภาคทฤษฎี). กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมอาชีวะ. วีระศักดิ์ มะโนนอม และสมชาย วณารักษ. 2558. เครื่องทําความเย็นและปรับอากาศ. นนทบุรี : เอมพันธ 25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 การเดินทอ 1. การเดินทอสารทําความเย็น ในเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวนจะมีทอ 2 ทอ ที่เปนทางเดินของสารทําความเย็น ไดแก 1) ทอสารทําความเย็นเหลว (Liquid Line) เปนทางเดินของสารทําความเย็นจากชุดคอยลรอนไปยังชุดคอยลเย็น ซึ่งสารทําความเย็นที่ไหลผานจะอยู ในสถานะของเหลวที่มีความดันและอุณหภูมิสูง และ 2) ทอทางดูด (Suction Line) เปนทางเดินของสารทําความเย็นจาก ชุดคอยลเย็นไปยังคอยลรอน ซึ่งสารทําความเย็นที่ไหลผานจะอยูในสถานะไอที่มีความดันและอุณหภูมิต่ํา 1.1 การออกแบบและติดตั้งทอสารความเย็นเหลว การออกแบบและติดตั้งทอสารความเย็นเหลวใหยึดหลักการตอไปนี้ 1) หา มติด ตั้ง ชุด คอยลเ ย็น สูง กวา ชุด คอยลรอ นเกิน กวา 25 ฟุต หรือ 7.5 เมตร เนื่อ งจากความสูง ที่ แตกตา งของของเหลว ทํา ใหส ารทําความเย็น เหลวเดือดกลายเปน ไอ สงผลใหป ระสิทธิภ าพในการ ทํางานของเครื่องลดลง

ภาพที่ 2.1 การติดตั้งชุดคอยลเย็นอยูสูงกวาชุดคอยลรอน 2) ตองเลือกเสนผานศูนยกลางของทอใหมีความกวางสอดคลองกับความยาวของทอที่เพิ่มขึ้น 3) อยา ใหทอสารทํา ความเย็ น เหลวถูกแดดสองโดยตรง เพราะจะสงผลใหส ารเกิด การเดือ ดกลายเปน ไอได ควรใชเทปพันคลุมตลอดทอ

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

1.2 การออกแบบและติดตั้งทอทางดูด การออกแบบและติดตั้งทอทางดูดใหยึดหลักการตอไปนี้ 1) ขนาดทอทางดูดตองมีความกวางพอ เพื่อใหคอมเพรสเซอรดูดไอสารทําความเย็นไดดี โดยตองมีขนาดความกวางที่สัมพันธกับความยาว โดยมีมาตรฐานกําหนดไว 2) ถาตําแหนงติดตั้งของชุดคอยลเย็นอยูสูงกวาชุดคอยลรอน จะตองติดตั้งทอทางดูดตามแนวนอน ใหลาดเอียงไมนอยกวา ½ นิ้ว ตอระยะของทอทุก ๆ 10 ฟุต

ภาพที่ 2.2 แสดงการลาดเอียงของทอทางดูด ทุก ๆ 10 ฟุต 3) ถาตําแหนงติดตั้งของชุดคอยลรอนสูงกวาชุดคอยลเย็นเกิน 8 ฟุต ตองติดตั้งอุปกรณกักเก็บน้ํามัน ชนิด P - Trap ที่ดานลางของทอดูด

ภาพที่ 2.3 การติดตั้งอุปกรณกักเก็บน้ํามัน ชนิด T-Trap

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

4) ถา ตํา แหนง ติด ตั้ง ของชุด คอยลรอ นสูงกวา ชุด คอยลเ ย็น เกิน 25 ฟุต ทุก ๆ 25 ฟุต ของทอ ทางดูด จะตองติดอุปกรณกักเก็บน้ํามันชนิด S - Trap

ภาพที่ 2.4 การติดตั้งอุปกรณกักเก็บน้ํามัน ชนิด S-Trap 5) ควรเติมน้ํามันหลอลื่นคอมเพรสเซอรเพิ่มเติม เมื่อติดตั้งคอยลเย็นหางจากคอยลรอนเกินกวาที่ ทางบริษัทกําหนด โดยเติมน้ํามันหลอลื่น 9 ซี.ซี. ตอความยาวที่เพิ่มขึ้น 1 ฟุต 6) ควรติดตั้ง Invert – Trap ในกรณีที่ติดตั้งคอยลเย็นในระดับเดียวกับคอยลรอนหรือสูงกวา 2. การเดินทอน้ําทิ้ง - ทอน้ําทิ้งควรลาดเอียงไปดานนอก เพื่อใหน้ําไหลออกสะดวก โดยลาดเอียงในอัตราสวนอยางนอย 1 ตอ 50 - ทอน้ําทิ้งไมควรมีทอดักน้ํา หลีกเลี่ยงการนําปลายทอจุมลงในน้ํา

ภาพที่ 2.5 ตัวอยางการจัดรูปแบบทอและการติดตั้งทอน้ําทิ้งในเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน 28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

- สวนที่อยูในหองควรหุมทอดวยเทปพลาสติก เพื่อปองกันความเสียหายที่เกิดขึ้นกับฝาเพดาน

ภาพที่ 2.6 รูปแสดงการออกแบบและติดตั้งทอน้ําทิ้งที่ไมถูกตองตามหลักการ - เมื่อติดตั้งเสร็จแลวจะตองทดสอบการรั่วไหลของน้ํา โดยใชกาน้ําราดลงในถาดน้ําทิ้งของชุดคอยลเย็น

ภาพที่ 2.7 ภาพแสดงการทดสอบการไหลของทอน้ําทิ้งในเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. หามติดตั้งชุดคอยลเย็นสูงกวาคอยลรอนเกินกี่ฟุต ก. 25 ฟุต ข. 20 ฟุต ค. 19 ฟุต ง. 18 ฟุต 2. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับหลักการออกแบบและติดตั้งทอสารความเย็นเหลว ก. การติดตั้งชุดคอยลเย็นสูงกวาชุดคอยลรอนเกินกวา 25 ฟุต ทําใหเครื่องปรับอากาศทํางานนอยลง ข. ควรเลือกเสนผานศูนยกลางของทอใหมีความกวางสอดคลองกับความยาวของทอที่เพิ่มขึ้น ค. ควรใหสารทําความเย็นเหลวถูกแดดสองโดยตรง เพราะจะสงผลใหสารเกิดการเดือดงาย ง. ไมควรใชเทปพันคลุมทอสารทําความเย็น เพราะทอจะระเบิดได 3. หากตําแหนงติดตั้งของชุดคอยลรอนสูงกวาชุดคอยลเย็นเกิน 8 ฟุต จะตองติดตั้งอุปกรณชนิดใด ที่บริเวณใด ก. P-Trap ที่ดานลางของทอดูด ข. C-Trap ที่ดานลางของทอดูด ค. P-Trap ที่ดานลางของทอน้ําทิ้ง ง. C-Trap ที่ดานลางของทอน้ําทิ้ง

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3 0921730503 กฎขอบังคับของการไฟฟา (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายการเลือกใชขนาดของสายไฟฟา การปฏิบัติตามกฎขอบังคับในการเดินสายไฟฟาของการไฟฟานครหลวง และการไฟฟาสวนภูมิภาค การเลือกใชอุปกรณปองกันกระแสเกินและสวิตซตัดตอนอัตโนมัติไดอยางเหมาะสม

2. หัวขอสําคัญ 1. การเลือกใชขนาดของสายไฟตามกฎขอบังคับของการไฟฟา 2. การเดินสายไฟตามกฎขอบังคับของการไฟฟา 3. การเลือกใชอุปกรณปองกันกระแสเกินและสวิตซตัดตอนอัตโนมัติ

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรา งหลั กสู ตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับ การฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารั บ การฝ กในโมดู ล ที่ครูฝกกําหนดได

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

7. บรรณานุกรม การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย. เกี่ยวกับ กฟผ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.egat.co.th/index. php?option=com_content&view=article&id=140&Itemid=178 ธวัชชัย จารุจิตร. 2546. การติดตั้งไฟฟาในอาคารและในโรงงาน. กรุงเทพฯ : วังอักษร. ธํารงศักดิ์ หมินกาหรีม. 2559. กฎและมาตรฐานทางไฟฟา. พิมพครั้งที่ 2. นนทบุรี : ศูนยหนังสือเมืองไทย. ไวพจน ศรีธัญ. 2556 การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมอาชีวะ.

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 กฎขอบังคับของการไฟฟา 1. การเลือกใชขนาดและชนิดของสายไฟตามกฎขอบังคับของการไฟฟา 1.1

ระบบ 1 เฟส 1) สายไฟฟา ตองเปนสายไฟฟาตัวนําทองแดงหุมฉนวนพีวีซี สามารถทนตอแรงดันไฟฟาไดไมต่ํากวา 300 โวลต 2) เครื่องใชไฟฟา และบริภัณฑไฟฟา ตองสามารถทนตอแรงดันไฟฟาไดไมต่ํากวา 220 โวลต และเปนไปตาม มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) หรือเปนผลิตภัณฑที่มีคุณภาพเชื่อถือได หรือ มาตรฐานที่ กฟภ. ยอมรับ 3) สีของสายเฟสเปนสีน้ําตาลหรือสีดําหรือสีเทา สีของสายนิวทรัลเปนสีฟา สีของสายดินเปนสีเขียว หรือสีเขียว แถบสีเหลือง ตารางที่ 3.1 แสดงชนิดและสีของสายไฟตามมาตรฐาน มอก. ชนิดของสาย นิวทรัล

มอก.11-2531 เทาออน

มอก.11-2553 ขาว

ฟา

เฟส A

ดํา

น้ําตาล

เฟส B

แดง

ดํา

เฟส C

น้ําเงิน

เทา

สายดิน

เขียวแถบเหลือง

เขียว

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เขียวแถบเหลือง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

4) ขนาดต่ําสุดของสายดินของเครื่องใชไฟฟา หรือบริภัณฑไฟฟา เปนไปตามตารางนี้ ตารางที่ 3.2 ขนาดต่ําสุดของสายดินของเครื่องใชไฟฟา หรือบริภัณฑไฟฟา พิกัด หรือขนาดปรับตั้ง

ขนาดต่ําสุดของสายดินของเครื่องใชไฟฟา

ของเครื่องปองกันกระแสเกิน ไมเกิน

(ตัวนําทองแดง)

(แอมแปร)

(ตร.มม.)

20

2.5

40

4

5) ขนาดต่ํา สุ ด ของสายต อ หลั ก ดิ น และสายตอ ฝากตอ งเปน สายทองแดงหุม ฉนวน ขนาดไมเ ล็ก กวา 10 ตร.มม. ทั้งนี้สายตอหลักดินควรเดินในทอ 6) หากจําเปนตองแบงวงจรยอยสําหรับดวงโคม และเตารับ ใหแบงไดวงจรละไมเกิน 10 จุด และสายที่เดินไป ยังสวิตช และดวงโคม ตองมีขนาดไมเล็กกวา 1 ตร.มม. สําหรับสายที่เดินไปยังเตารับตองไมเล็กกวา 1.5 ตร.มม. 7) หลั กดิ น เป น แท งเหล็ กหุ ม ทองแดง (ไม ใช หุ ม ด ว ยปลอกทองแดง) หรื อแท งทองแดง หรื อ แท ง เหล็ ก อาบสังกะสี ขนาดเสนผานศูนยกลางไมนอยกวา 16 มม. (5/8 นิ้ว) และยาวไมนอยกวา 2.4 เมตร หรือหลัก ดินชนิดอื่นที่ไดรับการเห็นชอบจาก กฟภ. 1.2 ระบบ 3 เฟส 1) สายไฟฟาตองเปนสายไฟฟาตัวนําทองแดงหุมฉนวนพีวีซี สามารถทนตอแรงดันไฟฟาไดไมต่ํากวา 750 โวลต 2) เครื่ อ งใช ไ ฟฟ า และบริ ภั ณ ฑ ไ ฟฟ า ต อ งสามารถทนต อ แรงดั น ไฟฟ า ได ไ ม ต่ํ า กว า 380 โวลต และเปนไปตามมาตรฐานผลิตภั ณฑ อุตสาหกรรม (มอก.) หรือเปนผลิตภัณฑที่มีคุณภาพเชื่ อถือได หรือ มาตรฐานที่ กฟภ. ยอมรับ 3) สีของสายเฟสเปน สีน้ํา ตาล ดํา และเทา สําหรับ สายเฟส A, B และ C ตามลําดับ สายนิว ทรัล เปนสีฟา และสายดินเปนสีเขียว หรือสีเขียวแถบเหลือง 4) ขนาดต่ําสุดของสายดินของเครื่องใชไฟฟาหรือบริภัณฑไฟฟา เปนไปตามตาราง ดังนี้

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ตารางที่ 3.3 ขนาดต่ําสุดของสายดินของเครื่องใชไฟฟา หรือบริภัณฑไฟฟา พิกัด หรือขนาดปรับตั้ง

ขนาดต่ําสุดของสายดินของเครื่องใชไฟฟา

ของเครื่องปองกันกระแสเกิน ไมเกิน

(ตัวนําทองแดง)

(แอมแปร)

(ตร.มม.)

20

2.5

40

4

5) ขนาดต่ําสุดของสายตอหลักดิน และสายตอฝากตองเปนสายทองแดงหุมฉนวน ขนาดไมเล็กกวา 10 ตร.มม. ทั้งนี้สายตอหลักดินควรเดินในทอ 6) หากจําเปนตองแบงวงจรยอยสําหรับดวงโคม และเตารับ ใหแบงไดวงจรละไมเกิน 10 จุด และ สายที่เ ดิน ไปยังสวิตช และดวงโคม ตองมีขนาดไมเล็กกวา 1 ตร.มม. สําหรับสายที่เดินไปยังเตารับตองไมเล็กกวา 1.5 ตร.มม. 7) หลักดิน เปนแทงเหล็กหุมทองแดง (ไมใชหุมดวยปลอกทองแดง) หรือแทงทองแดง หรือแทงทองแดง หรือแทง เหล็กอาบสังกะสี ขนาดเสนผานศูนยกลางไมนอยกวา 16 มม. (5/8นิ้ว) และยาวไมนอยกวา 2.4 เมตร หรือ หลักดินชนิดอื่นที่ไดรับการเห็นชอบจาก กฟภ. 2. การเดินสายไฟตามกฎขอบังคับของการไฟฟา 2.1 การเดินสายและติดตั้งเครื่องใชไฟฟา ระบบ 1 เฟส ตามกฎขอบังคับของการไฟฟาฯ ไดกําหนดแผนผังการเดินสายไฟฟาและติดตั้งเครื่องใชไฟฟา ระบบ 1 เฟส ดังภาพ ตัวอยาง ตอไปนี้ 1) กรณีอาคารที่มีความสูงเกิน 1 ชั้น ตองแยกวงจรยอยอยางนอยชั้นละ 1 วงจร และแผงเมนสวิตชแรงต่ํา ควรติดตั้งอยูบนชั้นลอยหรือชั้น 2 ของอาคาร 2) กรณีอาคารชั้นเดียว ขอบลางของแผนเมนสวิตชแรงต่ําควรอยูสูงจากพื้นไมต่ํากวา 1.60 เมตร สําหรับผูใชไฟ ที่อยูในพื้นที่เสี่ยงน้ําทวมเปนประจําซ้ําซาก ใหดําเนินการเพิ่มเติม ดังนี้ - อาคารที่มีความสูงเกิน 1 ชั้น ตองแยกวงจรไฟฟาทุกวงจรของชั้น และชั้นใตดินออกจากชั้นอื่น ของอาคาร - อาคารชั้นเดียว ตองแยกวงจรเตารับ วงจรแสงสวาง และวงจรไฟฟาภายนอกอาคาร 37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

หมายเลข

ภาพที่ 3.1 ตัวอยางแผนผังการเดินสายระบบ 1 เฟส 1 สายเฟส 11 สายตอฝากหลัก 2 สายนิวทรัล 12 บัสบาร 3 มิเตอร 1 เฟส 220 โวลต 13 เซอรกิตเบรกเกอรยอย 4 แผงเมนสวิตช 14 ขั้วตอสายนิวทรัล 5 สายเมน (ตัวนําประธาน) 15 สวิตชเปด-ปด 6 สายตอฝาก 16 หลอดฟลูออเรสเซนส หรือ หลอด LED 7 ขั้วตอสายดิน 17 เครื่องปรับอากาศ 8 สายตอหลักดิน 18 บริเวณหองครัว 9 ตําแหนงจุดตอลงดิน 19 เตารับ 10 เมนสวิตช ชนิดมี 2 ขั้ว 20 เครื่องทําน้ําอุน (อาจเปนเซอรกิตเบรกเกอร หรือ ฟวสสวิตช) 38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

2.2 การเดินสายและติดตั้งเครื่องใชไฟฟา ระบบ 3 เฟส ตามกฎขอบังคับของการไฟฟาฯ ไดกําหนดแผนผังการเดินสายไฟฟาและติดตั้งเครื่องใชไฟฟา ระบบ 3 เฟส ดัง ภาพที่ 3.2 1) กรณีอาคารที่มีความสูงเกิน 1 ชั้น ตองแยกวงจรยอยอยางนอยชั้นละ 1 วงจร และแผงเมนสวิตชแรงต่ําควร ติดตั้งอยูบนชั้นลอยหรือชั้น 2 ของอาคาร 2) กรณีอาคารชั้นเดียว ขอบลางของแผนเมนสวิตชแรงต่ําควรอยูสูงจากพื้นไมต่ํากวา 1.60 เมตร สําหรับผูใชไฟ ที่อยูในพื้นที่เสี่ยงน้ําทวมเปนประจําซ้ําซาก ใหดําเนินการเพิ่มเติม ดังนี้ - อาคารที่มีความสูงเกิน 1 ชั้น ตองแยกวงจรไฟฟาทุกวงจรของชั้น และชั้นใตดินออกจากชั้นอื่น ของอาคาร - อาคารชั้นเดียว ตองแยกวงจรเตารับ วงจรแสงสวาง และวงจรไฟฟาภายนอกอาคาร

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ภาพที่ 3.2 ตัวอยางแผนผังการเดินสายระบบ 3 เฟส หมายเลข

1 มิเตอร 3 เฟส 380/220 โวลต

10 ขั้วตอสายนิวทรัล

2 สวิตชบอรด

11 หลักดิน

3 สายเมน (ตัวนําประธาน)

12 เซอรกิตเบรกเกอรยอย

4 สายตอฝาก

13 สวิตช เปด-ปด

5 สายตอหลักดิน

14 หลอดฟลูออเรสเซนส หรือ หลอด LED

6 ขั้วตอสายดิน

15 เครื่องทําน้ําอุน

7 เมนสวิตชชนิด 3 ขั้ว

16 เตารับ

8 สายตอฝากหลัก

17 บริเวณหองครัว

9 บัสบาร

18 มอเตอร 3 เฟส 40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

3. การเลือกใชอุปกรณปองกันกระแสเกินและสวิตชตัดตอนอัตโนมัติ 3.1 ระบบ 1 เฟส บริภัณฑประธานหรือเมนสวิตช ประกอบดวยเครื่องปองกันกระแสเกินและเครื่องปลดวงจรซึ่งอาจเปนเซอร กิต เบรกเกอรหรือสวิตชพรอมฟวส โดยมีขนาดเปนไปตามตาราง ดังนี้ ตารางที่ 3.4 ขนาดตัวนํา เครื่องปองกันกระแสเกิน และเครื่องปลดวงจรสําหรับสายประธาน ขนาดมิเตอร (แอมแปร)

ขนาดของ ขนาดตัวนําประธาน โหลด เล็กที่สุดที่ยอมใหใชได สูงสุด

กรณีเดินลอยใน

(แอมแปร)

อากาศ

เซฟตีส้ วิตชหรือ โหลดเบรกสวิตช

คัทเอาทที่ใชรวมกับ คารทริดจฟวส

เซอรกิต เบรกเกอร

(ตร.มม.) สาย สาย อะลูมิเนียม ทองแดง

ขนาด สวิตช

ขนาด สวิตช

ขนาด คัทเอาท

ขนาดฟวส สูงสุด

ขนาด ปรับตั้ง

ต่ําสุด

สูงสุด

ต่ําสุด

(แอมแปร)

สูงสุด

(แอมแปร) (แอมแปร) (แอมแปร)

(แอมแปร)

Electromechanical Meter and Electronic Meter

12

10

4

30

15

20

16

16

36

25

10

60

50

60

50

50

80

50

35

100

100

-

-

100

5(15) Smart Meter 5(45) Electromechanical Meter and Electronic Meter 15(45) Smart Meter 5(100) Electromechanical Meter and Electronic Meter 30(100)

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

1) เครื่องปองกันกระแสเกินของบริภัณฑประธานตองมีพิกัดทนกระแสลัดวงจรไดไมนอยกวา 10 kA 2) วงจรยอยทุกวงจรตองมีเครื่องปองกันกระแสเกิน และขนาดของเครื่องปองกันกระแสเกินตองสอดคลอง ตามโหลดสูงสุดที่คํานวณได 3) ขนาดตัวนําของวงจรยอยตองไมนอยกวาพิกัดของเครื่องปองกันกระแสเกินของวงจรยอย และ ตองมีขนาด ไมเล็กกวา 2.5 ตร.มม. 4) ตองมีการปองกันกระแสไฟฟารั่ว โดยใชเครื่องตัดไฟรั่ว (Residual Current Device) 5) กระแสรั่ ว ที่ กํา หนดไม เ กิ น 30 มิ ล ลิแอมป ในวงจรที่มีความเสี่ย งตามมาตรฐานการติดตั้งไฟฟาสําหรั บ ประเทศไทย พ.ศ. 2556 กําหนดไว เชน - วงจรเตารับในบริเวณหองน้ํา หองอาบน้ํา โรงจอดรถ หองครัว หองใตดิน - วงจรเตารับในบริเวณอ างล างชาม อางลางมือ (บริเวณพื้น ที่เ คานเ ตอร ที่มีการติด ตั้ งเตารั บ ภายในระยะ 1.50 ม. หางจากขอบดานนอกของอาง) - วงจรไฟฟาเพื่อใชจายภายนอกอาคาร และบริภัณฑไฟฟาที่อยูในตําแหนงที่บุคคลสัมผัสได - วงจรเตารับในบริเวณชั้นลาง (ชั้น 1) หองใตดิน รวมถึงในบริเวณที่อยูต่ํากวาระดับผิวดินที่อยู ในพื้นที่เสี่ยงที่มีสถิติน้ําทวมถึง หรืออยูในพื้นที่ต่ํากวาระดับน้ําทะเล - วงจรยอยสําหรับเครื่องทําน้ําอุน เครื่องทําน้ํารอน อางน้ําวน

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

3.2 ระบบ 3 เฟส บริภัณฑประธานหรือเมนสวิตช ประกอบดวยเครื่องปองกันกระแสเกินและเครื่องปลดวงจร อาจจะเปนเซอรกิต เบรกเกอรหรือสวิตชพรอมฟวส ขนาดเปนไปตามตาราง ดังนี้ ตารางที่ 3.5 ขนาดตัวนํา เครื่องปองกันกระแสเกิน และเครื่องปลดวงจรสําหรับสายประธาน ขนาดมิเตอร (แอมแปร)

ขนาดของ ขนาดตัวนําประธาน โหลด เล็กที่สุดที่ยอมใหใชได สูงสุด

กรณีเดินลอยใน

(แอมแปร)

อากาศ

เซฟตีส้ วิตชหรือ โหลดเบรกสวิตช

คัทเอาทที่ใชรวมกับ คารทริดจฟวส

เซอรกิต เบรกเกอร

(ตร.มม.) สาย สาย อะลูมิเนียม ทองแดง

ขนาด สวิตช

ขนาด สวิตช

ขนาด คัทเอาท

ขนาดฟวส สูงสุด

ขนาด ปรับตั้ง

ต่ําสุด

สูงสุด

ต่ําสุด

(แอมแปร)

สูงสุด

(แอมแปร) (แอมแปร) (แอมแปร)

(แอมแปร)

Smart Meter 5 (45) Electromechanical Meter 15 (45)

36

25

10

60

50

60

50

50

80

50

35

100

100

-

-

100

Smart Meter 5 (45) Static Meter 10 (100) Electromechanical Meter 30 (100)

1) เครื่องปองกันกระแสเกินของบริภัณฑประธานตองมีพิกัดทนกระแสลัดวงจรไดไมนอยกวา 10 kA 2) วงจรยอยทุกวงจรตองมีเครื่องปองกันกระแสเกิน และขนาดของเครื่องปองกันกระแสเกินตองสอดคลอง ตามโหลดสูงสุดที่คํานวณได 3) ขนาดตัวนําของวงจรยอยตองไมนอยกวาพิกัดของเครื่องปองกันกระแสเกินของวงจรยอย และตองมีขนาด ไมเล็กกวา 2.5 ตร.มม. 43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

4) ตองมีการปองกันกระแสไฟฟารั่ว โดยใชเครื่องตัดไฟรั่ว (Residual Current Device) ขนาด กระแสรั่วที่ กําหนดไมเกิน 30 มิลลิแอมป ในวงจรที่มีความเสี่ยงตามมาตรฐานการติดตั้งไฟฟาสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556 กําหนดไว เชน - วงจรเตารับในบริเวณหองน้ํา หองอาบน้ํา โรงจอดรถ หองครัว หองใตดิน - วงจรเตารับในบริเวณอางลางชาม อางลางมือ (บริเวณพื้นที่เคานเตอรที่มีการติดตั้งเตารับ ภายในระยะ 1.50 ม. หางจากขอบดานนอกของอาง) - วงจรไฟฟาเพื่อใชจายภายนอกอาคาร และบริภัณฑไฟฟาที่อยูในตําแหนงที่บุคคลสัมผัสได - วงจรเตารับในบริเวณชั้นลาง (ชั้น 1) หองใตดิน รวมถึงในบริเวณที่อยูต่ํากวาระดับผิวดินที่ อยูในพื้นที่เสี่ยงที่มีสถิติน้ําทวมถึง หรืออยูในพื้นที่ต่ํากวาระดับน้ําทะเล - วงจรยอยสําหรับเครื่องทําน้ําอุน เครื่องทําน้ํารอน อางน้ําวน

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ระบบไฟฟา 1 เฟส กําหนดใหเครื่องตัดไฟรั่วสามารถปองกันกระแสไฟรั่วไดไมเกินกี่แอมป ก. 80 มิลลิแอมป ข. 60 มิลลิแอมป ค. 30 มิลลิแอมป ง. 120 มิลลิแอมป 2. มอก.2553 กําหนดใหสายนิวทรัล ใชฉนวนสีใด ก. สีเขียว เหลือง ข. สีน้ําตาล ค. สีแดง ง. สีฟา 3. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับขนาดปรับตั้งของเครื่องปองกันกระแสเกิน ไมเกิน 20 แอมแปร ก. ขนาดต่ําสุดของสายดินของเครื่องใชไฟฟา คือ 2.5 ตร.มม. ข. ขนาดต่ําสุดของสายดินของเครื่องใชไฟฟา คือ 15 ตร.มม. ค. ขนาดต่ําสุดของสายดินของเครื่องใชไฟฟา คือ 3.5 ตร.มม. ง. ขนาดต่ําสุดของสายดินของเครื่องใชไฟฟา คือ 25 ตร.มม.

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 4 0921730504 การเลือกสายไฟฟาและการตอวงจร (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายวิธีการเลือกขนาดสายไฟฟาที่เหมาะสม สายดิน และการตอวงจรไฟฟาได

2. หัวขอสําคัญ 1. การเลือกขนาดสายไฟฟา และสายดิน 2. การตอวงจรไฟฟา

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรา งหลั กสู ตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับ การฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารั บ การฝ กในโมดู ล ที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม ไวพจน ศรีธัญ. 2556. การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมอาชีวะ. สุธิกานต วงษเสถียร. 2549. ระบบไฟฟาควบคุม เครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศ. ปทุมธานี : สกายบูกส. 48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 4 การเลือกสายไฟฟาและการตอวงจร 1. การเลือกขนาดสายไฟ และสายดิน ในการจายไฟฟา จากแหลงจา ยไฟฟา ไปยัง จุด ที่ตอ งการใชไ ฟฟาจะตอ งผานตัว นํา คือ สายไฟฟา ซึ่งในระบบจาย ไฟฟาแรงต่ําที่ใชในครัวเรือนจะใชสายไฟฟาแบบหุมฉนวน เพื่อความปลอดภัยในการใชงาน 1.1 มาตรฐานสายไฟฟาหุมฉนวน มาตรฐานที่กําหนดของสายไฟฟาหุมฉนวนนั้นจะแบงตามลักษณะของสายไฟฟา ซึ่งมีดังนี้ 1) สายไฟฟาทองแดงหุมฉนวน พีวีซี ตาม มอก.11 – 2553 สายไฟชนิด นี้จะมีตัวนําไฟฟาเปนทองแดง และมีฉนวนหุมอีกชั้นหนึ่งเปนพีวีซี โดยมีมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมควบคุมบังคับใช 2) สายไฟฟาอะลูมิเนียมหุมฉนวน พีวีซี ตาม มอก. 293 -2541 สายไฟชนิดนี้จะมีตัวนําไฟฟาเปนอะลูมิเนียม และมีพีวีซีเปนฉนวนหุม ซึ่งจะมีน้ําหนักเบากวา แตมีขนาดใหญกวาสายตัวนําทองแดงในขนาดกระแส เทากัน นิยมใชในงานไฟฟาชั่วคราว ไมอนุญาตใหใชกับระบบสายแรงต่ําภายใน 3) สายไฟฟา ตามมาตรฐานการไฟฟา นครหลวงหรือ การไฟฟา สว นภูมิภ าค คือ สายไฟฟา ที่ไ มไ ดผ ลิต ตามมาตรฐาน มอก. แต ได ตามมาตรฐานอื่น ที่กํ าหนดให เปน สายไฟฟา ได เชน สายไฟฟาทองแดง หุมฉนวนแข็งแบบดรอสลิงคโพลีเอทีลีน สายเคเบิลเอ็มไอ (MI-Mineral Insulated) ซึ่งเปนสายชนิดทน อุณหภูมิสูง และสีฉนวนตามมาตรฐาน มอก. 11-2553 ดังตารางที่ 4.1 ตารางที่ 4.1 สีฉนวนตามมาตรฐาน มอก. 11-2553 จํานวนแกน

สีที่กําหนด

1 แกน

ไมกําหนดสี

2 แกน

สีฟาและสีน้ําตาล

3 แกน

สีฟา สีน้ําตาล และสีเขียวแถบเหลือง หรือสีน้ําตาล สีดํา และสีเทา

4 แกน

สีน้ําตาล สีดํา สีเทา และสีเขียวแถบเหลือง หรือสีฟา สีน้ําตาล สีดํา และสีเทา

5 แกน

ฟา สีน้ําตาล สีดํา สีเทา และสีเขียวแถบเหลือง และสีเขียวแถบเหลือง หรือสีฟา สีน้ําตาล สีดํา 2 เสน และสีเทา

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

1.2 ขนาดกระแสของสายไฟฟา ขนาดกระแสของสายไฟฟาจะขึ้นอยูกับพื้นที่หนาตัดของตัวนํา ซึ่งพื้นที่หนาตัดที่มากจะยอมใหกระแสไหลผานมาก นอกจากนี้สายไฟฟาแตละชนิดและวิธีการเดินสายที่แตกตางกัน จะมีผลตอขนาดกระแสของสายที่มีพื้นที่หนาตัดเทากัน และอีกปจจัยที่มีผลตอขนาดกระแสของสายไฟฟา คือ ความรอนของตัวนําไฟฟา เพราะกระแสไฟฟาที่ไหลผานจะทําให อุณหภูมิของตัวนําสูงขึ้น หากระบายความรอนไมดีอาจทําใหเกิดการไหมได ดังนั้นในการเลือกใชสายไฟฟาจะตองเปนไป ตามมาตรฐานที่กําหนด โดยปกติแลวขนาดกระแสไฟฟานั้นจะกําหนดใหใชงานที่อุณหภูมิโดยรอบ 40 องศาเซลเซียส หากบริเวณที่ใชงานมีอุณหภูมิสูงกวานี้ตองลดขนาดกระแสของสายไฟฟา นอกจากนี้หากสายไฟฟาที่มีระยะความยาว ของสายที่ยาวมาก จะสงผลใหแรงดันตกในสาย ซึ่งเกิดจากความตานทานภายในของตัวนําสาย ทําใหแรงดันที่โหลด ลดลงต่ํากวาที่กําหนด ปญหานี้แกไขไดโดยการใชสายไฟฟาที่มีขนาดพื้นที่หนาตัดใหญขึ้นหรือใชสายมากกวา 1 เสนตอ เฟส เพื่อเปนการลดความตานทานของสายไฟฟา การเดินสายไฟฟาในชองเดินสายไฟฟานั้น กรณีที่มีจํานวนสายไฟฟามากกวา 3 เสน ในทอรอยสายหรือมากกวา 30 เสน ในรางเดินสายเดียวกัน โดยไมนับสายดิน จะตองใชตัวคูณลดขนาดกระแสของสายไฟฟา เนื่องจากอุณหภูมิใน ชองเดินสายที่สูงขึ้นเพราะจํานวนสายที่มากขึ้น ตารางที่ 4.2 ตัวคูณคากระแสของสายเนื่องจากจํานวนสายหลายเสนในชองเดินสายเดียวกัน จํานวนสาย

ตัวคูณ

4–6

0.82

7–9

0.72

10 – 20

0.56

21 – 30

0.48

31 – 40

0.44

เกิน 40

0.38

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

1.3 ชนิดของสายไฟฟาและลักษณะการติดตั้ง สายไฟฟาตาม มอก. 11-2531 ซึ่งเปนตัวนําทองแดงเทานั้น โดยแตละชนิดจะมีขอกําหนดและลักษณะการใชงาน ที่ตางกันไป ดังนั้นจําเปนตองเลือกใชงานใหถูกตองและเหมาะสม 1) สายไฟฟาชนิดวีเอเอฟ (VAF)

ภาพที่ 4.1 ลักษณะสายวีเอเอฟ โครงสราง - ตัวนําทองแดง - สีของฉนวนตามตารางที่ 4.1 - เปลือกพีวีซีสีขาว ลักษณะการติดตั้ง - สายกลม เดินลอย เดินเกาะผนัง เดินซอนในผนัง เดินในชองเดินสาย หามฝงดินโดยตรง เดินในทอ ฝงดินได แตตองปองกันไมใหน้ําเขาภายในทอและไมใหสายแชน้ํา - สายแบน เดินเกาะผนัง เดินซอนในผนัง หามเดินในชองเดินสาย ยกเวน รางเดินสายหามรอยทอ ฝงดินหรือฝงดินโดยตรง แรงดันไฟฟาที่กําหนด 300 โวลต

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ตารางที่ 4.3 ขนาดสายไฟฟาชนิดวีเอเอฟ ขนาดสาย (มม.2)

ขนาดสายไฟฟารวม (Overall) (มม.) สายกลมแกน

สายแบน 2 แกน

สายแบน 3 แกน

เดียว

พิสัยต่ํา

พิสัยสูง

พิสัยต่ํา

พิสัยสูง

0.5

4.4

3.6 x 5.6

4.4 x 6.8

3.6 x 7.4

4.4 x 9.0

1

4.8

4.0 x 6.2

4.8 x 7.4

4.0 x 8.4

4.8 x 10.0

1.5

5

4.8 x 7.2

5.8 x 8.6

4.8 x 9.6

5.8 x 11.5

2.5

5.8

5.4 x 8.4

6.4 x 10.0

5.4 x 11.5

6.4 x 13.5

4

6.6

6.0 x 9.8

7.2 x 11.5

6.0 x 13.5

7.2 x 16.5

6

7.6

6.8 x 11

8.2 x 13.5

6.8 x 16.0

8.2 x 18.5

10

8.6

8.0 x 13.5

9.4 x 16.0

8.0 x 19.0

9.4 x 22.0

16

11

9.2 x 16.0

11.0 x 18.5

9.6 x 23.0

11.5 x 16.5

25

12.5

11.1 x 19.5

13.0 x 22.5

-

-

35

14

12.0 x 22.0

14.5 x 25.0

-

-

2) สายไฟฟาชนิดทีเอชดับบลิว (THW)

ภาพที่ 4.2 ลักษณะสายทีเอสดับบลิว โครงสราง - ตัวนําทองแดง - ไมกําหนดสีของฉนวน การติดตั้ง - เดินลอยตองยึดดวยวัสดุฉนวน เดินในชองเดินสายในสถานที่แหงหามฝงดินโดยตรง เดินรอยฝง ดิน ตองปองกัน ไม ใหน้ําเขาภายในท อและไมใหสายแชน้ําแรงดัน ไฟฟาที่กําหนด 750 โวลต

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ตารางที่ 4.4 ขนาดสายไฟฟาชนิดทีเอชดับบลิว ขนาดสาย (มม.2)

เสนผาศูนยกลางสายไฟฟา (มม.)

พื้นที่หนาตัดสายไฟฟา (มม.2)

0.5

3

7.07

1

3.3

8.55

1.5

3.6

10.18

2.5

4

12.57

4

4.8

18.10

6

5.8

26.42

10

7.2

40.72

16

8.4

55.42

25

10.5

86.59

35

11.5

103.87

50

13.5

143.14

70

15.5

188.69

95

18

254.47

120

19.5

198.65

150

21.5

363.05

185

24

452.56

240

27

572.56

300

30

706.86

400

33.5

881.41

500

38

1,134.11

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

3) สายไฟฟาชนิดเอ็นวายวาย (NYY) ภาพที่ 4.3 ลักษณะสายเอ็นวายวาย โครงสราง - ตัวนําทองแดง - สีของฉนวนตามตารางที่ 4.1 - เปลือกในพีวีซีสีดํา - เปลือกนอกพีวีซีสีดํา การติดตั้ง - ใชงานทั่วไป เดินรอยทอฝงดิน ฝงดินโดยตรงแรงดันไฟฟาที่กําหนด 750 โวลต ตารางที่ 4.5 ขนาดสายไฟฟาชนิดเอ็นวายวาย พื้นที่หนาตัดสายไฟฟา (มม.2)

ขนาดสาย

เสนผาศูนยกลางสายไฟฟา (มม.)

(มม.2)

แกนเดียว 2 แกน 3 แกน 4 แกน

แกนเดียว

2 แกน

3 แกน

4 แกน

1

8.6

12

12.5

13.5

58.09

113.10

122.72

143.14

1.5

9

12.5

13

14

63.62

122.72

132.73

1533.94

2.5

9.4

13.5

14

15

69.40

143.14

153.94

176.71

4

10

15

15.5

17

78.54

176.71

188.69

226.98

6

11

17

18

19

95.03

226.98

254.47

283.53

10

12

19.5

20.5

23

113.10

298.65

330.06

415.48

16

13

22.5

24.5

26.5

132.73

397.61

471.11

551.55

25

14.5

27

28.5

31

165.13

572.56

637.94

754.77

35

16

29.5

31.5

35

201.06

683.49

779.31

962.11

50

17

33.5

36

39.5

226.98

881.41

1,017.88 1,225.42

70

19

38

40.5

44.5

283.53

1,134.11 1,288.25 1,555.28

95

21.5

42.5

46

51.5

363.05

1,418.63 1,661.90 2,083.07

120

23

46.5

50.5

56

415.48

1,698.23 2,002.96 2,463.01

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

พื้นที่หนาตัดสายไฟฟา (มม.2)

ขนาดสาย

เสนผาศูนยกลางสายไฟฟา (มม.)

(มม.2)

แกนเดียว 2 แกน 3 แกน 4 แกน

แกนเดียว

2 แกน

3 แกน

4 แกน

150

26

52

56

62

530.96

2,123.72 2,463.01 3,019.07

185

28

57

61.5

68

615.75

2,551.76 2,970.57 3,631.68

240

31.5

64

69

76.5

779.31

3,216.99 3,739.28 4,596.35

300

35

70.5

76

85

962.11

3,903.63 4,536.46 5,674.50

400

38.5

-

-

-

1,164.16

-

-

-

500

43

-

-

-

1,452.20

-

-

-

4) สายไฟฟาชนิดวีซีที (VCT)

ภาพที่ 4.4 ลักษณะสายไฟฟาชนิดวีซีที โครงสราง - ตัวนําทองแดง - สีของฉนวนตามตารางที่ 4.1 - เปลือกพีวีซีสีดํา การติดตั้ง 1. ใชงานทั่วไป เดินรอยทอฝงดิน ฝงดินโดยตรง ใชตอเขาเครื่องใชไฟฟา และอุปกรณไฟฟา แรงดันไฟฟาที่กําหนด 750 โวลต

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ตารางที่ 4.6 ขนาดสายไฟฟาชนิดวีซีที พื้นที่หนาตัดสายไฟฟา (มม.2)

ขนาดสาย

เสนผาศูนยกลางสายไฟฟา (มม.)

(มม.2)

แกนเดียว 2 แกน 3 แกน 4 แกน

แกนเดียว 2 แกน

3 แกน

4 แกน

0.5

5.4

8.8

9.2

10.5

22.90

60.82

66.48

86.59

0.75

5.6

9.2

9.6

11

24.63

66.48

72.38

95.03

1

6.2

9.6

10.5

12

30.19

72.38

86.59

113.10

1.5

6.6

11

11.5

12.5

34.21

95.03

103.87

122.72

2.5

7.4

12.5

13

15

43.01

122.72

132.73

176.71

4

8.6

14.5

15.5

17

58.09

165.13

188.69

226.98

6

9.4

16

17.5

19.5

69.40

201.06

240.53

298.65

10

12

20

21.5

24

113.10

312.16

363.05

452.39

16

13.5

23

25

28

143.14

415.48

490.87

615.75

25

16

27

30

33

201.06

593.96

706.86

855.30

35

17.5

31

33.5

37

240.53

754.77

811.41

1,075.21

50

21

-

-

-

346.36

-

-

-

70

23

-

-

-

415.48

-

-

-

95

26.5

-

-

-

551.55

-

-

-

1.4 การเลือกสายไฟฟาและเซอรกิตเบรกเกอรใหเหมาะสมกับโหลด การเลือกสายไฟฟาใหเหมาะสมกับการใชกระแสไฟฟานั้น จะตองพิจารณาที่พิกัดการทนกระแสของสายไฟฟา ถา อุปกรณที่ใชกระแสไฟฟามากก็ใชสายไฟขนาดใหญ ถาอุปกรณใชกระแสไฟฟานอยก็ใชสายไฟขนาดเล็ก โดยขั้นตอนการ หาขนาดสายไฟฟา มีดังนี้

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

1) ตองทราบคากระแสไฟฟาที่อุปกรณไฟฟาใชซึ่งในเครื่องปรับอากาศจะมีฉลากติดอยูที่ตัว เครื่องปรับอากาศ รุน Model ประสิทธิภาพการทําความเย็น Cooling Capacity ระบบไฟฟา Power Source กระแสไฟฟา กําลังไฟฟา Current Power คาประสิทธิภาพ (EER.) Energy Efficiency Ratio ชนิดสารทําความเย็น Refrigerant น้ําหนักสุทธิ Net Weight หมายเลขเครื่อง Serial Number เดือน/ป ที่ผลิต MFG. Date

WZX-12UP 3,584 W. 12,227 BTU/h 220 V. 1 PH. 50 Hz. 5.15 1,134 Amps. W. 10.78 R 22 12.0 Kgs. WZ82AWCC.0224 เมษายน/2555

ถาหากไมมีฉลากระบุ สามารถคํานวณคากระแสไฟฟาไดจาก I = P/V (อานวา ไอ เทากับ พี หารดวยวี) โดย

I = คากระแสไฟฟาของอุปกรณไฟฟา หนวย แอมแปร (A) P = คากําลังไฟฟาของอุปกรณไฟฟา หนวย วัตต (W) V = คาแรงดันไฟฟาที่อุปกรณใชงาน หนวย โวลต (V)

ตัวอยางที่ 1 เครื่องปรับอากาศ กําลังไฟฟา 2420 วัตต ใชแรงดันไฟฟาในประเทศไทย 220 โวลต แทนคาในสูตรดานบน จะได

I

= 2420 W / 220 V = 11 A

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

2) คิดคากระแสไฟฟาเพิ่มอีก 25% เนื่องจากอุปกรณไฟฟาที่ใชงานติดตอกันเกิน 3 ชั่วโมงขึ้นไป จะทําให ประสิทธิภาพในการทนกระแสของสายไฟฟาลดลงไป จึงตองคํานวณเผื่อสําหรับอัตราการทน กระแสไฟฟาดวย จากตัวอยางที่ 1 คํานวณคากระแสไฟฟาทั้งหมด ไดดังนี้ คากระแสไฟฟา = 11 x 1.25 = 13.75 A 3) เทียบคากระแสไฟฟาที่คํานวณไดกับตารางหาขนาดสายไฟฟา ตารางที่ 4.7 แสดงขนาดกระแสของสายไฟฟา ขนาดสาย (ตร.มม.) 0.5 1 1.5 2.5 4 6 10 16 25 35 50 70 95 120 150 185 240 300 400 500

9 14 17 23 31 42 60 81 111 137 169 217 271 316 364 424 509 592 696 818

8 11 15 20 27 35 50 66 89 110 -

ขนาดกระแส (แอมแปร) วิธีการเดินสาย (ดูหมายเหตุ) ค ง ทอโลหะ ทออโลหะ ทอโลหะ ทออโลหะ 8 7 10 9 11 10 15 13 14 13 18 16 18 17 24 21 24 23 32 28 31 30 42 36 43 42 58 50 56 54 77 65 77 74 103 87 95 91 126 105 119 114 156 129 148 141 195 160 187 180 242 200 214 205 279 228 251 236 322 259 287 269 370 296 344 329 440 352 400 373 508 400 474 416 599 455 541 469 684 516 58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

จ 21 26 34 45 56 75 97 125 50 177 216 259 294 330 372 431 487 552 623


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ตามตารางคาทนกระแสไฟฟาของสายไฟฟาจะแตกตางกันไปขึ้นกับวิธีการเดินสาย โดย แบบ ก หมายถึง สายแกนเดียวหุมฉนวนเดินในอากาศ แบบ ข หมายถึง สายแบบหุมฉนวนมีเปลือกเดินเกาะผนัง แบบ ค หมายถึง สายแกนเดียวหุมฉนวนไมเกิน 3 เสน หรือสายหุมฉนวนมีเปลือกไมเกิน 3 แกน เดินในทอ ในอากาศ ในทอฝง ในผนังปูน หรือในทอในฝาเพดาน แบบ ง หมายถึง สายแกนเดียวหุมฉนวนไมเกิน 3 เสน หรือสายหุมฉนวนมีเปลือกไมเกิน 3 แกน เดินในทอ ฝงดิน แบบ จ หมายถึง สายแกนเดียวหุมฉนวนมีเปลือกไมเกิน 3 แกนฝงดินโดยตรง ในกรณีตัวอยางที่ 1 ถาตองการเดินสายไฟฟา แบบ ข โดยที่มีคาการใชกระแส 13.75 จากตารางพบวา สายไฟฟาที่เหมาะสม คือ ขนาด 1.5 ตร.มม. ซึ่งมีคาทนกระแสไฟฟาถึง 15 A เพื่อปองกันการเกิดอัคคีภัยอัน เนื่องจากความรอนของสายไฟฟา ส ว นเซอร กิ ต เบรกเกอร ซึ่ ง มี ห น า ที่ ป อ งกั น การลั ด วงจร จะพิ จ ารณาจากค า กระแสไฟฟ า ที่ เครื่องปรับอากาศใช ในกรณีตัวอยางที่ 1 คากระแสไฟฟาที่เครื่องปรับอากาศใช เทากับ 13.75 A ดังนั้นเซอรกิตเบรกเกอร ที่เหมาะสมควรเปนขนาด 16 A ตามพิกัดของคาทนกระแสไฟฟาของขนาดสาย 1.5 ตร.มม. 1.5 การตอลงดิน การตอลงดินมีประโยชนอยู 2 ประการ คือ 1) เพื่อปองกันอันตรายที่จะเกิดกับบุคคลที่บังเอิญไปสัมผัสกับสวนอื่นที่เปนโลหะของครื่องบริภัณฑไฟฟา และสวนประกอบอื่นๆที่มีแรงดันไฟฟา เนื่องจากการรั่วไหล หรือ การเหนี่ยวนําทางไฟฟา 2) เพื่อปองกันความเสียหายที่จะเกิดกับอุปกรณ หรือ ระบบไฟฟาเมื่อเกิดการลัดวงจรลงดิน สวนประกอบตางๆ ของการตอลงดิน 1) หลักดิน หรือ ระบบหลักดิน (Grounding Electrode or Grounding Elecrode System) 2) สายตอหลักดิน (Grounding Electrode Conductor) 3) สายที่มีการตอลงดิน (Grounding Conductor) 4) สายตอฝากหลัก (Main Bonding Jumoer) 5) สายดินของบริภัณฑไฟฟา (Equipment Grounding Conductor)

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ภาพที่ 4.5 สวนประกอบตางๆของระบบตอลงดิน การตอลงดินของระบบไฟฟากระแสสลับ (AC System Grounding) การตอลงดินของระบบไฟฟากระแสสลับอาจแบงออกเปน 3 กลุมคือ 1) ระบบซึ่งทํางานที่ระดับแรงดันต่ํากวา 50 V 2) ระบบซึ่งทํางานที่ระดับแรงดันตั้งแต 50 – 1000 V 3) ระบบซึ่งทํางานที่ระดับแรงดันตั้งแต 1k ขึ้นไป การตอลงดินของระบบไฟฟากระแสสลับที่มีระดับแรงดันต่ํากวา 50 V (NEC) ระบบซึ่งทํางานที่ระดับแรงดันต่ํา กวา 50 V จะตองทําการตอลงดินเมื่อ 1) แรงดันที่ไดรับไฟฟาจากหมอแปลง ซึ่งมีแหลงจายไฟฟาแรงดันเกิน 150 V 2) หมอแปลงไดรับจากไฟแหลงจายไฟ ที่ไมมีการตอลงดิน (Ungrounded System) 3) ตัวนําแรงดันต่ํา ติดตั้งแบบสายเหนือดินนอกอาคาร การตอลงดินของระบบไฟฟาตั้งแต 50 – 1000 V การตอลงดินของระบบไฟฟาแบบนี้มีลักษณะดังภาพที่ 4.6 ซึ่ง เปนตัวอยางการตอลงดินของระบบไฟฟา ชนิด 1 เฟส 2 สาย , 1 เฟส 3 สาย , 3 เฟส 3 สาย และ 3 เฟส 4 สาย

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ภาพที่ 4.6 ตัวอยางการตอลงดินของระบบไฟฟา การตอลงดินของเครื่องบริภัณฑไฟฟา (Eqiupment Grounding) การตอลงดินของเครื่องบริภัณฑไฟฟา หมายถึง การตอสวนที่เปนโลหะที่ไมมีกระแสไหลผานของบริภัณฑไฟฟาให ถึงกันตลอดแลวตอลงดิน การตอลงดินของเครื่องบริภัณฑไฟฟามีจุดประสงคดังนี้คือ 1. เพื่อใหสวนโลหะที่ตอถึงกันตลอดมีศักดาไฟฟาเทากับดินทําใหปลอดภัยจากการโดนไฟดูด 2. เพื่อใหอุปกรณปองกันกระแสเกินทํางานไดรวดเร็วขึ้น เมื่อตัวนําไฟฟาแตะเขากับสวนโลหะใดๆเนื่องจาก ฉนวนของสายไฟชํารุด หรือ เกิดอุบัติเหตุ 3. เปนทางผานใหกระแสไฟรั่วไหล และกระแสเนื่องมาจากไฟฟาสถิตลงดิน เครื่องบริภัณฑไฟฟาที่ตอลงดิน ประเภทของบริภัณฑไฟฟาที่จะตองตอลงดินมีดังตอไปนี้ 1. เครื่องหอหุมที่เปนโลหะของสายไฟฟา แผงบริภัณฑประธาน โครง และ รางปนจั่นที่ใชไฟฟา โครงตูลิฟต และลวดสลิงยกของที่ใชไฟฟา 2. สิ่งกั้นที่เปนโลหะรวมทั้งเครื่องหอหุมของเครื่องบริภัณฑไฟฟาในระบบแรงสูง 3. เครื่องบริภัณฑไฟฟาที่ยึดติดอยูกับที่ (Fixed Equipment) และชนิดที่มีการเดินสายถาวร (Hard Wires) สวนที่เปนโลหะเปดโลงซึ่งปกติจะไมมีไฟฟาแตอาจมีไฟฟารั่วถึงได ตองตอลงดินถามีสภาพตามขอใดขอหนึ่ง ตอไปนี้ 61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

- อยูหางจากพื้นหรือโลหะที่ตอลงดินไมเกิน 8 ฟุต (2.40 m) ในแนวตั้งหรือ 5 ฟุต (1.5) ในแนวนอนและบุคคลอาจสัมผัสได (ในขอนี้ถามีวิธีติดตั้งหรือวิธีการปองกันอยางอื่นไมใหบุคคลไป สัมผัสได ก็ไมตองตอลงดิน) ดังแสดงในภาพที่ 4.7

ภาพที่ 4.7 ระยะหางของเครื่องบริภัณฑไฟฟากับระบบหลักดินถามีระยะหางมากกวานี้ไมตองตอลงดิน - สัมผัสทางไฟฟากับโลหะอื่นๆ (เปนโลหะที่บุคคลอื่นสัมผัสได) - อยูในสภาพที่เปยกชื้น และ ไมไดมีการแยกใหอยูตางหาก 4. เครื่องบริภัณฑไฟฟาที่ใชเตาเสียบสวนที่เปนโลหะเปดโลงของเครื่องบริภัณฑไฟฟา ตองเสียบตอลงดินเมื่อมี สภาพตามขอใดขอหนึ่งดังนี้ - แรงดันเทียบกับดินเกิน 150 V ยกเวนมีการปองกันอยางอื่นหรือ มีฉนวนอยางดี - เครื่องไฟฟาทั้งที่ใชในที่อยูอาศัย และ ที่อยูอื่น ๆ ดังนี้ - ตูเย็น ตูแชแข็ง เครื่องปรับอากาศ - เครื่องซักผา เครื่องอบผา เครื่องลางจาน เครื่องสูบน้ํา - เครื่องประมวลผลขอมูล เครื่องใชไฟฟาในตูเลี้ยงปลา - เครื่องมือที่ทํางานดวยมอเตอร เชน สวานไฟฟา - เครื่องตัดหญา เครื่องขัดถู - เครื่องมือที่ใชในสถานที่เปยกชื้นเปนพื้นดินหรือเปนโลหะ - โคมไฟฟาหยิบยกได

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

สายดินของบริภัณฑไฟฟา (Eqiupment Grounding Conductor) สายดินของบริภัณฑไฟฟา หมายถึงตัวนําที่ใชตอสวนโลหะที่ไมนํากระแสของบริภัณฑ ชองเดินสายที่ลอมเขากับ ตัวนําที่มีการตอลงดินของระบบ และ/หรือ ตัวนําที่บริภัณฑประธาน หรือที่แหลงจายไฟฟาของระบบแยกตางหาก ดังแสดง ในรูปที่ 4.8

รูปที่ 4.8 สายดินของบริภัณฑไฟฟา ขนาดสายดินของบริภัณฑไฟฟา การหาขนาดสายดินของบริภัณฑไฟฟา ทําตามขอตางๆตอไปนี้ 1. เลือกขนาดสายดินตามขนาดของเครื่องปองกันกระแสเกิน ตามตารางที่ 4.8 2. เมื่อเดินสายควบ ถามีสายดินของบริภัณฑไฟฟาใหเดินขนานกันไปในแตละทอสาย และ ขนาดสายดินใหคิด ตามพิกัดของเครื่องปองกันกระแสเกินตัวโตที่สุด 3. ขนาดสายดินของมอเตอรใหเลือกตามพิกัดของเครื่องปองกันเกินกําลังของมอเตอร พิกัดของเครื่องปองกันเกินกําลัง = 1.15 ln โดยที่ ln คือ พิกัดกระแสของมอเตอร สายดินของบริภัณฑไฟฟา ไมจําเปนตองโตกวาสายเฟส

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ตารางที่ 4.8 ขนาดต่ําสุดของสายดินบริภัณฑไฟฟา พิกัดหรือขนาดปรับตั้งของเครื่อง

ขนาดต่ําสุดของสายดินของ

ปองกันกระแสเกิน ไมเกิน

บริภัณฑไฟฟา (ตัวนําทองแดง)

(A)

(mm2)

16

1.5 *

20

2.5*

40

4*

70

6*

100

10

200

16

400

25

500

35

800

50

1,000

70

1,250

95

2,000

120

2,500

185

4,000

240

6,000

400

หมายเหตุ * - ขนาดต่ําสุดของสายดินของบริภัณฑไฟฟาสําหรับที่อยูอาศัย หรืออาคารของผูใชไฟที่อยูใกล หมอแปลงระบบจําหนายภายในระยะ 100 m - กรณีที่ผูใชไฟอยูหางจากหมอแปลงระบบจําหนายเกิน 100 m ใหดูภาคผนวก ฌ ของมาตรฐาน การติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทยของ ว.ส.ท.

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ตัวอยาง 1 ระบบไฟฟาหนึ่งประกอบดวย บริภัณฑไฟฟา และ แผงจายไฟ ดังรูป จงหาสายดินของบริภัณฑไฟฟา ที่เดินจาก บริภัณฑประธาน และแผงจายไฟ

ภาพที่ 4.9 ตัวอยางระบบไฟฟา ขนาดสายตอหลักดินของระบบไฟฟากระแสสลับ การเลือกสายตอหลักดินสําหรับระบบไฟฟากระแสสลับ จะใชตามตารางที่ 4.9 เปนเกณฑ โดยเลือกตามขนาดสาย ประธานของระบบ สายประธานของแตละเฟสที่ตอขนานกันใหคิดขนาดรวมกัน แลวนํามาหาขนาดสายตอหลักดิน ตารางที่ 4.9 ขนาดต่ําสุดของสายตอหลักดินของระบบไฟฟากระแสสลับ ขนาดตัวนําประธาน

ขนาดต่ําสุดของสายตอหลักดิน

(ตัวนําทองแดง) (mm2)

(ตัวนําทองแดง) (mm2)

ไมเกิน 35

10 (หมายเหตุ)

เกิน 35 แตไมเกิน 50

16

’’

50

’’

95

25

’’

95

’’

185

35

’’

185

’’

300

50

’’

300

’’

500

70

เกิน 500

95

หมายเหตุ แนะนําใหติดตั้งในทอโลหะหนา ทอโลหะหนาปานกลาง ทอโลหะบาง หรือ ทอโลหะ

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ตัวอยางที่ 2 บานหลังหนึ่งใชมิเตอรไฟฟาขนาด 15 (45) A 1 เฟส 2 สาย ใชสายไฟขนาด 2x16 mm2 จาก ตารางที่ 4 จะใชสายตอหลักดินจะใชขนาดเทาใด วิธีทํา จากตารางที่ 4.9 สายเมนขนาด 16 mm2 ใชสายตอหลักดินขนาด 10 mm2 ตัวอยางที่ 3 สถานประกอบการแหงหนึ่ง ใชไฟฟามอนิเตอร 400 A 3 เฟส 4 สาย ใชสายไฟตารางที่ 4 ขนาด 2 (4x150 mm2) ในทอโลหะ (IMC) 2x80 mm (3”) สายตอหลักดินจะใชขนาดเทาใด วิธีทํา สายเฟสใชขนาด 2x150 = 300 mm2 จากตารางที่ 4.9 สายประธานขนาด 240-300 mm2 ใชสายตอหลักดินขนาด 50 mm2 สายที่มีการตอลงดิน (Grounding Conductor) สายของวงจรไฟฟาที่มีสวนหนึ่งสวนใดตอถึงดินอยางจงใจในกรณีที่เกิดกระแสลัดวงจรลงดิน สายที่มีการตอลงดิน จะทําหนาที่เปนสายดินของอุปกรณดวยเพื่อนํากระแสลัดวงจรกลับไปยังแหลงจายไฟ ในระบบไฟฟาโดยทั่วไปสายที่มี การตอลงดินคือ สายนิวทรัล แตไมจําเปนตองเปนสายนิวทรัลเสมอไป ดังแสดงในภาพที่ 4.10

ภาพที่ 4.10 สายที่มีการตอลงดิน 66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

2. การตอวงจรไฟฟา ในการตอวงจรเขาเครื่องปองกันกระแสไฟฟาเกินและสวิตชจําเปนตองตอสายไฟฟาใหถูกตอง เพื่อความปลอดภัยของ ผูใชไฟฟา โดยมีการปฏิบัติดังนี้ 1.

จํานวนขั้วของเซอรกิตเบรกเกอรหรือจํานวนฟวสนั้น ใชปองกันเฉพาะสายเสนไฟเปนหลัก สวนสายนิวทรัลไมจําเปนตอง ผานเครื่องปองกันกระแสเกิน

2.

ตองตอสายเสนไฟเขาเครื่องปองกันกระแสเกิน ในกรณีที่ใชเครื่องปองกันกระแสเกินชนิด 3 ขั้วในระบบ 3 เฟส 4 สาย หรือชนิด 1 ขั้วในระบบ 1 เฟส 2 สาย อยาสลับตอเปนสายนิวทรัล เพราะจะไมเกิดการตัดวงจรไฟฟาเมื่อเกิดการ ลัดวงจร

ภาพที่ 4.11 การติดตั้งตําแหนงของเครื่องปองกันกระแสเกิน

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

3.

ในการตอสวิตชที่มสี วิตชเปด-ปดที่มีขั้วเดียวใหตอสายเสนไฟเขาสวิตช เพราะเมื่อเวลาปดสวิตชกจ็ ะเปนการปลด สายเสนไฟ ทําใหวงจรนั้นไมมีไฟ การทํางานหรือแกไขก็สามารถทําไดอยางปลอดภัย

ภาพที่ 4.12 การตอสายเขาสวิตช 4.

ในการใชสวิตช 3 ทาง สําหรับวงจรแสงสวาง เชน ไฟบันได ใหตอสายเสนไฟเขาสวิตชและสายนิวทรัลเขาหลอดไฟ

ภาพที่ 4.13 การตอสายไฟเขาสวิตช 3 ทาง

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. สายไฟ THW ขนาด 2.5 มม2 ที่ไดมาตรฐานตองมีเสนผานศูนยกลางเทาใด ก. 4 มม. ข. 6 มม. ค. 8 มม. ง. 10 มม. 3. หากขนาดตัวนําประธาน เกิน 35 แตไมเกิน 50 มม.2 จะเลือกขนาดต่ําสุดของสายตอหลักดินกีม่ ม.2 ก. 12 มม.2 ข. 14 มม.2 ค. 16 มม.2 ง. 18 มม.2 4. ชองเดินสายไฟในบานหลังหนึ่ง มีสายไฟราว 7-9 เสน จะตองใชตัวคูณเทาใด ในการคํานวณเพื่อลดขนาดกระแสที่เดินใน ชองสายไฟ ก. 0.82 ข. 0.72 ค. 0.56 ง. 0.48

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 5 0921730505 อุปกรณปองกันทางไฟฟา (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายวิธีการเลือกใชอุปกรณปองกันกระแสเกินและสวิตซตัดตอนอัตโนมัติที่เหมาะสม

2. หัวขอสําคัญ - การเลือกใชอุปกรณปองกันกระแสเกินและสวิตซตัดตอนอัตโนมัติ

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรา งหลั กสู ตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับ การฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารั บ การฝ กในโมดู ล ที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม เตชา อัศวสิทธิถาวร และจาตุรงค แตงเขียว. 2554. การติดตั้งไฟฟา 1. กรุงเทพฯ : วังอักษร ธวัชชัย จารุจิตร. 2546. การติดตั้งไฟฟาในอาคารและในโรงงาน. กรุงเทพฯ : วังอักษร 72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 5 การเลือกใชอุปกรณปองกันกระแสเกินและสวิตชตัดตอนอัตโนมัติ 1. ฟวส (Fuse) เปนอุปกรณปองกันกระแสเกิน เนื่องจากโหลดเกินและการลัดวงจร เมื่อมีการโหลดเกินจะทําใหเกิดความรอน ซึ่งจะไปหลอมละลายฟวสจนขาด และตัดวงจรการไหลของไฟฟา ฟวสแรงดันต่ําจะใชกับไฟฟากระแสสลับที่มีแรงดันต่ํากวา 600 โวลต ไดแก 1)

ฟวสตะกั่ว ทําจากสวนผสมของตะกั่วกับดีบุกซึ่งมีจุดหลอมละลายต่ํา มักจะใชกับคัตเอาต (Cut Out) ฟวส ตะกั่วจะมีหลายขนาดตามเบอร ซึ่งจะมีอัตราการทนกระแสตางกัน

ภาพที่ 5.1 ฟวสตะกั่ว 2)

ฟวสกามปู มีลักษณะแบนเรียบ หัวทายทําดวยแผนทองแดงสําหรับขันสกรู ใชติดตั้งรวมกับคัตเอาต โดยดูพิกัด กระแสไดที่แผนทองแดง

ภาพที่ 5.2 ฟวสกามปู

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

3)

ปลั๊กฟวส หรือ เรียกอีกอยางวา ฟวสหลอด เนื่องจากฟวสบรรจุไวในหลอดกระเบื้องที่มีทรายบรรจุไวรอบ ๆ เพื่อระบายความรอน

ภาพที่ 5.3 ปลั๊กฟวส 4)

คารทริดจฟวส (Cartridge Fuse) เรียกวา ฟวสกระบอก ใชติดตั้งในเซฟตี้สวิตช มีอยูดวยกัน 2 แบบคือ 1. แบบปลอก มีขนาดเล็ก ทนกระแสไดตั้งแต 10 A – 60 A 2. แบบใบมีด มีขนาดใหญ ทนกระแสไดตั้งแต 70 A ขึ้นไป สามารถเปลี่ยนไสฟวสได

2. เซอรกิตเบรกเกอร (Curcuit Breaker) เซอรกิตเบรกเกอรจะทํางานเกี่ยวกับการปองกันเมื่อกระแสไฟฟาเกิน โดยแบงออกเปน 3 ประเภท 1)

Molded Case Circuit Breaker (MCCB) มีหนาที่เปนสวิตชเปดปดดวยมือ และเปนตัวเปดวงจรอัตโนมัติเมื่อมี กระแสเกิน MCCB ที่ขายอยูทั่วไป มี 2 ชนิด ไดแก - Thermal Magnetic MCCB มีโครงสรางการทํางาน 2 สวน ไดแก Thermal Unit ทําหนาที่ปลดวงจร เมื่อมีโหลดเกิน ความรอนจะทําใหแผนไบเมทอลโคงงอไปปลดวงจรออก และ Magnetic Unit ทําหนาที่ ปลดวงจรเมื่อมีการลัดวงจร หรือมีกระแสสูง 8 – 10 เทาไหลผาน ทําใหเกิดสนามแมเหล็กไปดึงปลด วงจรออก

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ภาพที่ 5.4 Thermal Magnetic MCCB - Electronic Trip MCCB เปนวงจรอิเล็กทรอนิกสที่มีไมโครโปรเซสเซอร ทําหนาที่วิเคราะหคากระแส ไหลผาน เมื่อมีคาสูงกวากําหนดจะไปดึงปลดวงจร โดยสามารถปรับตั้งคากระแสและเวลาปลดวงจรได

ภาพที่ 5.5 Electronic Trip MCCB 2)

Air Circuit Breaker (ACB) เหมาะสํ า หรับ ระบบที ่แ รงดัน ไฟฟา นอ ยกวา 1,000 V โครงสรา งทํ า ดว ยเหล็ก มี น้ํ า หนั ก มาก ใช ว งจร

อิเล็กทรอนิกสในการสั่งปลดวงจร

ภาพที่ 5.6 Air Circuit Breaker 3)

Miniature Circuit Breaker มีขนาดเล็ก ใชติดตั้งเปนอุปกรณปองกันในแผงวงจรยอย นิยมใชปองกันวงจรแสงสวาง เครื่องปรับอากาศ และเครื่อง

ทําน้ํารอน 75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ภาพที่ 5.7 Miniature Circuit Breaker การเลือกเซอรกิตเบรกเกอรใหเหมาะสมกับโหลด การเลือกเซอรกิตเบรกเกอรใหเหมาะสมกับโหลดนั้นจะตองพิจารณาที่สภาวะการกินกระแสไฟขณะใชงานจริงของ อุปกรณไฟฟานั้น ๆ ซึ่งอัตราการกินกระแสไฟฟาของอุปกรณไฟฟาแตละตัวไมเทากัน เชน ถาอุปกรณไฟฟาตัวใดใช กระแสไฟฟานอยเราก็เลือกขนาดพิกัดการตัดกระแสไฟฟาที่เล็กสวนถาอุปกรณ สวนอุปกรณไฟฟาตัวใดใชกระแสไฟฟา มาก เราก็เลือกขนาดพิกัดการตัดกระแสไฟฟาที่สูงขึ้น โดยพิจารณารวมกับพิกัดการทนกระแสของสายไฟฟาที่ใชใน อุปกรณนั้นๆดวยโดยมีหัวใจสําคัญของอุปกรณปองกันที่วา - ขณะที่อุปกรณไฟฟาทํางานในสภาวะปกติ อุปกรณปองกันจะไมตัดวงจร - ในสภาวะ OVER LOAD (กระแสเกิน) หรือ SHORT CERCUIT (ลัดวงจร) อุปกรณปองกันจะตองตัด วงจรทันที - อุปกรณปองกันจะตองตัดวงจรกอนที่สายจะไหม ขั้นตอนการหาขนาดเซอรกิตเบรกเกอรมีดังนี้ 1) ตองทราบคากระแสไฟฟาที่อุปกรณไฟฟาใชจริง ถาไมทราบสามารถคํานวนหาคากระแสไฟฟาไดจาก I=

� �

ตัวอยางที่ 1 เครื่องปรับอากาศใชกําลังไฟฟา 2,650 วัตถ ใชแรงดันไฟฟา 200 โวลต

แทนคาในสูตรดานบนจะได I = ��� =

2650 220

= 12.045 A

2) คิดคากระแสไฟฟาเพิ่มอีก 25% เนื่องจากเปนอุปกรณไฟฟาที่ใชงานติดตอกันเกิน 3 ชั่วโมงจึงตองคํานวณ เพื่อสําหรับอัตราการทนกระแสไฟฟาดวย IC.B. = 12.045 x 1.25 = 15.056 A ∴ เลือกขนาด C.B = 16A 76

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ตัวอยางการคํานวน บานหลังหนึ่งมีโหลดไฟฟาดังนี้ - ดวงโคมหลอดฟลูออเรสเซนต

1×36 w

- เตารับใชงานทั่วไป

10 ชุด 8 ชุด

- เครื่องทําน้ําอุนขนาด

3,500 w

1 ชุด

- เครื่องปรับอากาศ ขนาด

12,000 BTU (1500W)

1 ตัว

- เครื่องปรับอากาศ ขนาด

24,000 BTU (3000W)

1 ตัว

ในการคํานวณหาโหลดของอุปกรณทั้งหมดและหาขนาดอุปกรณปองกันใหกับอุปกรณแตละตัว โหลด หลอดฟลูออเรสเซนต = 36 × 10 = 3,600 w โหลด หลอดฟลูออเรสเซนต กันกระแส =

360 220

= 1.636 A

หาขนาด C.B. ของหลอด FL IC.B. = 1.25 x ILOAD = 1.25x1.636 = 2.045 ∴ เลือกขนาด C.B. ของวงจรหลอด FL = 10A

โหลดเตารับใชงาน 1 ชุด = 180 VA

รวมโหลดเตาใชงาน 180x8 = 1440 VA โหลดเตารับใชงาน กันกระแส =

1440 220

= 6.545

หาขนาด C.B. ของเตารับ IC.B (เตารับ) = 1.25x6.545 = 8.18 A ∴ เลือกขนาด C.B. ของวงจรเตารับทั่วไป = 10 A

โหลดเครื่องทําน้ําอุน 3,500 w กินกระแส =

3500 220

= 15.90 A

ขนาด C.B.เครื่องทําน้ําอุน = 1.25x15.90 = 19.875 A ∴ เลือกขนาด C.B. ของเครื่องทําน้ําอุน = 20A

โหลดแอร 12,000 BTU กินกระแส =

1,500 220

= 6.818 A

ขนาด C.B.แอร 1,200 BTU 1.25x6.818 = 8.522 A ∴ เลือกขนาด C.B. ของแอร 1,200 BTU = 10A

โหลดแอร 24,000 BTU กินกระแส =

3000 200

= 13.63 A

ขนาด C.B. โหลดแอร 2,400 BTU = 1.25x13.63 = 17.03 A ∴ เลือกขนาด C.B. ของแอร 2,400 BTU = 20A 77

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

คํานวนหา C.B. เมน จะตองทําการรวมโหลดทั้งหมดกอน โหลดไฟฟาภายในบานทั้งหมด = โหลดฟลูออเรสเซนต+โหลดเตารับทั่วไป+โหลดเครื่องทําน้ําอุน+โหลด แอร 12,000 BTU+แอร 24,000 BTU = 360+1,440+3,500+1,500+3,000 =9,800 W ∴ กระแสไฟฟาที่ใชภายในบานทั้งหมด =

9,800 220

= 44.54 A

ขนาด C.B. เมน = 1.25x44.54 = 55.675 A. ∴ ขนาดของ C.B. เมน = 60 A.

หมายเหตุ การเลือกขนาด C.B. ใหเลือกขนาด C.B. ที่มีผลิตขายในทองตลาดถาปริมาณกระแสที่คํานวณไดมีคา ไมตรงกับที่ทองตลอดมีใหเลือกขนาด C.B. ที่มีขนาดใหญขึ้นไปอีก 1 ขั้น 3. เซฟตี้สวิ ตช (Safety Switch) ทําหน าที่ป องกันกระแสไฟฟ าไหลเกิน ในวงจร และสามารถใชเป ดป ดวงจร เซฟตี้สวิตชมีสวนประกอบ ดังนี้ 1) ตูสวิตช ทํามาจากโลหะแข็งแรง ทนตอแรงระเบิดของฟวสได 2) ฝาตู 3) ฐานยึดฟวส ตองยึดติดกับตูใหแนน เพื่อใหกระแสไฟฟาไหลสะดวกและทนตอแรงดึงในการถอด และใสฟวส 4) ฟวส ใชคารทริดจฟวส 5) คันโยกสวิตช เปนตัวเปดปดวงจรไฟฟา 6) ขั้วตอสาย ตอสายเมนที่มาจากระบบจายไฟของการไฟฟา และเปนขั้วตอไปยังโหลดเซ็นเตอร 7) ขั้วตอสายดิน ใชเปนขั้วตอสายดินของวงจร

ภาพที่ 5.5 เซฟตี้สวิตช 78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

4. โหลดเซ็นเตอร (Load Center) ทําหนาที่เปนศูนยรวมการควบคุมโหลดใหตัดและตอวงจรของแตละวงจรยอย

ภาพที่ 5.6 โหลดเซ็นเตอร 5. สวิตชทิชิโน (Ticino) ใชในการควบคุมวงจรเฉพาะชุด เชน ปมน้ํา มอเตอร ตูเย็น เปนตน อาศัยการทํางานแผนโลหะ ที่เรียกวา ชั้นท คอยลทริป (Shunt Coil Trip) เพื่อปรับอัตราการไหลของกระแส

ภาพที่ 5.7 สวิตชทิชิโน 6. อุปกรณปองกันการลัดวงจรลงดิน เบรกเกอร กั น ไฟดู ด ELCB จะมี ค า ความไวในการตรวจจั บ กระแสไฟรั่ ว หรื อ ที่ เ รี ย กว า ค า Sensitive มี ห น ว ยเป น มิลลิแอมแปร : mA หลักการทํางานของ ELCB คือการเปรียบเทียบกระแสไฟฟาระหวางสายไฟ 2 สาย โดยที่ในสภาวะปกติ นั้น กระแสไฟฟาที่ไหลไปกลับตองมีคาเทากันผลรวมของคากระแสไฟฟาที่ไหลไปและกลับจะมีคาเทากับ 0 แตหากมีกระแส รั่วออกจากระบบหรือมีคนถูกไฟดูดผลรวมของกระแสไฟฟาที่ไหลไปและกลับจะไมเปน 0 และผลตางที่เกิดขึ้นนี้หากมีคามาก พอถึงจุดที่กําหนด ก็จะถูกสงเขาวงจรขยายสัญญาณ และสั่งการใหคอยลแมเหล็กภายในปลดวงจรออกทันที

79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ภาพที่ 5.8 วงจรของอุปกรณปองกันอันตรายจากไฟฟาดูด

80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ฟวส สามารถตัดวงจรการไหลของไฟฟาแรงดันต่ํากวากี่โวลต ก. 600 V ข. 700 V ค. 800 V ง. 900 V 2. หากในระบบมีแรงดันไฟฟานอยกวา 1,000 โวลต ควรเลือกใช Circuit Breaker ชนิดใด ก. Miniature Circuit Breaker ข. Air Circuit Breaker ค. Floor Circuit Breaker ง. Ground Circuit Breaker 3. ถาจะเลือกสวิตชที่สามารถควบคุมวงจรเฉพาะจุด เชน ปมน้ําหรือตูเย็น เปนตน ควรเลือกสวิตชแบบใด ก. สวิตชทิชิโน ข. โหลดเซ็นเตอร ค. เซฟตี้สวิตช ง. ปลั๊กฟวส

81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3

82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 6 0921730506 การเดินสายไฟและการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - ติดตั้งและเดินสายไฟแบบเดินลอยหรือรอยทอได

2. หัวขอสําคัญ - การเดินสายไฟและติดตั้งเครื่องปรับอากาศ

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรา งหลั กสู ตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับ การฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารั บ การฝ กในโมดู ล ที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม พุฒิพงศ ไชยราช. 2558. การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. นนทบุรี : เอมพันธ

84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 6 การเดินสายไฟและติดตั้งเครื่องปรับอากาศ 1. การเดินสายไฟฟาแบบเดินลอย ในการเดินสายไฟฟาภายในอาคาร มักจะนิยมเดินสายดวยเข็มขัดรัดสาย ที่เรียกวา การตอกกิ๊ป เนื่องจากมีขั้นตอนที่งาย สามารถสังเกตเห็นและซอมแซมสวนที่ชํารุดไดงาย ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้ 1. แนวการเดินสาย เปนการสํารวจจํานวนสายไฟฟา และขนาดของสายไฟฟา เพื่อเตรียมเข็มขัดรัดสายใหมี ขนาดเหมาะสม การวางแผนที่ดีจะชวยใหประหยัดเวลา และไมเสียวัสดุตาง ๆ ไปโดยเปลาประโยชน 2. การตีเสน เพื่อกําหนดตําแหนงการตอกตะปู โดยใชบักเตาตีเสนตามระยะที่ตองการ สวนการเดินสายไฟฟา ชิดขอบกําแพง สามารถเดินสายและตอกกิ๊ปชิดตามแนวขอบไดเลย 3. การตอกตะปู จะตองเลือกขนาดของตะปูตองเหมาะสมกับผนังแตละประเภท และความหนาของผนัง ในการ ตอกตะปูตองตอกตะปูใหจมลงไปเรียบพอดีกับผนัง และระมัดระวังไมใหกิ๊ปฉีกขาดหรือเสียทรงไป 4. ระยะหา งระหวา งเข็ม ขัด รัด สาย ตอ งเหมาะสมตามที่ม าตรฐานการติด ตั้ง ไฟฟา สํา หรับ ประเทศไทย กําหนด โดยระยะหางระหวางเข็มขัดรัดสายในงานไม ควรมีระยะหาง 10 – 12 เซนติเมตร และงานปูน ควรมีระยะหาง 8 – 10 เซนติเมตร และตองหันหัวของเข็มขัดรัดสายไปในทิศทางเดียวกันทั้งหมด 5. การคลี่สายออกจากมวน เพื่อแกปญหาสายที่มวนบิดงอ โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1) ยกมวนสายไฟฟาในระดับเอว สอดแขนทั้งสองขางเขาในมวน 2) วางปลายสายดานนอกลงบนพื้น และกมตัวเดินถอยหลังจนไดความยาวที่ตองการ 6. การรีดสาย ทําได 2 ลักษณะ ไดแก 1) รีดสายกอนที่จะรัดสาย เพื่อเตรียมพรอมสําหรับการวางบนกิ๊ปรัดสาย 2) รีดสายในระหวางรัดสาย โดยกดสายใหแนน และใชเศษผาที่มีความนุมรีดสาย และระมัดระวัง ดวยการกดสายใหแนนกับผนัง เพื่อไมใหสายหลุด 7. การรัดสาย เปนการใชเข็มขัดรัดสายคลองกับสายไฟฟา เพื่อยึดสายไฟฟาใหชิดอยูกับผนัง โดยมีวิธีการแตกตางกัน ดังนี้ 1) การรัดสายเมื่อเดินสายไฟฟาในแนวตั้ง 2) ใชเศษผารีดสายใหตรง และจัดสายใหเรียงชิดกัน 3) ใชมือขางที่ไมถนัดจับสายดานบนไว ใหแนบชิดกับผนัง และใชมือขางที่ถนัดจับปลายเข็มขัดรัดสาย สอดเขากับรูที่อยูบนหัวของเข็มขัดรัดสาย 85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

4) เมื่อยึดสายไฟฟาได 2-3 ตัว ใหดึงสายไฟลงทีละเสนใหตรง และดึงพรอมกันทุกเสนใหตึงพอดี 5) ทําซ้ําจนเสร็จสิ้น และใชคอนเคาะเบา ๆ เพื่อเก็บรอยพับใหเรียบรอย 8. การรัดสายเมื่อเดินสายไฟฟาในแนวนอน เนื่องจากเปนการเดินสายไฟฟาในแบบที่ถูกแรงโนมถวงของโลก กระทํ า จึ งต องตอกตะปู เ พื่ อรั บ น้ํ า หนัก ของสายไฟฟา ใหห างจากจุด ที่ กําลั งดํ าเนิ น การรั ดสายในระยะ ประมาณ 50-100 เซนติเมตร 9. การรั ด สายเมื่ อ เดิ น สายไฟฟ า บนเพดาน ใช ใ นการเดิ น สายไฟฟ า ของพั ด ลมเพดาน หรื อ หลอดไฟ และมักจะมีระยะสั้น จึงตองใชมือทั้งสองขางพยุงไวและควรเดินสายไฟใหเสร็จในครั้งเดียว เพื่อปองกันการ ดึ ง รั้ ง ของสายไฟ ทํ า ให กิ๊ ป หลุ ด ส ว นการเดิ น สายไฟฟ า แบบโค ง ต อ งกะระยะให พ อดี แ ละสวยงาม การโคงสายไฟฟาในระยะสั้นจะทําใหทองแดงภายในสายไฟขาดได และถาโคงมากเกินไปจะทําใหสายไฟฟา ไมกระชับกับผนัง ไมสวยงาม และอาจดึงรั้งใหกิ๊ปหลุดได 10. การติดตั้งอุปกรณไฟฟา เมื่อเดินสายไฟฟาเรียบรอยแลว จะตออุปกรณทางไฟฟาอื่น ๆ เขากับสายไฟฟา เชน ปลั๊ก หลอดไฟฟา และแผงควบคุม เปนตน ซึ่งตองติดตั้งอุปกรณเหลานี้ใหมั่นคงแข็งแรง และระมัดระวัง 2. ทอสาย ในการเดินสายไฟฟานั้น ถึงแมวาฉนวนที่หุมสายไฟฟา จะมีความแข็งแรงทนทานพอสมควร แตวามันก็ยังไมแข็ งแรง พอที่จะรับแรงกระแทกตางๆ จากภายนอกได ดังนั้นเพื่อเปนการปองกันสายไฟฟา ไมใหไดรับความเสียหายและสามารถใช งานไดยาวนาน ในปจจุบันจึงนิยมที่จะเดินสายไฟฟาในทอสาย (Raceways) ทอสายเปนอุปกรณซึ่งมีลักษณะเปนทอลมหรือ ชองสี่เหลี่ยมผิวในเรียบใชในการเดินสายไฟฟาโดยเฉพาะ ประโยชนของการใชทอสาย มีดังนี้ 1. ปองกันสายไฟฟาจากความเสียหายทางกายภาพ เชน การถูกกระทบกระแทกจากของมีคม หรือถูกสารเคมี ตางๆ 2. ปองกันอันตรายกับคนที่อาจจะไปแตะถูกสายไฟฟา เมื่อฉนวนของมันเสียหาย หรือ มีการเสื่อมสภาพ 3. สะดวกตอการรอยสาย และ เปลื่ยนสายไฟฟาสายใหม เมื่อสายหมดอายุการใชงาน 4. ทอสายที่เปนโลหะ จะตองมีการตอลงดิน ดังนั้น จะเปนการปองกันไฟฟาชอตได 5. สามารถปองกันไฟไหมได เนื่องจากถาเกิดการลัดวงจรในทอ ประกายไฟ หรือ ความรอนจะถูกจํากัดอยู ภายในทอสายอาจจะทํามาจากวัสดุที่เปนโลหะ เชน เหล็ก และ อลูมินียม หรือ วัสดุที่เปนอโลหะ เชน พลาสติก หรือ แอสเบสโตส

86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

3. ชนิดของทอสาย ทอสายที่นิยมใชกันในปจจุบัน มีดังนี้ 1) ทอโลหะหนา (Rigid Metal Conduit , RMC) ทอโลหะหนาเปนทอที่มีความแข็งแรงที่สุด สามารถทนตอสภาพแวดลอมตาง ๆ ไดดี ทอชนิดนี้ถาทํามาจาก เหล็กกลาที่จะเรียกวา ทอ RSC (Rigid Steel Conduit) และ สวนใหญจะผานขบวนการชุบดวยสังกะสี (Galvanized) ซึ่งจะชวยปองกันสนิมอยางดี

ภาพที่ 6.1 ทอ RSC สถานที่ใชงาน - ใชไดทุกสถานที่ และสภาพอากาศ (All Occupancies and All Atmospheic Conditions) สามารถใชไดทั้งภายนอก ภายในอาคาร และ สามารถฝงใตดินได ขนาดมาตรฐาน - มีขนาดเสนผานศูนยกลาง (ขนาดทางการคา) 15 mm. (1/2 นิ้ว) – 150 mm. (6 นิ้ว) - ความยาวทอนละ 3 m. การติดตั้ง - ในสถานที่เปยก (Wet Location) สวนประกอบที่ใชยึดทอ เชน Bolt , Strap และ Screw เปนตน ตองเปนชนิดที่ทนตอการผุกรอนได - ในที่ที่มีการผุกรอน (Cinder Fill) ทอจะตองเปนชนิดที่ทนตอการผุกรอนไดหรือหุมทอดวย คอนกรีตหนาอยางนอย 2 นิ้ว

87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ภาพที่ 6.2 การติดตั้งทอในที่มีการผุกรอน - การตอทอเขากับเครื่องประกอบ จะตองใชบุชชิ่ง (Bushing) เพื่อปองกันฉนวนของสายไฟฟา เสียหาย

ภาพที่ 6.3 บุชชิ่ง - มุมดัดโคงของทอระหวางจุดดึงสาย รวมกันจะตองไมเกิน 360 องศา

ภาพที่ 6.4 มุมดัดโคงทอระหวางจุดดึงสาย

88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

- การเดินทอจะตองมีการจับยึดที่มั่นคงแข็งแรงทุกระยะไมเกิน 3.0 m และหางจากกลองไฟฟา หรือจุดตอไฟ ไมเกิน 0.9 m

ภาพที่ 6.5 การติดตั้งทอ RMC การตอสาย และการตอแยก การตอสายหรือตอแยก จะตองทําในกลองไฟฟา (Boxes) โดยปริมาณของสาย , ฉนวน และ หัวสาย รวมกัน จะตองไมเกิน 75% ของปริมาตรกลองไฟฟา

ภาพที่ 6.6 การตอสาย การตอทอ - ทอ RMC สามารถตอใหยาวขึ้นได โดยทําเกลียวที่ปลายทอ แลวขันตอกันดวย ขอตอ (Coupling) ดังรูปที่ 4.7 โดยการทําเกลียว จะตองใชเครื่องทําเกลียวชนิดปลายเรียว - ปลายทอที่ถูกตัดจะตองมีการลบคมเพื่อปองกันไมใหบาดฉนวนของสายไฟ

89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

รูปที่ 6.7 การตอทอ RMC 2) ทอโลหะบาง (Electrical Metallic Tubing, EMT) ทอโลหะบางหรือทอ EMT เปนทอที่มีผนังบางกวาทอ RMC และ IMC จึงมีความแข็งแรงนอยกวา และ มีราคาถูกกวา สถานที่ใชงาน - ใชไดเฉพาะภายในอาคารเทานั้น ทั้งในที่เปดโลง (Exposed) และที่ซอน (Con Ceal) เชน เดิน ลอยตามผนั ง เดิ น ในฝาเพดาน หรือฝงในผนังคอนกรีตได ไมควรใช ทอ EMT ในที่ ที่มีการ กระทบกระแทกทางกล ไมใชฝงใตดินและไมใชในระบบแรงสูง ขนาดมาตรฐาน - ขนาดเสนผาศูนยกลาง 15 mm. (1/2 นิ้ว) – 50 mm. (2 นิ้ว) - ความยาวทอนละ 3 m. การติดตั้ง เชนเดียวกับทอ RMC แตไมอนุญาตใหใชทอ EMT เปนตัวนําสําหรับตอลงดิน การตอสายและการตอแยก เชนเดียวกับทอ RMC การตอทอ ทอ EMT หามทําเกลียว การตอทอจะใชขอตอชนิดไมมีเกลียว เชน แบบใชสกรูไข ดังรูป

90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

รูปที่ 6.8 การตอทอ EMT 3) ทอโลหะออน (Flexible Metal Conduit, FMC) ทอโลหะออนทํามาจากเหล็กกลาชุบสังกะสี ในลักษณะที่มี ความออนตัวสูงสามารถโคงงอได ดังรูปที่ 6.9

รูปที่ 6.9 ทอโลหะออน สถานที่ใชงาน ทอโลหะออนเหมาะสําหรับใชงานกับอุปกรณที่มีการสั่นสะเทือนขณะใชงาน เชน มอเตอร เครื่องจักรตางๆ หรือ ใชกับงานที่ตองการความโคงงอดวยมุมหักสูงๆ เชน จุดตอดวงโคมทอโลหะออนไม อนุญาตใหใชในบางกรณี ดังนี้ - ในปลองลิฟต หรือ ปลองขนของ - ในหองแบตเตอรี่ - ในสถานที่อันตราย - ในสถานที่เปยก ยกเวนเมื่อมีการปองกันไมใหน้ําเขาไปในทอ และใชสายไฟฟาที่เหมาะสม - ฝงในดิน หรือ ฝงในคอนกรีต 91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ขนาดมาตรฐาน มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 15 mm. (1/2 นิ้ว) – 80 mm. (3 นิ้ว) การติดตั้ง - จะตองมีการจับยึดที่มั่นคงแข็งแรง ทุกระยะไมเกิน 1.50 m และหางจากกลองไฟฟาหรือจาก จุดตอไฟ ไมเกิน 0.30 m

รูปที่ 6.10 การติดตั้งทอโลหะออน - มุมโคงระหวางจุดดึงสาย รวมกันไมเกิน 360 องศา - สามารถใชทอโลหะออนเปนตัวนําสําหรับตอลงดินไดเมื่อทอโลหะออนมีความยาวไมเกิน 1.80 m และ สายไฟภายในตอกับเครื่องปองกันกระแสเกินขนาดไมเกิน 20 A 4. จํานวนสายไฟฟาสูงสุดในทอรอยสาย การเดินสายไฟฟาในทอรอยสาย เปนแบบการติดตั้งที่มีการใชมากที่สุด จํานวนสายไฟฟาในทอรอยสายจะตองมีจํานวน ไมมากเกินไป ดวยเหตุผล 2 ประการคือ 1) เมื่อมีกระแสไหลผานสายไฟฟาในทอรอยสาย จะทําใหเกิดความรอนขึ้น จึงจําเปนตองมีที่วางสําหรับการ ระบายความรอน 2) พื้นที่หนาตัดรวมของสายไฟฟา ตองเล็กกวาพื้นที่หนาตัดภายในของทอรอยสายพอสมควร เพื่อใหการดึง สายไฟฟาทําใหสะดวก และไมทําลายฉนวนของสายไฟฟา เปอรเซ็นตสูงสุดของพื้นที่หนาตัดรวมของ สายไฟฟา ตอพื้นที่หนาตัดของทอรอยสาย (% Fill) ตองได ตามตารางที่ 6.1

92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ตารางที่ 6.1 พื้นที่หนาตัดรวมของสายไฟทุกเสนคิดเปนรอยละเทียบพื้นที่หนาตัดของทอ จํานวนสายในทอสาย สายไฟทุกขนิด

1

2

3

4

มากกวา 4

53

31

40

40

40

55

30

40

38

35

ยกเวนสายชนิดปลอกตะกั่วหุม สายไฟชนิดมีปลอกตะกั่วหุม

5. รางเดินสาย (Wireways) รางเดิ น สายเป น รางที่ ใ ช เ ดิ น สายไฟฟ า ทํ า จากเหล็ ก แผ น พั บ เป น สี่ เ หลี่ ย ม มี ฝ าเป ด ป ด เป น แบบบานพั บ หรื อ แบบถอดออกได ดั ง รู ป ที่ 4.13 แผ น เหล็ ก ที่ ใ ช ร างเดิ น สายจะต อ งผ า นขบวนการต า งๆ เพื่ อ กั น สนิ ม ก อ น ที่ นิ ย มใช มี 3 วิธีดวยกัน คือใชวิธีพนสีฝุน Epoxy/ Polyester วิธีเคลือบดวยฟอสเฟตหรือหรือสังกะสี (Galvanized Steel) และวิธีท่ี ประกอบดวย อะลูมิเนียม สังกะสี และ ซิลิคอน โดยผสมเนื้อเดียวกันในลักษณะอัลลอยด

รูปที่ 6.11 รางเดินสาย การตอรางเดินสายเขาดวยกัน หรือ จะเดินเปนทางโคง สามารถใชอุปกรณสําเร็จรูปตอเขากับรางเดินสายไดเลยเพื่อ ความสะดวก เชน ของอ (Elbow) จุดเชื่อมตอตัวที (Tee) และตัวลดขนาด (Reducer) เปนตน สถานที่ใช รางเดินสายใชในที่เปดโลง ถาเปนภายนอกอาคารจะตองเปนชนิดกันฝนได (Raintight) ไมใชในที่ที่มีอันตรายทางกายภาพ

93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

จํานวนตัวนํา ผลรวมของพื้นที่ภาคตัดขวางของสายไฟฟาจะตองไมเกินรอยละ 20 ของพื้นที่ภาคตัดขวางภายในของรางเดินสาย พิกัดกระแสของตัวนํา พิกัดกระแสของตัวนําในรางเดินสาย ใหใชตารางที่ 3.4 หรือ 3.6 ในกรณีเดินสายในทอโลหะในอากาศ ถาจํานวนตัวนํา เกิน 30 เสน จะตองใชตัวคูณลดในตารางที่ 4.2 โดยจะนับตัวนําที่มีกระแสเทานั้น ตัวนําสําหรับวงจรสัญญาณตัวนําในระบบ ควบคุมมอเตอร และ สตารทเตอร ที่ใชในการเดินเครื่องเทานั้น ไมถือเปนตัวนํากระแสรางเดินสายที่บริษัทผูผลิตนิยมผลิต ออกมาจําหนาย มีขนาดดังนี้ H (ความเร็วสูง) = 50 , 75 , 100 , 150 และ 200 mm W (ความกวาง) = 50 , 75 , 100 , 150 , 200 , 250 และ 300 mm L (ความยาว) = 1,200 และ 2,400 mm T (ความหนา) = 1.0 และ 1.5 mm การติดตั้ง - จะตองมีการจับยึดที่มั่นคงแข็งแรง ทุกระยะหางกันเกิน 1.5 m - ไมอนุญาตใหตอรางเดินสายตรงจุดที่ผานผนัง หรือ พื้น - ไมอนุญาตใหใชรางเดินสายเปนตัวนําสําหรับตอลงดิน

94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. การตอกกิ๊ป คืออะไร ก. มาตรฐานการเดินสายไฟ ข. เทคนิคการเดินสายไฟฟาชั่วคราว ค. เทคนิคการเดินสายไฟฟาภายในอาคาร ง. มาตรฐานการเดินสายไฟฟาสําหรับหางสรรพสินคา 2. การรีดสายสามารถทําไดกี่แบบ อะไรบาง ก. 2 แบบ คือ รีดกอนเดินสาย และรีดหลังเดินสาย ข. 2 แบบ คือ รีดกอนเดินสาย และรีดระหวางเดินสาย ค. 3 แบบ คือ รีดกอนเดินสาย รีดระหวางเดินสาย และรีดหลังเดินสาย ง. 3 แบบ คือ รีดกอนเดินสาย รีดระหวางเดินสาย และหลังใชงานระยะหนึ่ง 3. ขอใดกลาวไดถูกตองเกี่ยวกับทอ EMT ก. ทอ EMT บางกวาทอ RMC ข. ทอ EMT หนากวาทอ RMC ค. ทอ EMT หนาเทากับทอ IMC ง. ทอ EMT หนาเทากับทอ RMC

95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3

96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 7 0921730507 การทดสอบเครื่อง (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายขั้นตอนการทดสอบการทํางานของเครื่องปรับอากาศได 2. ทดสอบการทํางานของเครื่องปรับอากาศได

2. หัวขอสําคัญ - ขั้นตอนการทดสอบเครื่อง 3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสู ต ร จึงจะมีสิทธิ์เขารับ การฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารั บ การฝ กในโมดู ล ที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม ฉัตรชาญ ทองจับ. 2557. เครื่องทําความเย็นและปรับอากาศ. ปทุมธานี : สกายบุกส. นุกูล แกวมะหิงษ. 2559. เครื่องปรับอากาศ (ภาคทฤษฏี). กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมอาชีวะ 98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 7 การทดสอบเครื่อง 1. ขั้ น ตอนการทดสอบเครื่ อ ง การติดตั้งเครื่องปรับอากาศแบบติดผนัง เปนเครื่องปรับอากาศที่ไดรับความนิยมมาก เนื่องจากเหมาะสมกับการใชงาน ในบานพักอาศัย และมักจะติดตั้งในหองนอน เนื่องจากมีเสียงไมดังระหวางการทํางาน ในบางรุนยังเพิ่มคุณสมบัติในการฟอก อากาศ การติดตั้งเครื่องปรับอากาศและการเดินทอตาง ๆ ของระบบ มีขั้นตอนที่สําคัญ 9 ขั้นตอน ดังนี้ 1.1 การติดตั้งเครื่อง มีขั้นตอนดังนี้ 1. ติดตั้งแผนเพลทยึดฝาหลังของเครื่อง - ตรวจหาสวนที่เปนโครงสรางหลักภายในฝาผนัง เชน คาน และติดตั้งแผนยึดฝาหลังของเครื่อง ในแนวระนาบใหมั่นคง ใหเวนระยะหางดานบนอยางนอย 12 เซนติเมตร และหางจากกําแพง ดานขางอยางนอย 20 เซนติเมตร ควรใชระดับน้ําในการติดตั้งเพลท เพื่อใหไดแนวที่เที่ยงตรง - เพื่อปองกันการสั่นของแผนยึดฝาหลังของเครื่อง ใหขันสกรูยึดรูของตําแหนงใหมั่นคง - ในกรณีที่ใชนอตเจาะทะลุกําแพงคอนกรีต ใหยึดแผนฝาหลังของเครื่องดวยรูรูปไขขนาด 11 x 20 มิลลิเมตร ถึง 11 x 26 มิลลิเมตร

ภาพที่ 7.1 การติดตั้งแผนเพลท

99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

2. เจาะรูผนัง - กําหนดตําแหนงของรูบนผนัง - เจาะรูขนาดเสนผานศูนยกลาง 65 มิลลิเมตร โดยใหรูดานนอกต่ํากวารูดานในเล็กนอย - ใสปลอกสวมรูบนผนัง ใชปลอกสวมรูบนผนังเสมอ เพื่อปองกันสายไฟที่ตอระหวางเครื่องตัวใน และตัวนอกถูกสวนที่เปนโลหะในผนัง และเพื่อปองกันความเสียหายอันเกิดจากหนูในกรณีที่ ผนังกลวง

ภาพที่ 7.2 การใสปลอกสวมรูบนผนัง 3. การติดตั้งชุดจายลมเย็น (แฟนคอยลยูนิต) - เปดฝาดานหลังออกแลวดึงทอสารทําความเย็นและดึงทอน้ําทิ้งออกแลวมัดใหทอน้ําทิ้งให อยู ดานลางดังรูป - สอดทอทั้งสองใหทะลุผานผนังดังรูป - ติดตั้งฐานยึดเครื่อง และ ชุดแฟนคอยลเขากับผนัง

ภาพที่ 7.3 ควรระวังไมใหทอน้ําทิ้งโคง

100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ภาพที่ 7.4 การจัดตําแหนงของทอ 4. การติดชุดควบแนน (คอนเดนซิ่งยูนิต) 5. การทําบานแฟลรสําหรับตอทอเขาดวยกัน 6. การติดตั้งทอขางซายมือ - ดึงฝาครอบทอน้ําทิ้งที่ดานขวาของเครื่องภายใน จับปลายสวนโคงของฝาครอบทอน้ํา แลวดึงออก

ภาพที่ 7.5 ดึงฝาครอบทอน้ําทิ้งออก

ภาพที่ 7.6 ควรใชแผนยึดฝาหลังของเครื่อง - หากทอตอระหวางเครื่องขวางไมใหเครื่องดานในสวมเขากับแผนยึดฝาหลังของเครื่องไดอยาง แนนหนา ใหตัดชิ้นสวนที่ยึดทอที่อยูดานหลังของเครื่องตัวใน แลวยึดทอดวยชิ้นสวน หลังจาก นั้นสวมเครื่องตัวในเขากับแผนยึดฝาหลังของเครื่อง 101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ภาพที่ 7.7 การรวมทอใหออกดานหลัง สําหรับกรณีออกทางดานหลัง ดานขวา หรือดานลาง - รวมทอสารทําความเย็นและทอน้ําทิ้งเขาดวยกันแลวพันดวยเทปสําหรับพันทอ - สอดทอสารทําความเย็นและทอน้ําทิ้งผานปลอกสวมรูบนผนัง แลวเกี่ยวสวนดานบนของเครื่อง ติดตั้งภายในบนแผนยึดฝาหลังของเครื่อง - ตรวจดูความแนนหนาของเครื่องติดตั้งภายในที่อยูบนแผนยึดฝาหลังของเครื่อง โดยการขยับไปมา จากขางหนึ่งไปอีกขางหนึ่ง - ดันสวนลางของเครื่องติดตั้งภายในเขาบนแผนยึดฝาหลังของเครื่อง

ภาพที่ 7.8 การรวมทอใหออกดานหลัง สําหรับการเดินทอดานซายหรือดานหลังซาย - รวบทอสารทําความเย็นและทอน้ําทิ้งเขาดวยกันแลวพันดวยเทปสักหลาด

102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ภาพที่ 7.9 ตําแหนงที่ทอน้ําทิ้งออก 7) การปดรูผนังและการยึดทอเขากับผนัง - อุดชองวางระหวางรูทอดวยดินสําหรับอุดรูบนผนัง - ทําเครื่องหมายในตําแหนงที่ตองการยึดทอ - ใชสวานไฟฟาเจาะผนัง และใสพุกพลาสติกขนาด 6 มิลลิเมตร - เจาะผนังเปนชวง ๆ หางกันระยะประมาณ 100 – 120 เซนติเมตร หรือตามความเหมาะสม - ยึดทอเขากับผนังดวยสายรัดทอน้ํายา

ภาพที่ 7.10 การปดรูทอและการยึดผนัง 8) ทําสุญญากาศระบบ - ตอชุดแมนิโฟลดเกจเขากับวาลวบริการ - เปดวาลวทั้งคูของแมนิโฟลดเกจ (ทวนเข็มนาฬิกา) - ตอสายทอกลางของแมนิโฟลดเกจเขากับปมสุญญากาศ - เดินสายเครื่องปมสุญญากาศ - เข็มความดันของเกจวัดความดันต่ําเริ่มลดต่ําหวาตําแหนง 0 (สวนเกจวัดความดันสูงจะไม สามารถอานคาได) 103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

- เมื่อเข็มของเกจวัดความดันต่ําอานคาถึง –29.92 นิ้วปรอทใหทําการตรวจขอตอตาง ๆ ใหม ๆ - ถาเข็มของเกจวัดความดันต่ําไมสามารถลดลงถึง -29.92 นิ้วปรอทใหทําการตรวจขอตอตาง ๆ ใหมทั้งหมด - ถาคาเกจทางสุญญากาศที่อานไดไมเปนที่นาพอใจใหหมุนวาลวทั้งคูของแมนิโฟลดเกจอยูใน ตําแหนงปดถาความดันสูงขึ้น (แตยังต่ํากวา 0 ปอนดตอตารางนิ้ว) แสดงวาระบบรั่วใหหยุด เครื่องปมสุญญากาศแลวคนหาที่รั่วและซอมใหม - ถาคาเกจทางสุญญาศคงที่อยู ในขณะที่วาลวทั้งคูของแมนิโฟลดเกจอยูในตําแหนงปด แสดงวา ปมสุญญากาศไมดีพอ - ภายหลังจากเดินเครื่องปมสุญญากาศ 45 นาทีแลว ปดวาลวทั้งคูของแมนิโฟลดเกจ - หยุดเครื่องปมสุญญากาศ - ขณะนี้ทําระบบสุญญากาศเรียบรอย พรอมที่จะชารจสารความเย็นเขาในระบบตอไป 9) เติมน้ํายา และ ทดสอบเดินเครื่อง - ปดวาลวดาน HI และปดวาลวทางดาน LOW - ตอสายสีฟาของแมนิโฟลดเกจเขากับเซอรวิสวาลว - เสียบสายสีเหลือง เขากับถังน้ํายาแลวทําการไลอากาศภายในสายออกกอน - เปดวาลวดาน LOW และ ปลอยน้ํายาเขาระบบแลวเปดแอรรอใหคอนเดนซิ่งยูนิตทํางาน - เติมน้ํายาและคอยปดวาลวดาน LOW เปนระยะ เพื่ออานคาความดันน้ํายาวามีปริมาณน้ํายา เขาไปในระบบเพียงพอหรือยัง โดยจะตองเติมน้ํายาใหอยูในเกณฑ 60-70 psi - หลังจากเติมน้ํายาไดตามเกณฑใหสังเกตพัดลมคอยลรอน เปาลมรอนไดทั่วแผง ที่ทอชัดชั้นมี ไอน้ําเกาะกระแสของคอมเพรสเซอรขณะทํางานไมเกินพิกัดกระแสตามเนมเพลต และชุดแฟน คอยลยูนิต เปาลมเย็นออกดีแลวใหทําการถอดสายแมนิโฟลดเกจออกแลวทําการปดเซอรวิสวาลว ขอควรระวัง อยาเติมน้ํายามากจนเกินกระแสพิกัดของคอมเพรสเซอรจะทําใหคอมเพรสเซอรเกิดความเสียหายได 1.2 การเดินเครื่อง มีขั้นตอน ดังนี้ 1. กอนทําการเดินเครื่องเพื่อทดสอบ ใหตรวจเช็ควาเดินสายไฟผิดหรือไมอีกครั้ง การเดินสายไฟผิดจะทําให เครื่องไมสามารถทํางานไดตามปกติ หรืออาจมีผลใหฟวสขาดไมสามารถทํางานได 104 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

2. เสียบปลั๊กไฟเขากับเตาเสียบและ/หรือเปดเบรกเกอร ตรวจเช็ควาไฟ LED ทุกดวงไมติดสวางขึ้น ถาไฟ กะพริบ ใหตรวจเช็ควาติดตั้งบานเกล็ดปรับทิศทางลมขึ้น – ลงไดถูกตองหรือไม ใหดูรายละเอียดจากคูมือ การใชงาน 3. การเดินเครื่องเพื่อทดสอบสามารถเริ่มได ดวยการกดปุมสวิตช Emergency Operation เมื่อปุมสวิตช Emergency Operation ถูกกดแลวการเดินเครื่องทดสอบจะเริ่มขึ้น (เครื่องจะทํางานอยางตอเนื่อง) ไปใน ระยะเวลา 30 นาที ในชวงระหวางนี้เทอรโมสตัทจะไมทํางาน และหลังจาก 30 นาทีผานไปแลว เครื่องก็จะ เริ่มทํางานในแบบฉุกเฉิน (Emergency Operation) ที่อุณหภูมิที่ไดตั้งไวที่ 24 องศาเซลเซียส ในแบบทํา ความเย็นใหทําการเดินเครื่องเพื่อทดสอบตามลําดับตอไปนี้ 1) กดปุมสวิตชทํางานฉุกเฉิน (Emergency Operation) กดสวิตชครั้งเดียว Emergency Cool Mode (ระบบการทํ า งานแบบฉุ ก เฉิ น ในระบบทํ า ความเย็ น ) จะเริ่ ม ทํ า งานหลั ง จากการ เดินเครื่องทดสอบเปนเวลา 30 นาที 2) กดอีก 1 ครั้ง จะเปนการยกเลิก 1.3 การตรวจสัญญาณ (แสงอินฟราเรด) รับการสั่งงานของรีโมทคอนโทรล 1. กอนที่จะทดสอบรีโมทคอนโทรลตองใสแบตเตอรี่ใหถูกตอง และกดปุม Reset เพื่อลางขอมูลการตั้งคา 2. กดปุม On/Off ที่รีโมทคอนโทรล และตรวจสอบดูวาไดยินเสียงการรับสัญญาณจากรีโมทคอนโทรล 3. กดปุม On/Off อีกครั้งเพื่อปดเครื่องปรับอากาศ เมื่อเครื่องภายในทํางานโดยคําสั่งจากรีโมทคอนโทรล การ ทดลองเดินเครื่องกับการทํางานในระบบเหตุฉุกเฉินจะถูกยกเลิกโดยคําสั่งจากรีโมทคอนโทรล 4. เพื่อเปนการรักษาและปองกันเครื่องปรับอากาศ ถาตัวคอมเพรสเซอรหยุดการทํางาน และตองการใหทํางาน ใหมใหรอประมาณ 3 นาที 5. สังเกตการทํางานของเครื่องปรับอากาศตามคําสั่งของรีโมทคอนโทรล ดังนี้

105 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ภาพที่ 7.11 รีโมทคอนโทรล - กดปุม Mode เพื่อตั้งคําสั่งเลือกระบบการทํางานของเครื่องปรับอากาศในระบบ Fan, Cool และ Dry โดยการใชเครื่องปรับอากาศควรเลือกระบบ Cool - กดปุม Temperature Setting + หรือ – เพื่อเพิ่มหรือลดอุณหภูมิตามที่ตองการ - กดปุม Fan เพื่อเลือกระบบของพัดลม เปนระบบอัตโนมัติ หรือปรับระดับความเร็วของพัดลม ใหสูงขึ้นตามตองการ - กดปุม Clock เพื่อตั้งนาฬิกาของรีโมท - กดปุม Start เพื่อตั้งเวลาเปดเครื่องปรับอากาศอัตโนมัติ - กดปุม Stop เพื่อตั้งเวลาปดเครื่องปรับอากาศอัตโนมัติ - กดปุม Send เพื่อสงขอมูลการตั้งคาของปุม Clock, Start และ Stop ไปยังเครื่อง - กดปุม Sweep เพื่อเปดหรือปดระบบกระจายลมเย็น ดวยการสายชองลม - กดปุม Lower เพื่อปรับมุมของการกระจายลมเย็น 1.4 การตรวจสอบกระแสไฟฟา การวัดกระแสไฟฟาที่จายใหแกเครื่องปรับอากาศจะใชคลิปแอมป โดยกอนทําการวัดจะตองปรับปุมเลือกสเกล มายั ง ช อ งแอมป (หรื อ ACA) เสี ย ก อ น โดยให ม าอยู ยั ง ช อ งที่ มี ค า สู ง ๆ ก อ น เพื่ อ ป อ งกั น เครื่ อ งมื อ ชํ า รุ ด จากนั้ น ให นํากามปูคลองสายที่จะวัดเพียงเสนเดียวและอานคาที่หนาปด คาที่วัดได จะมีหนวยเปนแอมป (A) ในการวัดแอมปนี้จ ะ วัดไดเฉพาะตอนที่อุปกรณไฟฟาตาง ๆ ทํางานอยูเทานั้น 106 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

1.5 การทดสอบความดันของสารทําความเย็น การทดสอบความดันของสารทําความเย็นจะใชแมนิโฟลดเกจในการวัด โดยมีวิธีการวัด ดังนี้ 1) หาตําแหนงของวาลวบริการในระบบ 2) คลายฝาครอบสําหรับตอเขาเกจที่วาลวบริการอยางชา ๆ 3) ปดวาลวของแมนิโฟลดเกจทั้งคู 4) ตอสายเกจเขากับวาลวบริการ 5) ถาเปนระบบวาลวที่ปรับดวยมือ ใหหมุนวาลวตามเข็มนาฬิกา 4 รอบ 6) คลายสายที่แมนิโฟลดเกจเล็กนอย ปลอยสารทําความเย็นออกสัก 3 วินาที เพื่อไลอากาศในสาย 7) อานคาความดันต่ําไดที่เกจขางซายที่มีสีน้ําเงิน และอานคาความดันสูงไดที่เกจขางขวาที่มีสีแดง

107 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. การกด reset รีโมทควบคุมกอนการทดสอบเครื่อง มีประโยชนอยางไร ก. เพื่อเลือกระบบพัดลม ข. เพื่อทดสอบเสียงการรับสัญญาณ ค. เพื่อลางการตั้งคา ง. เพื่อเขาสูโหมดรอรับการทดสอบระบบ 2. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการเจาะรูผนัง ก. เจาะรูขนาดเสนผานศูนยกลาง 65 มิลลิเมตร โดยใหรูดานนอกต่ํากวารูดานในเล็กนอย ข. เจาะรูขนาดเสนผานศูนยกลาง 80 มิลลิเมตร โดยใหรูดานนอกต่ํากวารูดานในเล็กนอย ค. เจาะรูขนาดเสนผานศูนยกลาง 65 มิลลิเมตร โดยใหรูดานนอกสูงกวารูดานในเล็กนอย ง. เจาะรูขนาดเสนผานศูนยกลาง 80 มิลลิเมตร โดยใหรูดานนอกสูงกวารูดานในเล็กนอย 3. การเริ่มเดินเครื่องตองกดปุมใด ก. ปุม Sweep ข. ปุม On/Off ค. ปุม Clock ง. ปุม Emergency Operation

108 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3

109 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบงาน ใบงานที่ 7.1 การติดตัง้ และทดสอบเครื่องปรับอากาศ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ทดสอบการทํางานของเครื่องปรับอากาศได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 4 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานดังนี้ 1. จงติดตั้งเครื่องปรับอากาศตามแบบที่กําหนด 2. ทดสอบการเดินเครื่องปรับอากาศแลวบันทึกผล

แบบติดตั้ง

110 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

บันทึกผลการปฏิบตั ิงาน ขนาดเครื่องทําความเย็น………………….. บีทียูตอชั่วโมง (……………..วัตต) แรงเคลื่อนไฟฟา ................... โวลต ระบบไฟฟา ............................ เฟส คา LRA …………….Amps. คา FLA …………………….. Amps กําลังไฟฟา ......................... วัตต เบอรสารทําความเย็น .................................. น้ําหนักสารทําความเย็น ........................................... ก.ก. ความดันดานต่ํา ................................... psig ความดันดานสูง ................................... psig อุณหภูมิอากาศเขาคอนเดนเซอร (ชุดระบายความรอน)

………………°c/…………….°f

อุณหภูมิอากาศออกคอนเดนเซอร (ชุดระบายความรอน)

………………°c/…………….°f

อุณหภูมิลมสงชุดทําความเย็น

………………°c/…………….°f

อุณหภูมิลมกลับชุดทําความเย็น

………………°c/…………….°f

อุณหภูมิทอซัคชั่น

………………°c/…………….°f

อุณหภูมทิ อลิควิด

………………°c/…………….°f

สรุปผลการทดสอบเครื่อง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

111 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 7.1 การติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เครื่องปรับอากาศ

จํานวน 1 เครื่อง

2. ชุดเครื่องมืองานทอ (ตัด ดัด บาน ขยาย ลบคม ชุดเชื่อม)

จํานวน 1ชุด

3. ชุดเครื่องมือชางเครื่องปรับอากาศ (เทอรโมมิเตอร แมนิโฟลดเกจ ถังน้ํายาสารทําความเย็น ปมสุญญากาศ ฯลฯ)

จํานวน 1ชุด

4. ชุดเครื่องมือชางไฟฟา (มัลติมิเตอร คลิปแอมป ไขควง คีมชางไฟฟา ฯลฯ)

จํานวน 1ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ดินสอ/ปากกา

จํานวน 1 แทง

2. แบบบันทึกผล

จํานวน 1 แผน

112 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ติดตั้งเครื่องปรับอากาศตามแบบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ทําการติดตั้งชุดแฟนคอยลยูนิต และชุดคอนเดนซิ่งยูนิตตามแบบใน ใบงาน

2. ติดตั้งงานทอเพื่อตอทอระหวางแฟน

ทําการดัดทอ บานแฟลรทอสําหรับ

คอยลยูนิต และคอนเดนซิ่งยูนอต

ตอทอระหวางแฟนคอยลยูนิต และ ชุดคอนเดนซิ่งยูนิต

3. ติดตั้งระบบไฟฟา

ติดตั้งระบบไฟฟาภายในระบบ

กอนจายไฟจากแหลงจายไฟควรให

เครื่องปรับอากาศ จากนั้นติดตั้งเขา ครูฝกตรวจชิ้นงานกอนเพื่อความ กับแหลงจายไฟ

4. ปดรูผนังและยึดทอกับผนัง

ปดรูผนังและยึดทอเขากับผนัง

113 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ปลอดภัยในชีวิต


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ทําสุญญากาศระบบ

คําอธิบาย ทํ า สุ ญ ญากาศระบบประมาณ 45 นาที

6. เติมสารทําความเย็นข าสูระบบ จากนั้น

เติ ม น้ํ า ยาและเป ด เครื่ อ งทดสอบ

ทดสอบเครื่อง

ระบบการทํางาน โดยปรับความเย็น ไปที่ Cool จากนั้ น บั น ทึ ก ผล และ ปดการทํางาน

114 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ 1.1 การติดตั้งเครื่องปรับอากาศ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 การตัด ดัด บานแฟลร เชื่อมทอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 การติดตั้งระบบไฟฟา

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 การทําสุญญากาศและเติมน้ํายา

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

115 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 การติดตั้งเครื่องปรับอากาศ

1.2 การตัด ดัด บานแฟลร เชื่อม ทอ

1.3 การติดตั้งระบบไฟฟา

1.4 การทําสุญญากาศและเติมน้ํายา

2

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและ ครบถวน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบตั ิงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํา ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

เกณฑการใหคะแนน - ติ ดตั้ งเครื่ อ งปรั บ อากาศ ทั้ งส ว นของคอยล รอ นและคอยล เ ย็ น ได ถูกตองตามระยะที่กําหนดไวในแบบติดตั้ง ใหคะแนน 10 คะแนน - ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ทั้งสวนของคอยลรอนและคอยลเย็นผิดไป จากระยะที่กําหนดไวในแบบ ใหหักคะแนนจุดละ 2 คะแนน - ตัด ดัด บานแฟลร และเชื่อมทอ ไดถูกตอง เมื่อทําเสร็จแลวตรวจไม พบรอยรั่ว ราว แตก ใหคะแนน 10 คะแนน - ตัด ดัด บานแฟลร และเชื่อมทอ ได โดยเมื่อทําเสร็จแลวตรวจพบ รอยรั่ว ราว แตก ใหหักคะแนนจุดละ 2 คะแนน - ติดตั้งระบบไฟฟาไดถูกตอง ปลอดภัยในทุกจุด เมื่อเปดเครื่องแลว เครื่องปรับอากาศทํางานไดตามปกติ ใหคะแนน 10 คะแนน - ติดตั้งระบบไฟฟาได แตพบจุดที่มีตัวนําไฟฟาโผลมาจากการตอสาย - ตรวจพบการรั่ว การลงกราวด หรือ เมื่อเปดเครื่องแลว เครื่องปรับอากาศไมทํางาน ใหหกั คะแนนจุดละ 2 คะแนน - ติดตั้งระบบไฟฟาไดถูกตอง ปลอดภัยในทุกจุด เมื่อเปดเครื่องแลว เครื่องปรับอากาศทํางานไดตามปกติ ใหคะแนน 10 คะแนน - ติดตั้งระบบไฟฟาได แตพบจุดที่มีตัวนําไฟฟาโผลมาจากการตอสาย ตรวจพบการรั่ว การลงกราวด หรือ เมื่อเปดเครื่องแลว เครื่องปรับอากาศไมทํางาน ใหหกั คะแนนจุดละ 2 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

คะแนนเต็ม 40 10

คะแนนที่ได

10

10

10

5 1 1 1 1 1 45

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 32 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

116 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 8 0921730508 การแกไขอาการขัดของ (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายขั้นตอนการแกไขอาการขัดของของเครื่องปรับอากาศเบื้องตนได 2. แกไขอาการขัดของของเครื่องปรับอากาศเบื้องตนได

2. หัวขอสําคัญ - การแกไขอาการขัดของของเครื่องปรับอากาศ

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

117 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสู ต ร จึงจะมีสิทธิ์เขารับ การฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารั บ การฝ กในโมดู ล ที่ครูฝกกําหนดได

118 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

7. บรรณานุกรม ฉัตรชาญ ทองจับ. 2557. เครื่องทําความเย็นและปรับอากาศ. ปทุมธานี : สกายบุกส. มงคล พูนโตนด. 2557. เครื่องทําความเย็น. นนทบุรี : ศูนยหนังสือเมืองไทย. วีระศักดิ์ มะโนนอม และสมชาย วณารักษ. 2558. เครื่องทําความเย็นและปรับอากาศ. นนทบุรี : เอมพันธ.

119 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 8 การแกไขอาการขัดของของเครื่องปรับอากาศ 1. ขอแนะนําในการแกปญหาเบื้องตน ในบางกรณีอาจไมใชปญหาของเครื่องปรับอากาศ ดังตอไปนี้ ตารางที่ 8.1 ปญหาของเครื่องปรับอากาศและคําอธิบาย กรณี

คําอธิบาย

เครื่องปรับอากาศไมทํางานในทันที

ผูใชเครื่องควรรอประมาณ 3 นาที

- เมื่อกดปุมเปด / ปด (ON/OFF) หลังจากหยุดใชงาน - เมื่อเลือกโหมดใหม ชุดคอยลรอนปลอยน้ําหรือไอน้ําออกมา

ความชื้นในอากาศควบแนนกลายเปนน้ําบริเวณผิวทอที่ มีความเย็นของชุดคอยลรอน

มีหยดน้ําออกมาจากเครื่องคอมเพรสเซอร

เมื่ออากาศในหองถูกทําใหเย็นลงจนเกิดหยดน้ํา จากการ ไหลเวียนของอากาศเย็นในระหวางกระบวน การทําความเย็น

เครื่องปรับอากาศมีกลิ่นไมพึงประสงค

เกิดขึ้นเมื่อกลิ่นภายในหองถูกดูดเขาไปใน เครื่องปรับอากาศ และปลอยออกมาตาม กระแสลม ควรทําการลางเครื่องปรับอากาศ

พัดลมของชุดคอยลรอนหมุน ขณะเครื่องปรับอากาศไมทํางาน - หลังปดเครื่องแลว พัดลมจะหมุนตออีก 60 วินาที เพื่อปองกันระบบ - เมื่ออุณหภูมิภายนอกสูง พัดลมคอนเดนเซอรจะ ทํางานเพื่อปองกันระบบ เครื่องปรับอากาศหยุดชะงักกะทันหัน ขณะที่สัญญาณไฟการ ทํางาน (Operation) สวางอยู

- เครื่องอาจหยุดทํางานเมื่อมีการแปรปรวนของ แรงดันไฟฟาในปริมาณมาก - เครื่องปรับอากาศจะกลับสูภาวะปกติ ภายในเวลา ประมาณ 3 นาที

ถาหากเครื่องปรับอากาศมีอาการตอไปนี้ ควรตรวจสอบอีกครั้งกอนที่จะเรียกชางมาตรวจแกไข 120 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ตารางที่ 8.2 ปญหาของเครื่องปรับอากาศและคําอธิบาย กรณี

คําอธิบาย

เครื่องปรับอากาศไมทํางาน โดยที่สัญญาณไฟ

- ไมไดดึงเซอรกิตเบรกเกอรลงหรือฟวสขาดหรือไม

การทํางาน (Operation) ดับ

- กระแสไฟฟาดับหรือไม - มีแบตเตอรี่ในรีโมทคอนโทรลหรือไม - คาตั้งเวลาถูกตองหรือไม

การทําความเย็นไมมีประสิทธิภาพ

- ตัวกรองอากาศสะอาดหรือไม - มีสิ่งกีดขวางชองดูดอากาศ หรือชองระบายอากาศของ ชุดคอยลเย็นและชุดคอยลรอนหรือไม - การตั้งคาอุณหภูมิถูกตองหรือไม - ปดหนาและประตูหรือยัง - ตั้งคาแรงลมและทิศทางลมถูกตองหรือไม

เครื่องหยุดทํางานกะทันหัน โดยที่สัญญาณไฟ

- ตัวกรองอากาศสะอาดหรือไม

การทํางาน (Operation) ยังกระพริบอยู

- มีสิ่งกีดขวางชองดูดอากาศหรือชองระบายอากาศของ คอยลเย็นและคอยลรอนหรือไม - ใหทําความสะอาดตัวกรองอากาศ ยกเซอรกิตเบรกเกอรลง แลวยกเซอรกิต เบรกเกอรขึ้น จากนั้นใชรีโมทคอนโทรล เปดใชงานเครื่องปรับอากาศ ถาสัญญาณไฟกระพริบอยู ควรเรียกชางมาตรวจซอม

การทํางานผิดปกติของฟงกชันในระหวางเครื่องทํางาน

เครื่องปรับอากาศอาจทํางานผิดปกติ เพราะฟาแลบหรือ คลื่นวิทยุ ใหดึงเบรกเกอรลงแลวยกขึ้นใหม อีกครั้ง จากนั้นเปดใชงานเครื่องดวยรีโมทคอนโทรล

121 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

2. การแกไขขอขัดของในเครื่องปรับอากาศ ตารางที่ 8.3 อาการของเครื่องปรับอากาศ การตรวจหาสาเหตุ และวิธีการแกไข อาการ

ตรวจหาสาเหตุ

เครื่องปรับอากาศทํางานตามปกติ แต

ตรวจดูวามีสิ่งใดบังลมที่ระบายความ

ใหความเย็นนอย

รอนของชุดคอยลรอน ตรวจดูกรองอากาศวา

วิธีการแกไข ใหเอาสิ่งที่บังลมออก ลางและทําความสะอาด

ไมมีผงอุดตัน ตรวจการรั่วของ

ซอมจุดรั่วแลวทําการเติมสารทํา

สารทําความเย็น

ความเย็น

ตรวจปริมาณความเย็นที่ไดวาเพียงพอ ถาไมเพียงพอใหเพิ่มเครื่องปรับอากาศ หรือไม

อีก 1 เครื่องหรือเปลื่ยน

(โดยการคํานวณ)

เครื่องปรับอากาศที่ใหปริมาณความ เย็นที่เหมาะกับขนาดหอง

ตรวจดูตําแหนงอุดตันของ

แกไขจุดที่มีการอุดตันในระบบ

สารทําความเย็นในระบบ เครื่องไมทํางานทั้งชุด

ตรวจดูวามีกระแสไฟเขาเครื่องหรือไม เปลี่ยนฟวสหรือรีเซ็ตชุดปองกัน ตรวจดูฟวสหรือเซอรกิตเบรกเกอร ตรวจดูเตารับวาเสียบแนนดีหรือไม

พัดลมของชุดคอยลเย็นไมหมุน

ตรวจดูสายไฟฟาวาขาดตอนหรือไม

ทําการซอมสายไฟใหม

ตรวจดูสวิตชปรับรอบของพัดลม

เปลี่ยนพัดลมถาเสีย

ตรวจลูกปนของมอเตอรพัดลมวาเสีย

เปลี่ยนใหม

หรือไหม ตรวจขดลวดของมอเตอรพัดลมวาขาด เปลี่ยนใหม หรือไม ตรวจคาปาซิเตอรของพัดลม

122 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เปลี่ยนใหม


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

อาการ พัดลมของชุดคอยลรอนไมหมุน

ตรวจหาสาเหตุ ตรวจลูกปนของมอเตอรพัดลมวาเสีย

วิธีการแกไข เปลี่ยนใหม

หรือไม ตรวจขดลวดของมอเตอรพัดลมวาขาด เปลี่ยนใหม หรือไม คอมเพรสเซอรไมเดิน

ตรวจคาปาซิเตอรของพัดลม

เปลี่ยนใหม

ตรวจแรงดันไฟฟาขณะที่เครื่องเริ่ม

ปรับเปลี่ยนสายไฟใหไดขนาด หรือ

ออกตัววาต่ําไปหรือไม

แกไขแรงดันไฟฟาใหเทากับพิกัด แรงดันที่เครื่องปรับอากาศตองการ

ตรวจอุปกรณปองกันโหลดเกินวาเสีย

เปลี่ยนใหม

หรือไม ตรวจ Cap.S และ Cap.R วาเสีย

เปลี่ยนใหม

หรือไม ตรวจการลัดวงจรของตัว

เปลี่ยนใหม

คอมเพรสเซอร คอมเพรสเซอรและมอเตอรพัดลมชุด

ตรวจดูวาสวิตชอยูถูกตําแหนงหรือไม

เปลี่ยนสวิตชใหม

คอยลรอนและชุดคอยลเย็นเดินพรอม

ตรวจตัวควบคุมอุณหภูมิวาตั้งไวที่

ปรับตําแหนงใหถูก

กันเมื่อเปดสวิตช

ตําแหนงอุณหภูมิสูงหรือเปลา ตรวจวาตัวควบคุมอุณหภูมิอยูในสภาพ เปลี่ยนใหม ดีหรือไม ตรวงสอบขดลวดและคอนแทคของ

เปลี่ยนใหม

แมคเนติควาดีหรือไม เครื่องเดินแตมีเสียงผิดปกติ

ตรวจดูวาสกรูหลวมหรือไม

ขันใหแนน

ตรวจการติดตั้งวาเรียบรอยหรือไม

แกไขขอบกพรองอันเนื่องจากการ ติดตั้ง เชน ไมใสยางรองกันสั่น

ตรวจสอบการระบายความรอน

123 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

แกไขขอบกพรอง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

อาการ

ตรวจหาสาเหตุ

วิธีการแกไข

น้ําหยดลงมาจากเครื่อง

ตรวจทอน้ําทิ้งวาตันหรือไม

ทําความสะอาดทอน้ําทิ้ง

ตรวจดูวาน้ําไหลในทอทิ้งหรือไม

แกไขการลาดเอียงของทอ

124 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. หากเครื่องปรับอากาศทําความเย็นไดแตไมมีประสิทธิภาพมากเพียงพอ อาจเกิดจากสาเหตุใด ก. พึ่งลางตัวกรองอากาศ ข. มีสิ่งกีดขวางชองดูดอากาศ ค. เปลี่ยนยี่หอสารทําความเย็นใหม ง. เปดเครื่องปรับอากาศนานเกิน 2 ชั่วโมง 2. พัดลมของชุดคอยลรอนไมหมุน การแกไขวิธีใดตรงจุดมากที่สุด ก. ตรวจดูทอสารทําความเย็น ข. เปลี่ยนลูกปนมอเตอรพัดลม ค. ตรวจหนาสัมผัสของแมคเนติก ง. ตรวจอุปกรณปองกันโหลดเกิน 3. เมื่อตรวจพบวามีน้ําหยดลงมาจากเครื่องปรับอากาศ ชางเครื่องปรับอากาศคนใดตรวจวิเคราะหและแกไขไดดีที่สุด ก. ชางสมปองตรวจดูวาน้ําไหลในทอทิ้งหรือไม จากนั้นทําการแกไขการลาดเอียงของทอ ข. ชางสมศักดิ์ตรวจดูวาน้ําไหลในทอทิ้งหรือไม จากนั้นทําการแกไขดวยการเจาะทอ ค. ชางสมเดชตรวจทอน้ําทิ้งวาตันหรือไม จากนั้นทําการเปลี่ยนเครื่องปรับอากาศ ง. ชางสมหมายตรวจทอน้ําทิ้งวาตันหรือไม จากนั้นทําการผาทอน้ําทิ้งแลวฉีดน้ําดันเขาระบบ

125 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3

126 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบงาน ใบงานที่ 8.1 การแกไขอาการขัดของ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - แกไขอาการขัดของของเครื่องปรับอากาศเบื้องตนได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบเครื่องปรับอากาศ เพื่อหาขอบกพรอง และทําการแกไข บันทึกผลการตรวจสอบ ขนาดเครื่องทําความเย็น ………………… บีทียูตอชั่วโมง แรงเคลื่อนไฟฟา …………. โวลต ระบบไฟฟา …………. เฟส คา LRA …………………… แอมแปร

คา FLA …………………… แอมแปร

ความดันดานต่ํา ………… ปอนดตอตารางนิ้ว

ความดันดานสูง ………… ปอนดตอตารางนิ้ว

127 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ตารางบันทึกผล เครื่องปรับอากาศ

อุปกรณ พัดลมคอยลรอน

ทํางาน / ปกติ

คอมเพรสเซอร แมคเนติกคอนแทคเตอร คอนเดนซิ่งยูนิต

คาปาซิเตอรรัน (คอมเพรสเซอร) คาปาซิเตอรรัน (พัดลมคอมเพรสเซอร) โพเทนเชียลรีเลย แผงฟนคอยลรอน (สะอาด/สกปรก) ระบุ พัดลมคอยลเย็น คาปาซิเตอรรัน รีโมทควบคุม

แฟนคอยลยูนิต

กลองควบคุม แผนกรอง (สะอาด/สกปรก) ระบุ แผงฟนคอยลเย็น (สะอาด/สกปรก) ระบุ

128 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ไมทํางาน / ผิดปกติ

หมายเหตุ


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 8.1 การแกไขอาการขัดของ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวาง กีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เครื่องปรับอากาศ

จํานวน 1 เครื่อง

2. มัลติมิเตอร

จํานวน 1 เครื่อง

3. แมนิโฟลดเกจ

จํานวน 1 เครื่อง

4. แคลมปออนมิเตอร

จํานวน 1 เครื่อง

5. ไขควงแฉก

จํานวน 1 ตัว

6. ไขควงแบน

จํานวน 1 ตัว

7. ประแจเลื่อน ขนาด 6 นิ้ว

จํานวน 1 ตัว

8. คีมชางไฟฟา

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ใบบันทึกผลการตรวจสอบ

จํานวน 1 แผน 129 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การแกไขอาการขัดของ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. ทดลองเปดเครื่อง โดยตั้งอุณหภูมิ 25

ทดลองเปดเครื่องปรับอากาศโดยตั้งอุณหภูมิ

องศาเปนเวลา 5 นาที แลวบันทึกผล

ที่ 25°c และตั้งโหมด Cool ทิ้งไวสัก 5 นาที

ขอควรระวัง

แล ว สั ง เกตการทํ า งานของเครื่ อ งทั้ ง แฟน คอยลยูนิตและคอนเดนซิ่งยูนิต (สังเกตการ ทํางาน) แลวบันทึกผล 2. ตรวจปริมาณลมเปาออกที่คอยลรอน

ตรวจเช็ ค ดูป ริม าณลมคอนแดนซิ่ง ยูนิตวา

และตรวจสภาพแผงคอยล หากพบสิ่ง

เปาออกดีหรือไม แผงคอยลสกปรกหรื ออุด

สกปรกใหลางออก แลวบันทึกผล

ตันหรือไม แลวบันทึกผล (ถาแผงคอยลรอน สกปรกให ดํ า เนิ น การล า งหรื อ มี สิ่ ง อุ ด ตั น ขวางทางลมใหทําการแกไข)

3. ตรวจระบบไฟฟาที่แฟนคอยลยูนิต

ตรวจเช็ ค ระบบไฟฟ า และ อุ ป กรณ ไ ฟฟ า ระวังอันตรายจากฉนวนที่ขาดเกา

และคอนเดนซิ่งยูนิต ทําการเปลี่ยน

แฟนคอยล ยู นิ ต และ คอนเดนซิ่ ง ยู นิ ต อาจมีไฟรั่วได

อุปกรณที่เสีย แลวบันทึกผล

บันทึกผล (เช็คระดับแรงดัน ไฟฟาและเช็ค อุปกรณไฟฟาแตละตัวถามีอุปกรณตัวใดเสีย ใหดําเนินการซอม/เปลื่ยน)

130 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

4. วัดความดันดาน Low และ Hi ดวยแม นํ า แมนิ โ ฟลด เ กจวั ด ความดั น ของน้ํ า ยา รูปไมมีเกจวัด นิ โ ฟลด เ กจ เติ ม น้ํ า ยาหากพบว า ระดั บ ท า ง ด า น LOW แ ล ะ HI ข อ ง น้ํ า ย า ต่ํ า ใ ห เ ป น ไ ป ต า ม เ ก ณ ฑ ข อ ง เครื่องปรับอากาศและนําแคลมปออนมิเตอร เครื่ อ งปรั บ อากาศนั้ น ๆ จากนั้ น ใช วั ด ค า กระแสไฟฟ า แล ว บั น ทึ ก ผล (วั ด ค า แคล ม ป อ อนมิ เ ตอร วั ด กระแสไฟแล ว ความดันน้ํายาถานอยก็เติมเพิ่มเขาไปให ได บันทึกผล

ตามเกณฑ แตถามากเกินไปก็ทําการปล อย ออกแต ต อ งพิ จ ารณาค า กระแสไฟฟ า ที่ คอมเพรสเซอรรวมดวยแตถาไมมีน้ํายาเลย ใหทําการตรวจรั่วและซอมรั่วใหเรียบรอย)

5. สรุปผล

สรุปผล

131 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การแกไขอาการขัดของ 1.1 การใชมัลติมิเตอร

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 การใชแมนิโฟลดเกจ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 แกไขความผิดปกติที่พบ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 การบันทึกผล

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

132 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 การใชมัลติมิเตอร

1.2 การใชแมนิโฟลดเกจ

1.3 แกไขความผิดปกติที่พบ

1.4 การบันทึกผล

2

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและ ครบถวน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบตั ิงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํา ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

เกณฑการใหคะแนน - ใชเครื่องมือไดเหมาะสม อานคาไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน - ใชเครื่องมือไดคอนขา งเหมาะสม อานคาคลาดเคลื่อน 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - ใช เ ครื่ อ งมื อ ได ไ ม เ หมาะสม อ า นค า คลาดเคลื่ อ นตั้ ง แต 3 หน ว ย ใหคะแนน 1 คะแนน - ใชเครื่องมือไดเหมาะสม อานคาไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน - ใชเครื่องมือไดคอนขา งเหมาะสม อานคาคลาดเคลื่อน 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - ใช เ ครื่ อ งมื อ ได ไ ม เ หมาะสม อ า นค า คลาดเคลื่ อ นตั้ ง แต 3 หน ว ย ใหคะแนน 1 คะแนน - แกไขความผิดปกติที่ตรวจพบไดอยางถูกตอง ใหคะแนน 10 คะแนน - แกไขความผิดปกติที่ตรวจพบไมถูกตอง 1 – 2 จุด แตสามารถแกไข ได ใหคะแนน 5 คะแนน - แกไขความผิดปกติที่ตรวจพบไมถูกตองมากกวา 2 จุด หรือไม สามารถแกไขความผิดปกติได ใหคะแนน 1 คะแนน - บันทึกผลไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน - บันทึกผลไมครบ 1- 2 สวน ใหคะแนน 3 คะแนน - บันทึกผลไมครบตั้งแต 3 สวน ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

คะแนนเต็ม 25 5

คะแนนที่ได

5

10

5

5 1 1 1 1 1 30

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 21 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

133 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 9 0921730509 การปองกันความชื้น (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายขั้นตอนการหุมฉนวนทอเย็น บุฉนวนของทอสงลมเย็น ตลอดจนการปองกันไมใหความชื้นกลั่นตัวเปนหยด การอุดรอยตอตามผนังและตามที่แขวนหรือยึดทอได 2. หุมฉนวนทอเย็น บุฉนวนของทอสงลมเย็น ตลอดจนการปองกันไมใหความชื้น กลั่นตัวเปนหยด การอุดรอยตอตามผนัง และตามที่แขวนหรือยึดทอได

2. หัวขอสําคัญ - การปองกันความชื้น การหุมฉนวน บุฉนวน และอุดรอยตอ

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 134 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรา งหลั กสู ตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับ การฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารั บ การฝ กในโมดู ล ที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม นุกูล แกวมะหิงษ. 2558. เครื่องปรับอากาศ (ภาคทฤษฎี). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. วีระศักดิ์ มะโนนอม และสมชาย วณารักษ. 2558. เครื่องทําความเย็นและปรับอากาศ. นนทบุรี : เอมพันธ 135 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 9 การปองกันความชื้น การหุมฉนวน บุฉนวน และอุดรอยตอ 1. การปองกันความชื้น การหุมฉนวน บุฉนวน และอุดรอยตอ เนื่องจากในประเทศไทยมีสภาพอากาศรอนชื้น จึงมีการใชระบบปรับอากาศภายในอาคารกันมาก ซึ่งปญหาการเกิด หยดน้ํ า (Condensation) บนผิ ว ฉนวนที่ หุ มท อนํ า ความเย็น เปนปญ หาที่พบไดบอย และมักสรางปญ หาตาง ๆ ตามมา มากมาย เชน ทําใหฝาเสียหาย มีรอยคราบไมสวยงาม หรือบางกรณีเปนเชื้อรามีกลิ่นอับชื้น รวมทั้งอาจมีผลตอระบบไฟฟา เฟอรนิเจอร สงผลใหสูญเสียรายจายในการแกไขซอมแซมจํานวนมาก จากปญหาดังกลาว สามารถแบงเปนสาเหตุ ไดดังนี้ 1. การหุมฉนวนทอเย็น การติดตั้งทอสารทําความเย็นที่ไมประณีตหรือไมไดหุมฉนวน 2. การติดตั้งตามขอโคง งอ หรือรอยตอตาง ๆ ทําใหทอนําความเย็นบางสวนไมมีการหุมฉนวน นอกจากนี้อาจ เกิดจากการฉีกขาดของฉนวน 3. การไมใชฉนวนชนิดแข็งรองรับตรงจุดแขวนทําใหฉนวนบางลง 4. การติดตั้งที่ทําใหฉนวนชิดกับผนัง ฝา ทอสงลม แมกระทั่งทอที่หุมฉนวนดวยกันเอง ทําใหไมมีการไหลเวียน ของอากาศรอบทอน้ําเย็นที่หุมฉนวน ในการติดตั้งเครื่องปรับอากาศหรือแอรแบบแยกสวน ทอทองแดงที่ใชสําหรับเปนทอทางเดินของสารทําความเย็นหรือ ทอน้ํา สวนที่เชื่อมตออยูระหวางชุดคอยลรอนและชุดคอยลเย็น จะตองมีการหุมฉนวนใหกับทอในสวนนี้ โดยการหุมฉนวน นั้น ถือไดวาเปนอีกสิ่งหนึ่งที่มีความสําคัญและจะขาดไมไดในการติดตั้งทอแอร ฉนวนยางหุมทอแอร

ภาพที่ 9.1 ฉนวนยางดําหุมทอแอร

136 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ฉนวนยางดําที่ใชงานกันนี้เปนฉนวนชนิดทอที่ผลิตจากยางอีลาสโตเมอร ชนิดพิเศษ (EPDM) โดยโครงสรางภายในของ ฉนวน จะประกอบไปดวยเซลลอิสระซึ่งมีผนังกั้นรวมอยูเปนจํานวนมาก และภายในเซลลแตละเซลลนี้ก็จะบรรจุดวยอากาศ แหง คลายกับฟองอากาศนับลานที่อัดแนนกันอยู ดวยคุณลักษณะดังกลาวจึงมีคุณสมบัติพื้นฐานในการเปนฉนวนกันความรอน คุณสมบัติของฉนวนที่เหมาะสําหรับใชในงานเดินทอเครื่องปรับอากาศ - มีคาการดูดซึมน้ําและการซึมผานของไอน้ํา ซึ่งมาจากความชื้นในบรรยากาศ ที่ต่ํามาก - มีคาสัมประสิทธิ์ ของการนําความรอนที่ต่ํามากเพียง 0.038W/ mk - มีความคงทนตอ รังสีอัลตราโอเลต UV มาจากแสงอาทิตยไดดี - มีความยืดหยุนสูง สามารถโคงงอไปตามลักษณะทอไดงาย จากคุ ณ สมบั ติ ขั้ น ต น ที่ ก ล า วมาฉนวนยางดํ า จึ ง มี ค วามเป น ฉนวนที่ เ หมาะสมอย า งยิ่ ง สํ า หรั บ หุ ม ท อ น้ํ า เย็ น ของ เครื่องปรับอากาศระบบซิลเลอร (Chilled Water Cooling System) ซึ่งเปนระบบทําความเย็นขนาดใหญ และเหมาะที่ จะนํามาหุมทอน้ํายาเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน (Split Type) เพื่อลดการสูญเสียความเย็นโดยเปลาประโยชน ทําให เครื่องทํางานไดอยางเต็มประสิทธิภาพ และยังชวยปองกันการเกิดหยดเหงื่อ (Condensation) ซึ่งก็คือหยดน้ําที่กลั่นตัวจาก ความชื้นในอากาศไดอีกดวย แมในปจจุบันเรามักพบเห็นการนําฉนวนสีขาวมาใชในการหุมทอแอรมากขึ้นซึ่งฉนวนสีขาวนี้ มักจะถูกหุมมาพรอมกันชุดทอแบบสําเร็จ (ทอแบบพรอมใชงาน) เปนทอที่ผูผลิตไดใหมาพรอมกับชุดเครื่องปรับอากาศ

ภาพที่ 9.2 ฉนวนสีขาว ที่นิยมใหมาพรอมกับการซื้อเครื่องปรับอากาศ ในดานคุณสมบัติของฉนวนสีขาวและสีดําโดยภาพรวมแลวก็มีคุณภาพในการเปนฉนวนไดดีพอกัน แตในบางครั้งฉนวนสี ขาวก็อาจจะมีขอดอยกวาฉนวนสีดําอยูเล็กนอยเพราะมีความหนาของสวนที่เปนฉนวนที่นอยกวารวมไปถึงการคงรูป ของ ฉนวนยังทําไดไมดีเทากับฉนวนสีดํา การติดตั้งจึงตองหุมฉนวนดวยเทปไวนิล เพื่อปองกันการเสื่อมสภาพที่เกิดจากรังสียูวี วัตถุประสงคหลักของการหุมฉนวนใหกับทอแอร ในกรณีของแอรแบบแยกสวนที่ใชกันทั่วไปนั้นก็เพื่อปองกันการสูญเสีย ความเย็นโดยเปลาประโยชนในระหวางทางซึ่งยังทําใหแอรทํางานหนักขึ้นโดยไมจําเปนอีกดวยและยังปองกันการเกิดหยดน้ํา ที่ผิวทอ 137 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ทอน้ํายาแบบที่ตองหุมฉนวนไวทั้งสองทอ กรณีของการเดินทอน้ํายาที่ตองหุมฉนวนไวทั้งสองทอ จะเปนกรณีที่ใชกับเครื่องปรับอากาศแบบที่ติดตั้งอุปกรณ ลด แรงดันน้ํายาไวที่สวนของชุดคอยลรอน ซึ่งก็ไดแกเครื่องปรับอากาศแบบติดผนัง (Wall Type) เพราะวาแอรแบบติดผนังมี การออกแบบใหอุปกรณลดแรงดันน้ํายาเปนทอรูเข็ม (Cap Tube) ติดตั้งอยูดานในของชุดคอยลรอน (Condensing Unit ) จึงทําใหน้ํายาแอรที่ไหลออกมาจากแผงควบแนนเขาสูกระบวนการลดแรงดันทันที และเกิดระเหยขึ้นหลังจากที่ออกมาจาก อุปกรณลดแรงดัน ทอน้ํายาแอรแบบที่หุมฉนวนเพียงทอเดียว สําหรับแอร แบบตั้ง/แขวน (Floor/Ceiling Floor), แบบตูตั้งพื้น (Floor Standing Type) รวมทั้งแอรแบบติดเพดาน การติดตั้งฉนวนหุมทอ การติดตั้งฉนวนหุมทอแอรนั้น หากเปนทอแอรที่ไดหุมฉนวนมาพรอมแตแรก จะตองสวมฉนวนเขากับทอทองแดง กอนที่จะถูกตอเขากับตัวเครื่อง หลีกเลี่ยงการหุมใหกับทอ โดยใชวิธีการกรีดเพื่อผาฉนวนออกตามยาวเพราะคุณสมบัติของ ฉนวนจะเสียไป การซอมแซมฉนวนที่ฉีกขาดหรือการปะฉนวนที่ถูกกรีดตามแนวยาว ควรใชฉนวนชนิดเทปที่มาพรอมกับกาวในตัวติด เขาไปในจุดที่ฉีกขาด หรือใชบริเวณที่ฉนวนตางชนิดมาเจอกัน การพันเก็บงานทอแอรดวยเทปไวนิล ควรพันใหแนนแบบพอประมาณ ไมควรพันรัดแนนจนเกินไปเพราะหากพันแนน เกิน จะทําใหชองวางที่เปนชองอากาศภายในเนื้อฉนวนถูกบี้จนแบน และมีผลใหคุณสมบัติของการเปนฉนวนเสียไปจากเดิม ความสามารถในการปองกันการสูญเสียความเย็นอาจจะไมไดดีเทาที่ควร สังเกตงายๆหากทอแอรถูกพันรวบจนแนนเกินไป ในขณะที่แอรทํางานจะเห็นไดชัดวามีหยดน้ําจํานวนมากเกาะรอบ ๆ ผิวนอกของทอแอร ซึ่งก็เปนผลมากจากความเย็นจาก ทอไดผานฉนวนออกมา เพราะวาฉนวนถูกรัดจนคุณสมบัติความเปนฉนวนสวนหนึ่งเสียไป

138 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดเปนคุณสมบัติที่ดีของฉนวนทอเครื่องปรับอากาศ ก. มีคาสัมประสิทธิ์นําความรอนต่ํา ข. มีคาสัมประสิทธิ์นําความรอนสูง ค. มีการดูดซึมน้ําในอากาศสูง ง. ปองกันการเกิดหยดเหงื่อต่ํา 2. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการหุมฉนวนทอ ก. ตองานทอเสร็จแลวจากนั้นทําการหุมฉนวน ข. หุมฉนวนทอทองแดงกอนตอทอเขาสูระบบ ค. กรีดฉนวนยาวตลอดแนวเพื่อใหหุมไดงาย ง. รัดพันฉนวนใหแนนเพื่อกระชับทอ 3. หากพันเทปไวนิลแนนจะสงผลตอฉนวนอยางไร ก. ฉนวนจะเกาเร็ว ข. ฉนวนดูดกลืนความรอนไดดี ค. ฉนวนจะดูดความชื้นในอากาศมากขึ้น ง. ฉนวนสูญเสียความเปนฉนวนไปสวนหนึ่ง

139 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3

140 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบงาน ใบงานที่ 9.1 การปองกันความชืน้ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - หุมฉนวนทอเย็น บุฉนวนของทอสงลมเย็น ตลอดจนการปองกันไมใหความชื้น กลั่นตัวเปนหยด การอุดรอยตอตาม ผนังและตามที่แขวนหรือยึดทอได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 4 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกหุมฉนวนทอสารทําความเย็นและใชเทปพันทอใหเรียบรอยตามแบบที่กําหนด

141 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 9.1 การปองกันความชื้น 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. มีดตัดฉนวน

จํานวน 1 อัน

2. ทอทองแดง

จํานวน 1 ทอ

3. ฉนวน

จํานวน 1 อัน

4. กาวทายางอุตสาหกรรม

จํานวน 1 อัน

5. แปลง / พูกัน

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - เทปพันทอ

จํานวน 1 มวน

142 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การปองกันความชื้น ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. ตัดฉนวนจากมวนใหมีขนาดและมุมตาม

เตรียมวัดระยะของทอทองแดงที่จะ

ทอทองแดง

ทําการหุมฉนวนแลววาดแบบ

ขอควรระวัง

ออกมาเพื่อเตรียมฉนวนที่จะหุม

2. หุมฉนวนทอทองแดง

หุมฉนวนทอทองแดงใหเรียบรอย

3. ใชเทปพันทอพันฉนวนที่หุมอีกที

ใชเทปพันทอทองแดงที่หุมฉนวนให อยาพันเทปแนนจนเกินไป ฉนวน เรียบรอย

4. สงชิ้นงาน

อาจสูญเสียความเปนฉนวนได

สงชิ้นงาน

143 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การปองกันความชื้น 1.1 การใชเครื่องมือ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 การตัดฉนวน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 การหุมทอทองแดงดวยฉนวน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 การใชเทปพันทอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

144 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 การใชเครื่องมือ

คะแนนเต็ม 20

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง เหมาะสม ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ใชเครื่องมือไดคอนขางถูกตอง เหมาะสม ใหคะแนน 3 คะแนน - ใชเครื่องมือไมถูกตอง ไมเหมาะสม ใหคะแนน 1 คะแนน 1.2 การตัดฉนวน

- วัดความยาวทอทองแดง และตัดฉนวนไดถูกตอง ไดคะแนน 5 คะแนน

5

- วั ดท อ ทองแดงขาด/เกิ น 1-2 มิ ลลิ เมตร ตั ดฉนวนขาด/เกิ น 1-2 มิลลิเมตร ไดคะแนน 3 คะแนน - วัดทอทองแดงขาด/เกินตั้งแต 3 มิลลิเมตร ตัดฉนวนขาด/เกินตั้งแต 3 มิลลิเมตร ไดคะแนน 1 คะแนน 1.3 การหุมทอทองแดงดวยฉนวน

- หุมทอไดเรียบรอย ไมมีพื้นที่ยน หรือหุมไมสนิท ไดคะแนน 5 คะแนน

5

- หุ มท อ ไม เรี ย บร อ น มี พื้ นที่ ย น หรื อ หุ ม ไม สนิ ท 1-2 จุ ด/มิ ลลิ ม เตร ไดคะแนน 3 คะแนน - หุมทอไมเรียบรอน มีพื้นที่ยน หรือหุมไมสนิทตั้งแต 3 จุด/มิลลิมเตร ไดคะแนน 1 คะแนน 1.4 การใชเทปพันทอ

- พันทอไดเรียบรอยไมตึงเกินไป ไมมีพื้นที่ยน หรือพันไมสนิท ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- พันทอไมเรียบรอย มีพื้นทีย่ น หรือหุมไมสนิท 1-2 จุด/มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - พันทอไมเรียบรอย มีพื้นทีย่ น หรือหุมไมสนิทตั้งแต 3 จุด/มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน ครบถวน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบตั ิงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํา ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 25

145 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

146 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 10 0921730510 การบํารุงรักษาเครื่อง (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - บํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศได

2. หัวขอสําคัญ - ขั้นตอนการบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศ

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

147 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรา งหลั กสู ตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับ การฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารั บ การฝ กในโมดู ล ที่ครูฝกกําหนดได

148 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

7. บรรณานุกรม นุกูล แกวมะหิงษ. 2558. เครื่องปรับอากาศ (ภาคทฤษฎี). กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมอาชีวะ. มงคล พูนโตนด. 2557. เครือ่ งทําความเย็น. นนทบุรี : ศูนยหนังสือเมืองไทย. สุธิกานต วงษเสถียร. 2549. ระบบไฟฟาควบคุม เครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศ. ปทุมธานี : สกายบูกส.

149 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 10 ขั้นตอนการบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศ การบํารุงรักษาเครื่องเปนสิ่งจําเปนที่ตองทําเพื่อใหเครื่องปรับอากาศสามารถทํางานไดเต็มประสิทธิภาพ และสามารถใชงานไดยาวนาน โดยการบํารุงรักษาเครื่องแบงออกเปน 2 สวนดังนี้ 1. แฟนคอยลยูนิต (คอยลเย็น) 1) เปดหนากากออก ใชมือทั้งสองขางดึงแผนกรองอากาศออกมา

2) ขันสกรูที่ยึดตัวรับสัญญาณรีโมทคอนโทรลเครื่อง ออกจากหนากาก

3) ขันสกรูที่ยึดหนากากคอยลเย็น

150 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

4) ถอดฝาครอบกลางออก

5) ขันสกรูที่ล็อกถาดน้ําทิ้ง ถอดมอเตอรสวิงออก ปลดล็อกถาดน้ําทิ้ง ดึงออกมาทําความสะอาด

6) ปดฝาครอบวงจรไฟฟา ใชถุงพลาสติกครอบใหมิดชิด

151 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

7) ขึงผาพลาสติกคลุมใตแอรใหพาดลงมาในถังพลาสติก เพื่อไมใหน้ํากระเด็นติดกําแพงหรือหยดลงพื้น หรือ เลือกอีกหนึ่งเทคนิคใหหาแผนฟวเจอรบอรด หรือ แผนผาใบรองใตแอร ใหน้ําที่ใหลจากแอรลงมา เอนลาด ออกไปดานนอก ซึ่งวิธีหลังนี้ใชไดในกรณีแอรติดตั้งอยูเหนือหนาตาง

8) ฉีดลางดวยปมน้ําแรงดันสูงใหทั่วแผงคอยลเย็น

9) ใชโบลวเวอรเปาแผงคอยลและแผงไฟฟาใหแหงสนิท

152 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

10) ฉีดน้ําลาง ใชแปรงและผงซักฟอกขัดแผนกรองอากาศ ถาดน้ําทิ้ง หนากาก ฝาครอบกลาง แผนเกล็ดกระจาย ลม จากนั้นใชโบลวเวอรเปาใหแหงสนิท

11) ประกอบชิ้นสวนกลับเขาที่ โดยเริ่มจากใสแผนเกล็ดกระจายลมและสวนอื่น ๆ

หมายเหตุ สับคัทเอาท ตัดไฟ ทุกครั้งกอนลางทําความสะอาด 2. คอนเดนซิ่งยูนิต (คอยลรอน) 1) ถอดสวนโครงของคอยลรอนออก และแยกพัดลมมอเตอรออกมาทําความสะอาด

2) ใชแผนพลาสติกคลุมสวนประกอบที่เปนอุปกรณไฟฟา เพื่อปองกันความเสียหาย กอนใชน้ําฉีดทําความ สะอาด 153 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

3) ใชเครื่องปมน้ําแรงดันสูง ฉีดน้ําทําความสะอาดบริเวณแผงและครีบของคอยลรอนใหสะอาด

4) ใชหวีแตงฟนคอยลปดใหกลับมาตั้งฉากกับทอคอยลรอน 5) หลังจากทําความสะอาดทั้งหมดแลว ควรใชเครื่องเปาลมเปาใหอุปกรณตาง ๆ แหงสนิทกอนประกอบเขา ดังเดิม หมายเหตุ สับคัทเอาท ตัดไฟ ทุกครั้งกอนลางทําความสะอาด

154 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. การคลุมมอเตอรดวยถุงพลาสติกมีประโยชนดานใดมากที่สุด ก. ปองกันฝุนละอองติดแผงวงจร ข. ชวยลดปญหาสายไฟที่โยงไปมา ค. ปองกันความชื้นของน้ําเขาสูแผงวงจร ง. ชวยแยกระบบวงจรไฟฟาและสารทําความเย็น 2. แผนกรองอากาศมีหนาที่อะไร บํารุงรักษาอยางไร ก. กรองฝุนละอองภายในหอง ทําความสะอาดโดยใชปมน้ําแรงดันสูงฉีด ข. กรองฝุนละอองนอกกําแพงหอง ทําความสะอาดโดยใชปมน้ําแรงดันสูงฉีด ค. กรองความชื้นในอากาศ ทําความสะอาดโดยเคาะความชื้นออกเบา ๆ ง. กรองความรอน ทําความสะอาดโดยเคาะฝุนออกเบา ๆ 3. การเปาลมหลังทําความสะอาดหรือลางดวยการฉีดน้ําแรงดันสูงมีประโยชนอยางไร ก. ชวยทําใหเครื่องปรับอากาศทํางานไดเหมือนซื้อใหม ข. ชวยใหแผงวงจรและอุปกรณตาง ๆ แหง ลดปญหาไฟลัดวงจร ค. ชวยใหสารทําความเย็นบริสุทธ ไมมีน้ําเจือปน ง. ชวยใหมีมาตรฐานในการบํารุงรักษา

155 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3

156 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบงาน ใบงานที่ 10.1 การบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - บํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําความสะอาดเครื่องปรับอากาศทั้งภายในและภายนอก

157 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 10.1 การบํารุงรักษาเครือ่ งปรับอากาศ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เครื่องปรับอากาศ

จํานวน 1 เครื่อง

2. ชุดเครื่องมือชางไฟฟา (มัลติมิเตอร คลิปแอมป ไขควง คีมชางไฟฟา ฯลฯ)

จํานวน 1ชุด

3. ชุดเครื่องมือชางเครื่องปรับอากาศ (แมนิโฟลดเกจ ถังน้ํายาสารทําความเย็น ปมสุญญากาศ ฯลฯ)

จํานวน 1ชุด

4. ชุดลางเครื่องปรับอากาศ (ปมฉีดน้ําแรงดันสูง โบลวเวอร สายยาง ผาใบรับน้ํา ฯลฯ)

จํานวน 1ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 158 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. เปดเครื่องปรับอากาศ และสังเกตการ

เปดเครื่องปรับอากาศ สังเกตการ

ทํางานของเครื่องปรับอากาศ

ทํางานของแฟนคอยลยูนิตและ

ขอควรระวัง

คอนเดนซิ่งยูนิต วาทํางานปกติ หรือไม ถาทํางานปกติดี ให ดําเนินการขั้นตอไป

2. OFF เซอรกิตเบรกเกอร

OFF เซอรกิตเบรกเกอรหรือ

ตรวจสอบใหแนใจวาไมมีกระแสไฟ

อุปกรณปองกันเครื่องปรับอากาศ

ในระบบขณะใชน้ําฉีดลาง เครื่องปรับอากาศ อันตรายจาก ไฟรั่วอาจทําใหเสียชีวิตได

3. ถอดชิ้นสวนแฟนคอยลยูนิต

ถอดชิ้นสวนแฟนคอยลยูนิต (หนากาก ฝาครอบกลาง ถาดน้ําทิ้ง แผนเกล็ดกระจายลม)

4. นําถุงพลาสติดคลุมแผงวงจรไฟฟา

นําถุงพลาสติกคลุมแผงวงจรไฟฟา

159 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

5. ขึงผาพลาสติกใตแอรปองกันน้ํากระเด็น

ขึงผาพลาสติกใตแอรใหพาดลงมา

หยดลงพื้น

ในถังพลาสติกเพื่อไมใหน้ํากระเด็น หยดลงพื้น

6. ฉีดลางคอยลเย็น

ฉีดลางดวยปมน้ําแรงดันสูงใหทั่ว แผงคอยลเย็น

7. ใชโบลวเวอรเปาใหทั่วแผงคอยลเย็น

ใชโบลวเวอรเปาแผงคอยลเย็นและ แผงไฟฟาใหแหงสนิท

8. ฉีดน้ําลางอุปกรณตาง ๆ แลวใชใชโบลว

ฉีดน้ําลางหนากาก แผนกรอง

เวอรเปาใหแหงสนิท

ถาดน้ําทิ้ง ฝาครอบกลาง และ แผนเกร็ดกระจายลม ใชโบลวเวอร เปาใหแหงสนิท (อยาลืมแกะ ถุงพลาสติกที่คลุมแผงวงจรออก)

160 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

9. ประกอบชิ้นสวนแฟนคอยลยูนิต

ประกอบชิ้นสวนแฟนคอยลยูนิต

กลับเขาที่

กลับเขาที่

10. เปดฝาคอยลรอนนําถุงพลาสติกคลุม

ขันนอตที่ฝาปดบนคอยลรอน แลว

แผงวงจรไฟฟา และพัดลมคอยลรอน

เปดฝาบนคอยลรอนนําถุงพลาสติก

ขอควรระวัง

คลุมแผงวงจรไฟฟาที่คอยลรอนและ ที่พัดลมคอยลรอนใหเรียบรอย

11. ฉีดลางแผงคอยลรอน

ฉีดลางแผงคอยลรอนดวยปมน้ํา

ฉีดลางจากดานในออกสูดานนอก

แรงดันสูง

เสมอ

12. ใชโบลวเวอรเปาแผงคอยลรอนและแผง ใชโบลวเวอรเปาแผงคอยลรอนและ ไฟฟา

แผงไฟฟาใหแหงสนิท (อยาลืมแกะ ถุงพลาสติกที่คลุมแผงวงจรออก)

161 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 13. ปดฝาคอยลรอน

คําอธิบาย ปดฝาคอยลรอนและขันนอตให เรียบรอย

14. เปดเครื่องเพื่อทดสอบระบบ

ON เซอรกิตเบรกเกอรแลวกดรีโมท เครื่องปรับอากาศเพื่อทดสอบระบบ ตาง ๆ ในเครื่องปรับอากาศ

162 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การบํารุงรักษาเครื่อง 1.1 การถอดประกอบเครื่อง (แฟนคอยลยูนิต)

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 การถอดประกอบเครื่อง (คอนเดนซิ่งยูนิต)

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 การลางแฟนคอยลยูนิต

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 การลางคอนเดนซิ่งยูนิต

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.5 การทดสอบเครื่อง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

163 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน

คะแนนเต็ม 25

1.1 การถอดประกอบเครื่อง

- การถอดประกอบแฟนคอยลยูนิตถูกตอง เรียบรอย

(แฟนคอยลยูนิต)

ใหคะแนน 5 คะแนน - การถอดประกอบแฟนคอยลยูนิตไมถกู ตอง ไมเรียบรอย ชิ้นสวน นอต

5

ประกอบ เสียหาย 1-2 ชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน - การถอดประกอบแฟนคอยลยูนิตไมถกู ตอง ไมเรียบรอย ชิ้นสวน นอต ประกอบ เสียหายตั้งแต 3 ชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน 1.2 การถอดประกอบเครื่อง

- การถอดประกอบคอนเดนซิ่งยูนิตถูกตอง เรียบรอย

(คอนเดนซิ่งยูนิต)

ใหคะแนน 5 คะแนน - การถอดประกอบคอนเดนซิ่งยูนิตไมถูกตอง ไมเรียบรอย ชิ้นสวน นอต

5

ประกอบ เสียหาย 1-2 ชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน - การถอดประกอบคอนเดนซิ่งยูนิตไมถูกตอง ไมเรียบรอย ชิ้นสวน นอต ประกอบ เสียหายตั้งแต 3 ชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน 1.3 การลางแฟนคอยลยูนิต

- ลางแฟนคอยลยูนิต สะอาด เรียบรอย ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ลางแฟนคอยลยูนิต ไมสะอาด ฟนคอยลลม 1-2 จุด ใหคะแนน 3 คะแนน - ลางแฟนคอยลยูนิต ไมสะอาด ฟนคอยลลมตั้งแต 3 จุด ใหคะแนน 1 คะแนน 1.4 การลางคอนเดนซิ่งยูนิต

- ลางคอนเดนซิ่งยูนิต สะอาด เรียบรอย ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ลางคอนเดนซิ่งยูนิต ไมสะอาด ฟนคอยลลม 1-2 จุด ใหคะแนน 3 คะแนน - ลางคอนเดนซิ่งยูนิต ไมสะอาด ฟนคอยลลมตั้งแต 3 จุด ใหคะแนน 1 คะแนน 1.5 การทดสอบเครื่อง

- ทดสอบเปดเครื่องแลวเครื่องปรับอากาศทํางานเปนปกติ ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ทดสอบเปดเครื่องแลวเครื่องปรับอากาศขัดของ 1 จุด ใหคะแนน 3 คะแนน - ทดสอบเปดเครื่องแลวเครื่องปรับอากาศขัดของตั้งแต 2 จุด ใหคะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน ครบถวน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบตั ิงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

164 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ลําดับที่

รายการประเมิน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

เกณฑการใหคะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํา

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 30

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 21 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

165 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 166 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ปกหลัง

167 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.