vyo
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
คูมือผูรับการฝก 0920164150301 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1
ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝกที่ 1 09215101 ความปลอดภัยเบื้องตนในการปฏิบตั ิงานไฟฟา
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
คํา นํา
คูมือผูรับการฝก สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 โมดูล 1 ความปลอดภัยเบื้องตนในการปฏิบัติงานไฟฟา เปน สวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) นี้ ไดพัฒนาขึ้นเพื่อ ใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 ซึ่งได ดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตาม ความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครู ฝ กได ใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ เกี่ย วกับกฎและขอปฏิบัติดานความ ปลอดภัย ในการทํางาน สัญลักษณความปลอดภัย วิธีใ ชเครื่อง อุปกรณปองกันสวนบุคคล อันตรายของไฟฟา การปองกัน กระแสฟาดูด และวิธีปฐมพยาบาล เพื่อติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะให เปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรีย นรูไ ด ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแ ก ผูรับการฝกอบรม และตองการใหผู รับ การฝ กอบรมเกิ ดการเรีย นรูด วยตนเอง การฝกปฏิบัติ จะดํ าเนิ น การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตอ งการ โดยยึดความสามารถของผู รั บการฝ กเป นหลัก การฝกอบรมในระบบดัง กล าว จึงเปนรูป แบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชใ นการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้การสงมอบการฝกสามารถดําเนินการไดทั้ง รูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอมตามความสะดวกของ ตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมี ครู ฝ ก หรื อ ผู ส อนคอยให คํา ปรึก ษา แนะนํ า และจัด เตรี ย มการฝ กภาคปฏิบั ติ รวมถึ ง จั ด เตรีย มและดํ าเนิ น การทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดม ากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคาใชจ ายในการพั ฒ นาฝมื อแรงงานใหแ ก กําลั งแรงงานในระยะยาวจึ งถือ เป น รูป แบบการฝ ก ที่ มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคตซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใชใ น การพัฒนาฝมือแรงงานจะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถ เขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
เรื่อง
สารบัญ
หนา
คํานํา
ก
สารบัญ
ข
ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก
1
โมดูลการฝกที่ 1 09215101 ความปลอดภัยเบื้องตนในการปฏิบัติงานไฟฟา หัวขอวิชาที่ 1 0921510101 กฎและขอปฏิบัติดานความปลอดภัยในการทํางาน หัวขอวิชาที่ 2 0921510102 สัญลักษณความปลอดภัยทางไฟฟา หัวขอวิชาที่ 3 0921510103 เครื่องมือและอุปกรณปองกันสวนบุคคล หัวขอวิชาที่ 4 0921510104 การปองกันอันตรายจากไฟฟา หัวขอวิชาที่ 5 0921510105 การปฐมพยาบาลผูถูกกระแสไฟฟาดูดเบื้องตน คณะผูจัดทําโครงการ
ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
14 26 34 44 54 63
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้
1. รายละเอียดของคูม ือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด วย หัวขอวิชาที่ผูรับการฝกตองเรีย นรูแ ละฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูลและรหัสหัวขอวิชาเป นตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรีย นรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนํา ความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑม าตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรีย นรูข องผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรีย นรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบีย น เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผา นอุป กรณอิเล็กทรอนิก สหรือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขา ใช ง านระบบ แบงสวนการใชง านตามความรั บผิ ด ชอบของผู มีส ว นได ส ว นเสีย ดั ง ภาพในหน า 2 ซึ่งรายละเอีย ดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ในคูมือผูรับการฝก จะเริ่ม ตนที่ ค. ผังการฝกอบรม เพื่อให สอดคลองกับการนําคูมือผูรับการฝกไปใช จึงละเวน ก. ผังการจัดเตรียมระบบ และ ข. ผังการเปดรับสมัครและคัด เลือก ผูรับการฝก ค. ผังการฝกอบรม
3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิ บั ติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่อ อิเ ล็ก ทรอนิ กส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม 4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถั ดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ผูรับการฝกดาวนโหลดแอปพลิเคชั น DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวนโหลดแอปพลิ เ คชั น สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหาแอป พลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิ เคชั น DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ
5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
- ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถั ดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด วยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการ ฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพือ่ ใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70
เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 6
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตาม เกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว 4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก
7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก
8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาทีต่ รวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถาไมครบ จะไมจบหลักสูตรแตได รับการรับ รองความสามารถบางโมดู ลในรายการโมดูล ที่สํา เร็ จเท า นั้ น ซึ่งสามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ
9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920164150301
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุม ดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม เพื่อให มีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางดานชางไฟฟาอุตสาหกรรมไดอยางปลอดภัย 1.2 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการใชเครื่องมือวัดทางไฟฟาและเครื่องมืออุปกรณปองกันสวนบุคคล 1.3 มีความรูเกี่ยวกับทฤษฎีไฟฟา 1.4 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการอานแบบ-เขียนแบบวงจรไฟฟาอุตสาหกรรม 1.5 มีความรูเกี่ยวกับหลักการทํางานของอุปกรณในระบบไฟฟา มาตรฐานสายไฟฟา ขอกําหนดในการติดตั้ง และการเดินสายไฟฟา 1.6 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการตอสายไฟฟา 1.7 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายรอยทอโลหะ และทอพีวีซี 1.8 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายภายในตูควบคุม 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีแ ละภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนาฝมื อ แรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 78 ชั่วโมง เนื่องจากเปนการฝ กที่ขึ้ นอยู กับพื้ น ฐานความรู ทักษะ ความสามารถและความพรอมของผูรับ การฝกแต ล ะคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพ รอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวใ นหลักสูตรได หนวยฝกจึง ตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบันพัฒนาฝมือ แรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 8 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 8 โมดูล 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 4.3 ผูรับการฝ กที่ผา นการประเมิ นผลหรือผา นการฝก ครบทุ กหนวยความสามารถ จะไดรั บวุฒิบัต ร วพร. ชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1
11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 1 1. ชื่อหลักสูตร
รหัสหลักสูตร 0920164150301 2. ชื่อโมดูลการฝก ความปลอดภัยเบื้องตนในการปฏิบัติงานไฟฟา รหัสโมดูลการฝก 09215101 3. ระยะเวลาการฝก รวม 2 ชั่วโมง 30 นาที ทฤษฎี 2 ชั่วโมง 30 นาที ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุม ดา นความรู ทักษะ และเจตคติแ กผูรั บการฝ ก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. บอกกฎและขอปฏิบัติดานความปลอดภัยในการทํางานได 2. บอกความหมายของสัญลักษณความปลอดภัยได 3. บอกวิธีใชเครื่องมือและอุปกรณปองกันสวนบุคคลได 4. อธิบายอันตรายของไฟฟาได 5. อธิบายวิธีปองกันและชวยเหลือผูถูกกระแสไฟฟาดูดได 6. อธิบายวิธีปฐมพยาบาลผูถูกกระแสไฟฟาดูดได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ - มีความรูพื้นฐานงานไฟฟาเบื้องตน หรือผานการฝกอบรมไฟฟาเบื้องตน และ การชวยเหลือผูถูกไฟฟาดูดจากหนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได ผูรับการฝก 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถ และใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัว ขอวิชา (ชั่วโมง : นาที) ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. บอกกฎและขอปฏิบัติดาน หัวขอที่ 1 : กฎและขอปฏิบัติดานความปลอดภัย 0:30 0:30 ความปลอดภัยในการทํางานได ในการทํางาน 2. บอกความหมายของสัญลักษณ หัวขอที่ 2 : สัญลักษณความปลอดภัยทางไฟฟา 0:15 0:15 ความปลอดภัยได 3. บอกวิธีใชเครื่องมือและ หัวขอที่ 3 : เครื่องมือและอุปกรณปองกันสวนบุคคล 0:30 0:30 อุปกรณปองกันสวนบุคคลได สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1
12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
4. อธิบายอันตรายของไฟฟาได หัวขอที่ 4 : การปองกันอันตรายจากไฟฟา 5. อธิบายวิธีปองกันและชวยเหลือ ผูถูกกระแสไฟฟาดูดได 6. อธิบายวิธีปฐมพยาบาล หัวขอที่ 5 : การปฐมพยาบาลผูถูกกระแสไฟฟาดูด ผูถูกกระแสไฟฟาดูดได เบื้องตน รวมทั้งสิ้น
13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
0:30
-
0:30
0:45
-
0:45
2:30
-
2:30
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1
0921510101 กฎและขอปฏิบัติดานความปลอดภัยในการทํางาน (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - บอกกฎและขอปฏิบัติดานความปลอดภัยในการทํางานได
2. หัวขอสําคัญ 1. กฎและขอปฏิบัติดานความปลอดภัยในการทํางาน 2. ขอปฏิบัตดิ านความปลอดภัยในการปฏิบัติงานทางไฟฟา 3. กฎหมายเกีย่ วกับความปลอดภัย
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก
4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ และคณะ. 2558. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. พุฒิพงศ ไยราช. 2558. การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. กรุงเทพฯ : เอมพันธ. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการดานความปลอดภัยฯ เกี่ยวกับไฟฟา พ.ศ. ๒๕๕๘. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.oshthai.org/index.php?option=com_content&view=article&id= 218%3A-m-m-s&catid=1%3Anews-thai&Itemid=201
15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 กฎและขอปฏิบัติดานความปลอดภัยในการทํางาน ไฟฟาเปนพลังงานที่มีทั้งประโยชนและโทษ ผูปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟาจึงตองมีความระมัดระวังเพื่อใหสามารถปฏิบัติงาน ไดอยางปลอดภัย โดยควรปฏิบัติตามกฎและขอปฏิบัติดานความปลอดภัย ดังตอไปนี้ 1. กฎและขอปฏิบัติดานความปลอดภัยในการทํางาน กฎทั่วไปเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน เพื่อความปลอดภัยในการทํางานมีกฎโดยทั่วไปที่ผูปฏิบัติงานควรทราบ ดังนี้ 1) ปฏิบัติตามระเบียบ คําแนะนําตาง ๆ อยางเครงครัด ไมฉ วยโอกาสหรือละเวน ถาไมทราบไมเขาใจใหถาม เจาหนาที่ความปลอดภัยหรือหัวหนางาน 2) อุ ป กรณ ก ารติ ด ตั้ ง ทางไฟฟ า ต อ งเป น ชนิ ด ที่ ไ ด รั บ การรั บ รองจากมาตรฐานต า ง ๆ ที่ น า เชื่ อ ถื อ เช น สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ อุตสาหกรรม (สมอ.), UL, VDE และ IEC เปนตน โดยจะแสดงสัญลัก ษณ เครื่องหมายมาตรฐานอุปกรณไฟฟาในประเทศตาง ๆ ดังภาพที่ 1.1
มอก. มาตรฐานไทย
มาตรฐานอเมริกา
มาตรฐานเยอรมัน
มาตรฐานยุโรป
ภาพที่ 1.1 เครื่องหมายมาตรฐานอุปกรณไฟฟาประเทศตาง ๆ 3) ตรวจสอบอุปกรณติดตั้งทางไฟฟาและเครื่องใชไฟฟาเปนประจํา อยางนอยปละ 1 ครั้ง 4) เมื่อพบเห็นสภาพการทํางานที่ไมปลอดภัย หรือพบวาเครื่องมือเครื่องใชชํารุดไมอยูใ นสภาพที่ปลอดภั ย ถาแกไขดวยตนเองได ใหดําเนินการแกไขทันที ถาแกไขไมไดใหรายงานใหผูบังคับบัญชาทราบโดยเร็ว 5) สังเกตและปฏิบัติตามปายหามปายเตือนอยางเครงครัด 6) หามบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขาไปบริเวณทํางานที่ตนไมมีหนาที่เกี่ยวของ 7) อยาทํางานในที่ลับตาคนเพียงผูเดียวโดยไมมีใครทราบ โดยเฉพาะการทํางานหลังเวลาทํางานปกติ 8) แตงกายใหเรียบรอยรัดกุม และหามถอดเสื้อในขณะที่ปฏิบัติงานตามปกติ 9) ใสหมวกนิรภัยตลอดเวลาทํางานในสภาพปกติที่สามารถใสได 10) หามใสรองเทาแตะ ตองใสรองเทาหุมสนตลอดเวลาทํางานในสภาพปกติที่สามารถใสได 11) หามหยอกลอเลนกันในขณะปฏิบัติงาน 12) เมื่อรางกายเปยกชื้น หามแตะตองสวนที่มีไฟฟาโดยเด็ดขาด 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
13) หามเสพของมึนเมา และเขามาในสถานที่ปฏิบัติงานในลักษณะมึนเมาโดยเด็ดขาด 14) หามปรับแตงหรือซอมแซมเครื่องจักรกลตาง ๆ ที่ตัวเองไมมีหนาที่หรือไมไดรับอนุญาต 15) ใชอุปกรณปองกันตาง ๆ และรักษาอุปกรณเหลานั้นใหอยูในสภาพที่ดีอยูเสมอ 16) ในการซอมแซมอุปกรณตาง ๆ ทางไฟฟา ตองใหชางไฟฟาหรือผูที่รูวิธีการเทานั้นปฏิบัติหนาที่นี้ 17) หากไดรับบาดเจ็บ ตองรายงานใหหัวหนางานและเจาหนาที่ความปลอดภัยทราบ เพื่อสอบถามสาเหตุหาวิธีปองกัน แจงใหผูปฏิบัติงานอื่น ๆ ทราบ และรับการปฐมพยาบาลเพราะหากปลอยไวอาจเกิดอันตรายในภายหลัง 18) หากหัวหนางานเห็นวาผูใตบังคับบัญชาไมอยูในสภาพที่จะทํางานไดอยางปลอดภัย ตองสั่งใหหยุดพักทํางานทันที 2. ขอปฏิบัติดานความปลอดภัยในการปฏิบัติงานทางไฟฟา เพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงานทางไฟฟา มีขอปฏิบัติที่ควรทราบดังนี้ 1) การเดิน สายไฟและติ ดตั้ง อุ ป กรณ ไฟฟ า ตองเปน ไปตามกฎการเดิ น สายและติ ด ตั้ งอุ ปกรณ ไฟฟา ของ การไฟฟานครหลวง และการไฟฟาสวนภูมิภาค หรือมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาที่การไฟฟาทั้งสองยอมรับ 2) อยาซอมแซมแกไขความชํารุดหรือขัดของของไฟฟาดวยตนเองหากไมมีความรู 3) ยกสะพานไฟ (Cut Out) ออกกอนปฏิบัติงานเสมอ 4) กอนปฏิบัติงานควรตรวจสอบเครื่องมือและอุปกรณตาง ๆ ที่ใชในงานไฟฟา ไมควรใชอุปกรณหรือเครื่องมือที่ชํารุด 5) มีสมาธิ และไมประมาทในขณะปฏิบัติงาน 6) อยาใชเครื่องมือที่ไมมีฉนวนหุมตรงที่จับ เชน ไขควง และเครื่องวัดไฟฟา เปนตน 7) อยายืนบนพื้นคอนกรีตดวยเทาเปลาขณะปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟา ควรใชผายางรองพื้นหรือสวมใสรองเทา 8) อยาใชขอตอแยกหรือเสีย บปลั๊กหลายทาง เนื่องจากเปนการใชกระแสไฟเกินกําลัง อาจทําใหสายรอ นและ เกิดไฟไหม 9) อยาใชวัสดุอื่นแทนฟวส หรือใชฟวสเกินขนาด 10) อยานําอุปกรณที่ใชไฟฟากระแสตรงไปใชกับไฟฟากระแสสลับ 11) อยา พยายามใชไ ฟฟา หรือ เปด สวิต ชเ ครื่อ งใชไ ฟฟา เชน พัด ลมระบายอากาศในบริเ วณที่ม ีไ อของ สารระเหยหรือกาซไวไฟปกคลุมอยูเต็มพื้นที่ เชน กาซหุงตม ทินเนอร หรือไอน้ํามันเบนซิน เปนตน 12) หากมีความจําเปน ตองใชอุปกรณที่มีการเสีย บปลั๊กทิ้งไวนาน ๆ โดยไมมีผูดูแ ล ใหหลีกเลี่ย งการใชงาน ในบริเวณที่มีวัสดุที่ติดไฟไดงายอยูใกล ๆ
17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
13) เดินสายไฟชั่วคราวอยางระมัดระวัง เพื่อปองกันการเกิดอันตราย 14) หากเดินสายไฟติดรั้วสังกะสีหรือเหล็ก ตองใชวิธีรอยสายไฟในทอเพื่อปองกันอันตรายจากไฟฟารั่ว 15) อยาปลอยใหสายเครื่องใชไฟฟาลอดใตเสื่อหรือพรม เพราะเปลือกหุม หรือฉนวนของสายไฟอาจแตกและ ทําใหเกิดไฟช็อตไดงาย 16) อยา ใหเ ครื่อ งใชไ ฟฟา เปย ก เพราะน้ํา จะเปน สะพานใหไ ฟฟา รั่ว ไหลออกมาได สวิต ชแ ละสะพานไฟ (Cut Out) ทุกแหงตองสามารถปด-เปดไดสะดวก 17) ในการเดินสายไฟ หรือลากสายไฟไปใชงานนอกอาคารเปนการชั่วคราวหรือถาวร นอกจากอุปกรณไฟฟ าและ สายไฟฟาตองเปนชนิดที่กันน้ําและทนทานตอสภาวะแวดลอมทางกลและแสงแดดแลว วงจรไฟฟา หรือ เตารับนั้นตองมีเครื่องตัดไฟรั่วดวยจึงจะปลอดภัย 18) ในกรณีที่จําเปนตองปฏิบัติงานในบริเวณที่มีคนพลุกพลาน หรือมีการปฏิบัติงานอื่น ๆ รวมดวยตองแขวนป าย หรือเขียนปายแสดงการงดใชไฟฟาไวใหมองเห็นชัดเจนทุกครั้งกอนเริ่มการปฏิบัติงาน 19) เมื่อจําเปนตองปฏิบัติงานในบริเวณที่ไมสามารถตัดไฟออกได ตองกั้นบริเวณหรือปองกันไมใหผูไมเกี่ย วของ เขาใกลได 20) หลังจากหยุดปฏิบัติงานไปชั่วคราว เชน พักเที่ยง เปนตน เมื่อกลับมาปฏิบัติงานตอ ตองตรวจสอบสวิตชตัดตอน สะพานไฟ ตลอดจนเครื่องหมายตาง ๆ ที่ทําไววาอยูในสภาพเดิม กอนปฏิบัติงานตอไป 21) การปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟาแรงสูง ควรใชเครื่องชวยปองกันไฟฟาใหมากขึ้นกวาปกติ เชน ใชเสื่อยางฉนวนปูพื้น สวมถุงมือฉนวน และปลอกแขนฉนวน เปนตน กอนการปฏิบัติงานทุกครั้ง 22) สังเกตสิ่งผิดปกติจากสี กลิ่น เสียง และการสัมผัสอุณหภูมิ รวมทั้งการใชเครื่องมืออยางงายในการตรวจสอบ เชน ไขควงลองไฟ เปนตน - การสังเกตสี เชน สีของสายไฟเปลี่ยนไป เปนตน - การสังเกตความผิดปกติของกลิ่น เชน กลิ่นเหม็นไหม รอยเขมาหรือรอยไหม เปนตน - การสัมผัสอุณหภูมิ เชน เมื่อจับสวิตชไฟหรือเตาเสียบแลวรูสึกอุน เปนตน ความผิดปกติที่เกิดขึ้นดังกลาวอาจเกิดจากจุดตอตาง ๆ ไมแ นน เตาเสีย บ เตารับหลวม เปนตน สามารถ ตรวจสอบเบื้องตนได โดยการใชไขควงลองไฟทดสอบไฟรั่วในบริเวณที่เกิดความผิดปกติ แลวสังเกตที่ไขควง วามีไฟติดหรือไมดังภาพที่ 1.2 หากหลอดไฟในไขควงสวางขึ้น แสดงวาบริเวณดังกลาวมีการรั่วของกระแสไฟ
18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ภาพที่ 1.2 การใชไขควงลองไฟทดสอบไฟรั่ว 23) เมื่อไฟฟาที่จายมาจากการไฟฟาดับ ใหดับสวิตชเครื่องใชไฟฟาทุกชนิดที่เปดคางอยูทันที เพื่อปองกันสาเหตุ ที่จะเกิดขึ้น ดังนี้ - เครื่องใชไฟฟาชํารุดจากแรงดันที่ผิดปกติข ณะไฟฟาดับไมสนิท แรงดันอาจต่ํากวาปกติ หรือขณะที่ เริ่มมีไฟฟากลับเขามาใหม แรงดันอาจมากเกินปกติ - อุปกรณตัดวงจรอาจทํางานอีกครั้งเมื่อมีไฟกลับเขามา และมีเครื่องใชไฟฟาที่กินไฟในการเริ่มทํางานมาก เปดใชงานอยู จะทําใหเกิดไฟดับอีกครั้งได - อันตรายจากเครื่องใชไฟฟาที่มีความรอนติดคางอยูในขณะที่มีไฟกลับเขามาโดยไมรูตัว 3. กฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงานไฟฟา เพื่อใหการปฏิบัติงานทางไฟฟามีมาตรฐานความปลอดภัยที่ชัดเจนและสามารถบังคับใชได กระทรวงแรงงานจึงออก กฎกระทรวงว าด วย “กําหนดมาตรฐานในการบริ หาร จัดการ และดําเนิน การดา นความปลอดภัย อาชีวอนามั ย และ สภาพแวดลอมในการทํา งานเกี่ย วกับไฟฟา พ.ศ. 2558” และเผยแพรใ หนายจาง ผูปฏิบัติงาน และผูมีสวนเกี่ย วขอ ง ไดศึกษาทําความเขาใจ ทั้งนี้ สวนที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงานทางไฟฟา แบงออกเปน 4 หมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 บททั่วไป 1. ใหนายจางจัดใหมีขอบังคับเกี่ยวกับการปฏิบัติงานดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอม ในการทํางานเกี่ยวกับไฟฟา โดยใหมีมาตรฐานไมต่ํากวาที่กําหนดไวในกฎกระทรวงนี้เพื่อใหลูกจางปฏิบัติตาม 2. ใหนายจางจัดใหมีการฝกอบรมใหกับลูกจางซึ่งปฏิบัติงานเกี่ย วกับไฟฟาใหมีความรูความเขาใจ และทักษะ ที่จําเปนในการทํางานอยางปลอดภัย ตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข ที่อธิบดีประกาศกําหนด 3. ใหนายจางจัดใหมีและเก็บรักษาแผนผังวงจรไฟฟาที่ติดตั้งภายในสถานประกอบกิจการทั้งหมดซึ่งไดรับการรับรอง จากวิศวกรหรือการไฟฟาประจําทองถิ่นไวใหพนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบ หากมีการแกไขเพิ่มเติมหรือ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมตองดําเนินการแกไขแผนผังนั้นใหถูกตอง 19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
4. ใหนายจางจัดใหมีแ ผนปายที่มีตัวอักษรหรือสัญลักษณเตือนใหระวังอันตรายจากไฟฟาที่มองเห็นไดชัดเจน ติดตั้งไวโดยเปดเผยในบริเวณที่อาจเกิดอันตรายจากกระแสไฟฟา ทั้งนี้ ใหเปนไปตามแบบที่กําหนดไวใน มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมหรือมาตรฐานอื่นตามที่อธิบดีประกาศกําหนด 5. หา มนายจา งใหลูก จา งซึ่ง ปฏิบัติง านเกี่ย วกับไฟฟา เขา ใกลห รือ นํา สิ่ง ที่เ ปน ตัว นํา ไฟฟา ที่ไ มม ีที่ถือหุม ดว ยฉนวนไฟฟาที่เหมาะสมกับแรงดันไฟฟาเขาใกลสิ่งที่มีกระแสไฟฟาในระยะที่นอยกวาระยะหางตาม มาตรฐานของสมาคมวิศ วกรรมสถานแหง ประเทศไทย ในพระบรมราชูป ถัม ภ หากยัง ไมม ีม าตรฐาน ดัง กลา วใหใ ชม าตรฐานตามที ่ก ารไฟฟา ประจํ า ทอ งถิ ่น กํ า หนด เวน แตน ายจา งจะไดดํ า เนิน การ ดังตอไปนี้ 0) ให ลู ก จ า งสวมใส อุป กรณ คุ ม ครองความปลอดภั ย สว นบุ ค คลที่ เ ป น ฉนวนไฟฟ า ที่เ หมาะสมกับ แรงดันไฟฟา หรือนําฉนวนไฟฟาที่สามารถปองกันแรงดันไฟฟานั้นไดมาหุมสิ่งที่มีกระแสไฟฟา 1) จัดใหมีวิศวกร หรือกรณีการไฟฟาประจําทองถิ่นอาจจัดใหผูที่ไดรับการรับรองเปนผูควบคุม งาน จากการไฟฟาประจําทองถิ่นดังกลาว เพื่อควบคุม การปฏิบัติงานของลูกจาง 6. หามนายจางใหลูกจางซึ่งปฏิบัติงานอื่นหรืออนุญาตใหผูซึ่งไมเกี่ย วของเขาใกลสิ่งที่มีกระแสไฟฟาในระยะ ที่นอยกวาระยะหางตามมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ หากยังไมมี มาตรฐานดังกลาวใหใชมาตรฐานตามที่การไฟฟาประจําทองถิ่นกําหนด 7. ใหน ายจา งดูแ ลมิใ หลูก จา งสวมใสเ ครื ่อ งนุ ง หม ที ่เ ปย กหรือ เปน สื่อ ไฟฟา ปฏิบ ัต ิง านเกี่ย วกับ สิ่ง ที่มี กระแสไฟฟา ที่มีแ รงดันไฟฟาเกินกวาหาสิบโวลต โดยไมมีฉ นวนไฟฟาปดกั้น เวนแตนายจางจะไดจัดให ลูกจางสวมใสอุปกรณคุม ครองความปลอดภัย สวนบุค คลหรือใช อุปกรณปองกั นอั นตรายที่เหมาะสมกับ แรงดันไฟฟาสําหรับการปฏิบัติงานของลูกจาง 8. ในกรณีที่น ายจา งใหลูก จา งทํา งานโดยใชอุป กรณใ นการปฏิบัติง านเกี ่ย วกับ กระแสไฟฟา หรือ อยู ใ น บริเ วณใกลเ คีย งกับ สิ่ง ที่ม ีก ระแสไฟฟา ใหน ายจา งจัด หาอุป กรณช นิด ที่เ ปน ฉนวนไฟฟา หรือ หุม ดวย ฉนวนไฟฟา หรืออุปกรณปองกันอันตรายที่เหมาะสมกับแรงดันไฟฟาสําหรับการปฏิบัติงานของลูกจาง 9. ใหนายจางดูแลบริภัณฑไฟฟาและสายไฟฟาใหใชงานไดโดยปลอดภัย หากพบวาชํารุดหรือมีกระแสไฟฟ ารั่ว หรืออาจกอใหเกิดอันตรายแกผูใชงาน ใหซอมแซมหรือดําเนินการใหอยูใ นสภาพที่ใ ชงานไดอยางปลอดภัย และจัดใหมีหลักฐานในการดําเนินการเพื่อใหพนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบได 10. นายจางตองจัดใหมีการตรวจสอบและจัดใหมีการบํารุงรักษาระบบไฟฟาและบริภัณฑไฟฟาเพื่ อใหใ ชง าน ไดอยางปลอดภัย และใหบุคคลที่ขึ้นทะเบียนตามมาตรา ๙ หรือนิติบุคคลที่ไดรับใบอนุญาต ตามมาตรา ๑๑ แหง พระราชบัญ ญัติค วามปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดลอ มในการทํา งาน พ.ศ. ๒๕๕๔ 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
แลวแตกรณี เปนผูจัดทําบันทึกผลการตรวจสอบและรับรองไวเพื่อใหพนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกําหนด 11. ใหนายจางจัดใหมีแ ผนภาพพรอมคําบรรยายติดไวใ นบริเวณที่ทํางานที่ลูกจางสามารถมองเห็นไดชัดเจน ในเรื่อง ดังตอไปนี้ 0) วิธีปฏิบัติเมื่อประสบอันตรายจากไฟฟา 1) การปฐมพยาบาลและการชวยชีวิตขั้นพื้นฐานโดยการผายปอดดวยวิธีปากเปาอากาศเขาทางปาก หรือจมูกของผูประสบอันตราย และวิธีการนวดหัวใจจากภายนอก หมวดที่ 2 บริภัณฑไฟฟาและเครื่องกําเนิดไฟฟา 1. การติดตั้งบริภัณฑไฟฟา ใหนายจางปฏิบัติตามมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยใน พระบรมราชูปถัมภ หากยังไมมีมาตรฐานดังกลาวใหใชมาตรฐานตามที่การไฟฟาประจําทองถิ่นกําหนด 2. ใหนายจางจัดใหมีการใช กุญแจป องกัน การสับ สวิต ชเชื่ อมตอวงจร หรือจัดใหมีระบบระวั งปอ งกั น มิใ ห เกิด การสับสวิตชเชื่อมตอวงจรตลอดเวลาที่ลู กจางซึ่งปฏิบัติ งานเกี่ย วกับไฟฟา ทํางานติดตั้ ง ตรวจสอบ ซอมแซม หรือซอมบํารุงระบบไฟฟาหรือบริภัณฑไฟฟา และใหติดปายแสดงเครื่องหมายหรือสัญลักษณ หามสับสวิตชเชื่อมตอวงจรไวดวย 3. หามนายจางใหลูกจางทําความสะอาดบริภัณฑไฟฟาที่มีกระแสไฟฟา เวนแตมีมาตรการดานความปลอดภัย รองรับไวอยางครบถวน 4. ในกรณีที่สวนของบริภัณฑไฟฟาใชแ รงดั นไฟฟา เกิ นกวาห าสิบโวลตใ ห นายจ างจั ดใหมีที่ป ดกั้ นอั น ตราย หรือจัดใหมีแผนฉนวนไฟฟาปูไวที่พื้นเพื่อปองกันอันตรายจากการสัมผัส 5. ใหนายจางติดตั้งเตารับ สายไฟฟา อุปกรณ และเครื่องปองกันกระแสไฟฟาเกินที่มีข นาด ชนิดและประเภทที่ เหมาะสมไวใหเพียงพอแกการใชงาน ทั้งนี้ใหเปนไปตามมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ หากยังไมมีมาตรฐานดังกลาวใหใชมาตรฐานตามที่การไฟฟาประจําทองถิ่นกําหนด 6. การใชเครื่องกําเนิดไฟฟา ใหนายจางปฏิบัติ ดังตอไปนี้ 0) ติดตั้งในบริเวณพื้นที่กวางพอที่จะปฏิบัติงานไดอยางสะดวกและปลอดภัย 1) จัดใหมีการระบายอากาศอยางเพียงพอ กรณีติดตั้งเครื่องกําเนิดไฟฟาไวภายในหองหากมีไอเสีย จากเครื่องยนตใหตอทอไอเสียออกสูภายนอก 2) จัดใหมีเครื่องปองกันกระแสไฟฟาเกิน
21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
3) จัดใหมีอุปกรณดับเพลิงชนิดที่ใชดับเพลิงที่เกิดจากไฟฟาและน้ํามันในหองเครื่องได ทั้งนี้การออกแบบ และติดตั้งใหเปนไปตามมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ ในกรณีที่ใชเครื่องกําเนิดไฟฟาสํารอง นอกจากตองปฏิบัติตาม 4 ขอที่กลาวขางตนแลว นายจางตองจัดใหมี เครื่องปองกั น การใชผิ ดหรื อสวิ ตช สับ โยกสองทาง หรืออุปกรณอย างอื่ นที่มี คุ ณลั กษณะเดี ย วกั น เพื่ อ มิใ หม ี โอกาสตอ ขนานกับระบบไฟฟา ของการไฟฟาประจําทองถิ่น เวน แตจ ะไดรับอนุญ าตจากการไฟฟา ประจํา ทองถิ่นนั้น หมวดที่ 3 ระบบปองกันฟาผา ใหนายจางจัดใหมีระบบปองกันฟาผาตามมาตรฐานการปองกันฟาผาของสมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ หรื อ มาตรฐานสมาคมป อ งกั น อั ค คี ภั ย แห ง ชาติ ส หรั ฐ อเมริ ก า (National Fire Protection Association: NFPA) หรื อ มาตรฐานคณะกรรมาธิ ก ารระหวา งประเทศว าด ว ยมาตรฐานสาขาอิเ ล็ กทรอเทคนิกส (International Electrotechnical Commission : IEC) หรือ มาตรฐานอื่ น ตามที่ อ ธิ บ ดี ป ระกาศกํ า หนดไวที่ สถานประกอบกิจการ อาคาร ปลองควัน รวมถึงบริเวณที่มีถังเก็บของเหลวไวไฟหรือกาซไวไฟ หมวดที่ 4 อุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล และอุปกรณปองกันอันตรายจากไฟฟา 1. ใหนายจางจัดอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลที่เหมาะสมกับลักษณะงาน เชน ถุงมือหนัง ถุงมือยาง แขนเสื้อยาง หมวกนิรภัย รองเทาพื้นยางหุมขอชนิดมีสนหรือรองเทาพื้นยางหุมสน ใหลูกจางซึ่งฏิบัติงาน เกี่ย วกับไฟฟาสวมใสตลอดเวลาที่ปฏิบัติงานและจัดใหมีอุปกรณปองกันอันตรายจากไฟฟา ที่เหมาะสมกับ ลักษณะงาน เชน แผนฉนวนไฟฟา ฉนวนหุม สาย ฉนวนครอบลูกถวย กรงฟาราเดย (Faraday Cage) ชุดตัวนําไฟฟา (Conductive Suit) ในกรณีที่ลูก จา งตอ งปฏิบั ติ งานในที่สูง กว าพื้ น ตั้ งแตสี่เ มตรขึ ้ น ไป ใหนายจางจัดใหมีการใชสายหรือเชือกชวยชีวิตและเข็มขัดนิรภัยพรอมอุปกรณ หรืออุปกรณที่ปองกันการตกจาก ที่สูงไดอยางมีประสิทธิภาพ และหมวกนิรภัย ที่เหมาะสมตามมาตรฐานที่กําหนดสําหรับใหลูกจางสวมใส ตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน เวนแตอุปกรณดังกลาวจะทําใหลูกจางเสี่ย งตออันตรายมากขึ้น ใหนายจางจั ดใหมี อุปกรณเพื่อความปลอดภัยอื่นที่สามารถใชคุมครองความปลอดภัยไดอยางมีประสิทธิภาพแทน 2. อุป กรณคุม ครองความปลอดภัย สว นบุ ค คลและอุป กรณป อ งกั น อั น ตรายจากไฟฟา ตอ งเปน ไปตาม มาตรฐานที่กําหนดไวและตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 0) อุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลและอุปกรณที่ใชปองกันกระแสไฟฟาตองเหมาะสมกับ แรงดันไฟฟาสูงสุดในบริเวณที่ปฏิบัติงานหรือบริเวณใกลเคียงที่อาจกอใหเกิดอันตรายได 1) ถุงมือยางปองกันไฟฟา ตองมีลักษณะสวมกับนิ้วมือไดทุกนิ้ว 22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
2) ถุงมือหนังที่ใชสวมทับถุงมือยาง ตองมีความยาวหุมถึงขอมือและมีความคงทนตอการฉีกขาดได ดี การใชถุงมือยางตองใชรวมกับถุงมือหนังทุกครั้งที่ปฏิบัติงาน 3. การปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟาที่อยูใกลหรือเหนือน้ําซึ่งอาจทําใหลูกจางเกิดอันตรายจากการจมน้ํา ใหนายจาง จัดใหลูกจา งสวมใส ชูชี พ กั น จมน้ํา เวนแตการสวมใส ชูชี พ อาจทําใหลู กจ า งได รับ อั น ตรายมากกว า เดิม ใหนายจางใชวิธีการอื่นที่สามารถคุมครองความปลอดภัยไดอยางมีประสิทธิภาพแทน 4. นายจางตองบํารุงรักษาและจัดเก็บอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลและอุปกรณปองกันอันตราย จากไฟฟาใหอยูในสภาพที่ใชงานไดอยางปลอดภัย รวมทั้งตองตรวจสอบและทดสอบตามมาตรฐานและวิธีที่ ผูผลิตกําหนด
23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว ถูก
ผิด
ขอความ 1. เมื่ อ พบเห็ น เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช อยู ใ นสภาพที่ ป ลอดภั ย ให ร ายงานให ผูบังคับบัญชาทราบทันที และหามทําการแกไขดวยตนเองในทุกกรณี 2. หากหัวหนางานเห็นวา ผูใตบังคับบัญชาอยูใ นสภาพไมปลอดภัย ที่จะทํางานได ตองสั่งใหหยุดพักทํางานทันที 3. ในขณะยืนปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟาบนพื้นคอนกรีต ควรใชผายางรองพื้นหรือ สวมใสรองเทา 4. ในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟา สามารถใชขอตอแยกหรือเสียบปลั๊กหลายทางได เพื่อความสะดวกในการทํางาน 5. เมื่อ ผูป ฏิบัติง านไดรับ บาดเจ็บ ตอ งรายงานใหหัว หนา งานและเจาหนาที่ ความปลอดภัยทราบ และรับการปฐมพยาบาล
24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
กระดาษคําตอบ ขอ
ถูก
ผิด
1 2 3 4 5
25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2
0921510102 สัญลักษณความปลอดภัยทางไฟฟา (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - บอกความหมายของสัญลักษณความปลอดภัยได
2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4.
เครื่องหมายหาม เครื่องหมายเตือน เครื่องหมายบังคับ เครื่องหมายสารนิเทศเกี่ยวกับสภาวะปลอดภัย
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก
4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - ผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ และคณะ. 2558. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. พุฒิพงศ ไยราช. 2558. การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. กรุงเทพฯ : เอมพันธ. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการดานความปลอดภัยฯ เกี่ยวกับไฟฟา พ.ศ. ๒๕๕๘. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.oshthai.org/index.php?option=com_content&view=article&id= 218%3A-m-m-s&catid=1%3Anews-thai&Itemid=201
27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 สัญลักษณความปลอดภัย สั ญ ลั ก ษณ ค วามปลอดภั ย หรื อ safety sign หมายถึ ง เครื่ อ งหมายที่ ใ ช สื่ อ ความหมายอย า งเฉพาะเจาะจงกับ ผู ที่ อ าจได รั บ อั น ตรายในสถานที่ ทํา งาน การปฏิ บั ติ ต ามสั ญ ลั ก ษณ แ ละเครื่ อ งหมายความปลอดภั ย อย า งเคร ง ครั ด จะชวยลดความสูญเสีย อันเนื่องมาจากอุบัติภัยตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได ตารางที่ 2.1 แสดงสี ความหมาย และตัว อยางการใชงาน สีเพื่อความปลอดภัย
สีตัด
สีแดง
สีขาว
ความหมาย - หยุด
ตัวอยางการใชงาน - เครื่องหมายหยุด - เครื่องหมายอุปกรณหยุดชั่วคราว - เครื่องหมายหาม - ระบบดับเพลิง
สีเหลือง
สีดํา
- ระวัง
- ชี้บงวามีอันตราย
- มีอันตราย
( เ ช น ไ ฟ , วั ต ถุ ระเบิด) - ชี้บงถึงเขตอันตราย - เครื่องหมายเตือน
สีฟา
สีขาว
- บังคับใหตอง ปฏิบัติ
สีเขียว
สีขาว
- แสดงภาวะ ปลอดภัย
- บังคับใหสวมเครื่องปองกันสวนบุคล - เครื่องหมายบังคับ
- ทางหนี - ทางออกฉุกเฉิน - หนวยปฐมพยาบาล - หนวยกูภัย - แสดงภาวะปลอดภัย
28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ทั้งนี้ สัญลักษณความปลอดภัย จะใชสีแ ละมีสัญลั กษณหรื อภาพที่ ต รงกลางของเครื่อ งหมาย เพื่อแสดงความหมาย ที่แ ตกตางกัน โดยใชทาตามวัสดุ อุปกรณ เครื่องจักร พื้นที่ทํางาน หรือเครื่องหมายต าง ๆ ซึ่งสัญลักษณ ป ลอดภั ย จะ แบงเปน 4 ประเภท คือ 1. เครื่องหมายหาม เปนรูปวงกลม มีแถบตามขอบ และเสนตัดขวางเปนสีแดง พื้นเปนสีขาว สวนภาพ หรือสัญลักษณ ภายในเปนสีดํา เชน หามดื่มสุรา หามสูบบุหรี่ และหามสัมผัส เปนตน
ภาพที่ 2.1 ตัวอยางเครื่องหมายหาม 2. เครื่องหมายเตือน เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทา มีแ ถบตามขอบเปนสีดํา พื้นเปนสีเหลือง สวนภาพหรือสัญลักษณ ภายในเปนสีดํา เชน ระวังอันตราย ระวังไฟฟาแรงสูง และระวังสารกัมมันตภาพรังสี เปนตน
ภาพที่ 2.2 ตัวอยางเครื่องหมายเตือน 3. เครื่ อ งหมายบั ง คั บ ซึ่ ง เป น การบั ง คั บให ต อ งปฏิบั ติ ต าม จะเป น รู ป วงกลมสี น้ํ าเงิ น อยูใ นกรอบดํ า มี ภ าพหรือ สัญลักษณภายในเปนสีขาว เชน สวมชุดปองกันสารเคมี สวมกระบังหนานิรภัย และสวมรองเทานิรภัย เปนตน
ภาพที่ 2.3 ตัวอยางเครื่องหมายบังคับ
29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
4. เครื่องหมายสารนิเทศเกี่ยวกับสภาวะปลอดภัย เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือสี่เหลี่ยมผืนผา พื้นเปนสีเขียว สวนภาพ หรือสัญลักษณภายในเปนสีขาว เชน สภาวะความปลอดภัย ชําระลางดวงตาฉุกเฉิน และปุมกดสําหรับหยุดฉุ กเฉิน เปนตน
ภาพที่ 2.4 ตัวอยางเครื่องหมายสารนิเทศเกี่ยวกับสภาวะปลอดภัย
30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว
1. จากภาพ
คือ สัญลักษณความปลอดภัยที่มีความหมายวาอยางไร
ก. บังคับใหปฏิบัติ ข. ระวัง ค. หยุด ง. อันตราย 2. ขอใด เลือกใชสีเพื่อความปลอดภัยไดถูกตอง ก. สีแดง : ระบบดับเพลิง ข. สีเหลือง : ทางออกฉุกเฉิน ค. สีเขียว : บังคับใหสวมเครื่องปองกันสวนบุคล ง. สีฟา : หนวยปฐมพยาบาล 3. ภาพสัญลักษณในขอใด อยูในกลุมของเครื่องหมายบังคับ
ก.
ข.
ค.
ง.
31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
4. ภาพสัญลักษณในขอใด อยูในกลุมของเครื่องหมายหาม
ก.
ข.
ค.
ง.
5. ภาพในขอใด เปนเครื่องหมายสารนิเทศเกี่ยวกับสภาวะปลอดภัย
ก.
ข.
ค.
ง.
32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
กระดาษคําตอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5
33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3
0921510103 เครื่องมือและอุปกรณปองกันสวนบุคคล (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - บอกวิธีใชเครื่องมือและอุปกรณปองกันสวนบุคคลได
2. หัวขอสําคัญ 1. หลักเกณฑในการใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล 2. ประเภทของอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก
4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - ผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ และคณะ. 2558. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. พุฒิพงศ ไยราช. 2558. การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. กรุงเทพฯ : เอมพันธ. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการดานความปลอดภัยฯ เกี่ยวกับไฟฟา พ.ศ. ๒๕๕๘. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.oshthai.org/index.php?option=com_content&view=article&id= 218%3A-m-m-s&catid=1%3Anews-thai&Itemid=201
35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 เครื่องมือและอุปกรณปองกันสวนบุคคล เครื่องมือและอุปกรณปองกันสวนบุคคล คือ อุปกรณสําหรับสวมใสหรือปกคลุม อวัย วะหรือทั้งรางกาย เพื่อปองกัน อันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากกระบวนการและสิ่งแวดลอมในการปฏิบัติงาน ซึ่งทั่วไปจะมีการปองกันและควบคุมสภาพแวดลอม ของการทํางานกอน แตในกรณีที่ไมสามารถดําเนินการควบคุม ดังกลาวได ผูปฏิบัติงานจึงจะตองใชอุปกรณปองกันอันตราย เพื่อชวยปองกันอวัย วะของรางกายไมใ หเกิดอันตรายที่อาจเกิดขึ้น ดังนั้น ผูปฏิบัติงานจึงควรทราบหลักการ และเกณฑ ในการใชอุปกรณปองกันอันตราย รวมถึงประเภทของอุปกรณปองกันอันตรายเพื่อใหในการปฏิบัติงานเกิดความปลอดภัยอยางสูงสุด 1. หลักเกณฑในการใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล อุปกรณปองกันสวนบุคคลโดยทั่วไปมักจะเรียกกันวา อุปกรณนิรภัยหรือเซฟตี้ หมายถึง อุปกรณที่ใชสวมใสอวัยวะตาง ๆ ของรางกาย เพื่อปองกันอันตรายจากการปฏิบัติงาน 1) เลือกใชเครื่องมือที่เหมาะสมกับงาน เชน การปฏิบัติงานดานไฟฟา ก็ควรเลือกเครื่องมือที่สามารถปองกัน กระแสไฟฟาได เปนตน 2) เลือกใชเครื่องมือที่อยูในสภาพพรอมใช 3) ใชเครื่องมืออยางถูกวิธี เชน เมื่อใชหมวกนิรภัย ผูสวมจะตองติดสายรัดคางใหกระชับทุกครั้ง เปนตน 4) สวมอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลทุกครั้ง 5) หามทํางานกับเครื่องมือหรือเครื่องมือกลที่ไมไดรับมอบหมาย 6) เมื่อตองใชงานเครื่องมือกลที่หมุนได หามสวมถุงมือ เสื้อผาที่ไมรัดกุม และเครื่องประดับเด็ดขาด 7) หามใชอวัยวะสวนใดสวนหนึ่งหยุดเครื่องมือกล 8) เมื่อปดเครื่องมือกลแลว ใหรอดูจนกวาเครื่องจะปดสนิท เพื่อปองกันไมใหบุคคลอื่นไดรับอันตราย 2. ประเภทของอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลแบงออกเปน 7 ประเภท ดังนี้ 2.1 อุปกรณปองกันหนาและดวงตา 2.1.1 อุปกรณปองกันหนา (Face Protection) ใชปองกันอันตรายที่จะเกิดกับใบหนาจากเศษวัสดุ สารเคมี และแสงสวางที่จาเกินไป เชน กระบังปองกันใบหนา หนากากเชื่อม ครอบปองกันใบหนา เปนตน
36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ภาพที่ 3.1 ตัวอยางอุปกรณปองกันหนา 2.1.2 อุปกรณปองกันดวงตา (Eye Protection) ใชปองกันอันตรายจากเศษโลหะหรือวัสดุตาง ๆ รังสีอันตราย แสงสวางที่จาเกินไป โดยแวนตาที่ใชเปนเครื่องปองกันอันตรายสวนบุคคล
ภาพที่ 3.2 ตัวอยางอุปกรณปองกันดวงตา 2.2 อุป กรณปองกั นหู เปนอุปกรณที่จะลดความดั งของเสีย งที่ จะมารบกวนต อแก วหู กระดูกหู เพื่อชวยปองกั น อันตรายที่มีตอระบบการไดยิน และยังชวยปองกันอันตรายจากเศษวัสดุปลิวเขาหูอีกดวย เชน ที่อุดหู (Ear Plug) ที่สามารถลดความดังของเสียงได 25-30 เดซิเบล และที่ครอบหู (Ear Muffs) สามารถลดระดับความดังของเสียงได 35-40 เดซิเบล
ภาพที่ 3.3 ตัวอยางอุปกรณปองกันหู 2.3 อุปกรณปองกันศีรษะ หรือหมวกนิรภัย (Safety Hat) ใชปองกันอันตรายที่เกิดจากแรงกระแทกหรือการเจาะทะลุ ของวัตถุที่ตกลงใสศีรษะ โดยหมวกนิรภัย สามารถแบงตามลักษณะการใชงานได 4 ประเภท ดังนี้ 2.3.1 ประเภท A คือ หมวกนิรภัย ที่ปองกันแรงดันไฟฟา เหมาะกับการใชงานทั่วไป เชน งานกอสรางโยธา งานเครื่องกล งานที่ไมเสี่ยงตอไฟฟาแรงสูง
37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ภาพที่ 3.4 ตัวอยางหมวกนิรภัยประเภท A 2.3.2 ประเภท B ปองกันแรงดันไฟฟาไดสูงกวาแบบ A เหมาะกับการใชงานทั่วไป
ภาพที่ 3.5 ตัวอยางหมวกนิรภัยประเภท B 2.3.3 ประเภท C ไมสามารถปองกันแรงดันไฟฟาได เพราะทําจากวัสดุที่เปนโลหะแตสามารถทนแรงกระแทก หรือแรงเจาะไดดี เหมาะกับงานที่ไมเกี่ยวของกับไฟฟา
ภาพที่ 3.6 ตัวอยางหมวกนิรภัยประเภท C 2.3.4 ประเภท D ใชใ นการปองกันไฟและแรงดันไฟฟา ทนความรอนสูงเพราะทําจากวัสดุที่ไมไหมไฟและ ไมเปนตัวนําไฟฟา เหมาะสําหรับงานประเภทดับเพลิง
ภาพที่ 3.7 ตัวอยางหมวกนิรภัยประเภท D
38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
2.4 อุปกรณปองกันเทา หรือรองเทานิรภัย (Safety Shoes) ใชปองกันอันตรายจากเศษวัสดุและเชื้อโรค โดยรองเทานิรภัย มีอยูดวยกันหลายประเภท เชน 2.4.1 รองเทาชนิดหัวโลหะ ใชปองกันอันตรายจากของแหลมคม ทนทานตอแรงกระแทก และความรอน
ภาพที่ 3.8 ตัวอยางรองเทาชนิดหัวโลหะ 2.4.2 รองเทาตัวนําไฟฟา เหมาะกับงานที่เกี่ยวของกับกระแสไฟฟา เพราะมีตัวนําไฟฟาสําหรับใหประจุไฟฟา ไหลผานไป
ภาพที่ 3.9 ตัวอยางรองเทาตัวนําไฟฟา 2.4.3 รองเทาปองกันอัน ตรายจากไฟฟา โดยวัสดุที่ใ ชทํารองเทาประเภทนี้จะตองเป นยางธรรมชาติห รือ ยางสัง เคราะห เพื่อ ปอ งกัน หรือ ลดอัน ตรายจากกระแสไฟฟา ยกเวน ภายในสว นหัว ของรองเทา แตจะตองมีการหุม ฉนวนไว
ภาพที่ 3.10 ตัวอยางรองเทาปองกันอันตรายจากไฟฟา 2.5 อุปกรณปองกันมือ ใชปองกันอันตรายในรูปแบบตาง ๆ ขึ้นอยูกับประเภทของงาน เชน งานที่เกี่ยวกับของมีคม ควรใช ถุงมือที่ทําจากหนังสัตวหรือตาขายโลหะ แตถาทํางานเกี่ยวกับความชื้นควรใชถุงมือที่ทํามาจากพลาสติก เปนตน
39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ภาพที่ 3.11 ตัวอยางอุปกรณปองกันมือ 2.6 เครื่องปองกันการตกจากที่สูง ชวยสําหรับการปฏิบัติงานที่ตองเสี่ยงกับการพลัดตกลงมา เชน งานกอสรางอาคาร งานบํารุงรักษา งานสายสงไฟฟา เปนตน ซึ่งเครื่องปองกันอันตรายจากที่สูง ไดแก 2.6.1 เข็ม ขัด นิรภัย ใชสํา หรับรับ น้ําหนักตัวของผูปฏิบัติงาน และใชปองกัน ไมใ หผูปฏิบัติงานตกจากที่สูง ควรมีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับงาน เชน ทนตอแรงเสียดสี ไมขาดงายหรือทนตอความรอน เปนตน
ภาพที่ 3.12 ตัวอยางเข็มขัดนิรภัย 2.6.2 สายรัดตัวนิรภัย ใชกับการปฏิบัติงานในที่สูง โดยออกแบบมาใหผูใชงานสามารถเคลื่อนตัวขณะทํางานได รวมถึงชวยในการพยุ งหรือ แขวนตัว เพื่อทํางานในที่ซึ่ งไมมี จุ ดเกาะตั ว ทั้งนี้สายรัดตั ว นิร ภัย จะให ความปลอดภัย สูงกวาเข็ม ขัดนิรภัย เมี่อมีการตกจากที่สูง เพราะไดออกแบบใหมีการรับน้ําหนักหรือ แรงกระตุกที่เกิดขึ้นในหลายจุดได ไมวาจะเปนที่เอว หนาอก หรือขา
ภาพที่ 3.13 ตัวอยางสายรัดตัวนิรภัย 2.6.3 สายชว ยชีวิต เปน สายผูก ที่ยึด เกี่ย วแนน กับจุด ยึด หรือโครงสรา งของอาคาร ซึ่ง จะตอ งเปน จุดที่มี ความมั่นคงแข็งแรงสามารถทนทานน้ําหนักไดม าก ตองทําจากเชือกที่มีความเหนียวและทนทาน เชน เชือกไนลอนใยสังเคราะห เปนตน
40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ภาพที่ 3.14 ตัวอยางสายชวยชีวิต 2.7 ชุดปองกันอันตราย จําเปนตอการปฏิบัติงานที่มีความเสี่ย งจากสภาพแวดลอมที่เปนอันตราย เชน ความร อ น เศษวัส ดุตาง ๆ ละอองสารเคมี เปน ตน ชุด ปอ งกัน อัน ตรายมีหลายประเภท เชน ชุด อะลูม ิเนีย มที่ทนความ รอนไดสูงมาก ชุดปองกันการกระแทกที่สามารถรองรับน้ําหนัก และปองกันแรงกระแทกบริเวณไหล หลังบา หนาอก และขา และชุดปองกันมือและแขนสําหรับงานบางประเภทที่ถุงมือไมอาจปองกันอันตรายได เปนตน
ภาพที่ 3.15 ตัวอยางชุดปองกันอันตราย
41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ขอ
โจทย
1
ปองกันอันตรายบนใบหนาจากเศษวัสดุและแสงสวางที่จาเกินไป
2
ใชปฏิบัติงานในพื้นที่เสียงดัง เพื่อลดความดังของเสียงลง 25-30 เดซิเบล
3
ใชปฏิบัติงานในพื้นที่เสียงดัง เพื่อลดความดังของเสียงลง 35-40 เดซิเบล
4
ใชสําหรับปฏิบัติงานในพื้นที่ที่ไมมีจุดใหเกาะตัว
5
ปองกันอันตรายบริเวณลําตัว แขน และขา ในพื้นที่ที่มีความรอนสูง
ขอ
คําตอบ
ก
หนากากเชื่อม
ข
สายรัดตัวนิรภัย
ค
Ear Plug
ง
ชุดอะลูมิเนียม
จ
Ear Muffs
42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
กระดาษคําตอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5
43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
จ
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 4
0921510104 การปองกันอันตรายจากไฟฟา (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายอันตรายของไฟฟาได 2. อธิบายวิธีปองกันและชวยเหลือผูถูกกระแสไฟฟาดูดได
2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4.
ลักษณะการเกิดอันตราย ผลกระทบของกระแสไฟฟาตอรางกาย การปองกันกระแสไฟฟาดูด การชวยเหลือผูถูกกระแสไฟฟาดูด
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก
4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - ผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ 44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
- สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ และคณะ. 2558. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. พุฒิพงศ ไยราช. 2558. การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. กรุงเทพฯ : เอมพันธ. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการดานความปลอดภัยฯ เกี่ยวกับไฟฟา พ.ศ. ๒๕๕๘. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.oshthai.org/index.php?option=com_content&view=article&id= 218%3A-m-m-s&catid=1%3Anews-thai&Itemid=201
45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 4 การปองกันอันตรายจากไฟฟา รางกายมนุษยเปนตัวนําไฟฟา เมื่อสวนใดสวนหนึ่งของรางกายสัมผัสตัวนําไฟฟาที่มีกระแสไหลผาน ขณะที่สัมผัสกับพื้ นน้ํา พื้นดิน หรือพื้นปูน หรือโลหะที่ตอถึงพื้นดินหรือพื้นน้ํา เมื่อกระแสไหลครบวงจรอาจเกิดอันตรายได ผูปฏิบัติงานจึงควรเรีย นรู อันตรายของไฟฟาที่อาจเกิดขึ้นได เพื่อปองกันหรือหลีกเลี่ยงใหไดทันทวงที 1. ลักษณะการเกิดอันตราย ไฟฟาสามารถไหลผานรางกายของเราได เพราะรางกายของเราเปรียบเสมือนตัวนําไฟฟา จึงควรระวังไมใหสวนหนึ่งสวนใด ของรางกายสัมผัสกับตัวนําไฟฟาขณะที่มีกระแสไฟฟาไหลผาน โดยเฉพาะเมื่อมีสวนของรางกายสัม ผัสกับพื้นน้ํา พื้นดิน พื้นปูน หรือโลหะที่ตอถึงพื้นที่น้ําและดิน ซึ่งสงผลใหเกิดอันตรายตามมาอยางมากมายทั้งตอทรัพยสิน เชน อุปกรณไฟฟา และอิเล็กทรอนิกสชํารุดเสียหาย ทําใหเกิดเพลิงไหม เปนตน หรือตอรางกายมนุษย เชน รางกายพิการ และเสียชีวิต เปนตน ดว ยเหตุนี้จึงจําเปน ตอ งมีการปอ งกัน อัน ตรายที่อาจเกิดขึ้น จากการใชไฟฟา โดยอัน ตรายเกิด จากไฟฟาแบงออกได เปน 2 ลัก ษณะ คือ ไฟฟา ช็อ ต (Short Circuit) และไฟฟา ดูด (Electric Shock) ซึ่ง ทั้ง สองลัก ษณะนี้มีสาเหตุข อง การเกิดที่ตางกันและอันตรายที่ไดรับก็ตางกันดวย 1.1 ไฟฟาช็อต หรือเรียกอีกชื่อวาไฟฟาลัดวงจร คือ สภาวะที่กระแสไฟฟาไหลไดครบวงจร โดยไมผานอุปกรณ ไฟฟา เครื่อ งใชไ ฟฟา หรือ ภาระ (Load) ผลของไฟฟาช็อ ตจะทําใหเ กิด ความรอนสูง เมื่อ ความรอ นถึง จุดลุกไหม จะสงผลใหเกิดเพลิงไหมขึ้นได
ภาพที่ 4.1 เพลิงไหมที่เกิดจากไฟฟาช็อต 1.2 ไฟฟาดูด คือ สภาวะที่กระแสไฟฟา ไหลผา นรา งกายมนุ ษยล งพื้ น ดิ น หรือไหลผานร างกายมนุ ษย ค รบวงจร กอใหเกิดอาการเกร็งของกลามเนื้อ จนรางกายมนุษยไมสามารถดิ้นหรือสะบัดใหหลุดออกจากไฟฟาได ผลที่เกิดจาก ไฟฟาดูดอาจทําใหพิการหรือเสียชีวิตได
46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ภาพที่ 4.2 ไฟฟาดูด การถูกไฟฟาดูดจากการสัมผัส สามารถแบงไดเปน 2 ลักษณะ คือ 1.2.1 การสัม ผัสโดยตรง คือ การที่รางกายสัม ผัส โดยตรงกับ สว นที่ กระแสไฟไหลอยู เชน การสัม ผั ส กั บ สายไฟฟ า ที่ ห มดอายุ หรื อ อยู ใ นสภาพที่ ชํา รุ ด เช น ฉนวนแตกร า ว กรอบร อ นหลุ ด ออกเหลื อ แตสายทองแดง เปนตน ลักษณะการสัม ผัสไฟฟาโดยตรงนี้ จะทําใหเกิดกระแสจํานวนมากไหลผาน เขาสูรางกายไปลงดิน ซึ่งทําใหเกิดอันตรายตอรางกาย และอาจสงผลใหเกิดความพิการหรือเสียชีวิตได
ภาพที่ 4.3 การสัมผัสไฟฟาโดยตรง 1.2.2 การสัมผัสโดยออม คือ การสัมผัสกับเปลือกนอกของอุปกรณไฟฟาที่เปนตัวนําไฟฟา เชน ตูสวิตชบอรด ที่เปนโลหะ รั้วสังกะสี ทอน้ํา เปลือกนอกของมอเตอร และเครื่องจักรทั่วไป เปนตน โดยสวนใหญ อุปกรณเหลานี้จะมีผิวสัมผัสเปนโลหะ เมื่อเกิดกระแสไฟฟารั่วขึ้น อุปกรณดังกลาวจะเปนตัวนําไฟฟาที่ดี เมื่อสัมผัสกับอุปกรณเหลานั้นก็เทากับสัมผัสกับกระแสไฟฟา ทําใหกระแสไฟฟาไหลผานเขาสู รา งกาย ไปลงดิน
47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ภาพที่ 4.4 การสัมผัสไฟฟาโดยออม 2. ผลกระทบของกระแสไฟฟาตอรางกาย อันตรายที่เกิดจากไฟฟาดูดมีลักษณะแตกตางกัน โดยขึ้นอยูกับปริมาณของกระแสไฟฟาที่ไหลผานรางกาย ซึ่งความสัมพันธ ระหวางปริมาณกระแสไฟฟาและปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นกับรางกายมนุษยจะแบงออกได ดังตารางตอไปนี้ ตารางที่ 4.1 ความสัมพันธระหวางปริมาณกระแสไฟฟาและปฏิกิริยารางกายมนุษย ปริมาณกระแสไฟฟา
ปฏิกิริยาของรางกาย
เปนมิลลิแอมแปร (mA) ต่ํากวา 0.5
ไมมีผล
0.5 - 2
จัก๊ จี้หรือกระตุกเล็กนอย
2 – 10
กลามเนื้อหดตัว กระตุกปานกลางถึงรุนแรง แตไมถึงขั้นอันตราย
10 - 20
กลามเนื้อหดตัวอยางรุนแรง อาจไมสามารถปลอยใหหลุดได
20 – 50
กระทบกระเทือนตอระบบประสาท ปอดทํางานผิดปกติ มีโอกาส เสียชีวิตภายใน 2 – 3 นาที
50 – 100
กระทบกระเทือนตอระบบประสาท หัวใจทํางานผิดปกติ มีโอกาส เสียชีวิตภายใน 2 – 3 นาที
สูงกวา 100
หัวใจหยุดเตน ผิวหนังหรือเนื้อเยื่อไหมอยางรุนแรง
48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
3. วิธีปองกันและชวยเหลือผูถูกกระแสไฟฟาดูด 3.1 การปองกันกระแสไฟฟาดูด การปองกันกระแสไฟฟาดูดสามารถทําไดโดย 1) ไมสัมผัสโดยตรงกับสวนของอุปกรณที่อาจจะมีไฟฟารั่ว โดยการตรวจสอบเบื้องตนกอน เชน สังเกตวา สายไฟมีรอยขาดหรือรอยกัดแทะของสัตวหรือไม เปนตน 2) ติดตั้งอุปกรณปองกันไฟรั่ว เชน RCD / ELCB เปนตน 3) ติดตั้งสายดินกับอุปกรณ
ภาพที่ 4.5 ตัวอยางอุปกรณปองกันไฟรั่ว 4. การชวยเหลือผูถูกกระแสไฟฟาดูด การชว ยเหลือ ผูถ ูก กระแสไฟฟา ดูด มี ค วามจํา เป น อยา งมากที่ จ ะต อ งชว ยเหลือ อย า งรวดเร็ว และถูก วิธี ดัง นั ้น เพื่อใหผูที่ไดรับอันตรายและผูใหความชวยเหลือปลอดภัยทั้งคู จึงมีขอควรปฏิบัติดังตอไปนี้ 1) รีบตัดกระแสไฟฟา โดยปลดสวิตชที่จายไฟ เชน คัทเอาท เตาเสีย บ ออกอยางรวดเร็ว 2) ใชวัตถุที่ไมเปนสื่อไฟฟา เชน ผาแหง เชือก สายยางแหง เปนตน คลองตัวผูถูกไฟฟาดูดแลวนําออกมาจาก บริเวณพื้นที่เกิดเหตุ หรืออาจใชพ ลาสติกที่แ หงสนิท ถุงมือยางหรือผาแหงพันมือใหหนาแลวจึงผลัก ตัว ผูถ ูก ไฟฟาดูดใหพนจากสิ่งที่มีกระแสไฟฟา หากไมมีอุปกรณดังกลาว ใหใ ชไมแหงเขี่ยสายไฟฟาใหหลุดพน ออกจากตัวผูประสบอันตราย หรือเขี่ย สวนของรางกายผูประสบอันตรายใหหลุดพนออกจากสายไฟฟา โดยระวังไมใ หรางกายของผูชวยเหลือสัมผัสรางหรือเสื้อผาที่เปยกชื้นของผูถูกไฟฟาดูดติดอยูเปนอันขาด เพื่อปองกันไมใหผูใหความชวยเหลือเกิดอันตรายตามไปดวยอีกคน ดังภาพที่ 4.6
49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ภาพที่ 4.6 การชวยผูประสบอันตรายจากไฟฟาดูด 3) หากไม ส ามารถใช วิ ธี อื่น ได ให ใ ช มี ด ขวาน หรื อ ของมี ค มที่ มี ดา มเป น ฉนวนฟ น สายไฟให ข าดหลุด ออกจากผูไดรับอันตรายจากไฟดูดโดยเร็ว และตองแนใจวาสามารถทําไดดวยความปลอดภัย จึงตองทําดวย ความระมัดระวังอยางสูง 4) หากมีไฟฟารั่วบริเวณที่มีน้ําขังอยาลงไปในน้ําใหหาทางเขี่ยสายไฟฟาออกกอนจะลงไปชวยผูถูกไฟฟาดูด 5) หากเปนสายไฟฟาแรงสูง พยายามหลีกเลี่ยงอยาเขาใกล ใหรีบแจงการไฟฟาที่รับผิดชอบโดยเร็ว
50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. อันตรายที่เกิดจากไฟฟา แบงออกเปนกี่ลักษณะ ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5 2. ขอใด กลาวถึงลักษณะของไฟฟาช็อตไดถูกตอง ก. การสัมผัสโดยตรงกับสวนที่กระแสไฟไหลอยู ข. สภาวะที่กระแสไฟฟาไหลผานรางกายมนุษยลงพื้นดิน ค. การสัมผัสกับเปลือกนอกของอุปกรณไฟฟาที่เปนตัวนําไฟฟา ง. สภาวะที่มีกระแสไฟฟาไหลครบวงจร โดยไมผานอุปกรณไฟฟา 3. เมื่อผูปฏิบัติงานถูกไฟฟาดูด แลวพบวา มีลักษณะการทํางานของหัวใจที่ผิดปกติ แสดงวามีกระแสไฟฟาไหลผานรางกาย ของปฏิบัติงานในปริมาณเทาใด ก. 50 - 100 mA ข. สูงกวา 100 mA ค. 20 – 50 mA ง. 10 – 20 mA 4. ขอใด ไมใชวิธีการปองกันการถูกการกระแสไฟฟาดูด ก. ติดตั้ง RCD หรือ ELCB ข. ติดตั้งสายดินกับอุปกรณไฟฟา ค. ไมใชเครื่องใชไฟฟาเกินภาระ (Load) ของเครื่อง ง. ตรวจสอบรองรอยการชํารุดของสายไฟเปนประจํา
51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
5. ขอใด คือ วิธีการชวยเหลือผูประสบเหตุไฟฟาดูดที่ถูกตอง ก. ผลักตัวผูถูกไฟฟาดูดใหพนจากสิ่งที่มีกระแสไฟฟาดวยมือเปลา ข. ใชผาแหงคลองตัวผูถูกไฟฟาดูด แลวนําออกมาจากบริเวณที่เกิดเหตุ ค. ใชขวานที่มีดามจับเปนเหล็ก ฟนสายไฟใหขาดหลุดออกจากผูถูกไฟฟาดูดโดยเร็ว ง. สวมถุงมือยางชนิดบาง กอนผลักรางของผูถูกไฟฟาดูดใหพนจากสิ่งที่มีกระแสไฟฟา
52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
กระดาษคําตอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5
53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 5
0921510105 การปฐมพยาบาลผูถูกกระแสไฟฟาดูดเบื้องตน (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายวิธีปฐมพยาบาลผูถูกกระแสไฟฟาดูดได
2. หัวขอสําคัญ 1. การประเมินอาการ 2. การชวยฟนคืนชีพ (CPR)
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก
4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - ผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ และคณะ. 2558. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. พุฒิพงศ ไยราช. 2558. การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. กรุงเทพฯ : เอมพันธ. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการดานความปลอดภัยฯ เกี่ยวกับไฟฟา พ.ศ. ๒๕๕๘. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.oshthai.org/index.php?option=com_content&view=article&id= 218%3A-m-m-s&catid=1%3Anews-thai&Itemid=201
55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 5 การปฐมพยาบาลผูถกู กระแสไฟฟาดูดเบื้องตน ผูถูกไฟฟาดูดอาจมีอาการช็อกหรือหมดสติ หากชวยเหลือไมทันอาจทําใหเสียชีวิตได ดังนั้น การปฐมพยาบาลเบื้อ งต น จะชวยเหลือและป องกั น การสู ญเสีย ชีวิ ตได ทั้งนี้ การปฐมพยาบาลเบื้อ งต น จะประกอบดวยการประเมิ น อาการและ การชวยฟนคืนชีพ 1. การประเมินอาการ หากพบผู ป ว ยตกมาจากที่ สู ง ผู ช ว ยเหลื อ ไม ค วรเคลื่ อ นย า ยผู ป ว ยด ว ยตนเองเพราะผู ป ว ยอาจกระดู ก หั ก และการเคลื่อนยายอยางไมถูกวิธีอาจทําใหผูปวยเกิดอันตรายรายแรงได หากชวยเหลือผูประสบอันตรายที่ไมไดตกจากที่ สูงใหประเมินอาการเบื้องตน โดยกรณีที่ผูปวยมีสติอยูแตมีบาดแผลใหปฐมพยาบาลเบื้องตนกอนนําสงแพทย ถาหากผูถูกไฟฟา ดูดหมดสติ หรือคลายหมดสติ ใหรีบปฏิบัติดังนี้ กรณีที่ผูปวยมีสติอยูแตมีบาดแผล ใหปฐมพยาบาลเบื้องตนกอนนําสงแพทย ถาหากผูถูกไฟฟาดูดหมดสติหรือคลายหมดสติ ใหรีบปฏิบัติดังนี้ 1.1 ประเมินระดับความรูสึกตัว โดยเรียกและเขยาตัวหรือตบที่ไหล ถาผูปวยหมดสติจะไมมีการโตตอบ ประเมินการหายใจ โดยวิธีดังนี้ 1.1.1 ดูความเคลื่อนไหวของทรวงอกและหนาทอง วามีการยกตัวขึ้นลงหรือไม และดูวามีการหายใจหรือไม ดังภาพที่ 5.1
ภาพที่ 5.1 ดูความเคลื่อนไหวของทรวงอกและหนาทอง 1.1.2 ฟงเสีย งลมหายใจ โดยเอีย งหูข องผูชวยเหลือเขาไปใกลบริเวณจมูกและปากของผูปวย ตรวจสอบวา ไดยินเสียงอากาศผานเขาออกหรือไม
56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
1.1.3 สัม ผัส โดยใชแ กม ของผูชว ยเหลือ สํา ลี หรือ วัต ถุบ างเบา แนบลงใกลกับ จมูก และปากของผูปวย เพื่อสัม ผัสความรูสึ กว ามี อากาศผา นเข าออกจากปากและจมู กของผูป วยหรื อไม หากพบวา ผูปว ย ไมตอบสนอง รวมถึงหายใจผิดปกติหรือหยุดหายใจ ใหรีบโทรขอความชวยเหลือจากหนวยแพทยทันที 2. การชวยฟนคืนชีพ (CPR) การชวยฟนคืนชีพ หรือ CPR ยอมาจาก Cardio Pulmonary Resuscitation เปนกระบวนการที่ชวยใหหัวใจสามารถ นําเลือดที่มีออกซิเจนไปเลี้ยงสวนตาง ๆ ของรางกายได เพื่อใหผูปวยสามารถหายใจและฟนกลับมาเขาสูสภาวะปกติได ทั้งนี้ หากพบผูหมดสติแ ละหยุดหายใจหรือหายใจผิดปกติ ควรรีบแจงหนวยแพทย ถาผูชวยเหลือไมเคยผานการฝกอบรม CPR ใหทําการกดหนาอกเพีย งอยางเดียว โดยฟงคําแนะนําจากทีม แพทย แตถาผูชวยเหลือเคยผานการฝกอบรม CPR มาแลว ใหทําการกดหนาอกสลับกับการชวยหายใจได ปฏิบัติการชวยฟนคืนชีพ ประกอบดวย 3 ขั้นตอนสําคัญ คือ A, B และ C ซึ่งตองทําตามลําดับ ดังนี้ A : Airway คือ การเปดทางเดินหายใจใหโลง เนื่องจากโคนลิ้นและกลองเสียงมีการตกลงไปอุดทางเดินหายใจ สวนบน ในผูปวยที่หมดสติ มีขั้นตอนดังนี้ 1) จัดใหผูปวยนอนหงายราบบนพื้นแข็ง วางแขนสองขางแนบลําตัว เพื่อเปดทางใหมีอากาศเขาสูปอดไดสะดวก โดยผูปฐมพยาบาลจะอยูทางดานขวา หรือดานซายบริเวณศีรษะของผูปวยก็ได ดังภาพที่ 5.2 2) ใหผูชวยเหลือนั่งคุกเขาตรงระดับไหลของผูปวย ดังภาพที่ 5.2
ภาพที่ 5.2 การจัดทาที่ถูกตองของผูปวยและผูใหความชวยเหลือ 3) แหงนศีรษะของผูปวยโดยใชฝามือขางหนึ่งดันหนาผาก และใชนิ้วชี้และนิ้วกลางของมืออีกขางเชิดคางขึ้น เพื่อทําใหทางเดินหายใจโลง และปองกันไมใหลิ้นตกไปอุดปดทางเดินหายใจ ระวังไมใหนิ้วมือที่เชิดคางนั้ น กดลึกลงไปในสวนของเนื้อใตคาง เพราะจะทําใหอุดกั้นทางเดินหายใจได โดยเฉพาะอยางยิ่งในเด็ กเล็ ก สําหรับในเด็กแรกเกิดไมควรหงายคอมากเกินไป เพราะอาจทําใหเกิดหลอดลมแฟบ และเกิดอุดตัน ทางเดินหายใจได ดังภาพที่ 5.3 57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ภาพที่ 5.3 แหงนศรีษะของผูปวย โดยใชฝามือขางหนึ่งดันหนาผาก B : Breathing คือ การชวยหายใจ เพื่อชวยใหออกซิเจนเขาสูปอดผูปวย สามารถทําได 2 วิธีดังนี้ 1) วิธีเ ปา ลมเขา ปาก ใหผูชว ยเหลือ บีบ จมูกของผูปว ย โดยผูชว ยเหลือ หายใจเขาปอดลึก ๆ 2-3 ครั้ง เมื่อ หายใจเขาเต็ม ที่แ ลวจึงประกบปากใหแ นบสนิทกับปากของผูปวย และเปาลมหายใจเขาไปในปอด ของผูปวยใหเต็มที่ ดังภาพ 5.4
ภาพที่ 5.4 การชวยเหลือการเปาลมเขาปาก 2) วิธีเ ปาลมเขาจมูก ใชใ นรายที่ม ีการบาดเจ็บในปาก หรือ ในเด็กเล็ก โดยตอ งปด ปากของผูปว ยกอน และเปาลมหายใจเขาทางจมูกแทน ขณะที่เปาใหเหลือบมองทรวงอกของผูปวยดวยวามีการยกตัวขึ้น หรือไมการเปาลมหายใจของผูชวยเหลือผานทางปากหรือจมูกในกรณีที่ไมสามารถอาปากของผูปวยได โดยการเปาลมหายใจนั้นจะตองทําอยางชา ๆ แลวปลอยปากผูชวยเหลือออกจากปากหรือจมูกของผูปวย เพื่อใหผูปวยหายใจออก ใหผายปอด 2 ครั้ง ครั้งละ 1-1.5 วินาที C : Circulation คือ การนวดหัวใจภายนอก เมื่อพบวาผูปวยมีภาวะหัวใจหยุดเตน จะชวยใหมีการไหลเวียนของเลื อด โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1) จัดใหผูปวยนอนหงายราบบนพื้นแข็ง หรือใชไมกระดานรองหลังของผูปวย สวนผูปฐมพยาบาลนั่งคุกเขา ลงขางขวา หรือขางซายบริเวณหนาอกผูปวย 2) วัดตําแหนงที่เหมาะสําหรับการนวดหัวใจ โดยผูชวยเหลือใชนิ้วชี้และนิ้วกลางขางที่ถนัดวาดจากขอบชายโครงล าง ของผูปวยขึ้นไปจนถึงปลายกระดูกหนาอก โดยวัดเหนือปลายกระดูกหนาอกขึ้นมา 2 นิ้วมือ ดังภาพ 5.5 58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใชสันมือขางที่ไมถนัดวางบนตําแหนงดังกลาว และใชสันมือขางที่ถนัดวางทับลงไป จากนั้นเกี่ยวใหนิ้วมื อบน แนบชิดในรองนิ้วมื อของมือข างลา งจากนั้ นยกปลายนิ้วขึ้ นจากหนาอกและตองมั่นใจวาไมกดน้ําหนัก ลงบนกระดูกซี่โครงของผูปวยดังภาพที่ 5.6
ภาพที่ 5.5 ตําหนงที่เหมาะสําหรับการนวดหัวใจ
ภาพที่ 5.6 ตําแหนงในการใชสันมือวางทับ 3) ยืดไหลและแขนทั้ง 2 ขางเหยียดตรง จากนั้นปลอยน้ําหนักตัวผานจากไหลไปสูแขนทั้งสองขาง และลงไป สูก ระดูก หนา อกในแนวตั้ง ฉากกับ ลํา ตัว ของผูปว ยในผูใ หญแ ละเด็ก โต ใหก ดลงไปลึก ในแนวดิ่ง ประมาณ 5 เซนติเมตร และไมเกิน 6 เซนติเมตร 4) ผ อ นมื อ ที่ ก ดเพื่ อ ให ท รวงอกมี ก ารขยายตั ว เต็ ม ที่ ขณะที่ ผ อ นมื อ อย า ยกมื อ ออกจากหน า อก ไมจําเปนตองยกมือขึ้นสูง โดยใหมือยังคงสัมผัสอยูที่กระดูกหนาอก ดังภาพที่ 5.7
59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ภาพที่ 5.7 ภาพการกดที่ทรวงอก 5) กดหนาอกดวยอั ต ราความเร็ว 100 -120 ครั้งตอนาที จังหวะการกดแตล ะครั้ ง ใหนับสองพยางค คือ “1 และ 2 และ 3 และ ... และ 14 และ 15” โดยกดหนาอก 30 ครั้ง สลับกับการชวยหายใจ 2 ครั้ง หรือก็คือ 30 ตอ 2
60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 1. การตรวจวาผูปวยหมดสติหรือไม สามารถทําไดโดยการเรียกและเขยาตัวหรือ ตบที่ไหล 2. การประเมิ นการหายใจ คื อ การตรวจดู ว าผู ป วยหายใจหรื อไม รวมไปจนถึ ง ความเคลื่อนไหวของทรวงอกและหนาทอง 3. การประเมินระดับความรูสึกตัวของผูปวย ทําไดโดยการใชแกมของผูชวยเหลือ หรือวัตถุบางเบา แนบลงใกลกับจมูกและปากของผูปวย 4. การจัดทานอนใหกับผูปวย จะตองจัดใหนอนหงายราบบนพื้นแข็ง วางแขนสองขาง แนบลําตัว เพื่อเปดทางใหมีอากาศเขาสูปอดไดสะดวก 5. การเปดทางเดินหายใจใหโลง มีขอควรระวังในการใชนิ้วชี้และนิ้วกลางเชิ ด คาง ของผูปวยขึ้น คือ ไมใ หน้ิวมือกดลึกลงไปในสวนของเนื้อใตคาง เพราะจะทําให อุดกั้นทางเดินหายใจได
61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ขอ
ถูก
ผิด
1 2 3 4 5
62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
คณะผูจ ดั ทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
3. นายธวัช 4. นายสุรพล
เบญจาทิกุล พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา
ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน
ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก
7. นายวัชรพงษ
มุขเชิด
ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ
คําเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพสาลี
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกลา
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กําภู ณ อยุธยา
สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงควัฒนานุรักษ
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
11. นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน