0
หนาปก
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
คูมือผูรับการฝก 0920163100501 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1
ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝกที่ 1 09210101 ความปลอดภัยในสถานทีท่ ํางาน
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
คํานํา
คูมือผูรับการฝก สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 โมดูล 1 ความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน ฉบับนี้ เปนสวนหนึ่ง ของหลั กสู ต รฝ กอบรมฝ มือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปน เอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน ด ว ยระบบการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการการ ฝกอบรมใหเปนไปตามหลั ก สู ต ร กล า วคื อ อบรมผู รั บ การฝ ก ให ส ามารถปฏิ บั ติ ง านได อ ย า งปลอดภั ย และติ ด ตาม ความก า วหน า ของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน
ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
เรื่อง
สารบั ญ
คํานํา สารบัญ ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก โมดูลการฝกที่ 1 09210101 ความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน หัวขอวิชาที่ 1 0921010101 ความรูเกี่ยวกับวัสดุติดไฟงายและสารอันตราย หัวขอวิชาที่ 2 0921010102 วิธีการปฏิบัตงิ านที่ปลอดภัย หัวขอวิชาที่ 3 0921010103 กฎของโรงงาน หัวขอวิชาที่ 4 0921010104 การใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ หัวขอวิชาที่ 5 0921010105 หลักการเบื้องตนของการปองกันอัคคีภัยและการดับเพลิง หัวขอวิชาที่ 6 0921010106 วิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน คณะผูจัดทําโครงการ
ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
หนา ก ข 1 14 22 28 39 62 83 113
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ขอแนะนําสําหรับผูร ับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้
1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ขอวิชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เ กิดจากการนํ าความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเข า ใช ง านระบบ แบงสว นการใชง านตามความรับ ผิด ชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดัง ภาพในหนา 2 ซึ่งรายละเอียดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
.
2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ในคูมือผูรับการฝก จะเริ่มตนที่ ค. ผังการฝกอบรม เพื่อให สอดคลองกับการนําคูมือผูรับการฝกไปใช จึงละเวน ก. ผังการจัดเตรียมระบบ และ ข. ผังการเปดรับสมัครและคัดเลือก ผูรับการฝก ค. ผังการฝกอบรม
3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถั ด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม 4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ผูรับการฝกดาวนโหลดแอปพลิ เคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวนโหลดแอปพลิ เ คชั น สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหาแอป พลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ
5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
- ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการ ฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70
เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 6
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตาม เกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว 4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก
7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก
8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาที่ตรวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถ าไม ครบ จะไม จ บหลั กสู ตรแต ได รับ การรับ รองความสามารถบางโมดูลในรายการโมดูลที่สําเร็จ เทานั้น ซึ่งสามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ
9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920163100501
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางบํารุงรักษารถยนตเพื่อให มีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน 1.2 สามารถบวก ลบ คูณ หาร จํานวนเต็ม เศษสวน และทศนิยม 1.3 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติของของเหลว หนวยการวัด ความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน เคมีเบื้องตน หลักการของของเหลว มวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรง 1.4 มีความรูเกี่ยวกับวัสดุและสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน เชน น้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน สารกันสนิม และทอที่ใชในงานรถยนต 1.5 มีความรูเกี่ยวกับเครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต 1.6 มีความรูเกี่ยวกับหนาที่และโครงสรางของสวนประกอบรถยนต 1.7 มีความรูและสามารถปฏิบัติงานการบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 2. ระยะเวลาการฝก ผู รั บ การฝ กจะได รั บ การฝ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบัน พัฒ นาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 85 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไม พร อมกัน สามารถจบกอนหรื อเกินระยะเวลาที่กําหนดไว ในหลั กสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการ สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 7 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 7 โมดูล 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 4.3 ผู รั บ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ า นการฝ ก ครบทุ ก หน ว ยความสามารถ จะได รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. ชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1
11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 1 1. ชื่อหลักสูตร 2. ชื่อโมดูลการฝก 3. ระยะเวลาการฝก 4. ขอบเขตของหนวย การฝก
5. พื้นฐาน ความสามารถของ ผูรับการฝก
รหัสหลักสูตร 0920163100501 ความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน รหัสโมดูลการฝก 09210101 รวม 12 ชั่วโมง 45 นาที ทฤษฎี 3 ชั่วโมง 45 นาที ปฏิบัติ 9 ชั่วโมง หน ว ยการฝ กนี้ พั ฒ นาขึ้น ใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับ การฝ ก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟงายและสารอันตรายได 2. บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได 3. อธิบายกฎของโรงงานและปายเตือนตาง ๆ ได 4. อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได 5. ใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได 6. อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได 7. ปฏิบัติตามวิธีการปองกันอัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได 8. อธิบายวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตนได 9. ปฐมพยาบาลเบื้องตนได ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1. มีความรูเรื่องความปลอดภัยในการใชงานอุปกรณงานชางเบื้องตน 2. มีความรูเรื่องวิธีการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย 3. มีความรูเรื่องการรักษาบาดแผลตาง ๆ และความรูในการปฐมพยาบาลเบื้องตน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1
6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถ และใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุ หัวขอที่ 1 : ความรูเกี่ยวกับวัสดุติดไฟงายและสาร 0:30 0:30 ติดไฟงายและสารอันตรายได อันตราย
12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
2. บอกขั้นตอนการปฏิบัตงิ านที่ ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได 3. อธิบายกฎของโรงงานและ ปายเตือนตาง ๆ ได 4. อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ ได 5. ใชอุปกรณปองกันอันตราย ประเภทตาง ๆ ได 6. อธิ บ ายวิ ธี ก ารป อ งกั น อั ค คี ภั ย และหลักการดับเพลิงได 7. ปฏิบัติตามวิธีการปองกัน อัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได 8. อธิบายวิธีการปฐมพยาบาล เบื้องตนได 9. ปฐมพยาบาลเบื้องตนได
หัวขอที่ 2 : วิธีการปฏิบัตงิ านที่ปลอดภัย
0:30
-
0:30
หัวขอที่ 3 : กฎของโรงงาน
0:15
-
0:15
หัวขอที่ 4 : การใชอุปกรณปองกันอันตราย ประเภทตาง ๆ
0:45
2:30
3:15
หัวขอที่ 5 : หลักการเบื้องตนของการปองกัน อัคคีภัยและการดับเพลิง
0:45
3:00
3:45
หัวขอที่ 6 : วิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน
1:00
3:30
4:30
รวมทั้งสิ้น
3:45
9:00
12:45
13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921010101 ความรูเกี่ยวกับวัสดุติดไฟงายและสารอันตราย (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟงายและสารอันตรายได
2. หัวขอสําคัญ 1. ความหมายของวัตถุไวไฟและสารอันตราย 2. หลักการใชวัสดุติดไฟงายและสารอันตราย
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก
4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม ศศิมา ครองพันธ. การใชสารเคมีอยางถูกตองและปลอดภัย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://sites.google.com/site/krunarm2/bth-thi-3-kar-chi-sar-khemi-xyang-thuk-khx-ng-laea-plxdph/kar-chi-sar-khemi-xyang-thuk-txng-laea-plxdphay สุชาตา ชินะจิตร. 2549. สารไวไฟ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.chemtrack.org/NewsDetail.asp?TID=1&ID=42
15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ความรูเกี่ยวกับวัสดุติดไฟงายและสารอันตราย ผูปฏิบัติงานทุกคนควรมีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับวัสดุติดไฟงาย สารอันตราย พรอมทั้งทราบวิธีการใชงานที่ถูกตอง แลว นําไปปฏิบัติตามอยางเครงครัด เพื่อปองกันการเกิดอันตรายระหวางปฏิบัติงาน 1. ความหมายของวัตถุไวไฟและสารอันตราย 1.1 วัสดุติดไฟงาย หรือ วัตถุไวไฟ คือ วัตถุหรือสารที่สามารถติดไฟไดงาย เมื่อไดรับความรอนหรือประกายไฟ โดยมี สถานะเปนของเหลว ของแข็ง หรือแกสก็ได 1.2 สารอันตราย คือ ธาตุ หรือ สารประกอบ ที่มีคุณสมบัติเปนพิษหรือเปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิต ทรัพยสิน และสงผล ให สิ่ งแวดล อมเกิ ดความเสื่ อ มโทรม ซึ่ งสารอัน ตรายสามารถจํา แนกไดห ลายประเภท เชน วัตถุร ะเบิด แกส ของเหลวไวไฟ ของแข็งไวไฟ วัตถุกัดกรอน วัตถุมีพิษและวัตถุติดเชื้อ เปนตน
ภาพที่ 1.1 วัตถุระเบิด
ภาพที่ 1.2 แกส
ภาพที่ 1.3 น้ํามันเชื้อเพลิง
ภาพที่ 1.4 กํามะถัน (ของแข็งไวไฟ)
ภาพที่ 1.5 โซเดียมไฮดรอกไซด (วัตถุกัดกรอน)
ภาพที่ 1.6 วัตถุมีพิษ 16
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ภาพที่ 1.7 ขยะที่มีเชื้อโรคปนเปอนและเข็มฉีดยาใชแลว 2. หลักการใชวัสดุติดไฟงายและสารอันตราย มีดังตอไปนี้ 2.1 หลีกเลี่ยงหรือเพิ่มความระมัดระวังในการใชวัสดุติดไฟงายในบริเวณที่อยูใกลผิวโลหะที่มีอุณหภูมิสูง ทอน้ํารอน และ บริเวณที่กอใหเกิดประกายไฟ เปนตน 2.2 หากแกสไวไฟรั่วไหล ใหพยายามปดรอยรั่วใหเร็วที่สุด และเปดประตูหนาตางทั้งหมด เพื่อทําใหแกสเจือจางโดยเร็ว 2.3 หามสูบบุหรี่ในบริเวณที่มีวัตถุไวไฟ
ภาพที่ 1.8 สัญลักษณหามสูบบุหรี่ 2.4 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติของสารอันตราย 2.5 รูวิธีการเก็บรักษาที่ถูกตอง 2.6 อานฉลากและวิธีใชงานกอนทุกครั้ง 2.7 คัดแยกสารเคมีกอนทิ้งทุกครั้ง 2.8 รูจักสัญลักษณของสารอันตรายตาง ๆ
17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ภาพที่ 1.9 สูบบุหรี่ในสถานที่ไมปลอดภัย
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ภาพที่ 1.10 สัญลักษณของสารอันตราย วัตถุไวไฟ และวัตถุมีพิษ 2.9 หากถูกสารเคมีใหรีบลางน้ําสะอาดทันที 2.10 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล
18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดกลาวถึง ความหมายของวัตถุไวไฟ ถูกตองที่สุด ก. วัสดุที่มีสารเคมีเปนสวนประกอบ ข. วัสดุที่มีสถานะเปนของเหลวหรือแกส ค. วัสดุติดไฟงายเมื่อไดรับความรอนหรือประกายไฟ ง. วัสดุติดไฟได เมื่อไดรับความรอนที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียสขึ้น 2. บุคคลใด ปฏิบัติตนตามหลักการใชสารอันตราย ก. สมปองนําสารเคมีที่ใชแลวใสถุงและทิ้งลงถังขยะทั่วไป ข. อํานวยอานฉลากสมบัติของสารเคมีกอนนํามาใชงานเสมอ ค. พรชัยเก็บสารเคมีทุกชนิดรวมไวในตูเก็บของหองปฏิบัติงาน ง. สุชาติสูบบุหรี่ในพื้นที่หามสูบ เพราะเห็นวาไมมีวัสดุไวไฟ 3. ขอใด คือ สัญลักษณของสารอันตราย
ก. ข. ค. ง.
19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
4. ขอใด ไมใช สารอันตราย ก. น้ํามันเชื้อเพลิง ข. แกส ค. กํามะถัน ง. น้ําเกลือ 5. บุคคลใด ปฏิบัติตนถูกตองเมื่อเกิดเหตุการณแกสไวไฟรั่วไหล ก. อนุชาพยายามปดรอยรั่วพรอมทั้งเปดหนาตางและประตูเพื่อทําใหแกสเจือจาง ข. ศักดาใชถังดับเพลิงฉีดเขาไปในบริเวณที่เกิดเหตุเพื่อทําใหแกสเจือจาง ค. ยุทธนาปดหนาตางทุกบานเพื่อปองกันไมใหแกสรั่วไหลออกไปภายนอก ง. สิทธิศักดิ์เคลื่อนยายวัตถุตนเหตุที่เกิดรั่วไหลออกไปนอกพื้นที่
20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
กระดาษคําตอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5
21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921010102 วิธีการปฏิบัตงิ านที่ปลอดภัย (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได
2. หัวขอสําคัญ 1. หลักการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย 2. หลักการใชเครื่องมือและอุปกรณอยางปลอดภัย
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก
4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 7. บรรณานุกรม ไทยแลนดอินดัสตรี้ดอทคอม การใชเครื่องมือและเครื่องมือกลอยางปลอดภัย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.jorpor.com/forum/index.php?topic=3546.0;wap2 ความปลอดภัยในการทํางาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://kru-wattanachi.blogspot.com/2014/11 /blog-post_24.html
23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 วิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย ผูปฏิบัติงานทุกคนควรยึดถือและปฏิบัติตามหลักการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย เพื่อความเปนระเบียบเรียบรอย งายตอ การควบคุมดูแล และปองกันการเกิดอันตรายระหวางปฏิบัติงาน 1. หลักการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย หลักการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย มี 10 ขอ ดังตอไปนี้ 1) แตงกายใหรัดกุมเหมาะสมกับการปฏิบัติงาน
ภาพที่ 2.1 การแตงกายที่เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน 2) ตรวจสอบอุปกรณ เครื่องมือ และเครื่องจักรใหอยูในสภาพพรอมใชงาน 3) ไมใชเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณตาง ๆ หากยังไมไดรับคําแนะนําเกี่ยวกับวิธีการใช 4) สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลทุกครั้ง เมื่อตองปฏิบัติงานที่อาจเกิดอันตราย 5) ไมเลนหรือหยอกลอกันในขณะปฏิบัติงาน 6) ถาอุปกรณการใชงาน เครื่องมือ หรือเครื่องจักร ชํารุดขณะปฏิบัติงานตองแจงผูควบคุมทราบทันที 7) ถาเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน ตองแจงผูควบคุมทราบทันที 8) ทําความสะอาดอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องจักร และพื้นโรงงานใหเรียบรอย หลังการปฏิบัติงานทุกครั้ง 9) หามนําเครื่องมือหรืออุปกรณใด ๆ ออกนอกบริเวณโรงงานโดยไมไดรับอนุญาต 10) ผูปฏิบัติงานตองศึกษาและปฏิบัติตามกฎความปลอดภัยของโรงงานอยางเครงครัด
24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
2. หลักการใชเครื่องมือและอุปกรณอยางปลอดภัย เครื่องมือและอุปกรณถือเปนสิ่งสําคัญในการปฏิบัติงานชาง จึงตองมีการกําหนดหลักการใชเครื่องมือและอุปกรณอยาง ปลอดภัย ใหผูปฏิบัติงานปฏิบัติตาม เพื่อใหการทํางานประสบความสําเร็จ และปลอดภั ย โดยหลักการใชเครื่องมื อ และ อุปกรณอยางปลอดภัย มี 8 ขอ ดังตอไปนี้ 1) เลือกใชเครื่องมือหรืออุปกรณที่เหมาะสมกับงาน 2) เลือกใชเครื่องมือหรืออุปกรณที่อยูในสภาพพรอมใช 3) ใชเครื่องมือหรืออุปกรณอยางถูกวิธี 4) สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลทุกครั้ง
ภาพที่ 2.2 สวมอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนปฏิบัติงาน 5) หามทํางานกับเครื่องมือหรือเครื่องมือกลที่ไมไดรับมอบหมาย 6) เมื่อตองใชงานเครื่องมือกลที่หมุนได หามสวมถุงมือ เสื้อผาที่ไมรัดกุม และเครื่องประดับเด็ดขาด 7) หามใชอวัยวะสวนใดสวนหนึ่งหยุดเครื่องมือกล 8) เมื่อปดเครื่องมือกลแลว ใหรอดูจนกวาเครื่องจะหยุดสนิท เพื่อปองกันไมใหบุคคลอื่นไดรับอันตราย
25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 1. ไมใชเครื่องมือและอุปกรณตาง ๆ หากยังไมไดรับคําแนะนําวิธีการใช 2. หยอกลอกับเพื่อนระหวางปฏิบัติงาน เพื่อผอนคลายความตึงเครียด 3. เมื่อเกิดอุบัติเหตุระหวางปฏิบัติงาน ตองแจงผูควบคุมทันที 4. นําเครื่องมือและอุปกรณของศูนยฝกอบรมกลับไปใชงานที่บาน 5. ใชมือหยุดเครื่องมือกลที่กําลังทํางาน 6. หามสวมถุงมือ เมื่อตองใชงานเครื่องมือกลที่หมุนได 7. ตรวจสอบสภาพเครื่องมือกอนนํามาใชงานทุกครั้ง 8. อยูทํางานลวงเวลาเพียงลําพัง เพื่อใหงานสําเร็จ 9. ศึกษาวิธีการใชกฎระเบียบและปฏิบัติตามอยางเครงครัด 10. สวมแวนตานิรภัยเมื่อตองปฏิบัติงานเกี่ยวกับน้ํากรด
26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
กระดาษคําตอบ ขอ
ถูก
ผิด
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3 0921010103 กฎของโรงงาน (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายกฎของโรงงานและปายเตือนตาง ๆ ได
2. หัวขอสําคัญ 1. กฎทั่วไปเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 2. ปายเตือนตาง ๆ ในโรงงาน
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก
4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการดานความปลอดภัยฯ เกี่ยวกับไฟฟา พ.ศ. ๒๕๕๘. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.oshthai.org/index.php?option=com_content&view=article&id= 218%3A-m-m-s&catid=1%3Anews-thai&Itemid=201 กฎระเบียบความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.craft-skill.com/_m/article/ content/content.php?aid=554586 การบริหารงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สีและเครื่องหมายความปลอดภัย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd =7&ved=0ahUKEwjg6Iuro-DXAhUM448KHT9cAJgQFgg2MAY&url=http%3A%2F%2Fcompacpaint.com %2Fsym%2Froot%2Fvar%2Fwww%2Fhtml%2Fwebmail%2Fdatabase%2Finfo_1241miraculous.com_ localhost%2F_attachments%2Fe7c76e7d362bc1ce81437f783235b0cb_697856_%25CA%25D5%25E1 %25C5%25D0%25E0%25A4%25C3%25D7%25E8%25CD%25A7%25CB%25C1%25D2%25C2%25A4%2
29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
5C7%25D2%25C1%25BB%25C5%25CD%25B4%25C0%25D1%25C2.doc&usg=AOvVaw1s280SzTdY7zP K5seHg56M
30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 กฎของโรงงาน ผูปฏิบัติงานควรปฏิบัติตามกฎและขอปฏิบัติดานความปลอดภัย ดังตอไปนี้ 1. กฎทั่วไปเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 1) ปฏิบัติตามระเบียบ คําแนะนําตาง ๆ อยางเครงครัด ไมฉวยโอกาสหรือละเวน ถาไมทราบไมเขาใจใหถาม เจาหนาที่ความปลอดภัยหรือหัวหนางาน 2) เมื่อพบเห็นสภาพการทํางานที่ไมปลอดภัย หรือพบวาเครื่องมือเครื่องใชชํารุดไมอยูในสภาพที่ปลอดภัย ตองรายงานใหผูบังคับบัญชาทราบโดยเร็ว
ภาพที่ 3.1 เครื่องมือที่อยูในสภาพไมปลอดภัย 3) สังเกตและปฏิบัติตามปายหามปายเตือนอยางเครงครัด 4) หามบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขาไปบริเวณทํางานที่ตนไมมีหนาที่เกี่ยวของ 5) อยาทํางานในที่ลับตาคนเพียงผูเดียวโดยไมมีใครทราบ โดยเฉพาะการทํางานหลังเวลาทํางานปกติ 6) แตงกายใหเรียบรอยรัดกุม และหามถอดเสื้อในขณะที่ปฏิบัติงานตามปกติ 7) ใสหมวกนิรภัยตลอดเวลาทํางานตามที่เครื่องหมายบังคับกําหนด 8) หามใสรองเทาแตะ ตองใสรองเทาหุมสนตลอดเวลาทํางานในสภาพปกติที่สามารถใสได
ภาพที่ 3.2 หามใสรองเทาแตะในขณะปฏิบัติงาน
31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
9) หามหยอกลอเลนกันในขณะปฏิบัติงาน 10) หามเสพของมึนเมา และเขามาในสถานที่ปฏิบัติงานในลักษณะมึนเมาโดยเด็ดขาด 11) หามปรับแตงหรือซอมแซมเครื่องจักรกล และอุปกรณไฟฟาที่ตัวเองไมมีหนาที่หรือไมไดรับอนุญาต ตองให ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานเทานั้นเปนผูดําเนินการ 12) ใชอุปกรณปองกันตาง ๆ และรักษาอุปกรณเหลานั้นใหอยูในสภาพที่ดีอยูเสมอ 13) หากไดรับบาดเจ็บ ตองรายงานใหหัวหนางานและเจาหนาที่ความปลอดภัยทราบ เพื่อสอบถามสาเหตุหาวิธีปองกัน และแจงใหผูปฏิบัติงานอื่น ๆ และรับการปฐมพยาบาลเพราะหากปลอยไวอาจเกิดอันตรายในภายหลัง 14) หากหัวหนางานเห็นวาผูใตบังคับบัญชาไมอยูในสภาพที่จะทํางานไดอยางปลอดภัย ตองสั่งใหหยุดพักทํางานทันที 2. ปายเตือนตาง ๆ ในโรงงาน สัญลักษณปลอดภัย หรือ safety sign หมายถึง เครื่องหมายที่ใชสื่อความหมายอยางเฉพาะเจาะจงกับผูที่อาจไดรับ อันตรายในสถานที่ทํางาน การปฏิบัติตามสัญลักษณและเครื่องหมายความปลอดภัยอยางเครงครัดจะชวยลดความสูญเสีย อันเนื่องมาจากอุบัติภัยตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได โดยสัญลักษณความปลอดภัยจะใชสีและมีสัญลักษณหรือภาพที่ตรงกลางของ เครื่องหมาย เพื่อแสดงความหมายที่แตกตางกัน ดังนี้ สีเพื่อความปลอดภัย
สีตัด
สีแดง
สีขาว
ความหมาย - หยุด
ตัวอยางการใชงาน - เครื่องหมายหยุด - เครื่องหมายอุปกรณหยุดชั่วคราว - เครื่องหมายหาม - ระบบดับเพลิง
สีเหลือง
สีดํา
- ระวัง
- ชี้บงวามีอันตราย
- มีอันตราย
(เชน ไฟ วัตถุระเบิด) - ชี้บงถึงเขตอันตราย - เครื่องหมายเตือน
32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
สีเพื่อความปลอดภัย
สีตัด
ความหมาย
สีฟา
สีขาว
- บังคับใหตอง ปฏิบัติ
สีเขียว
สีขาว
- แสดงภาวะ ปลอดภัย
ตัวอยางการใชงาน - บังคับใหสวมเครื่องปองกันสวนบุคคล - เครื่องหมายบังคับ
- ทางหนี - ทางออกฉุกเฉิน - หนวยปฐมพยาบาล - หนวยกูภัย - แสดงภาวะปลอดภัย
ภาพที่ 3.3 สัญลักษณความปลอดภัย 2.1 สัญลักษณปลอดภัย จะแบงเปน 4 ประเภท คือ a. เครื่องหมายหาม เปนรูปวงกลม มีแถบตามขอบและเสนตัดขวางเปนสีแดง พื้นเปนสีขาว สวนภาพหรือ สัญลักษณภายในเปนสีดํา เชน หามดื่มสุรา หามสูบบุหรี่ หามสัมผัส หามจุดไฟ หามใชเครื่องจักร หาม สวมรองเทาแตะ หามปน และหามเดินหรือยืนบริเวณนี้ ดังภาพ
ภาพที่ 3.4 เครื่องหมายหาม
33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
1) เครื่องหมายเตื อน เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทา มีแถบตามขอบเปนสี ดํา พื้นเปนสีเหลือง สวนภาพหรื อ สัญลักษณภายในเปนสีดํา เชน ระวังอันตราย ระวังไฟฟาแรงสูง ระวังสารกัมมันตภาพรังสี ระวังความรอน ระวังวัตถุไวไฟ ระวังตก ระวังประกายไฟ และระวังของตกจากที่สูง ดังภาพ
ระวังอันตราย
ระวังรอน
ระวังไฟฟาแรงสูง ระวังสารกัมมันตภาพรังสี
ระวังวัตถุไวไฟ
ระวังตก
ระวังประกายไฟ ระวังของตกจากที่สูง
ภาพที่ 3.5 เครื่องหมายเตือน 2) เครื่องหมายบังคับ ซึ่งเปนการบังคับใหตองปฏิบัติตาม จะเปนรูปวงกลมสีน้ําเงิน ในกรอบดํา มีภาพหรือ สั ญลั กษณ ภ ายในเป น สี ข าว เช น สวมชุ ด ป องกั น สารเคมี สวมกระบั งหน า นิ ร ภั ย สวมรองเท า นิ ร ภั ย สวมแว น ตานิ รภัย สวมถุ งมื อนิ ร ภัย ตองสวมชุดปกปองรางกาย สวมหมวกนิรภัย และตองสวมเสื้อผา สะทอนแสง ดังภาพ
ภาพที่ 3.6 เครื่องหมายบังคับ
34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
3) เครื่องหมายสารนิเทศเกี่ยวกับสภาวะปลอดภัย เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือสี่เหลี่ยมผืนผา พื้นเปนสีเขียว สวนภาพหรือสัญลักษณภายในเปนสีขาว เชน สภาวะความปลอดภัย ชําระลางดวงตาฉุกเฉิน ปุมกดสําหรับ หยุดฉุกเฉิน น้ําชําระลางฉุกเฉิน โทรศัพทฉุกเฉิน ปฐมพยาบาล ทางหนีไฟ ทางออก ดังภาพ
ภาพที่ 3.7 เครื่องหมายสารนิเทศเกี่ยวกับสภาวะปลอดภัย
35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. บุคคลใด ไมปฏิบัติตามกฎของโรงงานอยางเครงครัด ก. ขจรเดชนําเครื่องมือที่ชํารุดไปซอมบํารุงดวยตนเอง ข. ศักดิ์ดาสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งเมื่ออยูในพื้นที่ปฏิบัติงาน ค. อํานาจสวมรองเทานิรภัยตลอดเวลา ง. อนุชาแจงหัวหนางานทันทีหลังพบวาเครื่องจักรทํางานผิดปกติ 2. ขอใด ไมถือ เปนกฎทั่วไปที่เกี่ยวกับความปลอดภัย ก. หามทํางานในที่ลับตาตามลําพัง ข. อานปายเตือนและปฏิบัติตามอยางเครงครัด ค. หามพาบุคคลภายนอกเขาเยี่ยมชมบริเวณที่ปฏิบัติงาน ง. ทําความสะอาดสถานที่ปฏิบัติงานทุก 1 สัปดาห 3.
สัญลักษณขางตน มีความหมายวาอยางไร ก. ระวังไฟฟาแรงสูง ข. ระวังอันตราย ค. ระวังวัตถุระเบิด ง. ระวังสารกัมมันตภาพรังสี
4. ปายสัญลักษณความปลอดภัยที่ “บังคับใหตองปฏิบัติตาม” จะใชสีใด ก. สีแดงตัดขาว ข. สีเหลืองตัดดํา ค. สีฟาตัดขาว ง. สีเขียวตัดขาว
36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
5.
ภาพขางตน จัดเปนเครื่องหมายประเภทใด ก. เครื่องหมายบังคับ ข. เครื่องหมายหาม ค. เครื่องหมายเตือน ง. เครื่องหมายสารนิเทศเกี่ยวกับสภาวะปลอดภัย
37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
กระดาษคําตอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5
38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 4 0921010104 การใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได 2. ใชอปุ กรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได
2. หัวขอสําคัญ 1. ความหมายของอุปกรณปองกันสวนบุคคล 2. หลักเกณฑในการใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล 3. ประเภทของอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก
4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก
6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝกกําหนดได
40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
7. บรรณานุกรม สํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา. แผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการที่ 5 เรื่อง เครื่องปองกันอันตราย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://building.cmtc.ac.th/main/images/stories/kartisak/ Rsewa%20Rnamai/ week%205.pdf
41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 4 การใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ อุปกรณปองกันสวนบุคคลโดยทั่วไปมักจะเรียกกันวา อุปกรณนิรภัย หรือ เซฟตี้ (Safety) 1. ความหมายของอุปกรณปองกันสวนบุคคล อุปกรณปองกันสวนบุคคล หมายถึง อุปกรณที่ใชสวมใสอวัยวะตาง ๆ ของรางกาย เพื่อปองกันอันตรายจากการปฏิบัติงาน 2. หลักเกณฑในการใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล มีดังนี้ 2.1 เลือกใชอุปกรณใหเหมาะสมกับลักษณะของงาน 2.2 มีการอบรมวิธีการใชที่ถูกตอง 2.3 สรางความเคยชินในการใชอุปกรณ 2.4 กําหนดระเบียบขอบังคับในการสวมอุปกรณปองกันอันตราย 2.5 จัดเตรียมอุปกรณใหเพียงพอตอจํานวนพนักงาน 2.6 ดูแลทําความสะอาดอยางสม่ําเสมอ 2.7 ตรวจสอบและเก็บรักษาอยางถูกวิธี 3. ประเภทของอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล อุป กรณปองกัน อัน ตรายสว นบุคคล คือ สิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ใชส วมใสป กปดอวัย วะบนรางกาย เพื่อปองกัน อัน ตรายตอ อวัยวะสวนตาง ๆ โดยสามารถแบงประเภทตามลักษณะการใชงานได ดังนี้ 3.1 อุปกรณปองกันใบหนาและดวงตา 1) อุป กรณปองกัน ใบหนา (Face Protection) ใชปองกัน อัน ตรายจากเศษวัสดุ สารเคมี และแสงที่จะ เกิดกับใบหนา เชน กระบังปองกันใบหนา หนากากเชื่อม ครอบปองกันใบหนา เปนตน
ภาพที่ 4.1 กระบังปองกันใบหนา
ภาพที่ 4.2 หนากากเชื่อม 42
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ภาพที่ 4.3 ครอบปองกันใบหนา 2) อุปกรณปองกันดวงตา (Eye Protection) หรือ แวนตานิรภัย ใชเปนเครื่องปองกันอันตรายสวนบุคคล จากเศษโลหะหรือ วัส ดุตา ง ๆ ซึ่งสําหรับการปฏิบัติงานที่อาจไดรับอันตรายจากรังสีหรือความร อน แวนตานิรภัยจะเปนเลนสสีเขม เพื่อปองกันแสงสวาง แวนตานิรภัยสามารถแบงออกไดเปน 3 แบบ ตาม มาตรฐานแหงชาติอเมริกัน (ANSI) ดังนี้ - ชนิด A ใชปองกันอันตรายที่เกิดขึ้นทางดานหนา
ภาพที่ 4.4 แวนตาปองกันอันตรายชนิด A - ชนิด B ใชปองกันอันตรายที่จะเกิดจากทุก ๆ ดานของดวงตา
ภาพที่ 4.5 แวนตาปองกันอันตรายชนิด B - ชนิด C ใชปองกันอันตรายที่จะเกิดจากทางดานขาง
ภาพที่ 4.6 แวนตาปองกันอันตรายชนิด C 43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
3.2 อุปกรณปองกันหู เปนอุปกรณลดความดังของเสียงที่จะมารบกวนตอแกวหูและกระดูกหู เพื่อชวยปองกันอันตราย ที่มีตอระบบการไดยิน และชวยปองกันอันตรายจากเศษวัสดุปลิวเขาหูดวย เชน ที่อุดหู (Ear Plug) ซึ่งใชวัสดุที่ทํา จากยางหรือพลาสติกออนที่มีขนาดพ อ ดี กั บ รู หู แ ล ะ สามารถลดความดังของเสียงได 25 - 30 เดซิเบล และ ที่ค รอบหูล ดเสีย ง (Ear Muffs) ซึ่ง จะมีกานโคงครอบศีรษะและใชวัสดุที่มีค วามนุ ม หุ ม ทั บ สามารถลดระดับ ความดังของเสียงได 35 - 40 เดซิเบล
ภาพที่ 4.7 ที่อุดหู (Ear Plug)
ภาพที่ 4.8 ที่ครอบหูลดเสียง (Ear Muffs)
3.3 อุปกรณปองกันอันตรายของระบบหายใจ ใชปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับระบบหายใจของผูที่ทํางานในสถานที่ ที่มีมลพิษ มีหลายชนิดตามความจําเปนในการใชงาน เชน 1) หนากากกรองสารเคมี ผลิตจากพลาสติกหรือยาง มีลักษณะเปนหนากากปดครึ่งใบหนา และมีที่กรองอากาศ อยูที่บริเวณจมูก ภายในบรรจุผงถาน ซึ่งทําหนาที่ดูดซับ ไอของสารพิ ษ เหมาะสําหรับใช ในพื้ น ที่ ที่ มี อากาศพิษความเขมขนต่ํา ไมเหมาะกับบริเวณที่มีออกซิเจนนอย หรือมีสารเคมีที่ไมมีกลิ่น
ภาพที่ 4.9 หนากากกรองสารเคมี 2) หนากากกรองอนุภาคและไอควันของโลหะ ผลิตจากพลาสติกหรือยาง มีลักษณะเปนหนากากครอบ บริเวณจมูก และมีแผนกรองเพื่อกรองฝุนละออง
ภาพที่ 4.10 หนากากกรองอนุภาคและไอควันของโลหะ 44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
3.4 อุปกรณปองกันกันศีรษะ หรือหมวกนิรภัย (Safety Hat) ใชปองกันอันตรายที่เกิดจากแรงกระแทกหรือการเจาะ ทะลุของวัตถุที่ตกใสศีรษะ โดยหมวกนิรภัยสามารถแบงตามลักษณะการใชงานได 4 ประเภท ดังนี้ 1) ประเภท A ทําจากพลาสติกหรือไฟเบอรกลาส เหมาะกับการใชงานทั่วไป เชน งานกอสราง งานโยธา หรืองานเครื่องกล ไมเหมาะกับงานที่เกี่ยวกับไฟฟาแรงสูง ภายนอกหมวกปองกันน้ําไดและไหมไฟชา
ภาพที่ 4.11 หมวกนิรภัยประเภท A 2) ประเภท B ทําจากพลาสติกหรือไฟเบอรกลาส ไมมีรูที่หมวก ปองกันแรงดันไฟฟาไดสูงกวาแบบ A เหมาะ สําหรับงานที่เกี่ยวกับไฟฟาแรงสูง เชน งานเดินสายไฟ เปนตน
ภาพที่ 4.12 หมวกนิรภัยประเภท B 3) ประเภท C ทําจากวัส ดุที่เ ปนโลหะ ไมส ามารถปองกัน แรงดัน ไฟฟาได แตส ามารถทนแรงกระแทก หรือแรงเจาะไดดี เหมาะกับงานที่ไมเกี่ยวของกับกระแสไฟฟา
ภาพที่ 4.13 หมวกนิรภัยประเภท C 4) ประเภท D ใชในการปองกันไฟและแรงดันไฟฟา ทนความรอนสูงเพราะทําจากวัสดุที่ไมไหมไฟ และไมเปน ตัวนําไฟฟา เหมาะสําหรับงานประเภทดับเพลิง 45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ภาพที่ 4.14 หมวกนิรภัยประเภท D 3.5 อุปกรณปองกันเทา หรือรองเทานิรภัย (Safety Shoes) ใชปองกันอันตรายจากเศษวัสดุและเชื้อโรค โดยรองเทา นิรภัยมีอยูดวยกันหลายประเภท เชน 1) รองเท าชนิ ดหั วโลหะ ใชปองกันอั นตรายจากของแหลมคม ทนทานต อแรงกระแทกและความร อน ซึ่ง สามารถรองรับน้ําหนั กได 2500 ปอนด และทนแรงกระแทกของวัตถุหนั กที่ตกจากที่สู ง 1 ฟุต ได 50 ปอนด
ภาพที่ 4.15 รองเทาชนิดหัวโลหะ 2) รองเทาตัวนําไฟฟา เหมาะกับงานที่เกี่ยวของกับกระแสไฟฟา เพราะมีตัวนําไฟฟาสําหรับใหประจุไฟฟา ไหลผานไป
ภาพที่ 4.16 รองเทาตัวนําไฟฟา
46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
3.6 อุปกรณปองกันมือ หรือถุงมือนิรภัย ใชปองกันอันตรายในรูปแบบตาง ๆ ขึ้นอยูกับประเภทของงาน มีอยูดวยกัน หลายประเภท เชน 1) ถุงมือตาขายโลหะ ผลิตจากโลหะที่มีคุณสมบัติยืดได ใชสําหรับปองกันรอยขีดขวนหรือถูกของมีคมบาด
ภาพที่ 4.17 ถุงมือตาขายโลหะ 2) ถุงมือหนังสัตว ผลิตจากหนังสัต วที่มีเ หนีย วและทนทาน ใชสําหรับ ปองกัน อัน ตรายจากประกายไฟ และความรอนจากการใชเครื่องมือตัดหรือเชื่อม
ภาพที่ 4.18 ถุงมือหนังสัตว 3) ถุงมือกันความรอน โดยมากผลิตจากวัสดุตานทานความรอน เชน ยางไนไตร หรือเคฟลา ใชสําหรับ ปองกันอันตรายเมื่อตองสัมผัสกับความรอน
ภาพที่ 4.19 ถุงมือกันความรอน 4) ถุงมือพลาสติก ผลิตจากพลาสติกบาง ใชปองกันฝุนหรือสิ่งสกปรกอื่นๆ ที่อาจทําใหเกิดอาการแพหรือ ระคายเคือง เหมาะสําหรับงานทั่วไป 47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ภาพที่ 4.20 ถุงมือพลาสติก 3.7 อุ ปกรณ ปองกั น พิ เ ศษที่ ใ ช งานเฉพาะ คือ อุป กรณที่ใชเพื่อความสะดวกและความปลอดภัย สําหรับ งานบาง ประเภท มีอยูดวยกันหลายประเภท เชน 1) อุป กรณปอ งกัน ลํา ตัว ทําจากแผน หนัง ใยทอชนิด เหนีย ว ยางสังเคราะห หรือพลาสติก ขึ้น อยูกับ ลักษณะการใชงาน เชน ในงานที่ตองเสี่ยงอันตรายจากความรอน ควรใชอุปกรณปองกันตัวที่ทําจาก วัสดุทนความรอน
ภาพที่ 4.21 หนังกันเปอน 2) ชุด ปองกัน ที่ทําจากหนัง ใชปองกัน รางกายจากการทํา งานที่ตองเสี่ย งอัน ตรายจากความรอ นและ ประกายไฟ เชน งานเชื่อมหรืองานหลอมโลหะ งานที่เกี่ยวกับรังสี ชุดประเภทนี้ปองกันแรงกระแทก ไดไมมากนัก
ภาพที่ 4.22 ชุดปองกันที่ทําจากหนัง 48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด คือ ความหมายของอุปกรณปองกันสวนบุคคล ก. อุปกรณที่สวมใสเพื่อปองกันอันตราย ข. อุปกรณของใชสวนบุคคล ค. อุปกรณสําหรับใชในงานชางพื้นฐาน ง. อุปกรณที่ใชในงานซอมบํารุง 2. ขอใด ไมใช หลักเกณฑในการเลือกใชอุปกรณปองกันอันตราย ก. ใชอุปกรณเหมาะกับลักษณะงาน ข. เลือกอุปกรณที่อยูในสภาพใหม ค. ปฏิบัติตามขอบังคับในการสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ง. อบรมวิธีการใชงานอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล 3. ขอใด คือ อุปกรณปองกันใบหนา ก. แวนตานิรภัย ข. ที่ครอบหูลดเสียง ค. หนากากกรองสารเคมี ง. หนากากเชื่อม 4. ขอใด คือ อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลที่จําเปนสําหรับงานเปาทําความสะอาดกรองอากาศแบบแหง ก. หมวกนิรภัยประเภท C ข. ที่ครอบหูลดเสียง ค. หนากากกรองอนุภาค ง. รองเทาตัวนําไฟฟา
49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
5. ถาตองปฏิบัติงานเกี่ยวกับวัสดุมีคม ควรเลือกใชถุงมือประเภทใด ก. ถุงมือตาขายโลหะ ข. ถุงมือหนังสัตว ค. ถุงมือพลาสติก ง. ถุงมือยาง
50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
กระดาษคําตอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5
51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบงาน ใบงานที่ 4.1 การตรวจสอบและใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัตงิ าน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 30 นาที
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเลือกอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหถูกตองตามสถานการณที่กําหนด เพื่อนํามา ตรวจสอบสภาพและบันทึกผลลงในตาราง พรอมทั้งสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล เพื่อฝกปฏิบัติงาน ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ สถานการณที่กําหนด
อุปกรณปองกันอันตราย ที่เลือกใช
สภาพของอุปกรณ พรอมใชงาน
เชื่อมโลหะโดยใช เครื่องเชื่อมไฟฟา
ตัดโลหะโดยใช หินเจียระไน
เติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่
ไลลมเบรก
52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ชํารุด
ความเสียหาย
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
สถานการณที่กําหนด
อุปกรณปองกันอันตราย ที่เลือกใช
สภาพของอุปกรณ พรอมใชงาน
เปาทําความสะอาด ไสกรองอากาศ
ปฏิบัติงานในหองที่มี สารเคมี
53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ชํารุด
ความเสียหาย
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 4.1 การตรวจสอบและใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ชุดปองกันที่ทําจากหนัง
จํานวน 1 ชุด
2. โตะสําหรับวางอุปกรณ
จํานวน 1 ตัว
3. ถุงมือตาขายโลหะ
จํานวน 1 คู
4. ถุงมือหนังสัตว
จํานวน 1 คู
5. ที่ครอบหูลดเสียง
จํานวน 1 อัน
6. รองเทานิรภัยชนิดหัวโลหะ
จํานวน 1 คู
7. แวนตานิรภัย
จํานวน 1 อัน
8. หนากากกรองสารเคมี
จํานวน 1 อัน
9. หนากากกรองอนุภาค
จํานวน 1 อัน
10. หนากากเชื่อม
จํานวน 1 อัน
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ
54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การตรวจสอบและใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เลือกหยิบอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล
คําอธิบาย ผูรับการฝกเลือกหยิบอุปกรณปองกัน อันตรายสวนบุคคลใหเหมาะสมกับ สถานการณที่ใบงานกําหนด
2. ตรวจสอบสภาพของอุปกรณปองกันอันตราย
ตรวจสอบสภาพของอุ ป กรณ ป อ งกั น
สวนบุคคล
อั น ตรายส ว นบุ ค คลทั้ ง ภายนอก และ ภายในว า อยู ใ นสภาพพร อ มใช ง าน หรื อ ชํารุด
55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. บันทึกผลลงในตาราง
คําอธิบาย บันทึกสภาพของอุปกรณปองกันอันตราย สวนบุคคลลงในตารางบันทึกผล
4. ทําตามขั้นตอนที่ 1-3 จนครบทุกสถานการณที่ หลัง จากบัน ทึก ผลแลว ใหผู ร ับ การฝก ใบงานกําหนด
ปฏิบ ัต ิต ามขั ้ น ตอนที ่ 1-3 จนกระทั ่ ง ตรวจสอบสภาพของอุป กรณป อ งกั น อัน ตรายสว นบุ ค คลครบทุ ก สถานการณ ที่ใบงานกําหนด
56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล
คําอธิบาย ผูรับการฝกสวมใสอุปกรณปองกันอันตราย สวนบุคคล สําหรับปฏิบัติงานทําความสะอาด กรองอากาศ
6. ทําความสะอาดอุปกรณและสถานที่ปฏิบัติงาน ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13
รายการตรวจสอบ เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง และครบถวน สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับเชื่อมโลหะโดยใชเครื่องเชื่อมไฟฟา การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับตัดโลหะโดยใชหินเจียระไน การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับเติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่ การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับไลลมเบรก การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับทําความสะอาดไสกรองอากาศแบบแหง การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับการปฏิบัติงานในหองที่มีสารเคมี การตรวจสอบสภาพของอุ ป กรณ ป อ งกั น อันตรายสวนบุคคล การสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ หลังปฏิบัติงาน เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
เกณฑการพิจารณา ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัตงิ าน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ทันเวลาที่กําหนด
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ยมเครื่ องมื อ อุ ปกรณ และวั สดุ ไม ครบถ วนและไม ถู กตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสชุดปฏิบัติงานชางไดอยางถูกตองกอนเริ่ม
สวมใสชุดปฏิบัติงานชางไดอยางถูกตองกอนเริ่มปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงาน
ใหคะแนน 3 คะแนน ไมสวมใสชุดปฏิบัติงานชางกอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
ใหคะแนน 0 คะแนน 3
การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับ เลือกใชอุปกรณปอ งกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น เชื่อมโลหะโดยใชเครื่องเชื่อมไฟฟา ใหคะแนน 5 คะแนน
5
เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตราย สําหรับตัดโลหะ โดยใชหินเจียระไน
เลือกใชอุปกรณปอ งกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 5 คะแนน
5
เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 5
การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับเติม น้ํากลั่นแบตเตอรี่
เลือกใชอุปกรณปอ งกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 5 คะแนน
5
เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6
การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับ ไลลมเบรก
เลือกใชอุปกรณปอ งกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 5 คะแนน
59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 7
การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับ เปาทําความสะอาดไสกรองอากาศ
เลือกใชอุปกรณปอ งกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 5 คะแนน
5
เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 8
การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับ เลือกใชอุปกรณปอ งกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ปฏิบัติงานในหองที่มีสารเคมี ใหคะแนน 5 คะแนน
5
เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 9
การตรวจสอบอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล
ตรวจสอบอุปกรณปองกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 5 คะแนน
5
ตรวจสอบอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และ ไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 10
การสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น
5
ใหคะแนน 5 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และ ไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 11
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
3
คะแนนที่ได
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 0 คะแนน 12
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
3
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 13
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนด 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
55
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 38 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 5 0921010105 หลักการเบื้องตนของการปองกันอัคคีภัยและการดับเพลิง (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได 2. ปฏิบัติตามวิธีการปองกันอัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได
2. หัวขอสําคัญ 1. การปองกันการเกิดอัคคีภัย 2. หลักการดับเพลิงเบื้องตน
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก
4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก
6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝกกําหนดได
63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
7. บรรณานุกรม ศูนยปองกันและบรรเทาสาธารณะภัย เขต 11 สุราษฎรธานี. เอกสารประกอบการฝกอบรม วิชาการปองกันและระงับ อัคคีภัย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.kamphaengsaen.go.th/work_infomation/2557/ fire_protect.pdf
64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 5 หลักการเบื้องตนของการปองกันอัคคีภัยและการดับเพลิง อัคคีภัย คือ ภัยที่เกิดจากไฟ และมีการลุกลามตอเนื่องไปตามบริเวณที่มีเชื้อเพลิง ซึ่งอาจสงผลใหเกิดความสูญเสียทั้งชีวิต และทรั พ ย สิ น ดั ง นั้ น ควรมี ก ารวางแผนป อ งกั น และมี ค วามรู พื้ น ฐานเกี่ ย วกั บ การดั บ เพลิ ง เพื่ อ เตรี ย มพร อ มรั บ มื อ หากเกิดเหตุการณไมคาดคิดขึ้น 1. การปองกันการเกิดอัคคีภัย 1) ระบบไฟฟ า เลือกใช อุ ป กรณ ไ ฟฟา ที่มีคุณ สมบัติเ หมาะสมกับ พื้น ที่ใชง าน และหลัง เลิก ใชง านทุก ครั้ ง ควรปดสวิตชและดึงปลั๊กไฟออกทุกครั้ง 2) การบํารุงรักษาเครื่องจักร ตรวจสอบและซอมบํารุงอยางเปนระบบ เพื่อปองกันการเกิดอัคคีภัยจากการชํารุ ด เสียหายของอุปกรณ 3) การสํารวจและตรวจสอบ หมั่นตรวจสอบดูแลความเรียบรอยทั้งภายในและนอกอาคาร จัดเก็บสารเคมีอยาง ถูกวิธีตามเอกสารขอมูลและความปลอดภัยเกี่ยวกับเคมีภัณฑ รวมไปถึงการบํารุงรักษาเครื่องจักร และ ระบบไฟฟาอยูเสมอ 4) การฝกอบรมผูปฏิบัติงาน จัดการอบรมเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ และการปฏิบัติตนที่ปลอดภัย ใหกับผูปฏิบัติงาน ทุกคน เพื่อใหเ กิด ความเขาใจและนําไปปฏิบัติต าม นอกจากนี้ควรจัด ใหมีการฝกอบรมและซอมหนีไฟ อยางนอย ปละ 1 ครั้ง 5) การปฏิบัติตามมาตรฐานความปลอดภัยที่เกี่ยวของ เชน กรมพัฒ นาและการสงเสริมพลังงานการไฟฟา นครหลวง การไฟฟาสวนภูมิภาค หรือพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 (หมวดที่ 8 ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน) ของกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เปนตน 2. หลักการดับเพลิงเบื้องตน เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม ควรวิเคราะหและแยกแยะประเภทของไฟใหถูกตอง เพื่อใหสามารถรับมือไดอยางถูกวิธี 2.1 ประเภทของไฟ ไฟสามารถแบง ออกได 4 ประเภท ตามลัก ษณะเชื้อ เพลิง มาตรฐาน NFPA (NATION FIRE PROTECTION ASSOCIATION) ดังนี้ 1) ไฟประเภท A คือ ไฟที่เกิดจากเชื้อเพลิงที่เปนของแข็งธรรมดา เชน ฟน ไม ใบไมแหง ฟาง กระดาษ พลาสติก หนังสัตว เศษผา นุน เปนตน 65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ภาพที่ 5.1 สัญลักษณไฟประเภท A 2) ไฟประเภท B คือ ไฟที่เ กิด จากเชื้อ เพลิงที่เปน ของเหลวและแกส เชน น้ํา มัน ทุก ชนิด แอลกอฮอล ทินเนอร จาระบี ยางมะตอย แกสชนิดตาง ๆ เปนตน
ภาพที่ 5.2 สัญลักษณไฟประเภท B 3) ไฟประเภท C คือ ไฟที่เกิดจากเชื้อเพลิงที่เปนของแข็งและมีกระแสไฟไหลเวียนอยู เชน อุปกรณไฟฟา เปนตน
ภาพที่ 5.3 สัญลักษณไฟประเภท C 4) ไฟประเภท D คือ ไฟที่เกิดจากเชื้อเพลิงประเภทโลหะและสารเคมีติดไฟ เชน วัตถุระเบิด ปุยยูเรีย เปนตน
ภาพที่ 5.4 สัญลักษณไฟประเภท D
66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
2.2 หลักในการดับเพลิง แบงออกเปน 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1) กําจัดเชื้อเพลิง - ยายวัตถุที่เปนเชื้อเพลิง หรือพยายามตัดทางหนุนเนื่องของเชื้อเพลิง เชน ปดรูรั่วของถังน้ํามัน ปดวาลวถังแกส เปนตน - ยายเชื้อเพลิงที่ติดไฟออกจากกองเพลิง - แบงวัตถุที่ติดไฟเปนกองเล็ก ๆ เพื่อใหงายตอการดับ 2) การลดอุณหภูมิ - ทําใหเชื้อเพลิงมีอุณหภูมิต่ําลง โดยการใชน้ําหรือสารเคมีเหลวที่เปนตัวลดอุณหภูมิ 3) การคลุมดับหรือกําจัดอากาศ - ลดปริมาณออกซิเจนใหนอยลง โดย ใชผาหอคลุมทําใหอับอากาศ ใชทรายหรือดินรวนเทกลบ หรือ ใชโฟมหรือน้ํายาเปนฟองฉีดคลุมลงไป 2.3 ชนิดของถังดับเพลิง ถังดับเพลิงสามารถแบงได 5 ชนิด ตามสารเคมีที่บรรจุภายในถัง ดังนี้ 1) ชนิดผงเคมีแหง (Dry Chemical) สามารถดับไฟประเภท A B C ยกเวน CLASS K มีราคาถูก หาซื้อง าย แตมีขอเสีย คื อ เมื่อฉีด ออกมาจะฟุ ง กระจาย และหลังจากฉี ด แลว แรงดัน จะตก ไมส ามารถใช ง าน ไดอีก ตองนําไปบรรจุผงเคมีใหม 2) ชนิดเคมีสูตรน้ํา (Low Pressure Water Mist) สารเคมีเปนน้ํายาชื่อวา “ABFFC” ใชสําหรับดับไฟ ไดดี ไมเปนสื่อนําไฟฟา สามารถดับไฟไดทุกประเภท แตราคาจะแพงกวาถังชนิดเคมีแหง เหมาะกับ ใชใ นบา น เนื่อ งจากสามารถดับ ไฟที่เ กิด จากน้ํา มัน ทอดในครัว เรือ นได และหากมีก ารใชง านแลว แมวาจะฉีดสารเคมีไมหมดก็ยังสามารถใชตอได 3) ชนิดสารสะอาด หรือ ฮาโลตรอนวัน สารเคมีภายในบรรจุแกส Halotron-1 เมื่อฉีดแลวจะระเหยไปเอง ไม ทิ้ ง คราบสกปรก สามารถดั บ ไฟประเภท A B C ยกเว น CLASS K เหมาะสํา หรั บ การใชง านใน หองคอมพิวเตอร คลีนรูม ไลนการผลิต หองไฟฟา หองเก็บอุปกรณอิเล็กทรอนิกส เปนตน 4) ชนิดแกสคารบอนไดออกไซด (CO2) สารเคมีภายในบรรจุแกสคารบอนไดออกไซด แกสที่ฉีดออกมาจะ เปนไอเย็นจัดคลายน้ําแข็งแหง ชวยลดความรอนของไฟได และไมทิ้งคราบสกปรก อีกทั้งยังสามารถดับไฟ ประเภท B และ C ได จึงเหมาะสําหรับการใชงานในหองเครื่องจักร ไลนการผลิต อุตสาหกรรมอาหาร เปนตน
67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
5) ชนิด โฟม สารเคมีภ ายในบรรจุโ ฟม เมื่อ ฉีด ออกมาจะเปน ฟองโฟมคลุม ผิว เชื้อ เพลิง ที่ล ุก ไหม จึ ง สามารถดับ ไฟประเภท A และ B ได แตไ มส ามารถดั บ ไฟประเภท C ได เพราะเป น สื่ อ นํา ไฟฟ า เหมาะสําหรับใชในภาคอุตสาหกรรม
ภาพที่ 5.5 ถังดับเพลิงชนิดผงเคมีแหง
ภาพที่ 5.6 ถังดับเพลิงชนิดเคมีสูตรน้ํา
ภาพที่ 5.7 ถังดับเพลิงชนิดสารสะอาด
ภาพที่ 5.8 ถังดับเพลิงชนิดแกสคารบอนไดออกไซด
ภาพที่ 5.9 ถังดับเพลิงชนิดโฟม
68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
2.4 วิธีการใชถังดับเพลิง 1) ยืนเหนือลมใหหางจากฐานของไฟประมาณ 2 - 3 เมตร 2) ดึงสลัก หรือลวดที่รั้งวาลวออก 3) ยกหัวฉีดปากกรวยชี้ไปที่ฐานของไฟ ทํามุมประมาณ 45 องศา 4) บีบไกเปดวาลวเพื่อใหแกสพุงออกมา 5) ฉีดไปตามทางยาว และสายสายฉีดไปซาย-ขวาชา ๆ จนไฟดับสนิท ในกรณีที่เกิดเพลิงไหมอยูในระดับตางกัน ใหฉีดจากขางลางขึ้นไปขางบน และถาน้ํามันรั่วไหลใหฉีดจาก ปลายทางที่รั่ว ไหลไปยั งจุ ดที่รั่ ว ไหล และถาเหตุเ พลิง ไหมเ กิดจากอุป กรณไ ฟฟาที่มีกระแสไฟฟา ไหลอยู ตอง รีบตัดกระแสไฟฟากอน เพื่อปองกันมิใหเกิดการลุกไหมขึ้นมาอีกได
ภาพที่ 5.10 วิธีการใชถังดับเพลิง 2.5 การตรวจสอบถังดับเพลิง 1) ตรวจสอบสภาพของสายฉีด วาชํารุดหรืออุดตันหรือไม 2) ตรวจสอบสภาพซีลล็อกของถังดับเพลิงที่อยูตรงคันบีบ วาอยูในสภาพปดเรียบรอยหรือไม 3) คว่ําถังดับเพลิง เพื่อใหสารเคมีภายในกระจายตัว ปองกันการจับตัวเปนกอน 4) ตรวจสอบมาตรวัดความดันของถังดับเพลิง ซึ่งดานขวาจะมีคําวา Over Charge และซายมือจะมีคําวา Recharge หากเข็มสีเหลืองในมาตรวัดเบนไปทางคําวา Over Charge แสดงวาถังดับเพลิงอยูในสภาพ พรอมใชงาน แตหากเข็มเบนไปที่คําวา Recharge แสดงวาถังดับเพลิงขัดของ หรือตองบรรจุใหม
69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ภาพที่ 5.11 มาตรวัดความดันของถังดับเพลิง
70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด คือ หลักการดับเพลิงในขั้นตอนการกําจัดเชื้อเพลิง ก. ใชสารเคมีลดอุณหภูมิของเชื้อเพลิง ข. ใชทรายเทกลบบริเวณกองเพลิง ค. ยายวัตถุที่เปนเชื้อเพลิงออกจากกองเพลิง ง. ฉีดโฟมคลุมลงไปบนกองเชื้อเพลิง 2. วิธีใด คือ การกําจัดอากาศตามหลักการดับเพลิง ก. แบงวัตถุที่ติดไฟเปนกองเล็ก ๆ ข. ใชผาหอคลุมทําใหอับอากาศ ค. ตัดทางหนุนเนื่องของเชื้อเพลิง ง. ฉีดน้ําลงไปบนกองเชื้อเพลิง 3. ขอใด คือ เชื้อเพลิงของไฟประเภท B ก. พลาสติก ข. สารเคมี ค. อุปกรณไฟฟา ง. ยางมะตอย 4. การใชถังดับเพลิงควรยืนในลักษณะใด ก. ยืนเหนือลมหางจากฐานของไฟ 2-3 เมตร ข. ยืนใตลมหางจากฐานของไฟ 5 เมตร ค. ยืนในมุมใดมุมหนึ่งโดยหางจากฐานของไฟ 5 เมตร ง. ยืนในตําแหนงซายของกองเพลิงหางจากฐานของไฟ 2-3 เมตร
71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
5. ขอใดกลาวถึงวิธีใชถังดับเพลิงไดถูกตอง ก. ฉีดเปนทางยาวจอใหตรงกองเพลิง ข. ฉีดในลักษณะยกสายฉีดขึ้นลง ค. ฉีดตามทางยาว และสายซาย-ขวาชา ๆ ง. ฉีดในลักษณะวนเปนวงกลมตามเข็มนาฬิกา
72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
กระดาษคําตอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5
73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบงาน ใบงานที่ 5.1 การตรวจสอบและการใชถังดับเพลิง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติตามวิธีการปองกันอัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัตงิ าน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบสภาพถังดับเพลิง พรอมบันทึกลงในตารางการตรวจสอบ และทดลองใชถังดับเพลิง ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ รายการอุปกรณ
สภาพของอุปกรณ พรอมใชงาน
ชํารุด
ถังดับเพลิง ถังที่ 1 ถังดับเพลิง ถังที่ 2 ถังดับเพลิง ถังที่ 3 ถังดับเพลิง ถังที่ 4 ถังดับเพลิง ถังที่ 5
74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ความเสียหาย
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 5.1 การตรวจสอบและการใชถังดับเพลิง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก 1. รองเทานิรภัย 2. ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระบะสําหรับจุดกองไฟ
จํานวน 1 กระบะ
2. ชุดดับเพลิง
จํานวน 1 ชุด
3. ถังดับเพลิงชนิดคารบอนไดออกไซด
จํานวน 1 ถัง
4. ถังดับเพลิงชนิดเคมีสูตรน้ํา
จํานวน 1 ถัง
5. ถังดับเพลิงชนิดผงเคมีแหง
จํานวน 1 ถัง
6. ถังดับเพลิงชนิดโฟม
จํานวน 1 ถัง
7. ถังดับเพลิงชนิดสารสะอาด
จํานวน 1 ถัง
8. ถุงมือหนังสัตว
จํานวน 1 คู
9. ไมขีดไฟ หรือ ไฟแช็ก
จํานวน 1 อัน
10. รองเทาดับเพลิง
จํานวน 1 คู
11. หมวกนิรภัยประเภท D
จํานวน 1 ใบ
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
1.5 การเตรียมวัสดุ 1. น้ํามันเชื้อเพลิง
จํานวน 1 แกลลอน
2. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การตรวจสอบและการใชถังดับเพลิง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตรวจสอบสภาพของถังดับเพลิง
คําอธิบาย ผู รั บ การฝ ก ตรวจสอบสภาพของถั ง ดับเพลิงวาอยูในสภาพพรอมใชงาน หรือ ชํารุด
2. บันทึกผลลงในตาราง
บันทึกสภาพของถังดับเพลิงลงในตาราง บันทึกผล
3. ทําตามขั้นตอนที่ 1 และ 2 จนครบทุกถังดับเพลิง
หลังจากบัน ทึ กผลแลว ใหผู รับการฝ ก ปฏิบัติ ตามขั้นตอนที่ 1 และ 2 จนกระทั่ งตรวจสอบสภาพของถั ง ดับเพลิงครบทุกถังตามที่ครูฝกกําหนด 76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
4. เลือกอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล
ผูรับ การฝ ก เลื อ กหยิบ อุป กรณป อ งกัน
5. สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล
อ ัน ต ร า ย ส ว น บ ุค ค ล ที ่ใ ช สํ า ห ร ับ ปฏิ บั ติ งานดั บเพลิ ง พร อมทั้ งตรวจสอบ สภาพของอุป กรณ ผู รั บ การฝ ก สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อัน ตรายสว นบุคคล สําหรับ ปฏิบัติง าน ดับเพลิง
6. ปฏิบัติงานดับเพลิง
หลั ง จากครู ฝ ก จุ ด ไฟ ให ผู รั บ การฝ ก
7. ตรวจสอบสภาพกองเพลิง
ปฏิบัติงานดับเพลิง โดยยืนเหนือลมหาง จากฐานของไฟ 2 – 3 เมตร ดึงสลักวาลว ถังดับเพลิง ยกปลายกรวยไปที่ฐานของ ไฟในมุม 45 องศา บีบไกเปดวาลว และ ฉีดไปตามทางยาว พรอมสายสายฉีดไป ทางซายและขวา 77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย ตรวจสอบกองเพลิงวาไฟดับสนิทแลวใช หรือไม
8. ทําความสะอาดอุปกรณและสถานที่ปฏิบัติงาน
ใชผาเช็ดทําความสะอาดอุปกรณ พรอม ทั้ ง ทํ า ความสะอาดสถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ ใ ห เรียบรอย
78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
การตรวจสอบถังดับเพลิง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
การใชถังดับเพลิง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
การสวมใสอุปกรณปองกัน อัน ตรายเมื่อ ใช ถัง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ดับเพลิง
7
การปฏิบัติงานดับเพลิงในกระบะ
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
8
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
9
การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงาน 10
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก รองเทา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นิรภัย ชุดปฏิบัติการชาง ไดอยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ขามหรือสลับในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ขามขั้นตอนที่สําคัญ ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การตรวจสอบถังดับเพลิง
ตรวจสอบถังดับเพลิงไดอยางถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน
5
ตรวจสอบถังดับเพลิงไมถูกตอง 1 ถัง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบถังดับเพลิงไมถูกตองมากกวา 2 ถัง ใหคะแนน 1 คะแนน 5
การใชถังดับเพลิง
ใชถังดับเพลิงตามขั้นตอนไดอยางถูกตอง ทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ใชถังดับเพลิงไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขัน้ ตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ใชถังดับเพลิงไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน
80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ลําดับที่
6
รายการตรวจสอบ
การสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายเมื่อใชถังดับเพลิง
ขอกําหนดในการใหคะแนน
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายเมื่อใชถังดับเพลิงไดอยาง ถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น
คะแนน เต็ม 3
ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายเมื่อใชถังดับเพลิงไมครบถวน หรือไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายเมื่อใชถังดับเพลิงไมครบถวน และไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 7
การปฏิบัติงานดับเพลิงในกระบะ
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน
5
ขามหรือสลับขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ขามขั้นตอนที่สําคัญ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 0 คะแนน 9
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง หรือไมจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ ใหคะแนน 0 คะแนน
81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
3
คะแนนที่ได
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ลําดับที่
10
รายการตรวจสอบ
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ขอกําหนดในการใหคะแนน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
3
ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนด 3 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
36
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 25คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 6 0921010106 วิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตนได 2. ปฐมพยาบาลเบื้องตนได
2. หัวขอสําคัญ 1. วิธีการปฏิบัติตามหลัก 3 ต 2. วิธีการพยาบาลคนหมดสติ 3. วิธจี ัดการปญหาที่อาจเกิดขึ้นไดขณะปฐมพยาบาล
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก
4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก
6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝกกําหนดได
84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
7. บรรณานุกรม ฉัตรกนก ทุมวิภาต. 2558. CPR GUIDELINE 2015. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.si.mahidol.ac.th/th/ division/cpr/content/CPRnurse2015.pdf ธีรยุทธ สุวรรณประทีป. 2544. ชางรถยนตมืออาชีพ. กรุงเทพฯ : บริษัท เอช เอ็น กรุป จํากัด. มีเดียวิกิ. วิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://th.wikihow.com/ปฐมพยาบาลเบื้ อ งต น สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ (สพฉ.). ชุดปฐมพยาบาล สิ่งจําเปนยามเดินทาง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.niems.go.th/th/View/ContentDetails.aspx?CateId=112&ContentId= 25560418094225698
85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 6 วิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน การปฐมพยาบาลเบื้องตน หมายถึง การใหความชวยเหลือผูปวยหรือผูไดรับบาดเจ็บเบื้องตน ดวยการประเมินอาการ และเลือกใชวิธีการชวยเหลืออยางเหมาะสม ดังจะอธิบายตอไปนี้ อุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน อุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน หรือชุดปฐมพยาบาล คือ อุปกรณที่ใชในการชวยเหลือผูไดรับบาดเจ็บในเบื้องตน ที่ควร มีไวประจําบานหรือสถานปฏิบัติงาน เพราะหากเกิดเหตุการณฉุกเฉินขึ้นจะไดมีอุปกรณพรอมใชงานอยูเสมอ ซึ่งถือเปน สิ่งที่ควรใหความสําคัญเปนอยางยิ่ง สวนมากอุปกรณปฐมพยาบาลจะอยูในรูปแบบของกลองปฐมพยาบาลเบื้องตน ซึ่งจะ ประกอบไปดวยอุปกรณตาง ๆ ดังนี้ 3. ถุ ง มื อ พยาบาล ใช สํ า หรั บ ป อ งกั น ไม ใ ห ผู ช ว ยเหลื อ สั ม ผั ส เลื อ ด อาเจี ย น หรื อ สารคั ด หลั่ ง ต า ง ๆ ของ ผูไดรับบาดเจ็บ 4. ยาลางแผล ใชสําหรับลางบาดแผลในเบื้องตน เชน น้ําเกลือ แอลกอฮอล ยาฆาเชื้อ เปนตน 5. ผาพันแผลหรือผากอซขนาดตาง ๆ ใชสําหรับปดบาดแผลหรือหามเลือด 6. เทปปดแผลขนาดตาง ๆ ใชสําหรับติดผาปดแผล 7. พลาสเตอรปดแผล ใชสําหรับปดบาดแผลที่ผานการทําความสะอาดเรียบรอยแลว 8. กรรไกร ใชสําหรับตัดผาปดแผลหรือเสื้อผาของผูไดรับบาดเจ็บ 9. ผาปดตา ใชสําหรับปดตาผูที่ไดรับบาดเจ็บบริเวณดวงตา 10. เข็มกลัดซอนปลาย ใชสําหรับติดผาสามเหลี่ยม ผาคลองคอ หรือผายืดตาง ๆ 11. สําสีและไมพันสําลี ใชสําหรับชุบยาเช็ดบาดแผล และทายาบริเวณรอบ ๆ บาดแผล
ภาพที่ 6.1 อุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน 86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
1. วิธีการปฏิบัติตามหลัก 3 ต 1.1. ตรวจสอบสภาพแวดลอม ประเมินวาสถานการณหรือสถานที่เกิดเหตุมีสิ่งที่จะกอใหเกิดอันตรายหรือไม เชน แกสพิษ โครงสรางอาคารที่ไมแข็งแรง สายไฟชํารุด เปนตน หากเสี่ยงตอการเกิดอันตราย ใหขอความชวยเหลือ จากผูเชี่ยวชาญทันที เนื่องจากบุคคลเหลานั้นไดรับการฝกฝนและมีความชํานาญมากกวา
ภาพที่ 6.2 การตรวจสอบสภาพแวดลอม 1.2 ติดตอขอความชวยเหลือจากเจาหนาที่หรือหนวยบริการฉุกเฉิน กรณีที่ผูปวยหรือผูไดรับบาดเจ็บมีอาการสาหัส
ภาพที่ 6.3 การติดตอขอความชวยเหลือจากเจาหนาที่หรือหนวยบริการฉุกเฉิน 1.3 ตรวจดูแลผูปวย เนื่องจากผูปวยเพิ่งประสบเหตุการณรุนแรง ควรดูแลทั้งรางกายและสภาพจิตใจ
ภาพที่ 6.4 การตรวจดูแลผูปวย 87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
2. วิธีการพยาบาลคนหมดสติ 2.1 ตรวจดูการตอบสนอง หากผูปวยหมดสติ พยายามปลุกดวยการสะกิดที่มือและเทาเบา ๆ 2.2 ตรวจลมหายใจและชีพจร หากผูปวยไมมีการตอบสนอง ใหตรวจสอบลมหายใจ โดยการสังเกตการขยับขึ้นลงของ หนาอก ฟงเสียงลมหายใจเขาออก 2.3 หากผูปวยยังไมตอบสนอง ใหเตรียมการปมหัวใจ จําและปฏิบัติตามกฎ ABC ในการปมหัวใจ ดังนี้ 1) Airway คือ การเปดทางเดินหายใจใหโลง เนื่องจากโคนลิ้นและกลองเสียงมีการตกลงไปอุดทางเดินหายใจ สวนบนในผูปวยที่หมดสติ มีขั้นตอนดังนี้ - จัดใหผูปวยนอนหงายราบบนพื้นแข็ง วางแขนสองขางแนบลําตัว - ใหผูชวยเหลือนั่งคุกเขาตรงระดับไหลของผูปวย - แหงนศีรษะของผูปวยโดยใชฝามือขางหนึ่งดันหนาผาก และใชนิ้วชี้และนิ้วกลางของมือ อีกขาง เชิดคางขึ้น เพื่อทําใหทางเดินหายใจโลง
ภาพที่ 6.5 Airway 2) Breathing การชวยหายใจ เพื่อชวยใหออกซิเจนเขาสูปอดผูปวย สามารถทําได 2 วิธี คือ - วิธีเปาลมเขาปาก ให ผู ช ว ยเหลื อ บี บ จมู ก ของผู ป ว ย โดยผูช ว ยเหลื อ หายใจเข า ปอดลึ ก ๆ 2-3 ครั้ ง เมื่ อ หายใจเข า เต็ ม ที่ แล ว จึ ง ประกบปากให แ นบสนิ ทกับ ปากของผู ป ว ย และเปาลมหายใจเข า ไปในปอดของผู ป ว ยให เ ต็ ม ที่ - วิธีเปาลมเขาจมูก ใชในรายที่มีการบาดเจ็บในปาก หรือในเด็กเล็ก โดยตองปดปากของผูปวยกอน และเปาลม หายใจเข า ทางจมู กแทน ขณะที่เปาใหเหลือบมองทรวงอกของผูปว ยด วยวามี การยกตัวขึ้น หรือไม จากนั้นผูชวยเหลือถอนปากออกจากปากหรือจมูกของผูปวย เพื่อใหผูปวยหายใจออกมา 88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
เอง การเปาลมหายใจของผูชวยเหลือผานทางปากหรือจมูก จะตองทําอยางชา ๆ โดยใหผาย ปอด 2 ครั้ง ๆ ละ 1-1.5 วินาที
ภาพที่ 6.6 Breathing 3) Circulation คือ การนวดหัวใจภายนอก เมื่อพบวาผูปวยมีภาวะหัวใจหยุดเตน จะชวยใหมีการไหลเวียน ของเลือด โดยมีขั้นตอนดังนี้ - จัดใหผูปวยนอนหงายราบบนพื้นแข็ง - วัดตําแหนงที่เหมาะสําหรับการนวดหัวใจ โดยผูชวยเหลือใชนิ้วชี้และนิ้วกลางขางที่ถนัดวาดจาก ขอบชายโครงลางของผูปวยขึ้นไปจนถึงปลายกระดูกหนาอก โดยวัดเหนือปลายกระดูกหนาอก ขึ้นมา 2 นิ้วมือ ใชสันมือขางที่ไมถนัดวางบนตําแหนงดังกลาว และใชสันมือขางที่ถนัด วางทับ ลงไป จากนั้น เกี่ย วใหนิ้ว มือ บนแนบชิด ในรอ งนิ้ว มือ ของมือ ขา งลา ง ยกปลายนิ้วขึ้นจาก หนาอก และตองมั่นใจวาไมกดน้ําหนักลงบนกระดูกซี่โครงของผูปวย - ยืดไหลและแขนทั้ง 2 ขางเหยียดตรง จากนั้นปลอยน้ําหนักตัวผานจากไหลไปสูแขนทั้งสองขาง และลงไปสูกระดูกหนาอกในแนวตั้งฉากกับลําตัวของผูปวย ในผูใหญและเด็กโต ใหกดลงไปลึก ในแนวดิ่งประมาณ 5 เซนติเมตร และไมเกิน 6 เซนติเมตร - ผอนมือที่กดเพื่อใหทรวงอกมีการขยายตัวเต็มที่ ขณะที่ผอนมืออยายกมือออกจากหนาอก ไมจําเปนตองยกมือขึ้นสูง โดยใหมือยังคงสัมผัสอยูที่กระดูกหนาอก - กดหน า อกด ว ยอั ตราความเร็ว 100 -120 ครั้งตอนาที จังหวะการกดแตละครั้ง ใหนับ สอง พยางค คือ “1 และ 2 และ 3 และ... และ 14 และ 15” โดยกดหนาอก 30 ครั้ง สลับกับการชวย หายใจ 2 ครั้ง หรือก็คือ 30 ตอ 2
89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ภาพที่ 6.7 Circulation 2.4 ใหความสําคัญเกี่ยวกับขอหามตาง ๆ ในการปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ 1) หามใหอาหารหรือน้ําแกผูปวยหมดสติ อาจเกิดการสําลักได 2) หามยกหัวผูปวยหนุนหมอน 3) หามตบหนาผูปวย เพื่อเรียกสติ 4) หามสาดน้ําใสผูปวย เพื่อเรียกสติ 3. วิธีจัดการปญหาที่อาจเกิดขึ้นไดขณะปฐมพยาบาล 3.1 การติดเชื้อตาง ๆ หลีกเลี่ยงการสัมผัสเลือดจากผูป วยโดยตรง และหากสัมผัสไปแลว ใหรีบทําความสะอาดใหเร็วที่สุด
ภาพที่ 6.8 การปองกันการติดเชื้อ 3.2 การหยุดเลือด ควรใชแรงกดลงไปบนบาดแผลโดยตรง
ภาพที่ 6.9 การหยุดเลือด 90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
3.3 การปฐมพยาบาลเบื้องตนผูปวยกระดูกหัก พยายามยึดบริเวณที่หักใหแนน เพื่อแนใจวากระดูกที่หักจะไมขยับ
ภาพที่ 6.10 การปฐมพยาบาลผูปวยกระดูกหักเบื้องตน 3.4 การชวยเหลือผูปวยอาหารติดคอ รัดกระตุกที่หนาทองเหนือสะดือใตลิ้นป โดยโอบผูปวยจากขางหลัง แลวใชมือ ประสานกันเหนือสะดือ แตใตกระดูกอก ดันขึ้นเพื่ออัดอากาศจากปอด ทําซ้ําจนกวาสิ่งอุดตันในชองลมจะออกมา
ภาพที่ 6.11 การชวยเหลือผูปวยอาการติดคอ 3.5 การดูแลบาดแผลถลอก ผูชวยเหลือควรใชแอลกอฮอลเช็ดรอบบาดแผลใหสะอาด กอนใชสําลีชุบน้ําเกลือหรือ ทิงเจอรไอโอดีนเช็ดรอบบาดแผล จากนั้นใชผากอซหุมสําลีปดแผลเพื่อซับสารคัดหลั่ง และยึดผากอซกับผิวหนังให ติดกันดวยเทปกาวปดแผล 3.6 การดูแลบาดแผลไฟไหม การปฐมพยาบาลบาดแผลไฟไหม แบงเปน 2 กรณี กรณีที่ 1 ไหมเฉพาะชั้นผิวหนัง - ใหระบายความรอนออกจากแผล โดยวิธีการใชผาชุบน้ําประคบบาดแผล แชลงในน้ํา หรือเปดใหน้ําไหล ผานบริเวณบาดแผลประมาณ 10 นาที - ทายาสําหรับแผลไฟไหม - หามเจาะถุงน้ําหรือตัดหนังสวนที่พอง - ปดบาดแผลดวยผาสะอาด - ถาบาดแผลมีขนาดใหญใหนําตัวสงโรงพยาบาล 91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ภาพที่ 6.9 การดูแลแผลไฟไหมเฉพาะชั้นผิวหนัง กรณีที่ 2 ไหมลึกถึงเนื้อเยื่อใตผิวหนัง - หามระบายความรอนออกจากบาดแผล เพราะจะทําใหเกิดการติดเชื้อ - หามใสยาทุกชนิดลงบนบาดแผล - ใชผาสะอาดหอตัวผูบาดเจ็บ เพื่อปองกันสิ่งสกปรก จากนั้นใหรีบนําตัวสงโรงพยาบาลทันที
ภาพที่ 6.10 การดูแลแผลไฟไหม 3.7 การดูแลอาการบาดเจ็บที่ตาเนื่องจากเศษโลหะหรือประกายไฟ หากผูปวยไดรับบาดเจ็บที่ตา ผูชวยเหลือควร บอกใหผูปวยตรึงนัยนตาไวนิ่งๆ ไมขยี้ตา และไมพยายามสัมผัสนัยนตาดวยวัตถุใดๆ จากนั้นใชผาพันรอบตาทั้งสอง ขางไวอยางหลวมๆ และรีบพาผูปวยไปพบแพทย 3.8 การตรวจสอบความมีสติของผูปวย หากผูปวยไดรับบาดเจ็บที่ศีรษะ ใหตรวจสอบวาผูปวยมีอาการวิงเวียน พูดจา ไม รู เ รื่ อ ง ความทรงจํ า ผิ ด ปกติ คลื่ น ไส ง ว งซึ ม หรื อ หมดสติ ห ลั ง ได รั บ บาดเจ็ บ หรื อ ไม ถ า มี อ าจได รั บ การ กระทบกระเทือนทางสมอง
ภาพที่ 6.11 การตรวจสอบความมีสติของผูปวย 92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
3.9 การพยาบาลผูปวยที่ไดรับบาดเจ็บที่กระดูกสันหลัง หามขยับศีรษะ คอ หรือหลังของผูปวย ยกเวนกรณีที่จําเปน จะตองปมหัวใจ
ภาพที่ 6.12 การพยาบาลผูปวยที่ไดรับบาดเจ็บกระดูกสันหลัง 3.10 การชวยเหลือผูปวยที่มีอาการชัก เก็บของรอบตัว เพื่อปองกันไมใหผูปวยใชทํารายตัวเอง หลังการชักชว ยผูปวย ใหน อนลงพื้ น แลว สอดของนุ ม ๆ หรือแบน ๆ รองศีร ษะ จับ ผูปว ยนอนตะแคงเพื่ อช ว ยในการหายใจ และ หา มกดตัว ผูป ว ยลง หรือ พยายามหยุด การเคลื ่อ นไหวของเขาเด็ด ขาด หากผู ป ว ยชัก เกิน 5 นาที ให แจ ง เจาหนาที่ฉุกเฉินทันที
ภาพที่ 6.13 การชวยเหลือผูปวยที่มีอาการชัก 3.11 การชวยเหลือผูปวยจากการถูกไฟฟาดูด ผูชวยเหลือควรรีบตัดวงจรไฟฟาเพื่อปองกันการถูกไฟฟาดูด กอนที่จะ สัมผัสรางกายของผูปวย หากไมสามารถตัดวงจรไฟฟาได ใหใชไมแหงหรือวัสดุที่เปนฉนวนไฟฟาเลื่อนรางกายของ ผูปวยออกจากสายไฟฟา จากนั้นนําตัวผูปวยไปยังสถานที่ที่เงียบและอบอุน จัดใหผูปวยนอนราบและยกขาขึ้น เล็กนอย คลายเสื้อผาที่รัดแนนออก ตรวจดูวาหัวใจหยุดเตนหรือไม หากหยุดเตนใหผูชวยเหลือรีบปมหัวใจตามวิธี ดังที่กลาวมาแลว และรีบนําผูปวยสงโรงพยาบาลทันที
93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
3.12 การชวยเหลือผูปวยหัวใจวาย ใหยาแอสไพรินหรือไนโตรกลีเซอรีน และรีบพาผูปวยสงโรงพยาบาลทันที
ภาพที่ 6.14 การชวยเหลือผูปวยหัวใจวาย
94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 1. เข็มกลัดซอนปลายเปน 1 ในอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน 2. ตบใบหนาผูปวยเบา ๆ เพื่อตรวจสอบการตอบสนอง 3. การนวดหัวใจคือขั้นตอนแรกในการทํา CPR ผูปวยที่ไมมีการตอบสนอง 4. การปฐมพยาบาลผูปวยเบื้องตน ควรดูแลทั้งสภาพรางกายและสภาพจิตใจ 5. หากผูปวยหมดสติใหนําหมอนหรือผามารองศีรษะใหผูปวยหนุน 6. การปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากแผลไฟไหมผิวหนังชั้นนอก ใหใชผาชุบน้ํา ประคบเพื่อระบายความรอนจากแผล 7. การกดหนาอกนวดหัวใจ ควรกดดวยอัตราความเร็ว 100-120 ครั้งตอนาที 8. หากผูปวยมีอาการชักใหพยายามกดตัวผูปวย เพื่อหยุดการเคลื่อนไหว 9. ไมควรใหน้ําแกผูปวยที่ไมไดสติ 10. ใหยาไนโตรกลีเซอรีนแกผูปวยที่มีอาการหัวใจวาย และนําตัวสงโรงพยาบาล
95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
กระดาษคําตอบ ขอ
ถูก
ผิด
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบงาน ใบงานที่ 6.1 การตรวจสอบอุปกรณปฐมพยาบาลและการปฐมพยาบาลเบื้องตน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฐมพยาบาลเบื้องตนได
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัตงิ าน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง 30 นาที
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน พรอมบันทึกผลการตรวจสอบลงในตารางบันทึกผล และทดสอบปฏิบัติงานปฐมพยาบาลเบื้องตน ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ รายการอุปกรณ
ตรวจสอบสภาพ พรอมใชงาน
ไมพรอมใชงาน
วันที่ผลิต
สําลี ไมพันสําลี ผาพันแผลหรือผากอซ เทปปดแผลขนาดตาง ๆ กรรไกร เข็มกลัดซอนปลาย พลาสเตอรปดแผล น้ําเกลือ แอลกอฮอล ยาใสแผล (เบตาดีน) ยาสําหรับทาแผลไฟไหม
97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
วันหมดอายุ
ลักษณะอุปกรณ
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 6.1 การตรวจสอบอุปกรณปฐมพยาบาลและการปฐมพยาบาลเบื้องตน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - กรรไกร
จํานวน 1 เลม
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. เข็มกลัดซอนปลาย
จํานวน 1 กลอง
2. ถุงมือพยาบาล
จํานวน 1 คู
3. เทปปดแผลขนาดตาง ๆ
จํานวน 3 มวน
4. น้ําเกลือ
จํานวน 1 ขวด
5. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
6. ผาพันแผลหรือผากอซ
จํานวน 1 ถุง
7. พลาสเตอรปดแผล
จํานวน 1 กลอง
8. ไมพันสําลี
จํานวน 1 ถุง
9. ยาสําหรับทาแผลไฟไหม
จํานวน 1 ชุด 98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
10. ยาใสแผล (เบตาดีน)
จํานวน 1 ขวด
11. สําลี
จํานวน 1 ถุง
12. แอลกอฮอล
จํานวน 1 ขวด
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การตรวจสอบอุปกรณปฐมพยาบาลและการปฐมพยาบาลเบื้องตน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. จัดเตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน
คําอธิบาย ครู ฝ ก จั ด เตรี ย มอุ ป กรณ ป ฐมพยาบาล เบื้องตนใหพรอม
2. ตรวจสอบสภาพของอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ผูรับการฝกตรวจสอบสภาพของอุปกรณ ปฐมพยาบาลเบื้ อ งต น ว า อยู ใ นสภาพ พรอมใชงาน หรือไม
3. บันทึกผลลงในตาราง
บันทึกสภาพของอุป กรณปฐมพยาบาล เบื้องตนลงในตารางบันทึกผล
99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
4. ทํ า ตามขั้ น ตอนที่ 2 และ 3 จนครบทุ ก อุ ป กรณ หลังจากบัน ทึ กผลแลว ใหผู รับการฝ ก ปฐมพยาบาลเบื้องตน
ปฏิบัติ ตามขั้นตอนที่ 2 และ 3 จนกระทั่ งตรวจสอบสภาพของอุปกรณ ปฐมพยาบาลเบื้องตนครบทุ กชิ้นตามที่ ใบงานกําหนด
5. เลื อกอุ ป กรณ ป ฐมพยาบาลเบื้ องต น สํ า หรั บ ปฐม ผูรับการฝกเลือกหยิบอุป กรณ พยาบาลแผลไฟไหม
ปฐมพยาบาลเบื้ องตนที่ใชสําหรับ ปฐมพยาบาลแผลไฟไหม
100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
6. ระบายความรอนจากแผลไฟไหมเฉพาะชั้นผิวหนัง
ขอควรระวัง
ระบายความรอนออกจากบาดแผล โดย ห า มเจาะถุ ง น้ํ า หรื อ เทน้ําเกลือใหไหลผานบาดแผล
ตั ด หนั ง ส ว นที่ พ อง เด็ดขาด
7. ทําแผลและปดบาดแผล
ใชยาลางแผลลางทําความสะอาดบริเวณ คํานึงถึงเรื่องความ บาดแผลและทายาสําหรับ แผลไฟไหม สะอาดเปนสําคัญ พรอมปดบาดแผลดวยผาพันแผล
ขณะปฐมพยาบาล เพื่อปองกันการติดเชื้อ
8. ทําความสะอาดอุปกรณและสถานที่ปฏิบัติงาน
ใชผาเช็ดทําความสะอาดอุปกรณ พรอม ทั้ ง ทํ า ความสะอาดสถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ ใ ห เรียบรอย
101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
การตรวจสอบอุปกรณและยาที่ใชสําหรับ การ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ปฐมพยาบาลเบื้องตน
5
การปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากแผล
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
ไฟไหมเฉพาะชั้นผิวหนัง 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน
8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกต อง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสชุดปฏิบัติงานชางไดอยางถูกตองและครบถวน
สวมใสชุดปฏิบัติงานชางไดอยางถูกตองและครบถวน กอน
กอนเริ่มปฏิบัติงาน
เริ่มปฏิบัติงาน ใหคะแนน 3 คะแนน ไมสวมใสชุดปฏิบัติงานชางกอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
ใหคะแนน 0 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ขามหรือสลับในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ขามขั้นตอนที่สําคัญ ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การตรวจสอบอุปกรณและยาที่ใชสําหรับ การปฐมพยาบาลเบื้องตน
ตรวจสอบอุปกรณและยาที่ใชสําหรับการปฐมพยาบาล ไดอยางถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน
5
ตรวจสอบอุปกรณและยาที่ใชสําหรับการปฐมพยาบาล ไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบอุปกรณและยาที่ใชสําหรับการปฐมพยาบาล ไมถูกตอง และ ไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 5
การปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากแผลไฟไหมเฉพาะ ปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากแผลไฟไหมเฉพาะชั้นผิวหนัง ชั้นผิวหนัง
ไดอยางถูกตอง ทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากแผลไฟไหมเฉพาะชั้น ผิวหนังบกพรอง 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากแผลไฟไหมเฉพาะ ชั้นผิวหนังบกพรองมากกวา 1 ขั้นตอน
103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
ใหคะแนน 0 คะแนน 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 0 คะแนน 7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
3
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนด 1-5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
28
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
104 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบงาน ใบงานที่ 6.2 การฝกปฐมพยาบาลเบื้องตน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. อธิบายวิธีการการปฐมพยาบาลเบื้องตนได 2. ปฐมพยาบาลเบื้องตนได
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัตงิ าน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดสอบการปฐมพยาบาลเบื้องตนตามขั้นตอนที่ถูกตอง และบันทึกขอมูลลงในตาราง ตารางบันทึกผลการปฏิบัติงาน สถานการณจําลอง
อุปกรณที่ตองใช
ผูปวยบาดเจ็บเปนแผลถลอก
ผูปวยกระดูกหัก
ผูปวยหมดสติ
105 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขั้นตอนการปฏิบัติ
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 6.2 การฝกปฐมพยาบาลเบื้องตน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - กลองอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน
จํานวน 1 กลอง
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
106 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การฝกปฐมพยาบาลเบื้องตน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. จัดเตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน
คําอธิบาย เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตนให พรอม
2. ตรวจสอบสภาพของอุปกรณปฐมพยาบาล
ผูรับการฝกตรวจสอบสภาพของอุป กรณ
เบื้องตน
ปฐมพยาบาลเบื้องตนวาอยูในสภาพพรอม ใชงาน หรือไม
3. เลือกอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน สําหรับปฐม ผูรับการฝกเลือกหยิบอุปกรณปฐมพยาบาล พยาบาลผูปวยแผลถลอก
เบื้องตนที่ใชสําหรับปฐมพยาบาลผูปวย แผลถลอก
107 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. ปฐมพยาบาลผูปวยแผลถลอก
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ผูรับการฝกปฏิบัติงานปฐมพยาบาลผูปวย ใหความสําคัญในเรื่อง แผลถลอก
ความสะอาด เพื่อ ปองกันการติดเชื้อ
5. ปฐมพยาบาลผูปวยกระดูกหัก
ผูรับการฝกปฏิบัติงานปฐมพยาบาลผูปวย คํ า นึ ง ถึ ง ขั้ น ตอนการ กระดูกหัก
ปฏิบัติที่ตองปลอดภัย อยูเสมอ
6. ปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ
ผูรับการฝกปฏิบัติงานปฐมพยาบาลผูปวย คํ า นึ ง ถึ ง ขั้ น ตอนการ หมดสติ
ปฏิบัติที่ตองปลอดภัย อยูเสมอ
7. ทําความสะอาดอุปกรณและสถานที่ปฏิบัติงาน
ใชผาเช็ดทําความสะอาดอุปกรณ พรอมทั้ง ทํ า ความสะอาดสถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และ จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย
108 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
109 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
การปฐมพยาบาลผูปวยแผลถลอก
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
การปฐมพยาบาลผูปวยกระดูกหัก
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
การปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
8
การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงาน 9
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
110 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ชุด
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง
ปฏิบัติการชาง ไดอยางถูกตองกอนเริ่มปฏิบัติงาน
ใหคะแนน 3 คะแนน ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล
3
ใหคะแนน 0 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ขามหรือสลับในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ขามขั้นตอนที่สําคัญ ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การปฐมพยาบาลผูปวยแผลถลอก
ปฐมพยาบาลผูปวยแผลถลอก ไดอยางถูกตอง ทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน
5
ปฐมพยาบาลผูปวยแผลถลอก บกพรอง 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ปฐมพยาบาลผูปวยแผลถลอก บกพรองมากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน 5
การปฐมพยาบาลผูปว ยกระดูกหัก
ปฐมพยาบาลผูปวยกระดูกหัก ไดอยางถูกตอง ทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน
5
ปฐมพยาบาลผูปวยกระดูกหัก บกพรอง 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ปฐมพยาบาลผูปวยกระดูกหัก บกพรองมากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน 6
การปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ
ปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ ไดอยางถูกตอง ทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน
111 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
ปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ บกพรอง 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ บกพรองมากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน 7
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 0 คะแนน 8
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
3
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 9
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนด 3 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
33
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 23 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
112 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
3. นายธวัช
เบญจาทิกุล
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
4. นายสุรพล
พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา
ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน
ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก
7. นายวัชรพงษ
มุขเชิด
ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ
คําเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพสาลี
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกลา
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กําภู ณ อยุธยา
สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงควัฒนานุรักษ
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
11. นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 113 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 1
114 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน