คู่มือผู้รับการฝึก ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 1 โมดูล 2

Page 1

หนาปก



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

คูมือผูรับการฝก 0920164170201 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 2 09217202 หนวยวัดของระบบตาง ๆ ที่ใชงานในเครื่องทํา ความเย็น การอานแบบเครื่องกล และทางไฟฟา เบื้องตน แบบวงจรไฟฟาที่เกีย่ วกับงานเครื่องทํา ความเย็นและเครื่องปรับอากาศ กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

คํานํา คูมือผูรับการฝก สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยข นาดเล็ก ระดับ 1 โมดูล 2 หนวยวัดของ ระบบตาง ๆ ที่ใ ชงานในเครื่องทําความเย็น การอานแบบเครื่องกล และทางไฟฟาเบื้องตน แบบวงจรไฟฟาที่เกี่ย วกับงาน เครื ่อ งทํ า ความเย็น และเครื ่อ งปรับ อากาศฉบับนี้ เป นส วนหนึ่ งของหลั กสูตรฝ กอบรมฝมื อแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่ งพั ฒนาขึ้ นเพื่ อใช เป น เอกสารประกอบการจั ด การฝ ก อบรมกั บชุ ดการฝ ก ตาม ความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวย ระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงค เพื่อใหผูรับการฝกไดใชเปนเครื่องมือในการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ หลังเรียนจบโมดูลการฝก ผูรับการฝก สามารถบอกหนวยวัดตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับระบบปรับอากาศ อธิบายการอาน และเขียนสัญลักษณทางไฟฟา วงจรควบคุ ม มอเตอร ไดอะแกรมตาง ๆ ไดอยางถูกตอง ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรีย นรูไ ด ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแ ก ผูรับการฝกอบรม และตองการใหผู รับ การฝ กอบรมเกิ ดการเรีย นรูด วยตนเอง การฝกปฏิบัติ จะดํ าเนิ น การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชใ นการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรีย นรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรีย มการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรีย มและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดม ากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคาใช จายในการพั ฒ นาฝมือแรงงานใหแ ก กําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝ ก ที่ มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใ ชแ รงงานผูวางงาน นักเรีย น นักศึกษา และผูประกอบอาชีพ อิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

สารบัญ

เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

1

โมดูลการฝกที่ 2 09217202 หนวยวัดของระบบตาง ๆ ที่ใชงานในเครื่องทําความเย็น การอานแบบเครื่องกล และทางไฟฟา เบื้ อ งต น แบบวงจรไฟฟา ที่ เกี่ยวกับ งานเครื่ องทําความเย็ น และเครื่องปรับ อากาศ หัวขอวิชาที่ 1 0921720201 หนวยวัดตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับระบบเครื่องทําความเย็น และระบบปรับอากาศ

14

หัวขอวิชาที่ 2 0921720202 การอานและเขียนสัญลักษณทางไฟฟา ระบบเครื่องทําความเย็น และระบบเครื่องปรับ อากาศ

24

หัวขอวิชาที่ 3 0921720203 วงจรควบคุมมอเตอร

39

หัวขอวิชาที่ 4 0921720204 ไดอะแกรมตาง ๆ ที่ใชในงานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ

59

คณะผูจัดทําโครงการ

74

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูม ือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด วย หัวขอวิชาที่ผูรับการฝกตองเรีย นรูแ ละฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูลและรหัสหัวขอวิชาเป นตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรีย นรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนํา ความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑม าตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรีย นรูข องผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรีย นรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบีย น เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผา นอุป กรณอิเล็กทรอนิก สหรือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขา ใช ง านระบบ แบงสวนการใชง านตามความรั บผิ ด ชอบของผู มีส ว นได ส ว นเสีย ดั ง ภาพในหน า 2 ซึ่งรายละเอีย ดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ในคูมือผูรับการฝก จะเริ่ม ตนที่ ค. ผังการฝกอบรม เพื่อให สอดคลองกับการนําคูมือผูรับการฝกไปใช จึงละเวน ก. ผังการจัดเตรียมระบบ และ ข. ผังการเปดรับสมัครและคัด เลือก ผูรับการฝก ค. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิ บั ติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่อ อิเ ล็ก ทรอนิ กส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม 4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถั ดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผูรับการฝกดาวนโหลดแอปพลิเคชั น DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวนโหลดแอปพลิ เ คชั น สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใ ชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิ เ คชั น DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวน โ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิ เคชั น DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถั ดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด วยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการ ฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 6

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้ น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว 4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาทีต่ รวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถาไมครบ จะไมจบหลักสูตรแตได รับการรับ รองความสามารถบางโมดู ลในรายการโมดูล ที่สํา เร็ จเท า นั้ น ซึ่งสามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและ การพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164170201

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางเครื่องปรับอากาศในบา น และการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก เพื่ อ ให มี ค วามรู ค วามสามารถและทั ศ นคติ ต ามมาตรฐานฝ มื อ แรงงานแห ง ชาติ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูใ นการปฏิบัติงานเกี่ย วกับงานชางไฟฟา งานชางเครื่องทําความเย็น และชางเครื่องปรับอากาศ ไดอยางปลอดภัย 1.2 มีความรูเกี่ย วกับหนว ยวั ดของระบบต าง ๆ ที่ใ ชงานในเครื่ องทํา ความเย็ นและเครื่อ งปรั บอากาศ และ สามารถอานแบบเครื่องกล แบบทางไฟฟาเบื้องตน รวมทั้งแบบวงจรไฟฟาที่เกี่ย วกับงานเครื่องทําความเย็น 1.3 มีความรูเกี่ยวกับทฤษฎีไฟฟา 1.4 มีความรูความสามารถในการใชงานเครื่องมือวัดงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ 1.5 มีความรูความสามารถในการตอสายไฟฟาตามแบบที่กําหนด 1.6 มีความรูความสามารถในการตัด ปรับแตง ขยาย บาน ดัด และการเชื่อมทอทองแดง 1.7 มีความรูเกี่ยวกับหลักการทําความเย็นและสารทําความเย็น 1.8 มีความรูเกี่ยวกับสวนประกอบระบบทําความเย็นแบบแกสอัดไอ 1.9 มีความรูความสามารถในการตรวจสอบวงจรไฟฟาในเครื่องปรับอากาศ 1.10 มีความรูความสามารถในการติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับ การฝ กในภาคทฤษฎีแ ละภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝมื อแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 82 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝ ก จบการฝ กไมพ รอมกั น สามารถจบกอ นหรือ เกิ น ระยะเวลาที่ กํา หนดไวใ นหลักสูต รได 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใ หอยูใ นดุ ล ยพิ นิ จ ของผู อํา นวยการ สถาบั น พั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน หรื อ ผู อํา นวยการสํา นั ก งานพั ฒ นาฝ มื อ แรงงานที่ เ ป น หน ว ยฝ ก ตามความสามารถ จะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 10 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 10 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. ชางเครื่องปรับอากาศ ในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 2 1. ชื่อหลักสูตร

สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก รหัสหลักสูตร ระดับ 1 0920164170201 2. ชื่อโมดูลการฝก หนวยวัดของระบบตาง ๆ ที่ใชงานในเครื่องทําความเย็น รหัสโมดูลการฝก การอานแบบเครื่องกล และทางไฟฟาเบื้องตน แบบวงจรไฟฟา 09217202 ที่เกี่ยวกับงานเครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศ 3. ระยะเวลาการฝก รวม 3 ชั่วโมง 15 นาที ทฤษฎี 3 ชั่วโมง 15 นาที ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุม ดา นความรู ทักษะ และเจตคติแ กผูรั บการฝ ก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. บอกหนวยวัดตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับระบบปรับอากาศ 2. อธิบายการอานและเขียนสัญลักษณทางไฟฟา ระบบปรับอากาศ และนําไปใชได 3. อธิบายการอานและเขียนวงจรควบคุมมอเตอร และนําไปใชได 4. อธิบายการตอวงจรควบคุมมอเตอร และนําไปใชได 5. อธิบายการอา นและเขีย นไดอะแกรมต าง ๆ ที่ใ ชใ นงานเครื่อ งทํ า ความเย็ น และ เครื่องปรับอากาศ และนําไปใชได 6. อธิบายการตอไดอะแกรมตาง ๆ ที่ใชในงานเครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศ และนําไปใชได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานเกี่ย วกับ สัญลักษณ ไดอะแกรม ทางไฟฟาและระบบปรับอากาศ ผูรับการฝก หรือผานการฝกอบรมเกี่ยวกับการประยุกตใชสัญลักษณ ไดอะแกรม ทางไฟฟาและ ระบบปรับอากาศ จากหนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 1 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัว ขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. บอกหนวยวัดตาง ๆ ที่ หัวขอที่ 1 : หนวยวัดตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับ 0:30 0:30 เกี่ยวของกับระบบปรับอากาศ ระบบเครื่ องทํา ความเย็นและ ระบบเครื่องปรับอากาศ 12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 2. อธิบายการอานและเขียน หัวขอที่ 2 : การอานและเขียนสัญลักษณทางไฟฟา สัญลักษณทางไฟฟา ระบบเครื่องทําความเย็น และ ระบบปรับอากาศ และ ระบบเครื่องปรับอากาศ นําไปใชได 3. อธิบายการอานและเขียน หัวขอที่ 3 : วงจรควบคุมมอเตอร วงจรควบคุมมอเตอร และ นําไปใชได 4. อธิบายการตอวงจร ควบคุมมอเตอร และนําไปใชได 5. อธิบายการอานและเขียน หัวขอที่ 4 : ไดอะแกรมตาง ๆ ที่ใชในงาน ไดอะแกรมตาง ๆ ที่ใชในงาน เครื่องทําความเย็นและ เครื่องทําความเย็นและ เครื่องปรับอากาศ เครื่องปรับอากาศ และนําไปใช 6. อธิบายการตอไดอะแกรม ตาง ๆ ที่ใชในงาน เครื่องทําความเย็น และ เครื่องปรับอากาศ และ นําไปใชได รวมทั้งสิ้น

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

0:45

-

0:45

1:00

-

1:00

1:00

-

1:00

3:15

-

3:15


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1

0921720201 หนวยวัดตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับระบบ เครื่องทําความเย็นและระบบปรับอากาศ (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - บอกหนวยวัดตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับระบบปรับอากาศ 2. หัวขอสําคัญ 1. ระบบเมตริก 2. ระบบอังกฤษ 3. ระบบเอสไอ

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบตั ิ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม พรหมพัฒน จันทรกระจาง. 2557. ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับมาตราวัดในระบบตาง ๆ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://reckonsurveying.com/eBook/01-1-Table.pdf ฉัตรชาญ ทองจับ. 2557. เครื่องทําความเย็น. ปทุมธานี : สกายบุกส

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 หนวยวัดตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับระบบเครื่องทําความเย็นและระบบปรับอากาศ 1. ระบบอังกฤษ การวัดในระบบอังกฤษ (British Systems) เปนระบบที่เกิดขึ้นเปนเวลานานเพื่อใชใ นทางการคา มีหนวยพื้นฐานสําหรับ วัดความยาว มวล และเวลา คือ ฟุต (ft) ปอนด (lb) และวินาที (s) เปนหนวยพื้นฐาน ตัวอยางเชน 1.1 หนวยการวัดระยะทางในระบบอังกฤษ 12 นิ้ว

เทากับ

1 ฟุต

3 ฟุต

เทากับ

1 หลา

1,760 หลา

เทากับ

1 ไมล

1.2 หนวยการวัดชั่งน้ําหนักในระบบอังกฤษ 16 ออนซ

เทากับ

1 ปอนด

14 ปอนด

เทากับ

1 สโตน

112 สโตน

เทากับ

1 อันเดรตเวท

20 อันเดรตเวท

เทากับ

1 ตัน

1.3 หนวยการวัดตวงความจุในระบบอังกฤษ 144 ลูกบาศกนิ้ว

เทากับ

1 ลูกบาศกฟุต

1 ลูกบาศกฟุต

เทากับ

6.24 แกลลอน

1 แกลลอน

เทากับ

4.54 ลิตร

1.4 หนวยการวัดหาพื้นที่มาตราอังกฤษ 4,840 ตารางเมตร

เทากับ

1 เอเคอร

1 เอเคอร

เทากับ

2.5 ไร

1.5 เอเคอร

เทากับ

1 เฮกตาร

2. ระบบเมตริก การวัดในระบบเมตริกเปนหนวยการวัดที่นิยมใชในงานอุตสาหกรรมอยางแพรหลายในปจจุบัน ซึ่งมีหนวยในการวัด ดังนี้

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 2.1 หนวยการวัดระยะทางในระบบเมตริก 10 มิลลิเมตร

เทากับ

1 เซนติเมตร

10 เซนติเมตร

เทากับ

1 เดซิเมตร

10 เดซิเมตร

เทากับ

1 เมตร

10 เมตร

เทากับ

1 เดคาเมตร

10 เดคาเมตร

เทากับ

1 เฮกโตเมตร

10 เฮกโตเมตร

เทากับ

1 กิโลเมตร

2.2 หนวยการวัดชั่งน้ําหนักในระบบเมตริก 10 มิลลิกรัม

เทากับ

1 เซนติกรัม

10 เซนติกรัม

เทากับ

1 เดซิกรัม

10 เดซิกรัม

เทากับ

1 กรัม

10 กรัม

เทากับ

1 เดคากรัม

10 เดคากรัม

เทากับ

1 เฮกโตกรัม

10 เฮกโตกรัม

เทากับ

1 กิโลกรัม

2.3 หนวยการวัดตวงความจุในระบบเมตริก 10 มิลลิเมตร

เทากับ

1 เซนติลิตร

10 เซนติลิตร

เทากับ

1 เดซิลิตร

10 เดซิลิตร

เทากับ

1 ลิตร

10 ลิตร

เทากับ

1 เดคาลิตร

10 เดคาลิตร

เทากับ

1 เฮกโตลิตร

10 เฮกโตลิตร

เทากับ

1 กิโลลิตร

3. ระบบเอสไอ (SI Units) เนื่องจากแตละประเทศมีหนวยวัดซึ่งกําหนดขึ้นเพื่อใชใ นแตละทองถิ่นแตกตางกัน ทําใหเกิดปญหาในการติดตอสื่อ สาร ระหว า งประเทศ ประเทศที่ พั ฒ นาทางด า นอุ ต สาหกรรมจึ งได ร วมมือ กั น พั ฒ นาหน ว ยวั ด ปริ ม าณต า ง ๆ ที่ เ ป น ระบบ มาตรฐานสากลขึ้น โดยเรียกชื่อวา International System of Units หรือเรียกโดยยอวา หนวย SI ระบบ SI ประกอบดวย 3 หนวย ดังนี้ 17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 3.1 หนวยพื้นฐาน เปนหนวยวัดปริมาณตาง ๆ เบื้องตนของระบบ SI ประกอบดวยการวัดปริมาณ 7 ประเภท ตารางที่ 1.1 หนวยพื้นฐาน ปริมาณ

ชื่อหนวยวัด

สัญลักษณ

ความยาว

เมตร (metre)

m

มวล

กิโลกรัม (kilogram)

kg

เวลา

วินาที (second)

s

กระแสไฟฟา

แอมแปร (ampere)

A

อุณหภูมิ

เคลวิน (kelvin)

K

จํานวนสาร

โมล (mole)

mol

ความเขมของการสองสวาง

แคนเดลา (candela)

cd

3.2 หนวยเสริมในระบบ SI เปนหนวยเพิ่มเติมจากหนวยพื้นฐาน ตารางที่ 1.2 หนวยเสริมในระบบ SI ปริมาณ

ชื่อหนวยเสริม

สัญลักษณ

มุมระนาบ (Plana angle)

เรเดียน (radian)

rad

มุม (Solid angle)

สตอเรเดีย น (steradian)

Sr

3.3 หนวยอนุพันธในระบบ SI หนวยอนุพันธเปนหนวยวัดปริม าณคาตาง ๆ ซึ่งเกิดขึ้นจากการนําหนวยพื้นฐานและหนวยเสริม มาสัม พันธกับ ทางคณิตศาสตร ตารางที่ 1.3 หนวยอนุพันธในระบบ SI ปริมาณ

ชื่อหนวย

สัญลักษณ

พื้นที่

ตารางเมตร

m2

ปริมาตร

ลูกบาศกเมตร

m3

อัตราเรง

เมตรตอวินาทีกําลังสอง

m/s2

ความหนาแนน

กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร

Kg/m3

พลังงานหรืองาน

จูล

J 18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 ปริมาณ

ชื่อหนวย

แรง

นิวตัน

โมเมนต

นิวตัน-เมตร

สัญลักษณ N N.m

โมเมนตความเฉื่อยของพื้นที่ -

m4

กําลังงาน

วัตต

W

ความกดดันและความเคน

ปาสคาล

Pa

ความถี่ของการหมุน

รอบตอวินาที

รอบ/วินาที

อุณหภูมิ

องศาเซลเซียส

-

ทอรก

นิวตัน-เมตร

N.m

ความเร็ว (อัตราเร็ว)

เมตรตอวินาที

m/s

ความเร็วเชิงมุม

เรเดียนตอวินาที

rad/s

ความเรงเชิงมุม

เรเดียนตอวินาที กําลังสอง

rad/s2

หนวยทั่วไปเปนหนวยอื่น ๆ ที่คณะกรรมการมาตรฐานหนวยไดพิจารณาบรรจุไวใ นระบบ SI เนื่องจากเปนหนวย ที่มีความสําคัญ ในทางปฏิบัติหนวยตาง ๆ ตารางที่ 1.4 หนวยทั่วไป ปริมาณ เวลา

ชื่อของหนวย

สัญลักษณ

คําจํากัดความ

นาที

min

1 min = 60 sec

ชั่วโมง

hr

1 hr = 60 min =3600 sec

วัน

d

1 d =24 hr = 86400 sec

องศา

1’ = 1/ (/180) rad

ลิปดา

1” = (1/60)’ =2.909’10-4 rad

ฟลิบดา

1” = (1/60)’ =4.848’10-5 rad

ความดัน

บาร

bar

1 bar = 105 N/m2

ปริมาตร

ลิตร

L

1 bar = 1 dm3 = 10-3 m3

มวล

ตัน

T

1 t = 1 Mg = 103 kg

มุมระนาบ

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 คําอุปสรรค (Pre Fixes) เมื่อคาในหนวยฐานหรือหนวยอนุพันธนอยหรือมากเกินไป เราอาจเขีย นคานั้นอยูใ นรูป ตัวเลขคูณดวยตัวพหุคูณ (ตัวพหุคูณ คือ เลขยกกําลังบวก หรือ ลบก็ได) เชน ระยะทาง 0.002 เมตร เขียนเปน 2x10-3 เมตร ตัวคูณคือ 10-3 แทนคาดวยคําอุปสรรคมิลลิ (m) ดังนั้นระยะทาง 0.002 เมตร อาจเขียนไดวา 2 มิลลิเมตร ตารางที่ 1.5 คําอุปสรรคที่ใชแทนตัวพหุคูณและสัญลักษณ จํานวนทศนิยม

อาน

อักษรยอ

เลขยกกําลัง

1,000,000,000,000

เทรา

T

1012

1,000,000,000

จิกา

G

109

1,000,000

เมกา

M

106

1,000

กิโล

k

103

100

เฮกโต

h

102

10

เดคา

da

101

1

-

-

100

0.1

เดซิ

d

10-1

0.01

เซ็นติ

c

10-2

0.001

มิลลิ

m

10-3

0.000 001

ไมโคร

m

10-6

0.000 000 001

นาโน

n

10-9

0.000 000 000 001

พิโค

p

10-12

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. 10 มิลลิเมตร เทากับกี่เซนติเมตร ก. 1 ข. 10 ค. 100 ง. 1000 2. 50 เซนติเมตร เทากับกี่เดซิเมตร ก. 1 ข. 10 ค. 5 ง. 50 3. 30 เดซิกรัม เทากับกี่กรัม ก. 1 กรัม ข. 3 กรัม ค. 10 กรัม ง. 30 กรัม 4. ฟุต (ft) เปน หนวยในระบบใด ก. ระบบอังกฤษ ข. ระบบเมตริก ค. ระบบเอสไอ ง. ระบบอเมริกัน

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 5. ระยะทาง 0.002 เมตร เทากับ กี่มิลลิเมตร ก. 2 มิลลิเมตร ข. 20 มิลลิเมตร ค. 200 มิลลิเมตร ง. 2000 มิลลิเมตร

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4 5

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921720202 การอานและเขียนสัญลักษณทางไฟฟา ระบบเครื่องทําความเย็น และระบบเครื่องปรับอากาศ (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู

- อธิบายการอานและเขียนสัญลักษณทางไฟฟา ระบบปรับอากาศ และนําไปใชได

2. หัวขอสําคัญ - การอานและเขียนสัญลักษณทางไฟฟา ระบบเครื่องทําความเย็น และระบบเครื่องปรับอากาศ 3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม เลอศักดิ์ สันติประเสริฐ และเสถียร บุญเพ็ง. 2546. เขียนแบบไฟฟา. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมวิชาการ

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 การอานและเขียนสัญลักษณทางไฟฟา ระบบเครื่องทําความเย็น และระบบเครื่องปรับอากาศ ในการอาน และเขียนวงจรไฟฟาในระบบเครื่องทําความเย็น และระบบเครื่องปรับอากาศ จําเปนจะตองมีความรูเกี่ยวกับ สัญลักษณที่ใ ชแทนสวนประกอบ และอุปกรณตาง ๆ ที่ใ ชใ นระบบกอน เพื่อใหสามารถเขาใจในความหมายของสัญลักษณ และสามารถระบุชนิดของสัญลักษณไดถูกตอง โดยสัญลักษณเบื้องตนที่ใชทางไฟฟาในระบบเครื่องทําความเย็น และระบบ เครื่องปรับอากาศที่ประเทศไทยใชงานทั่วไป ไดแ ก สัญลักษณม าตรฐานการออกแบบของประเทศเยอรมนี (Deutsches Institute Fur Normung: DIN) สัญลักษณมาตรฐานทางไฟฟานานาชาติข องทวีปยุโรป (International Electrotechnical Commission) และ ANSI (American national standard institute) มาตรฐานการออกแบบของประเทศสหรัฐ อเมริก า/แคนาดา ซึ่งมีลักษณะของสัญลักษณ ดังตารางตอไปนี้ ตารางที่ 2.1 เปรียบเทียบสัญลักษณที่ใชสาํ หรับการควบคุมมอเตอรกนั ทัว่ ไปตามมาตรฐาน DIN, IEC และ ANSI รายการอุปกรณ

DIN

IEC

สวิตชปุมกดปกติเปด

สวิตชปุมกดปกติปด

สวิตชปด-เปด ธรรมดา

สวิตชลูกลอยปกติเปด

สวิตชลูกลอยปกติปด

สวิตชทํางานดวยเทาปกติเปด

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ANSI


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 รายการอุปกรณ

DIN

IEC

สวิตชทํางานดวยเทาปกติปด

สวิตชความดันปกติเปด

สวิตชความดันปกติปด

สวิ ต ช ทํ า งานด ว ยความร อ น หรือสวิตชอุณหภูมิปกติเปด สวิ ต ช ทํ า งานด ว ยความร อ น หรือสวิตชอุณหภูมิปกติปด สวิตชควบคุมการไหลหรื อ โฟล สวิตชปกติเปด สวิ ต ช ค วบคุ ม การไหลหรื อ โฟลสวิตชปกติปด สวิตชจํากัดระยะปกติเปด

สวิตชจํากัดระยะปกติปด

ขดลวดหรื อ คอยล ข องสวิ ตช แมเหล็กหรือคอยลรีเลย

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ANSI


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 รายการอุปกรณ

DIN

IEC

ปลดหรือทริปดวยแมเหล็ก

โอเวอร โ หลดรี เ ลย ท ริ ป ด ว ย ความรอน หลอดสัญญาณ

ฟวส

เซอรกิตเบรกเกอร

มอเตอรเหนี่ยวนําโรเตอรแ บบ กรงกระรอก 3 เฟส

สลิ ป ริ ง มอเตอร ห รื อ มอเตอร เหนี่ ย วนํ า โรเตอร แ บบพั น ขดลวด

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ANSI


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 รายการอุปกรณ

DIN

IEC

ANSI

มอเตอรไฟฟากระแสตรงแบบ อนุกรม

วาลวแมเหล็กไฟฟา

ในงานติดตั้งระบบไฟฟา สวนใหญจะใชสัญลักษณทางไฟฟามาตรฐาน DIN ซึ่งมีรายละเอียดของแตละอุปกรณ ดังตาราง ตอไปนี้ ตารางที่ 2.2 สัญลักษณมาตรฐาน DIN ในงานติดตั้ง ไฟฟาแสงสวาง หลอดไฟทั่วไป

หลอดไฟ 60 W 5 หลอด

หลอดไฟมีสวิตช

ไฟปลอดภัย

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 หลอดไฟหลายหลอดแยกวงจรกัน

หลอดฟลูออเรสเซนต เตารับ เตารับเดี่ยว

เตารับมีสายกราวด

เตารับคูมีสายกราวด

เตารับมีสวิตชควบคุม สวิตช สวิตชขั้วเดียว

สวิตช 2 ขั้ว

สวิตช 3 ขั้ว

สวิตชอนุกรม 30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 สวิตช 2 ทาง 3 ขั้ว

สวิตชกากบาท สายไฟเขา ไฟเขาจากขางลาง

สายไฟลงลาง

สายไฟขึ้นบน

สายไฟจากขางบน

สายไฟเขาทั้งสองทาง เครื่องทําความเย็น เครื่องทําความเย็น

ตูเย็น

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 ตูแชแข็ง

มอเตอร เครื่องทําความรอนและเครื่องปรับอากาศ เครื่องทําความรอนในหอง เครื่องเก็บความรอน เครื่องเก็บความรอนมีพัดลมเปาอากาศ หลอดอินฟราเรด พัดลมเปาอากาศ เครื่องปรับอากาศ อุปกรณปองกันและตัดตอน ฟวส

เซอรกิตเบรกเกอร

เซอรกิตเบรคเกอรตัดวงจรเมื่อมีการรั่วลงดิน

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 เซอรกิตเบรคเกอรตัดวงจรดวยความรอน

อุปกรณตัดตอนปองกันสาย การเดินสายไฟฟา สายทั่วไป

สายนิวทรัล สายที่โยกยายได สายที่เพิ่มเติมขึ้นใหม สายปองกันสําหรับกราวด (Protective Earth; PE) เดินสายหลายเสน สายรวมกัน (สายเคเบิล) สายตัดผานไมตอ

สายหลายเสนตัดผานไมตอ สายตอแยก

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 จุดตอแบบถาวร จุดตอไมถาวร ตลับแยกสาย สายเดินบนปูน สายเดินในปูนหรือฝงพื้น สายเดินใตพื้นปูน สายเดินในทอ สายเดินใตดิน สายสําหรับที่แหง

สายสําหรับที่เปยกชื้น

สายเคเบิลภายนอก

ขั้วตอสาย

ตอลงดิน

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 ในบางครั้งการเขีย นสัญลักษณจําเปนตองเขียนอักษรยอกํากับ เพื่อใหสามารถแยกประเภทของอุปกรณแตละชนิดได โดยคําจํากัดความของอุปกรณทางไฟฟามาตรฐาน DIN ไดแ ก C

คาปาซิเตอร

E

หลอดไฟ ขั้วหลอด โคมไฟฟา

F

อุปกรณปองกัน ฟวส เซอรกิตเบรกเกอร

H

อุปกรณสัญญาณ หลอดสัญญาณอันตราย

K

รีเลย คอนแทคเตอร

L

อินดักเตอร โชค คอยล

M

มอเตอร

Q

สวิตชแรงดันสูง

S

สวิตช สวิตชปุมกด

T

หมอแปลง หมอแปลงใชกับกระดิ่ง

X

Outlet

เพื่อ ความปลอดภัย ในการแยกความแตกตา งของสายไฟฟา แตล ะประเภท โคด สีข องสายหุม ฉนวนสีเ ขีย วและ เหลือ งจะใชเปนสายปองกัน (Protective Earth) เทานั้น และสีฟา (น้ําเงินออน) จะใชเปนสายนิวทรัล ซึ่งไดแ ก สาย N สําหรับไฟ AC และเปนสาย M สําหรับไฟ DC โดยมีรายละเอียด ดังตอไปนี้ อักษรยอ

สีของสาย

L1

น้ําตาล

L2

ดํา

L3

เทา

N

ฟา (น้ําเงินออน)

L+

แดง

L-

น้ําเงิน

M

ฟา (น้ําเงินออน)

PE

เขียว เหลือง

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 ในแตระบบแรงดันไฟฟาจะมีสายไฟฟาที่ใ ชใ นระบบแตกตางกันไฟฟากระแสสลับ โดยทั่วไปการเขีย นเสนนิวตรอล (N) จะนิยมเขียนเหมือนเสนไลน (L) ดังนี้ - ระบบ 1 เฟส 3 สาย L1

น้ําตาล

N

ฟา (น้ําเงินออน)

PE

เขียว เหลือง

- ระบบ 3 เฟส 5 สาย L1

น้ําตาล

L2

ดํา

L3

เทา

N

ฟา (น้ําเงินออน)

PE

เขียว เหลือง

- ไฟฟากระแสตรง L+

แดง

L-

น้ําเงิน

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดเปนสัญลักษณของเซอรกิตเบรกเกอร ก. ข. ค. ง.

2.

แทน สัญลักษณในขอใด ก. ฟวส ข. ตูควบคุม ค. ขั้วตอสาย ง. โพเทนเชียลรีเลย

3. ตามมาตรฐาน DIN อักษรยอ C หมายถึง ขอใด ก. คอมเพรสเซอร ข. คาปาซิเตอร ค. ทอแคปปลลารี่ ง. คอยลรอน

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3

0921720203 วงจรควบคุมมอเตอร (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายการอานและเขียนวงจรควบคุมมอเตอร และนําไปใชได 2. อธิบายการตอวงจรควบคุมมอเตอร และนําไปใชได

2. หัวขอสําคัญ - วงจรควบคุมมอเตอร 3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม สํานักบริหารจัดการน้ํา กรมทรัพยากรน้ํา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. 2553. สัญลักษณและการคํานวณหา ขนาดของสายไฟฟาและอุปกรณปองกัน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :http://202.129.59.73/tn/motor10-52/motor12.htm วิทยา ประยงคพันธุ และอํานาจ ทองผาสุก. มปท. การควบคุมมอเตอร. กรุงเทพฯ : มปท

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 วงจรควบคุมมอเตอร 1. การเขียนแบบวงจรควบคุมมอเตอร แบบวงจรควบคุ ม มอเตอร มี ก ารเขี ย นได ห ลายลั ก ษณะ ดั ง นี้ 1) วงจรสายเดีย ว (One Line Diagram) สามารถเขีย นแสดงการทํางานของวงจรกําลัง แตจะเขีย นดวยเสน เพียงเสนเดียว ดังนั้นผูที่แปลความหมายของวงจรชนิดนี้ จะตองมีความเขาใจพอสมควร

ภาพที่ 3.1 แบบงานเสนเดียว (Single Line Diagram) มาตรฐาน ANSI 2) วงจรแสดงการทํางาน (Schematic Diagram) แบงตามการทํางานได 2 แบบ คือ - วงจรกํา ลัง (Power Circuit) จะเขีย นแสดงรายละเอีย ดเฉพาะสว นที่ม ีก ระแสไฟฟา ไหลผาน จํานวนมาก - วงจรควบคุม (Control Circuit) จะเขียนแสดงการทํางานของอุปกรณหลัก ไดแก แมกเนติกคอนแทคตอร ไทมเมอรรีเลย รีเลยหนวงเวลา และสวิตชปุมกด เปนตน การเขียนแบบวงจรควบคุม จะเรียงลําดับ จากซายไปขวามีตัวเลขกํากับบอกจํานวนแถว

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 3.2 วงจรแสดงการทํางานของวงจรกําลัง

ภาพที่ 3.3 วงจรแสดงการทํางานของวงจรควบคุม

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 3) แบบงานจริง (Working Diagram) เปน การเอาวงจรกํา ลัง และวงจรควบคุม ใน Schematic Diagram เขาไวดวยกัน การเขีย นจึงมีลักษณะคลายงานจริง แตจะเขีย นโดยใชสัญลักษณ

ภาพที่ 3.4 แบบงานจริง 4) วงจรประกอบการติดตั้ง (Constructional Wiring Diagram) เปนการแสดงภาพวงจรตามตําแหนงที่ติดตั้งจริง จึงตองมีการโยงเสนเพื่ อเชื่อมตอสายเขาหากั นระหว างระบบควบคุม ที่อยูภายในตูควบคุม ที่มีฝาป ด กั บ มอเตอรที่ติดตั้งภายนอก

2. การตอวงจรขดลวดมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส ภายในมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส (Three Phase AC. Motor) จะประกอบดวยขดลวด 3 ชุด วางทํามุมกัน 120 องศา ทางไฟฟา แตละชุดจะมีอักษรกํากับ ดังนี้

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 3.5 สัญลักษณมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส การตอวงจรขดลวดมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส มี 2 วิธี คือ 1) การตอแบบสตาร เรียกอีกอยางวาตอแบบวาย เนื่องจากมีลักษณะคลายกับอักษรตัว Y การตอแบบสตารจะ รวมปลายขดลวดทุกชุดเขาดวยกัน (ตอ U2, V2 และ W2 เขาดวยกัน) จากนั้นจายไฟเขาที่ขั้ว U1, V1 และ W1 ในการตอแบบสตารอาจรวมขั้ว U1, V1 และ W1 เขาดวยกัน จากนั้นจายไฟเขาที่ขั้ว U2, V2 และ W2 ไดผลเชนเดียวกัน

ภาพที่ 3.6 การตอขดลวดและขั้วตอมอเตอรแบบสตาร 44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 2) การตอแบบเดลตา เปนการตอขดลวดใหเปนรูปสามเหลี่ยม

ภาพที่ 3.7 การตอขดลวดและขั้วตอมอเตอรแบบเดลตา การเริ่มเดินมอเตอรดวยการตอโดยตรงกับแหลงจาย อุปกรณที่ใชในการเริ่มเดินมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส ไดแก - สวิตช ON – OFF - สวิตช 3 ขั้ว สับ 1 ทาง - แมกเนติกคอนแทคเตอร

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 3.8 วงจรเริ่มหมุนมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส ดวย ON-OFF Switch

ภาพที่ 3.9 วงจรเริ่มหมุนมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส ดวยสวิตช 3 ขั้ว สับ 1 ทาง (TPSI Switch) 46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 การเริ่มเดินดวยแมกเนติกคอนแทคเตอร ประกอบดวยวงจร 2 สวน คือ 1) วงจรกําลัง เรียกอีกอยางวา วงจรเพาเวอร ประกอบดวย - ฟวสกําลัง F1 ทําหนาที่เปนอุปกรณปองกันวงจรกําลัง - หนาคอนแทคของแมกเนติกคอนแทคเตอร K1 ทําหนาที่เปนสวิตซตัด-ตอ ระหวางฟวส (F1) และ โอเวอรโหลด (F3) - โอเวอรโหลด F3 ทําหนาที่เปนหนาสัม ผั สปกติป ดเชื่ อมต อระหวา ง K1 และมอเตอร ซึ่งถาหาก มอเตอรเกิดสภาวะโอเวอรโหลด หรือลัดวงจรหนาสัมผัสของโอเวอรโหลดจะทําการตัดวงจรควบคุม เพื่อใหมอเตอรหยุดการทํางาน

ภาพที่ 3.10 วงจรกําลังของการเดินมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส ดวยแมกเนติกคอนแทคเตอร 2) วงจรควบคุม หรือเรียกวา วงจรคอนโทรล วงจรควบคุมอาจมีหลายลักษณะ ขึ้นอยูกับการออกแบบวงจรและ จุดประสงคการใชงาน แตองคประกอบพื้นฐานที่จะตองติดตั้งไวในวงจรควบคุม ไดแก

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 3.11 วงจรควบคุมการเริ่มหมุนมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส ดวยแมกเนติกคอนแทคเตอร - ฟวสควบคุม F2 ทําหนาที่เปนอุปกรณปองกันวงจรควบคุมทั้งหมด - หนาคอนแทคของโอเวอร โหลดรีเลย F3 ทําหนาที่ตัดวงจรควบคุม เพื่อใหม อเตอรหยุดทํา งาน ในกรณีที่มอเตอรเกิดโอเวอรโหลด หรือลัดวงจร - คอยลแมกเนติกคอนแทคเตอร K1 ทําหนาที่เปนขดลวดแมเหล็กไฟฟาเมื่อจายไฟเขาคอยลจะทําให หนาคอนแทคเปลี่ยนไปตรงขามจากหนาคอนแทคปกติเปด เปลี่ยนเปนหนาคอนแทคปกติปด หรือจาก หนาคอนแทคปกติปด เปนหนาคอนแทคปกติเปด สวิตชควบคุมโดยทั่วไปแลวสวิตชที่หนาคอนแทคปกติ ปด จะใชสวิตชกดหยุด สวนสวิตชที่มีหนาคอนแทคปกติเปด จะใชสวิตชกดเพื่อเริ่มเดินมอเตอร - หลอดสัญญาณ เขียนแทนอักษรตัว H เชน H1 , H2 ทําหนาที่บอกสถานะการทํางานของวงจร เชน หลอดสีเขียว หมายถึงมอเตอรกําลังทํางานปกติ แตถาเปนหลอดสีสมหมายถึงมอเตอรอยูใ นสภาวะ โอเวอรโหลดหรือโหลดเกิน

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 3.12 วงจรควบคุมแบบใชคอนแทคชวย 3) วงจรและหลักการทํางานของการสตารทมอเตอรกระแสตรง เปน การควบคุม การเริ่ ม เดิ น และหยุ ด เดิ น มอเตอร โ ดยใชแ มคเนติ ค คอนแทคเตอร ในการตั ด ตอ การควบคุมการทํางานและมีอุปกรณปองกันมอเตอร ไมใหเกิดการเสียหายและสามารถเริ่มเดินเครื่อง โดยกดปุมที่ สวิตชปุมกดใหมอเตอรทํางานไดโดยตรง และเมื่อตองการหยุดก็กดสวิตชปุมกดอีกตัวโดยมีขั้นตอนการทํางานดังนี้ - เริ่มตนทํางานโดยกดสวิตช S2 ทําใหคอนแทคเตอร K1 ทํางาน และหนาสัมผัสหลักจายไฟฟา กําลัง เขาสูมอเตอร - คอนแทคเตอรทํางานตลอดเวลา ถึงแมจะปลอยมือออกจากสวิตช เนื่องจากหนาสัม ผัสชวยของ คอนแทคเตอร K1 ทําหนาที่จายไฟเขาไปสูคอยลของคอนแทคเตอร - หากตองการหยุดวงจรทําไดโดยการกดสวิตชปุมกด S1 - เมื่อเกิดโอเวอรโหลดขึ้น โอเวอรโหลดรีเลย F3 จะทําการตัดวงจร และสามารถกลับมาทํางานใหม ไดอีกครั้ง เมื่อทําการรีเซ็ท ที่โอเวอรโหลดรีเลย - เมื่อเกิดการลัดวงจรขึ้นที่วงจรกําลัง ฟวส F1 จะทําการตัดวงจรกําลัง หรือถาเกิดการลัดวงจรขึ้น ที่วงจรควบคุม ฟวส F2 ทําหนาที่ตัดวงจรควบคุมออกไป 49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 3.13 การตอมอเตอรเพื่อใชงานโดยตรง 4) การควบคุมการทํางานของมอเตอรคอมเพรสเซอร ในมอเตอรคอมเพรสเซอร ถาเปนมอเตอรข นาดเล็กที่ใ ชกระแสไฟฟาไมสูง สามารถตอเขาไดโดยตรงได โดยผานเพีย งแคฟวสหรือเซอรกิตเบรกเกอร และสวิตชควบคุม การทํางานโดยตรง สวนมอเตอรข นาดใหญ ใชกระแสตั้งแต 15 แอมแปรขึ้นไป การควบคุม การทํางานของมอเตอรจะควบคุม โดยทางออม คือ ผานทาง หนาสัมผัสแมเหล็ก ซึ่งเมื่อมีไฟเขาขดลวดจะเกิดอํานาจแมเหล็กดูดหนาสัมผัสของหนาสัมผัสแมเหล็กเขามาตอวงจร

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 3.14 การตอมอเตอรเพื่อใชงานโดยตรง

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

สําหรับไฟเฟสเดียว ภาพที่ 3.15 การตอกระแสไฟฟาเขามอเตอรคอมเพรสเซอรควบคุมโดยตรง (1)

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

สําหรับไฟ 3 เฟส ภาพที่ 3.16 การตอกระแสไฟฟาเขามอเตอรคอมเพรสเซอรควบคุมโดยตรง (2) 53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 กรณีตอ งการใหม ีค วามปลอดภัย สํา หรับ ผูใ ช อาจเลือ กใชข ดลวดหนา สัม ผัส แมเ หล็ก ชนิด 24 โวลต สําหรับวงจรควบคุม ซึ่งจะตองเพิ่มหมอแปลงสําหรับลดแรงดันไฟฟาจาก 220 โวลตมาเปน 24 โวลต

ภาพที่ 3.17 การควบคุมมอเตอรคอมเพรสเซอรทางออมโดยผานหนาสัมผัสแมเหล็ก

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 3.18 วงจรควบคุมใชหนาสัมผัสแมเหล็กชนิดโวลตต่ํา

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

1. จากภาพ เปนการเขียนวงจรแบบใด ก. แบบงานเสนเดียว ข. แบบงานเสนขนาน ค. แบบรวมอุปกรณ ง. แบบมาตรฐาน DIN 2. วงจรกําลัง (Power Circuit) จะมีวิธีการเขียนอยางไร ก. เขียนแสดงรายละเอียดของทั้งสถานที่ ข. เขียนแสดงรายละเอียดเฉพาะสวนที่มีตูโหลด ค. เขียนแสดงรายละเอียดเฉพาะสวนที่มีกระแสไฟฟาต่ํา ง. เขียนแสดงรายละเอียดเฉพาะสวนที่มีกระแสไฟฟาไหลผานจํานวนมาก

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 3. ขอใดเปนภาพการตอวงจรควบคุมโดยใชคอนแทคชวย

ก.

ค.

ข.

ง.

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 4 0921720204 ไดอะแกรมตาง ๆ ที่ใชในงานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายการอานและเขียนไดอะแกรมตาง ๆ ที่ใชในงานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ และนําไปใชได 2. อธิบายการตอไดอะแกรมตาง ๆ ที่ใชในงานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ และนําไปใชได

2. หัวขอสําคัญ - ไดอะแกรมในงานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการ ฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ฉัตรชาญ ทองจับ. 2557. เครื่องทําความเย็น. ปทุมธานี : สกายบุกส

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ใบขอมูล หั วขอวิชาที่ 4 ไดอะแกรมตาง ๆ ที่ใชในงานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ 1. ไดอะแกรมในงานเครื่องเย็นและเครื่องปรับอากาศ ไดอะแกรมในงานเครื่องเย็นและเครื่องปรับอากาศ แบบแยกสวน แบบ 220 โวลต จะแบงตามการควบคุมการทํางานได 2 รูปแบบ ดังนี้ 1.1 ควบคุมการทํางานดวยแผงรูมเทอรโมสตัท การควบคุมการทํางานดวยแผงรูมเทอรโมสตัท ซึ่งมีรายละเอียดของไดอะแกรม ไดแก วงจรที่ 1 เปนการควบคุม ดวย Selector Switch กับมอเตอรพัดลมอีวาพอเรเตอร เปนวงจรไฟฟาเริ่ม ตนของ เครื่องปรับอากาศ เปนการตอวงจรเพื่อ ทดสอบการทํ างานของมอเตอรพั ดลมของอีว าพอเรเตอร ตามความเร็ ว ที่ เปลี่ยนไปที่ควบคุมดวย Selector Switch

ภาพที่ 4.1 วงจรการควบคุม ดวย Selector Switch กับมอเตอรพัดลมอีวาพอเรเตอร วงจรที่ 2 วงจรควบคุม มอเตอรคอมเพรสเซอร เปนวงจรไฟฟาที่ตอเนื่องกันกับมอเตอรอีวาพอเรเตอร โดยผาน การควบคุมดวย Selector Switch เมื่อทําการเปดจะสงกระแสไฟฟาผานตําแหนง T.C. ทุกครั้ง ไมวาจะปรับความเร็ว ทุก ๆ ระดับ ผานเทอรโมสตัท (T.C.) ตําแหนงปกติปด (ปรับอุณหภูมิใ หต่ํา ๆ) ตอเขากับขั้ว C ของคอนเพรสเซอร ผานโอเวอรโหลด สวนมอเตอรขั้ว S - R ตอเขากับคาปาซิเตอร พรอมตอลงกราวด (N)

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 4.2 การควบคุมการทํางานของมอเตอรคอมเพรสเซอร หมายเหตุ ในวงจรนี้ข นาดของสายไฟจะตองเหมาะสมกับ การใชก ระแสของคอมเพรสเซอร สวนในเรื่องของ การตัด-ตอ การทํา งานด วยเทอร โ มสตัท และสวิตชพัดลมจะทํา หน าที่ เป น สะพานไฟ ทุกครั้ง ๆ ที่คอมเพรสเซอร เริ่มทํางาน หนาสัมผัสของเทอรโมสตัทจะเปนสะพานไฟ ดังนั้นหนาสัมผัสนี้จะตองทนกระแสไดเทากับการใชกระแสไฟ ของคอมเพรสเซอร ในวงจรนี้ ส ามารถใช ต อ วงจรที่ มี ข นาดคอมเพรสเซอร ไ ม ใ หญ ม าก ส ว นใหญ ว งจรนี้ ใ ช เ ป น วงจรพื้ น ฐาน ผู ใ ช เ ครื่ อ งปรั บ อากาศนิ ย มเป ด เครื่ อ งที่ 2 ตํ า แหน ง คื อ เป ด ที่ เ ซอร กิ ต เบรกเกอร ห รื อ เป ด ที่ Selector Switch สวนการตอคาปาซิเตอร ตองตอใหเหมาะกับขนาดของคอมเพรสเซอรดวย

ภาพที่ 4.3 การควบคุมการทํางานของมอเตอรคอมเพรสเซอร

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 วงจรที่ 3 การตอมอเตอรพัดลมคอมเพรสเซอรเขากั บมอเตอร คอมเพรสเซอร เปนวงจรไฟฟาตอเนื่องกั น กั บ วงจรการควบคุมการทํางานของมอเตอรคอมเพรสเซอร สวนการตอคาปาซิเตอรรันของพัดลมคอนเดนเซอรจะเหมือนกัน เพียงขนาดของคาปาซิเตอรรันโดยทั่วไปจะมีขนาดประมาณ 5 ไมโครฟารัด

ภาพที่ 4.4 การตอมอเตอรพัดลมคอนเดนเซอรกบั มอเตอรคอมเพรสเซอร

ภาพที่ 4.5 การตอมอเตอรพัดลมคอนเดนเซอรกับมอเตอรคอมเพรสเซอร

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 4.6 การตออุปกรณชวยสตารท มอเตอรคอมเพรสเซอร วงจรที่ 4 การตออุปกรณชวยสตารทมอเตอรคอมเพรสเซอร โดยใชเพื่อควบคุมในชวงระยะเวลาเริ่มตนทํางานของ คอมเพรสเซอร ซึ่งใชโพเทนเชีย ลรี เ ลยแ ละคาปาซิ เ ตอรสตารทเป น อุ ป กรณ ใ นการต อ เข ากับ ระบบ ในวงจรปกติ จะมีคาปาซิเตอรรัน ใชในการชวยหมุนใหกับคอมเพรสเซอรเพียงตัวเดียว วงจรนี้เหมือนกับเพิ่มคาปาซิเตอรสตารทไปอี ก ตัว โดยตอครอมกับคาปาซิ เตอร รั น แตลักษณะเฉพาะตัวของคาปาซิเ ตอรส ตาร ท จะไมทํางานตอเนื่อ งกั นตลอดเวลา เมื่อมอเตอรคอมเพรสเซอรสามารถออกตัวหรือทํางานแลวจะตองตัดการทํางานของคาปาซิเตอรสตารทออก

ภาพที่ 4.7 การตอแมกเนติกคอนแทคเตอร

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 วงจรที่ 5 การตอแมกเนติกคอนแทคเตอร เปนจุดเริ่มตนของการตอวงจรในการควบคุมเครื่องปรับอากาศ อุปกรณควบคุม โดยส ว นใหญ ใ ช ห น า คอนแทคเป น สะพานไฟ ซึ่ ง สามารถทนกระแสได น อ ย การใส แ มกเนติ ก คอนแทคเตอร เพื่อจุดประสงคของการใชงาน ไดแก เพื่อแยกเมนไฟเขาผานไปที่คอมเพรสเซอร (หมายเลข 1 และ 2) และเพื่อเปนสะพานไฟ ในกรณีที่คอมเพรสเซอรกับกระแสสูง (มากกวาหนาคอนแทคที่สัมผัสของเทอรโมสตัทรับได) โดยควบคุมตามหมายเลข 3 และ 4 ดังนั้น เมื่อใชแมกเนติกคอนแทคเตอรจะตองเปลี่ย นขนาดของสายที่ใชใ นการทนกระแสที่เมนหลักใหเพีย งพอกับ การใชกระแสไฟทั้งหมด ขนาดของสายที่เขาแมกเนติกคอนแทคเตอรตองมีข นาดใหญ เพียงพอที่จะจายไฟใหกับมอเตอร คอมเพรสเซอรแ ละมอเตอรพัดลมคอนเดนเซอร สวนชุดสายที่สงออกไปที่ม อเตอรอี วาพอเรเตอร มีข นาดสายเล็ ก เพียงพอกับมอเตอรอีวาพอเรเตอรและไฟที่ไปควบคุมแมกเนติกคอนแทคเตอร

ภาพที่ 4.8 การตอแมกเนติกคอนแทคเตอรรวมใน Condensing Unit วงจรที่ 6 จะมีดวยกัน 3 แบบ คือ แบบที่ 1, แบบที่ 2 และแบบที่ 3 การตออุปกรณหนวงเวลาโดยใชควบคุม ชวงระยะเวลาเริ่มตนทํางานของคอมเพรสเซอร ในกรณีการปดหรือเปดเครื่องทันที มอเตอรคอมเพรสเซอรไมควรที่จะ ทํางานทันที เนื่องจากขณะที่ปดสารทําความเย็นทั้งทางดูดและทางอัดของคอมเพรสเซอรพยายามปรับแรงดันใหเทา กัน เนื่องจากเครื่องปรับอากาศสวนใหญใ ชแ คปปลลารี่ทิ้วป ในการหนวงเวลาอยางนอย 3 นาที จะชวยใหสารทําความเย็น ในระบบปรับความดันจนหยุดนิ่งแลว โดยอุปกรณหนวงเวลา เรียกวา ไทเมอร - วงจรแบบที่ 1 นี้ จะตองจายไฟเพื่อควบคุม การทํางานของอุปกรณห นวงเวลาก อน โดยไฟเลี้ย งของ ขดลวดเปนหมายเลข 2 และหมายเลข 7 (สลับกันได) ถากําหนดใหหมายเลข 2 เปนไฟเขาจะตองตอ

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 เขาที่หมายเลข 1 เพื่อรอเวลาตามที่ตั้งไว เมื่อถึงเวลาไฟเลี้ยงคอยลจะออกที่หมายเลข 3 เพื่อตอจะไปเลี้ยง ขดลวดของแมกเนติกคอนแทคเตอร

ภาพที่ 4.9 การตออุปกรณหนวงเวลาแบบที่ 1 - วงจรแบบที่ 2 เปนอุปกรณหนวงเวลา โดยเอาไฟเลี้ยงเขาที่อินพุท หนวงเวลา 3 นาที ไฟจึงออกที่โหลด ซึ่งเรีย กวาแบบ Lock – Out สวนอีกแบบเรียกวา แบบ Interlock การทํางานคลายกันเพียงแตกตาง ตอนสตารทครั้งแรกจะทํางานเลย จะหนวงเวลาครั้งที่ 2 ซึ่งบางครั้งดูเหมือนไมมีการหนวงเวลา

ภาพที่ 4.10 การตออุปกรณหนวงเวลาแบบที่ 2 - วงจรแบบที่ 3 เปนอุปกรณหนวงเวลา โดยเอาไฟเลี้ยงเขาที่อินพุท หนวงเวลา 3 นาที ไฟจึงออกที่โหลด ซึ่งเหมือนกับแบบ Lock – Out เพียงแตจะมีอุปกรณควบคุมแรงดันไฟตกขึ้นมาอีกขั้ว ไดแก ขั้ว N วิธีตอไมยาก นําขั้วนี้ตอลงกราวดบริเวณกอนเขาแมกเนติกดวย ซึ่งเหมือนกับวาเปนทั้งหนวงเวลาดวยและกันไฟตกดวย

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 4.11 การตออุปกรณหนวงเวลาแบบที่ 3 วงจรที่ 7 เปนอุปกรณปองกันแรงดันไฟฟา ตก โดยจะมีขั้วออกมา 4 ขั้ว หรือแบงออกเปน 2 คูขั้ว คูแ รกเป น ไฟเลี้ยงขดลวด คูที่สองเปนคอนแทคหนาสัมผัส หนาสัมผัสจะตอเมื่อมีแรงดันไฟปกติ ถาแรงดันไฟผิดปกติหรือนอยกวา คอนแทคจะแยกออกจากกัน

ภาพที่ 4.12 อุปกรณปองกันแรงดันไฟฟาตก วงจรที่ 8 เปนอุปกรณควบคุม แรงดัน ทั้งดานแรงดันสูงและแรงดันต่ํา โดยตองตอทอแรงดันตามตําแหนงแรงดัน ของระบบ โดยความดั น สูงของระบบไม ควรเกิ น 350 ปอนดตอตารางนิ้ว สวนความดั น ต่ํา ไม ควรเกิ น 30 ปอนด ซึ่งอุปกรณควบคุม แรงดันนี้ มีแ บบทั้งตั้งอัตโนมัติแ ละตั้งตามคาที่ตองการได ขั้วคอนแทคมีทั้งปกติปดและปกติเ ป ด แตเวลาตอให ต อที่ ปกติปด ทั้ งคู โดยการตอสายควรทําภายหลัง จากการเติม สารทํา ความเย็ น แล ว โดยตออนุ ก รม กับวงจรควบคุมการทํางาน 67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 4.13 เปนอุปกรณควบคุมแรงดัน วงจรที่ 9 การตอรูมเทอรโมสตัทจากไฟ 220 โวลต โดยยายจุดตอความเร็วตามสายที่กําหนด จากนั้นตอจุดที่เ ปน นิวทรัลของมอเตอรพัดลม แลวนําไฟจากเฟสตอเขาที่ขั้ว L

ภาพที่ 4.14 การตอรูมเทอรโมสตัทจากไฟ 220 โวลต

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 4.15 การตอรูมเทอรโมสตัทจากไฟ 220 โวลต วงจรที่ 10 การตอรูมเทอรโมสตัทกับวงจรที่ใชมอเตอรคอมเพรสเซอรแบบ 220 โวลต ซึ่งขอสําคัญขึ้นอยูที่รูมเทอรโมสตัท วามีไทมเมอรในตัวหรือไม ถาไมมีควรตอไทเมอรเพิ่มเขาในวงจรดวย เนื่องจากการปรับอุณหภูมิที่รูมเทอรโมสตัทตัด – ตอบอย ๆ จะมีผลตอการทํางานของมอเตอรคอมเพรสเซอร

ภาพที่ 4.16 การตอรูมเทอรโมสตัทกับวงจรที่ใชคอมเพรสเซอรแบบ 220 โวลต

ภาพที่ 4.17 รูมเทอรโมสตัท 69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2 1.2 ควบคุมการทํางานดว ยรีโมทคอนโทรล การควบคุม การทํางานดวยรีโมทคอนโทรลมีสว นประกอบหลักของวงจรไฟฟาภายในคลายกับแบบที่ ค วบคุม การทํา งานดวยรูม เทอรโ มสตัท โดยเริ่ม ตน จากตอวงจรกระแสไฟฟาเขากับมอเตอรพัดลมของอีวาพอเรเตอร และ กระแสไฟฟา จะถูก จา ยไปยัง เซนเซอรน้ํา แข็ง เซ็น เซอรอุณ หภูม ิ และไมโครคอนโทรลเลอร ซึ่ง มีตัว รับ สัญ ญาณ จากรีโมทคอนโทรลติดตั้งอยู

ภาพที่ 4.18 การตอกระแสไฟฟาเขากับมอเตอรพัดลม

ภาพที่ 4.19 วงจรเซ็นเซอรน้ําแข็ง เซ็นเซอรอุณหภูมิ และไมโครคอนโทรลเลอร เมื่อมีการกดปรับเปลี่ยนการตั้งคาการทํางานผานรีโมทคอนโทรล ตัวรับสัญญาณจะทําหนาที่สงตอคําสั่งไปยัง สวนประกอบตาง ๆ ในวงจร เพื่อใหเปลี่ยนแปลงการทํางานใหสอดคลองกับการตั้งคานั้น เชน การควบคุมบานสวิ งของ ชองลมเย็น การควบคุมความเร็วของมอเตอรพัดลมของคอยลเย็น

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 4.20 วงจรไฟฟาสวนภายในอาคาร จากนั้น รีเลยจะเปนตัวควบคุม การสงกระแสไฟฟาไปยังสวนคอยลรอ นด านนอก เพื่อควบคุม การทํางานของ มอเตอรคอมเพรสเซอรและคอนเดนเซอรใหสอดคลองกับคําสั่งจากรีโมทคอนโทรล

ภาพที่ 4.21 วงไฟฟาของระบบควบคุมดวยรีโมทคอนโทรล

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. วงจรไฟฟาเริ่มตนของเครื่องปรับอากาศ เริ่มจากอุปกรณใด ก. Sector Switch ข. วงจรเซ็นเซอรน้ําแข็ง ค. เซ็นเซอรอุณหภูมิ ง. ไมโครคอนโทรลเลอร 2. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ หนาสัมผัสของเทอรโมสตัทซึ่งทําหนาทีเ่ ปนสะพานไฟในระบบไฟฟาของการทําความเย็น ก. หนาสัมผัสนี้จะตองทนกระแสไดนอยกวากระแสไฟของคอมเพรสเซอร ข. หนาสัมผัสนี้จะตองทนกระแสไดเทากับการใชกระแสไฟของกลองควบคุม ค. หนาสัมผัสนี้จะตองทนกระแสไดเทากับการใชกระแสไฟของคอมเพรสเซอร ง. หนาสัมผัสนี้จะตองทนกระแสไดนอยกวาการใชกระแสไฟของกลองควบคุม

3.

จากรูปไดอะแกรมขางตน แสดงการทํางานของอุปกรณชนิดใดเปนสําคัญ ก. การควบคุมการทํางานของฟวส ข. การควบคุมการทํางานของรีโมท ค. การควบคุมการทํางานของมิเตอรไฟ ง. การควบคุมการทํางานของมอเตอรคอมเพรสเซอร 72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

คณะผูจ ดั ทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช 4. นายสุรพล

เบญจาทิกุล พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 2

75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.