คู่มือผู้รับการฝึก ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 1 โมดูล 3

Page 1

หนาปก



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

คูมือผูรับการฝก 0920164170201 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 3 09217203 ทฤษฎีไฟฟา

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

คํานํา คูมือผูรับการฝก สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 โมดูล 3 ทฤษฎีไฟฟาฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใช เป น เอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุ ด การฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงค เพื่อใหผูรั บการฝ กได ใชเป นเครื่องมื อในการฝ กอบรมใหเป นไปตาม หลักสูตร กลาวคือ หลังเรียนจบโมดูลการฝก ผูรับการฝกสามารถบอกทฤษฎีไฟฟาไดอยางถูกตอง ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรีย นรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแ ก ผูรับการฝกอบรม และตองการใหผู รับ การฝ กอบรมเกิ ดการเรีย นรูด วยตนเอง การฝกปฏิบัติ จะดํ าเนิ น การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชใ นการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรีย นรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรีย มการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรีย มและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดม ากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคาใช จายในการพั ฒ นาฝมือแรงงานใหแ ก กําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝ ก ที่ มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใ ชแ รงงานผูวางงาน นักเรีย น นักศึกษา และผูประกอบอาชีพ อิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

เรื่อง

สารบัญ

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

1

โมดูลการฝกที่ 3 09217203 ทฤษฎีไฟฟา หัวขอวิชาที่ 1 0921720301 ระบบไฟฟา

14

หัวขอวิชาที่ 2 0921720302 หนวยวัดทางไฟฟา

28

หัวขอวิชาที่ 3 0921720303 การคํานวณไฟฟาเบื้องตน

36

หัวขอวิชาที่ 4 0921720304 ความแตกตางระบบไฟฟาแบบ 1 เฟส และ 3 เฟส

67

คณะผูจัดทําโครงการ

78

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูม ือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด วย หัวขอวิชาที่ผูรับการฝกตองเรีย นรูแ ละฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูลและรหัสหัวขอวิชาเป นตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรีย นรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนํา ความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑม าตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรีย นรูข องผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรีย นรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบีย น เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผา นอุป กรณอิเล็กทรอนิก สหรือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขา ใช ง านระบบ แบงสวนการใชง านตามความรั บผิ ด ชอบของผู มีส ว นได ส ว นเสีย ดั ง ภาพในหน า 2 ซึ่งรายละเอีย ดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ในคูมือผูรับการฝก จะเริ่ม ตนที่ ค. ผังการฝกอบรม เพื่อให สอดคลองกับการนําคูมือผูรับการฝกไปใช จึงละเวน ก. ผังการจัดเตรียมระบบ และ ข. ผังการเปดรับสมัครและคัด เลือก ผูรับการฝก ค. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิ บั ติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่อ อิเ ล็ก ทรอนิ กส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม 4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถั ดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผูรับการฝกดาวนโหลดแอปพลิเคชั น DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวนโหลดแอปพลิ เ คชั น สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใ ชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิ เ คชั น DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวน โ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิ เคชั น DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถั ดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด วยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการ ฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 6

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้ น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว 4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาทีต่ รวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถาไมครบ จะไมจบหลักสูตรแตได รับการรับ รองความสามารถบางโมดู ลในรายการโมดูล ที่สํา เร็ จเท า นั้ น ซึ่งสามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและ การพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164170201

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุม ดา นความรู ทักษะ และเจตคติแ กผูรับการฝกใน สาขาชางเครื่องปรับอากาศ ในบานและการพาณิชยข นาดเล็ก เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแห งชาติ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟาและงานชางเครื่องทําความเย็นไดอยางปลอดภัย 1.2 มีความรูเกี่ยวกับหนวยวัดของระบบตาง ๆ ที่ใชงานในเครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศ และสามารถ อานแบบเครื่องกล แบบทางไฟฟาเบื้องตน รวมทั้งแบบวงจรไฟฟาที่เกี่ย วกับงานเครื่องทําความเย็น 1.3 มีความรูในการคํานวณเกี่ยวกับทฤษฎีไฟฟา 1.4 มีความรูความสามารถในการใชงานเครื่องมือวัดและทดสอบงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศที่กําหนดได 1.5 มีความรูความสามารถในการตอสายไฟฟาตามที่กําหนดได 1.6 มีความรูความสามารถในการตัด ปรับแตง ขยาย บาน ดัด และการเชื่อมทอ 1.7 มีความรูเกี่ยวกับหลักการทําความเย็นและสารทําความเย็น 1.8 มีความรูเกี่ยวกับสวนประกอบระบบทําความเย็นแบบแกสอัดไอ 1.9 มีความรูความสามารถในการตรวจสอบวงจรไฟฟาในเครื่องปรับอากาศ 1.10 มีความรูความสามารถในการติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับ การฝ กในภาคทฤษฎีแ ละภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝมื อแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 82 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝ ก จบการฝ กไมพ รอมกั น สามารถจบกอ นหรือ เกิ น ระยะเวลาที่ กํา หนดไวใ นหลักสูต รได 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใ หอยูใ นดุ ล ยพิ นิ จ ของผู อํา นวยการ สถาบั น พั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน หรื อ ผู อํา นวยการสํา นั ก งานพั ฒ นาฝ มื อ แรงงานที่ เ ป น หน ว ยฝ ก ตามความสามารถ จะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 10 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 10 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. ชางเครื่องปรับอากาศ ในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 3 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920164170201 2. ชื่อโมดูลการฝก รหัสโมดูลการฝก 09217203 3. ระยะเวลาการฝก รวม 2 ชั่วโมง 45 นาที ทฤษฎี 2 ชั่วโมง 45 นาที ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหน ว ย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุม ดา นความรู ทักษะ และเจตคติแ กผูรั บการฝ ก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายชนิดของระบบไฟฟากระแสตรง และกระแสสลับได 2. อธิบายเกี่ยวกับฉนวนไฟฟา ตัวนําไฟฟา ความตานทาน และอินดักเตอรได 3. อธิบายสัญลักษณของหนวยวัดทางไฟฟาได 4. คํานวณไฟฟาเบื้องตนเกี่ยวกับกฎของโอหม กําลัง พลังงานไฟฟา และวงจรไฟฟา แบบตาง ๆ ได 5. บอกระบบไฟฟาแบบ 1 เฟส 2 สาย 220 โวลต ระบบไฟฟาแบบ 3 เฟส 3 สาย แบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต ไดอยางถูกตอง 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับ ระบบไฟฟากระแสตรง กระแสสลับ ฉนวนไฟฟา ตัวนําไฟฟา ผูรับการฝก ความตานทาน อินดักเตอร โอหม กําลังไฟฟา ในระบบ 1 เฟส และ 3 เฟส หรื อ ผานการฝกอบรมที่เกี่ยวของ จากหนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 2 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัว ขอวิชา (ชั่วโมง : นาที) ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายชนิดของระบบไฟฟา หัวขอที่ 1 : ระบบไฟฟา 0:30 0:30 กระแสตรง และกระแสสลับได 2. อธิบายเกี่ยวกับฉนวนไฟฟา ตัวนําไฟฟา ความตานทาน และอินดักเตอรได สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 ทฤษฎีไฟฟา

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 3. อธิบายสัญลักษณของหนวยวัด หัวขอที่ 2 : หนวยวัดทางไฟฟา ทางไฟฟาได 4. คํา นวณไฟฟ า เบื้อ งต น หัวขอที่ 3 : การคํานวณไฟฟาเบื้องตน เกี่ยวกับกฎของโอหม กําลัง พลังงานไฟฟา และวงจรไฟฟา แบบตาง ๆ ได 5. บอกระบบไฟฟาแบบ 1 เฟส หัวขอที่ 4 : ความแตกตางระบบไฟฟาแบบ 1 เฟส 2 สาย 220 โวลต ระบบไฟฟา และ 3 เฟส แบบ 3 เฟส 3 สาย แบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต ไดอยางถูกตอง รวมทั้งสิ้น

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

0:30

-

0:30

1:15

-

1:15

0:30

-

0:30

2:45

-

2:45


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921720301 ระบบไฟฟา (ใบแนะนํา)

1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายชนิดของระบบไฟฟากระแสตรง และกระแสสลับได 2. อธิบายเกี่ยวกับฉนวนไฟฟา ตัวนําไฟฟา ความตานทาน และอินดักเตอรได

2. หัวขอสําคัญ 1. ชนิดของระบบไฟฟา 2. อุปกรณในระบบไฟฟา

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน. 2557. ความรูพื้นฐานทางดานไฟฟา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.blueconcept.co.th/blue-article/109-2014-05-16-16-11-54.html ธวัชชัย จารุจิตร. 2552. การติดตั้งไฟฟาในอาคารและโรงงาน. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : พิมพวังอักษร. พุฒิพงศ ไยราช. 2558. การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. กรุงเทพฯ : เอมพันธ.

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ระบบไฟฟา 1. ชนิดของกระแสไฟฟา กระแสไฟฟา เกิดจากการเคลื่อ นที่ข องอิเ ล็ก ตรอนในตัวกลางหรือ ตัว นําไฟฟ าที่อ ยูภายใตอิ ทธิพ ลของสนามไฟฟา ซึ่งแตกตางจากไฟฟาสถิตที่ประจุไฟฟาไมมีการเคลื่อนที่ ทั้งนี้ การผลิตไฟฟาขึ้นมาใชงาน สามารถผลิตไดจากแหลงกําเนิดไฟฟา ที่แตกตางกัน โดยกระแสไฟฟาแบงออกเปน 2 ชนิด คือ ไฟฟากระแสตรง และไฟฟากระแสสลับ 1.1 ไฟฟากระแสตรง (Direct Current : DC) ไฟฟากระแสตรง เปนไฟฟาที่กําเนิดขึ้นมาจากแหลงกําเนิดไฟฟาที่มีขั้วไฟฟาจายศักยไฟฟาออกมาแนน อน เชน ศักยบวก (+) และศักยลบ (-) เมื่อนําไปใชงานจะเกิ ดกระแสไฟฟาไหลไปในทิ ศทางเดีย ว และมีระดับแรงดันไฟฟา จายออกมาคงที่ตลอด แหลงกําเนิดไฟฟากระแสตรงที่ผลิตมาใชงาน เชน ถานไฟฉาย แบตเตอรี่รถยนต เปนตน 1.2 ไฟฟากระแสสลับ (Alternating Current : AC) ไฟฟ า กระแสสลั บ เป น ไฟฟ า ที ่ กํา เนิ ด ขึ้ น มาจากแหล ง กํ า เนิ ด ไฟฟ า ที ่ม ี ขั้ ว จา ยไฟศั ก ยไ ฟฟา ออกมา ไมแ นน อน ซึ่ง แตล ะขั้ว ไฟฟา สามารถจ า ยศัก ย ไ ฟฟ า ออกมาเปลี่ย นแปลงสลั บ ไปมาทั้ ง บวก (+) และลบ (-) เมื่อ นํา ไปใชง านจะเกิด กระแสไฟฟา ไหลในทิศ ทางกลับ ไปกลับ มาเปลี่ย นแปลงตลอดเวลา และมีแ รงดัน ไฟฟา จา ยออกมาเปลี่ย นแปลงไมคงที่ แหลงกําเนิดไฟฟาที่ผลิตมาใช ไดแ ก เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ และแหลงจาย แรงดันไฟสลับ ทั้งนี้ พลังงานที่นํามาใชขับเคลื่อนใหเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับทํางานสามารถทําไดหลายวิธี เชน ใชพลังน้ํา พลังงานลม ในการขับเคลื่อน และใชเชื้อเพลิงชนิดตาง ๆ เชน น้ํามัน ถานหิน แกส ปรมาณู เปนตน 2. อุปกรณในระบบไฟฟา 2.1 ตัวนําไฟฟา (Conductor) ตัวนําไฟฟา คือ สสาร วัตถุ วัสดุ หรืออุปกรณที่ยอมใหกระแสไฟฟาไหลผานไดงาย หรือเปนวัตถุที่มีความตานทานต่ํา ไดแ ก ทองแดง อะลูมิเนีย ม ทอง และเงิน ตัวนําของสายไฟฟาอาจอยูใ นรูปของตัวนําเดี่ย ว (Solid) หรือตัวนําตีเกลียว (Strand) ซึ่งประกอบไปดวยตัวนําเล็ก ๆ ตีเขาดวยกันเปนเกลียว ซึ่งมีขอดี คือ การนํากระแสตอพื้นที่สูงขึ้น เนื่องจากผล ของ Skin Effect ลดลง และการเดินสายทําไดงาย เพราะมีความออนตัวกวา โลหะที่นิยมใชเปนตัวนํา ไดแก

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 1) ทองแดง เปนโลหะที่มีความนําไฟฟาสูงมาก มีความแข็งแรง เหนีย ว ทนตอการกัดกรอนไดดี แตมีขอเสียอยู คือ น้ําหนักมากและราคาสูง จึงไมเหมาะสําหรับงานดานแรงดันสูง แตเหมาะสําหรับการใชงานโดยทั่วไป โดย เฉพาะงานภายในอาคาร 2) อะลูมิเนียม เปนโลหะมีความนําไฟฟาสูงรองจากทองแดง แตเมื่อเปรีย บเทีย บในกรณีกระแสเทากั นแลว พบวา อะลูมิเนียม มีน้ําหนักเบาและราคาถูกกวา จึงเหมาะกับงานเดินสายไฟนอกอาคารและระบบไฟฟาแรงดั นสูง ถาทิ้งอะลูมิเนีย ม ไวใ นอากาศจะเกิดออกไซดข องอะลูมิเนีย ม ซึ่งมีคุณสมบัติเปนฉนวนฟลม บาง ๆ เกาะ ตามผิวชวยปองกันการสึกกรอน แตมีขอเสีย คือ ทําใหการเชื่อมตอทําไดยาก โลหะทั้งสองชนิดนี้มีขอดี ขอเสีย ตางกันไป ตามแตลักษณะของงาน ดังตารางที่ 1.1 การเปรีย บเทียบคุณสมบัติ ของทองแดงและอะลูมิเนีย ม ตารางที่ 1.1 เปรียบเทียบคุณสมบัติของทองแดงและอะลูมิเนียม คุณสมบัติ

ทองแดง

อะลูมิเนียม

ความนําไฟฟาสัมพัทธ (ทองแดง = 100)

100

61

สภาพความตานทานไฟฟาที่ 20๐C (Ωm x 10-8)

1,724

2.803

17

23

1,083

659

ความนําความรอน (W/cm๐C)

3.8

2.4

ความหนาแนนที่ 20๐C (g/cm3)

8.89

2.7

สัมประสิทธิ์การขยายตัว เนื่องจากความรอน (per ๐C x 10-6) จุดหลอมเหลว (๐C)

2.2 ฉนวนไฟฟา (Insulator) ฉนวนไฟฟา คือ สสาร วัตถุ วัสดุ หรืออุปกรณที่สามารถตา นการไหลของกระแสไฟฟาไมใ หผา นไปได ไดแ ก ไมแ หง พลาสติก ยาง แกว และกระดาษแหง เปน ตน ฉนวนไฟฟา ทํา หนา ที่ปอ งกัน อัน ตรายจากกระแสไฟฟา ฉนวนของสายไฟ ทําหนาที่หอหุมตัวนํา เพื่อกันการสัมผัสกันโดยตรงระหวางตัวนํา หรือระหวางตัวนํากับสวนที่ตอลงดิน และเพื่อปองกันตัวนําจากผลกระทบทางกลและทางเคมีตาง ๆ ในระหวางที่ตัวนํานํากระแสไฟฟา จะเกิดพลังงานสูญเสีย ในรูปของความรอน ซึ่งความรอนที่เกิดขึ้นจะถายเทไปยังเนื้อฉนวน ดังนั้น ฉนวนจะตองสามารถปองกันความรอนหรือ ของเหลวที่สามารถกัดกรอนตัวนําไฟฟาได รวมทั้งมีคุณสมบัติในการกันน้ําไดดี มีความตานทานสูง และไมดดู ความชื้น ในอากาศ ฉนวนที่ใ ชหุม ตัวนําไฟฟามีอยูหลายชนิด ไดแ ก แรใ ยหิน ยางทนความรอน พลาสติก PVC เปนตน สวน 17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 ฉนวนสําหรับอุปกรณไฟฟาที่ปองกันการสัมผัสกับรางกาย เชน สวนที่เปนมือจับของไขควง จะใชฉ นวนไฟฟาจําพวก พลาสติก การเลือกใชชนิดของฉนวนจะขึ้นอยูกับอุณหภูมิใชงาน ระดับแรงดันของระบบ และสภาพแวดลอมในการติดตั้ง วัสดุที่นิยมใชเปนฉนวนมากที่สุดในขณะนี้ คือ Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยแสดงการเปรียบเทียบคุณสมบัติของฉนวน PVC และ XLPE ดังตารางที่ 1.2 ตารางที่ 1.2 แสดงคุณสมบัติของฉนวน PVC และ XLPE คุณสมบัติ

PVC

XLPE

พิกัดอุณหภูมิสูงสุดขณะใช (๐C)

70

90

พิกัดอุณหภูมิสูงสุดขณะลัดวงจร (๐C)

120

250

คาคงที่ไดอิเล็กตริก

6

2.4

ความหนาแนน (g/cm3)

1.4

0.92

ความนําความรอน (cal/cm.sec ๐C)

3.5

8

ความทนทานตอแรงดึง (kg/mm2)

2.5

3

จะเห็นวา ฉนวน XLPE มีความแข็งแรง ทนตอความรอนและถายเทความรอนไดดีกวาฉนวน PVC จึงมีการใช ฉนวน XLPE เพิ่มมากขึ้นในปจจุบัน 2.3 ตัวตานทาน (Resistor) ตัวตานทาน (Resistor) ใชในการตานทานการไหลของกระแสไฟฟา เพื่อใหกระแสไฟฟาและแรงดันไฟฟาในวงจรมี ขนาดเหมาะสมกับเครื่องใชไฟฟาชนิดตาง ๆ

ภาพที่ 1.1 สัญลักษณตัวตานทาน

ภาพที่ 1.2 ตัวตานทาน

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 ตัวตานทานสามารถแบงประเภทโดยใชคาความตานทานเปนเกณฑ ไดดังนี้ 1) ตัวตานทานแบบคาคงที่ (Fixed Resistor) ไดแก ตัวตานทานชนิดคารบอนผสม ตัวตานทานแบบฟลม โลหะ ตัวต านทานแบบฟลม คารบอน ตัวตานทานแบบไวรวาวด ตัวต านทานแบบแผ นฟลม หนา ตัวตานทานแบบแผนฟลมบาง

ภาพที่ 1.3 ตัวตานทานแบบคาคงที่ 2) ตัวตานทานแบบปรับคาได (Adjustable Resistor) มีลักษณะคลายไวรวาวด โดยบริเวณลวดตัวนํา จะไมเคลือบเซรามิก ในการใชงานสามารถปรับค าความตา นทานไดใ นชวงของความตานทานของ ตัวตานทานนั้น ๆ

ภาพที่ 1.4 ตัวตานทานแบบปรับคาได 3) ตัวตานทานแบบเปลี่ยนคาได (Variable Resistor) โดยมีแกนหมุนสําหรับเปลี่ย นคาความตาน ถูกนํามาใชใ นงานที่ตองการเปลี่ย นคาความตานทานบอย ๆ เชน การปรับลดเพิ่มเสีย งวิทยุ การปรับลดเพิ่มแสงในวงจรหรี่ไฟ

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 1.5 ตัวตานทานแบบเปลี่ยนคาได ความตานทานไฟฟา (Resistance) ความตานทานไฟฟา คือ ความสัม พันธระหวางแรงดันและกระแสไฟฟาของวัตถุ โดยวัตถุที่มีความตานทานต่ํา จะยอมใหกระแสไฟฟาไหลผานไดงาย เรียกวา ตัวนําไฟฟา ในขณะที่วัตถุซึ่งมีความตานทานสูง จะยอมใหกระแสไฟฟา ไหลผานไดย าก เรีย กวา ฉนวนไฟฟา โดยความตานทานมีหนวยเปนโอหม (Ohm: Ω) ความตานทานเกิดขึ้นทุกที่ที่มี กระแสไฟฟาไหลผานไมไดเกิดขึ้นเฉพาะในสายไฟเทานั้น ตัวอยางความตานทานตาง ๆ ไดแก 1. ความตา นทานของตัว นํา เชน ความตา นทานของลวดในสายไฟฟา เมื่อ มีก ระแสไฟฟา ไหลผา น เปนตน 2. ความตานทานของจุดสัมผัส คือ ความตานทานที่เกิดขึ้นที่จุดสัม ผัสของสวิตชหรือรอยเชื่อมตอระหวาง สายไฟ ที่จุดสัมผัสนี้กระแสไฟฟาจะไหลผานไดยากเพราะมีความตานทานสูง ความตานทานนี้จะลดลง โดยการขัดผิว ที่จุดสัมผัสใหเรียบ หรือเพิ่มแรงกดที่จุดสัมผัสหรือบัดกรีเชื่อมตอระหวางสายไฟ 3. ความตานทานของสายดิน คือ ความตานทานที่เกิดขึ้นระหวางดินและแผนโลหะฝงลงดิน 4. ความตา นทานของฉนวน เชน การใชไวนิลหรือ ยางซึ่ง เปน วัสดุที่มีคาความตานทานจํา เพาะสูงหุม สายไฟเพื่อปองกันไมใหกระแสไฟฟารั่วจากสายไฟ เปนตน 5. คาความตานทานของสายสงกําลังไฟฟา คาความตานทานของสายสงกําลังไฟฟา (R) วัสดุที่ใ ชทําสายตัวนําจะแตกตางตามสภาพการใชงาน ดังนั้นเนื้อวัสดุจึงมีคาความตานทานไฟฟาแตกตา งกัน ซึ่งคานี้จะตานทานการไหลของกระแสเกิดเปนคาความรอนในสาย และมีผลตอแรงดันตกครอมสาย การควบคุม ไฟฟา ของระบบ รวมถึงประสิทธิภาพของระบบ แตเฉพาะผลของคาความตานทานที่ทําใหเกิดคาความรอนในสายเปนไปตาม สมการ ดังตอไปนี้ จาก

Ploss

= I2R

R

= 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 เมื่อ

Ploss

คือ กําลังไฟฟาสูญเสียในสายตัวนํา, W

R

คือ คาความตานทานของสายตัวนํา, Ω

I

คือ กระแสที่ไหลในสายตัวนํา, A

แตคากระแสไฟฟาสลับไมไดไหลอยางสม่ําเสมอในพื้นที่หนาตัดของตัวนําเหมือนกับกระแสไฟฟาตรง ดังนั้นสมการ R=

จะมีความเที่ย งตรงเฉพาะไฟฟา กระแสตรง ถาเป นไฟฟากระแสสลับจะตองเปลี่ย นค าความตา นทาน

เปนคาความตานทานกระแสสลับ อยางไรก็ดี จะตองคํานวณหาคาความตานทานกระแสตรงกอน โดยอาศัยสูตรพื้นฐาน ดังนี้ RDC = เมื่อ

ρ

RDC

คือ คาความตานทานไฟฟากระแสตรง

ρ

คือ คาความตานทานจําเพาะของสายตัวนํา

I

คือ ความยาวของสายตัวนํา

A

คือ พื้นที่หนาตัดของสายตัวนํา

ตารางที่ 1.3 เปรียบเทียบหนวยระบบอังกฤษและระบบ SI ระบบหนวยอังกฤษ

ระบบหนวย SI

I

= ฟุต (ft)

I = เมตร (m)

A

= เซอรคิวลารมิล (CM)

A = ตารางเมตร (m2)

ρ

= Ω-CM/ft

ρ=

Ω-m

หรือ p = Ω/CM-ft พื้นที่หนาตัด (A) 1” = 100 มิล พื้นที่หนาตัดของสายตัวนํา 1 CM คือ ตัวนําที่มีเสนผานศูนยกลาง 1 มิล จะได

A = 1 CM = d2

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 แตสายตัวนําในปจจุบันนิย มบอกขนาดพื้นที่หนาตั ดสายตัวนําเป นตารางมิลลิเมตร ซึ่งสามารถแปลง หนวยเซอรคิววารมิล เปนตารางมิลลิเมตรได ดังนี้ จาก

A = 1CM = d2 = = (d x 10-3 x 2.54 x 10) x (d x 10-3 x 2.54 x 10) x = (10-3 x 2.54 x 10 x 10-3 x 2.54 x 10) x

ดังนั้น จากสมการ

A = (5.067 x 10-4) x d2 A

คือ พื้นที่หนาตัด มีหนวยเปน mm2

d

คือ เสนผานศูนยกลางของสายตัวนํา มีหนวยเปนมิล (mils)

และจากสมการดังกลาว สามารถทําพื้นที่หนาตัดในหนวยตารางเมตร (m2) ไดดังนี้ จาก ดังนั้น จากสมการ

A = [(5.067 x 10-4) x d2] x 10-6 A = (5.067 x 10-12) x d2 A

คือ พื้นที่หนาตัด มีหนวยเปน m2

d

คือ เสนผานศูนยกลางของสายตัวนํา มีหนวยเปนมิล (mils)

คาความตานทานจําเพาะ (ρ) ρ ของทองแดงรีดแข็ง

ρ ของอะลูมิเนียม

= 1.77 x 10-8

Ω-m ที่ 20๐C

= 10.66

Ω/CM–ft ที่ 20๐C

= 2.83 x 10-8

Ω-m ที่ 20๐C

= 17.00

Ω/CM–ft ที่ 20๐C

2.4 ตัวเหนี่ยวนําไฟฟา (อินดักเตอร) ตัวเหนี่ย วนํา หรืออินดักเตอร (Inductor) เปนอุปกรณพื้นฐานที่ถูกนํามาใชงานอยางแพรหลายในวงจรไฟฟ า และวงจรอิเล็กทรอนิกส โดยเปนเสนลวดตัวนําพวกทองแดง ขดลวดเปนวงเรียงกันหลาย ๆ รอบ เรียกวา ขดลวดหรือ คอยล (Coil) เมื่อมีกระแสไฟฟาไหลในสายสง จะทําใหเกิดสนามแม เหล็ ก (Magnetic Field) ขึ้นรอบ ๆ สายสง ซึ่ง สนามแม เ หล็ ก นี้ จ ะส ง ผลให เ กิ ด ความเหนี ่ย วนํ า ขึ้ น ในสายสง การพัน จํา นวนรอบของตัว เหนี ่ย วนํ า มี ผ ล 22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 ตอความเหนี่ยวนํา (Inductance) และปริมาณสนามแมเหล็กที่เกิดขึ้น คือ หากพันจํานวนรอบนอย ความเหนี่ยวนําและ สนามแมเหล็กจะเกิดนอย หากพันจํานวนรอบมาก ความเหนี่ยวนําและสนามแมเหล็กจะเกิดมาก

ภาพที่ 1.6เกิดสนามแมเหล็ก (Magnetic Field) ในสายสง ตัวเหนี่ยวนําสามารถแบงไดเปน 2 ชนิดหลัก ๆ คือ 1) ตัวเหนี่ยวนําชนิดขดเดียว ตัวเหนี่ยวนําชนิดขดเดียว คือ ตัวเหนี่ยวนําที่มีขดลวดพันไวขดเดียว มักเรียกวา โชค (Choke) หรือคอยล โครงสรางประกอบด วยเส นลวดทองแดงอาบน้ํายาฉนวน พันเปนขดลวดอยูบนแกนหรือฐานรองตาง ๆ การ เรียกชื่อตัวเหนี่ยวนําประเภทนี้จะเรียกตามชื่อของแกนที่ทําเปนฐานขดลวด แบงออกไดเปน - ตัวเหนี่ยวนําแกนอากาศ (Air Core Inductor) - ตัวเหนี่ยวนําแกนผงเหล็กอัด (Powdered - Iron Core Inductor) - ตัวเหนี่ยวนําแกนเฟอรไรด (Ferrite Core Inductor) - ตัวเหนี่ยวนําแกนทอรอยด (Toroidal Core Inductor) - ตัวเหนี่ยวนําแกนเหล็กแผน (Laminated - Iron Core Inductor) 2) ตัวเหนี่ยวนําชนิดหลายขด ตัวเหนี่ย วนําชนิดหลายขด คือ ตัวเหนี่ย วนําที่มีข ดลวดพันไวบนแกนมากกวาหนึ่งขด โดยแบงขดลวด เปน 2 สวน ไดแก สวนทางเขา (Input) หรือ ขดลวดปฐมภูมิ (Primary) ทําหนาที่รับแรงดันไฟสลับที่ปอนเขามา ทําใหเกิดสนามแมเหล็กพองตัวออก เมื่องดจายแรงดันไฟฟากระแสสลับ สนามแมเหล็กจะยุบตัวลงเพื่อ จ าย ผานสนามแมเหล็กไปตัวผานขดลวดขดอื่น ๆ อีกสวนของขดลวด คือ สวนทางออก (Output) หรือ ขดลวด ทุติย ภูมิ (Secondary) ทําหนาที่รับการชัก นําของสนามแมเหล็ กที่ เกิ ดขึ้ นจากขดลวดปฐมภูมิ ในขณะที่ สนามแม เ หล็ ก ของขดลวดปฐมภู มิ พ องตั วออก จะเกิ ดสนามแม เหล็ กตั ดผ านขดลวดทุ ติ ย ภู มิ ทํ าให เกิ ด แรงเคลื่ อนไฟฟ าเหนี่ ยวนํ า (Induce Electro Motive Force : EMF) ขึ้นมา ซึ่งก็คือ ขดลวดทุติย ภู มิ เ กิ ด 23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 แรงดันขึ้นมา โดยขดลวดทุติยภูมิจะมีคาแรงดันมากหรือนอยขึ้นอยูกับจํานวนรอบของการพันขดลวด หาก พันขดลวดรอบนอยแรงดันจะเกิดนอย พันขดลวดรอบมากแรงดันจะเกิดมาก เมื่อนําหลักการดังกลา วไปใช ในตัว แปลงแรงดัน ใหม ากขึ้น หรือ นอ ยลงจะเรีย กตัวเหนี่ย วนําชนิดนี้วา หมอแปลงไฟฟา (Transformer) โดยการเรียกชื่อหมอแปลงไฟฟา จะเรียกชื่อตามชื่อของแกนที่เปนฐานรองขดลวด ซึ่งแบงไดเปน - หมอแปลงไฟฟาแกนอากาศ (Air - Core Transformer) - หมอแปลงไฟฟาแกนเฟอรไรต (Ferrite - Core Transformer) - หมอแปลงไฟฟาแกนเหล็ก (Iron - Core Transformer)

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. กระแสไฟฟาเกิดจากอะไร ก. เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในตัวนําไฟฟา ข. เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในอากาศ ค. เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในทองแดง ง. เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในสายไฟ 2. ขอใดเปนตัวนําไฟฟา ก. ถุงมือหนังสัตว ข. เทปพันสายไฟ ค. เชือกไนลอน ง. ลวด 3. สิ่งใดไมใชระบบไฟฟากระแสตรง ก. รถยนต ข. ไฟฉาย ค. รถจักรยานยนต ง. โทรทัศน 4. การปรับลดเพิ่มเสีย งวิทยุ เกิดจากการปรับตัวตานทานหรือไม ถาใชแ บบใด ก. เกิดจากการปรับคาตานทาน ผานตัวตานทานแบบคาคงที่ ข. เกิดจากการปรับคาตานทาน ผานตัวตานทานแบบเปลี่ยนคาได ค. ไมไดเกิดจากการปรับตัวตานทาน แตเกิดจากตัวเหนี่ยวนําแกนเหล็กแผน ง. ไมไดเกิดจากการปรับตัวตานทาน แตเกิดจากตัวเหนี่ยวนําแบบอัตโนมัติ

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 5. ตัวเหนี่ย วนําชนิดหลายขด เกิดจากขดลวดหลักกี่สวน อะไรบาง ก. 2 สวน คือ สวนทางเขา กับสวนทางออก ข. 2 สวน คือ สวนคงที่ กับสวนผกผัน ค. 1 สวน คือ สวนที่พันรอบแกนเหล็ก ง. 1 สวน คือ สวนที่พันรอบแกนเหล็กมากกวา 1 รอบ

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4 5

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921720302 หนวยวัดทางไฟฟา (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู

- อธิบายสัญลักษณของหนวยวัดทางไฟฟาได

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5.

กระแสไฟฟา แรงดันไฟฟา ความตานทานไฟฟา ความจุไฟฟา ความเหนี่ยวนําไฟฟา

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม วัชรพงษ ยงไสว. 2545. หนวยวัดปริมาณไฟฟา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.mwit.ac.th/~physicslab/ content_01/electricitis/electric83.htm จตุรงค ศิริตระกูล นฤมล อาราเม และประมุข แกวภักดี. 2556. หนวยทางไฟฟาเบื้องตน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://sites.google.com/site/mechatronicett09/project-definition/7-1

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 หนวยวัดทางไฟฟา พื้นฐานการคํานวณวงจรไฟฟาจะมีคาตาง ๆ ที่สัมพันธกันคือ แรงดันไฟฟา กระแสไฟฟา และความตานทาน ซึ่งจะนําคา เหลานี้มาทําการวิเคราะหหรือหาคําตอบดวยกฎของโอหม เนื่องจากกฎของโอหมนั้นมีเกณฑตายตัว ไมซับซอน สามารถที่จะ นําไปประยุกตใชกับวงจรไฟฟาทั้งกระแสตรง และกระแสสลับ 1. กระแสไฟฟา กระแสไฟฟา คือ การเคลื่อนที่ข องอิเล็กตรอนจํานวนมากจากการใหแรงดันไฟฟาระหวางสารตัวนํา หรือสารกึ่งตัวนํา โดยดานหนึ่งเปนบวกและอีกดานหนึ่งเปนลบ โดยอิเล็กตรอนจะวิ่งจากดานลบไปหาดานบวก ซึ่งการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนก็ คือกระแสไฟฟา (Current) นั่นเอง กระแสไฟฟามีหนวยเปนแอมแปร (Ampere ; A)

รูปที่ 2.1 การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนทําใหเกิดกระแสไฟฟา 2. แรงดันไฟฟา แรงดันไฟฟา หรือโวลเตจ (Voltage) หมายถึง ความตางศักยไฟฟาที่เกิดขึ้นระหวางจุด 2 จุด มีหนวยเปนโวลต (Volt ; V) ซึ่งก็คือแรงผลักในวงจรไฟฟา และเปนแรงผลักใหเกิดการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน

รูปที่ 2.2 แรงดันไฟฟาที่ทําใหอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ 3. ความตานทาน ความตานทาน คือ การจํากัดการไหลของอิเล็กตรอนใหนอยลง ทําใหการไหลของกระแสก็จะนอยลงไปดวย ความตานทาน (Resistance) มีหนวยเปนโอหม (Ohm ; Ω) โดยความสามารถในการจํากัดการไหลของอิเล็ก ตรอนก็ จะขึ้น อยูกับ สารที่ 30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 นํามาใช เรียกวาตัวตานทาน (Resistor) ตัวตานทานมีหลากหลายชนิด เชน ตัวตานทานแบบถาน ตัวตานทานแบบเกือกมา ตัวตานทานแบบโครงขาย เปนตน แตชนิดที่เปนที่นิยมในวงจรไฟฟานั่นก็คือตัวตานทานแบบถาน

รูปที่ 2.3 ตัวตานทานแบบถาน รูปที่ 2.4 ตัวตานทานแบบเกือกมา รูปที่ 2.5 ตานทานแบบโครงขาย ตัวตานทานแบบถานจะมีรหัสคาแถบสีแสดงอยูเพื่อบอกคาความตานทาน โดยมีทั้ง 4 แถบสีและ 5 แถบสี การอานคา แถบสีของตัวตานทาน มีหลักการดังนี้

รูปที่ 2.6 การอานคาแถบสีของตัวตานทาน 31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 ตารางที่ 2.1 คาแถบสีตัวตานทาน แถบสี

ตัวตั้ง

ตัวคูณ

จํานวนศูนย

หนวยตัวคูณ

ความคลาดเคลื่อน

ดํา

0

1

-

1

น้ําตาล

1

10

1

10

±1%

แดง

2

100

2

100

±2%

สม

3

1,000

3

1k

เหลือง

4

10,000

4

10 k

เขียว

5

100,000

5

100 k

± 0.5 %

น้ําเงิน

6

1,000,000

6

1M

± 0.25 %

มวง

7

10,000,000

7

10 M

± 0.1 %

เทา

8

-

-

ขาว

9

-

-

ทอง

-

0.1

-

1/10

±5%

เงิน

-

0.01

-

1/100

± 10 %

ไมมีสี

-

-

-

-

± 20 %

4. ความจุไฟฟา ความจุไฟฟา คือ ความสามารถของวัตถุในการเก็บหรือสะสมประจุไฟฟา มีหนวยเปนฟารัด (F) ความจุไฟฟา 1 F หมายถึง ปริมาณประจุที่ทําใหตัวนําไฟฟามีความตางศักยเพิ่มขึ้น 1 หนวย

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 5. ความเหนี่ยวนําไฟฟา ความเหนี่ยวนําไฟฟา เปนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เมื่อกระแสไฟฟาในวงจรเปลี่ยนแปลง แรงดันไฟฟาจะถูกเหนี่ย วนํา ใหเกิดขึ้นในลวดตัวนําไฟฟาโดยสนามแมเหล็ก มีหนวยเปน เฮนรี่ (H) โดยคาความเหนี่ยวนําไฟฟา 1 H หมายถึง ปฏิกิริยาตอ การไหลของกระแสไฟฟาอัตรา 1 A/s มีการสรางแรงดันไฟฟาครอมตัวเหนี่ยวนํา 1 V

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. สัญลักษณ (Ω) หมายถึงอะไร ก. เฮนรี่ ข. ฟารัด ค. โอหม ง. โวลเตจ 2. เฮนรี่ (H) คือ หนวยของคาใด ก. คาความตานทาน ข. คาความเหนี่ยวนํา ค. คาแรงดันไฟฟา ง. คาความจุไฟฟา 3. ตัวตานทานมีหนาที่อะไร ก. จํากัดการไหลของอิเล็กตรอนใหนอยลง ข. จํากัดชั่วโมงเปดปดไฟ ค. เพิ่มความตางศักย ง. เก็บสะสมประจุ

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

กระดาษคําตอบ ขอ 1 2 3

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3

0921720303 การคํานวณไฟฟาเบื้องตน (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - คํานวณไฟฟาเบื้องตนเกี่ยวกับกฎของโอหม กําลัง พลังงานไฟฟา และวงจรไฟฟาแบบตาง ๆ ได

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4.

กฎของโอหม กําลังไฟฟา พลังงานไฟฟา การคํานวณเกี่ยวกับวงจรไฟฟาเบื้องตน

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม การทดลองที่ 1 วงจรไฟฟากระแสตรง : กฎของโอหม การแบงแรงดันและกระแสไฟฟา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://eng.sut.ac.th/me/TiTle/Lab01.pdf พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ. 2555. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมวิชาการ. วิทยาลัยแลมป – เทค. กฎของโอหม. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.tatc.ac.th/files/110528099420636_11060719190113.pdf

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 การคํานวณไฟฟาเบือ้ งตน ในเรื่ อ งการคํ า นวณไฟฟ า เบื้ อ งต น จะเป น การศึ ก ษากฎของโอห ม เพื่ อ ใช ห าความสั ม พั น ธ ร ะหว า งแรงดั น ไฟฟ า กระแสไฟฟ า และความต า นทานไฟฟา ในวงจร รวมไปถึงการหาค าแรงดั น ไฟฟ าและพลั ง งานไฟฟ า ตลอดจนนํ า กฎ ของโอหมมาใชคํานวนหาคาจากวงจรไฟฟาแบบอนุกรม ขนาน และผสม 1. กฎของโอหม 1.1 ขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับกฎของโอหม กฎของโอหม กลาววา “ ปริมาณกระแส 1 แอมแปร ไหลผานความตานทาน 1 โอหม จะทําใหเกิดแรงดั นไฟฟา 1 โวลต ” เมื่อแตละสวนที่สัมพันธกันเปลี่ยนแปลงไป ยอมทําใหการทํางานของวงจรไฟฟาเกิดการเปลี่ยนแปลงไปดวย กลาวคือ “จํานวนของกระแสไฟฟาที่ไหลในวงจรไฟฟาเปลี่ย นแปลงตามคาแรงดั น ไฟฟ าที่ จายใหกั บวงจรนั้ น แต เปลี่ย นแปลงเปนสวนกลับกับความตานทานในวงจร” ซึ่งความสัม พันธดังกลาว สามารถเขีย นออกมาเปนสมการได เปน 2 สมการ คือ 1.1.1 ถาความตานทาน (R) ในวงจรคงที่ กระแสไฟฟา (I) ในวงจรจะไหลไดม ากเมื่อจายแรงดันไฟฟา (E) ใหวงจรมาก และกระแสไฟฟา (I) ในวงจรจะไหลไดนอยเมื่อแรงดันไฟฟา (E) ในวงจรนอย โดยสามารถ เขียนความสัมพันธออกมาไดดังภาพที่ 3.1 และ ภาพที่ 3.2 I α V เมื่อ R คงที่

(ก) แรงดันไฟฟานอย กระแสไฟฟาไหลนอย (ข) แรงดันไฟฟามาก กระแสไฟฟาไหลมาก ภาพที่ 3.1 กระแสไฟฟาเปลี่ยนแปลงตามแรงดันไฟฟา เมื่อความตานทานคงที่

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

Iα E

เมื่อ R คงที่

ภาพที่ 3.2 เมื่อกําหนดใหความตานทานไฟฟาคงที่ 1.1.2 ถาแรงดันไฟฟา (E) ในวงจรคงที่ กระแสไฟฟา (I) ในวงจรจะไหลไดม ากเมื่อ ตัว ตา นทานในวงจรมี คาความตานทาน (R) นอย และกระแสไฟฟา (I) ในวงจรจะไหลได นอ ยเมื่ อ ตัว ตา นทานในวงจรมี คาความตานทาน (R) มาก โดยสามารถเขียนความสัมพันธออกมาได ดังภาพที่ 3.3 1 เมื่อ E คงที่ Iα R

ภาพที่ 3.3 การไหลของกระแสไฟฟาเปลี่ยนแปลงตามความตานทาน จากปรากฏการณทั้ง 2 ขอทําให จอรจ ไซมอน โอหม เขียนสมการออกมาในรูปกฎของโอหม ดังสมการ E I= R เมื่อ E คือ Electromotive Force หมายถึง แรงผลักดันของแรงดันไฟฟาซึ่งก็คือ แหลงกําเนิดไฟฟานั่นเอง มีหนวยเปน โวลต (V) I คือ Current หมายถึง ปริมาณการไหลของกระแสไฟฟา หรือผลของอิเล็กตรอนเกิดการเคลื่อนที่ ซึ่งกระแสไฟฟา นิยมไหลจากไฟบวกไปหาไฟลบ สวนอิเล็กตรอนจะไหลจากไฟลบไปหาไฟบวก มีหนวยเปนแอมแปร (A)

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 R คือ Resistance หมายถึง คาของความตานทานนั้นมีหนวยเปนโอหม (Ω) โดยจะแปรผกผันกับคากระแส คือ ถา คาความตานทานสูง จะทําใหมีกระแสไฟฟาไหลไดนอย และในทางกลับกันถาคาความตานทานต่ํา จะทําให มีกระแสไฟฟาไหลไดมาก E จากสมการ I = สามารถสับเปลี่ยนความสัมพันธ เพื่อหาคาความตานทานหรือแรงดันไฟฟาได ดังนี้ R E R= และ E = IR I 1.2 สูตรการคํานวณ

ภาพที่ 3.4 สูตรกฎของโอหมในรูปวงกลม เมื่อ

I = กระแสไฟฟา มีหนวย แอมแปร (A) E = แรงดันไฟฟา มีหนวยโวลต (V) R = ความตานทาน มีหนวย โอหม (Ω) ในการคํานวณคาแตละครั้ง ตองทําการแปลงหนวยของปริม าณไฟฟาที่เ กี่ย วของทั้ง หมดใหอยูใ นรู ปหน ว ย

มาตรฐานกอน จึงสามารถคํานวณได เพื่อไมใหเกิดความผิดพลาดจากผลลัพธที่คํานวณออกมา การหาสมการในแตละสวนทําไดโดย ใชนิ้วมือปดสวนที่ตองการหาไว สวนที่เหลือ คือ สูตรที่ใชในการคํ า นวณ หากสมการที่ไดอยูใ นแถวเดียวกันใหนํามาคูณกัน และถาหากสมการอยูตางแถวกัน ใหนํามาหารกันดังภาพที่ 3.5 ภาพที่ 3.6 และ ภาพที่ 3.7

ภาพที่ 3.5 สูตรการหาคากระแส 40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 3.6 สูตรการหาความตานทาน

ภาพที่ 3.7 สูตรการหาคาแรงดันไฟฟา 1.2.1 ตัวอยางโจทย 1) จายแรงดันไฟฟาใหเสนลวด เสนหนึ่ง 200 V เกิดกระแสไฟฟาไหลผานเสนลวดความรอน 50 mA จงคํานวณหาคาความตานทานของเสนลวดความรอนนี้

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

2) มีกระแสไฟฟาไหล 2A ผานความตานทาน 75 Ω จะเกิดแรงดันตกครอมวงจรเทาใด

3) จายแรงดันไฟฟา 220 V ใหกับเตารีดไฟฟาตัวหนึ่งที่มีความตานทาน 80 Ω จะเกิดกระแสไฟฟา ไหลผานเตารีดตัวนี้เทาใด

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

2. กําลังไฟฟา 2.1 ขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับกําลังไฟฟา กําลังไฟฟา (Electrical Power; P) คือ อัตราการใชพลังงานไฟฟา (W) หนวยเปนจูล (J) ที่ทําใหอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ในหนึ่งหนวยเวลาหนวยเปนวินาที (s) มีสมการ ดังนี้

เมื่อ

P = กําลังไฟฟา

หนวย วัตต (W)

W = พลังงานไฟฟา

หนวย จูล (J)

t = เวลา

หนวย วินาที (s)

โดยกําลังไฟฟามีความสัม พันธกับกฎของโอหม ดังนี้ กําลังไฟฟา 1 วัตต คือ อัตราของงานที่ถูกกระทําในวงจร ซึ่งเกิดขึ้นกับกระแสไฟฟา (I) ไหล 1 แอมแปร เมื่อมีแรงดันไฟฟา (E) จายใหวงจร 1 โวลต ซึ่งมีสมการ ดังนี้

เมื่อ

P = กําลังไฟฟา

หนวย วัตต (W)

E = แรงดันไฟฟา

หนวย โวลต (V)

I = กระแสไฟฟา

หนวย แอมแปร (A)

สําหรับกําลังของมอเตอรไฟฟามักบอกหนวยเปนกําลังมา (Horsepower ; hp) หนวยกําลังมานี้ไมจัดเปนหนวย ในระบบ SI แตมีความสัมพันธกับหนวยระบบ SI คือ กําลังของมอเตอรไฟฟา 1hp = 746 วัตต สวนกําลังงาน 1 กําลังมา คือ แรงที่ใชในการดึงน้ําหนัก หนัก 550 ปอนดสูงขึ้น 1 ฟุต (ft) ในเวลา 1 วินาที (s)

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 2.2 ตัวอยางโจทย 1) หลอดไฟหลอดหนึ่งใชพลังงานไป 40 จูล ในเวลา 0.5 วินาที หลอดไฟหลอดนี้ใชกําลังไฟฟาเทาใด วิธีทํา

สูตร P = ? , W = 40 J , t = 0.5 s

แทนคา หลอดไฟจะใชกําลังไฟฟา = 80 วัตต (W) 2) หลอดไฟฟาขนาด 100 W ตออยูในวงจรไฟฟาที่มีแรงดัน 24 V หลอดไฟฟาหลอดนี้จะกินกระแสไฟฟา เทาใดและมีคาความตานทานในตัวเทาไหร

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

หลอดไฟจะกินกระแสไฟฟา = 80 วัตต (W) และมีความตานทานในตัว = 5.76 Ω 3) จายแรงดั น 100 V ใหกับตัวตานทานที่มี ค าความต านทาน 2.5 kΩ จงหาคากระแสไฟฟาไหลในวงจร และคาทนกําลังของตัวตานทานนี้

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

คากระแสไฟฟาที่ไหลในวงจร = 0.04 A หรือ 40 mA และทนกําลังไฟฟาได = 4 W 4)

มอเตอรไฟฟากระแสตรงตัวหนึ่งบอกขนาดไว 4 hp, 150 V มอเตอรไฟฟากระแสตรงตัวนี้จะใช

กระแสไฟฟาเทาไรขณะทํางาน

มอเตอรไฟฟากระแสตรงตัวนี้ จะใชกระแสไฟฟาขณะทํางาน 0.05 A

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 3. พลังงานไฟฟา 3.1 ขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับพลังงานไฟฟา พลังงานไฟฟา (Electrical Energy ; W) คือ พลังงานที่ตองการสําหรับการเคลื่อนยายประจุไฟฟาจํานวน 1 คูลอมบ (C) ผานที่ที่มีความตางศักยทางไฟฟา 1 โวลต (V) อีกความหมายหนึ่ง คือ พลังงานที่ทําเพื่อใหไดกําลังไฟฟา 1 วัตต (W) ตอเนื่องกันเปนเวลา 1 วินาที (s) ซึ่งพลังงานไฟฟามีหนวยเปน จูล (J) เขียนสมการได ดังนี้ W = Pt เมื่อ

W = พลังงานไฟฟา

หนวย จูล (J)

P = กําลังไฟฟา

หนวย วัตต (W)

t = เวลา

หนวย วินาที (s)

ไฟฟาที่ใชกันในชีวิตประจําวัน คาพลังงานไฟฟาไมไดคิดออกมาเปนจูล แตจะคิดออกมาเปนกิโลวัตต-ชั่วโมง หนวย นี้ไมจัดเปนหนวยในระบบ SI แตมีความสัมพันธกับหนวยระบบ SI คือ W (kWh) =

P (kW) X t (h)

3.2 ตัวอยางการคํานวณ 1) หลอดไฟฟาขนาด 60 วัตต จํานวน 3 หลอด เปนเวลา 40 นาที จะใชพลังงานไฟฟาไปเทาใด คิดคาพลังงานไฟฟาในหนวยของ J และ kJ หาพลังงานไฟฟาจากสูตร

W = Pt W=? P = 60 x 3 = 180 W t = 60 x 40 = 2,400 s

แทนคา W = 180 x 2,400 = 432,000 J หรือ 432 kJ ใชพลังงานไฟฟาทั้งหมด = 432 kJ

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 คิดคาพลังงานไฟฟาในหนวยของ กิโลวัตต-ชั่วโมง หาพลังงานไฟฟาจากสูตร

W = Pt W=? P = 60 x 3 = 180 W t = 40 นาที

เปลี่ยนหนวยของ P จากหนวย วัตต (W) เปน กิโลวัตต (kW) โดยการหารดวย 1,000 จะได P = 180 1,000 P = 0.18 kW เปลี่ยนหนวยของ t จากหนวย วินาที (s) เปน ชั่วโมง (h) โดยการหารดวย 60 จะได t = 40 60 t = 0.67 h แทนคา

W = 0.18 x 0.67 = 0.12 kWh

ใชพลังงานไฟฟาทั้งหมด = 0.12 kWh 3.3 การคํานวณคาไฟฟา 3.3.1 สูตรในการคํานวณ การคํานวณคาไฟฟาในแตละเดือน เปนการคํานวณการใชไฟฟาของเครื่องใชไฟฟาที่ถูกเปดใชงานภายใน ระยะเวลา 1 เดือน โดยคํานวณการใชงานจากจํานวนวัตต ซึ่งจะถูกระบุไวบนปายที่ติดอยูกับเครื่องใชไฟฟา หรือ คูมือของเครื่องใชไฟฟาชนิดนั้น ๆ สําหรับสูตรในการคํานวณ มีดังนี้

3.3.2 อัตราคาไฟฟาประเภทบานอยูอาศัย ในการคํานวณคาไฟฟาประเภทบานอยูอาศัยนั้น จะมีอัตราการคิดคาไฟฟาที่แตกตางกันตามหนวยไฟฟา ที่ใช โดยลักษณะการใชงานของผูใชไฟฟาสามารถแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 1) การใชพลังงานไฟฟาไมเกิน 150 หนวยตอเดือนมีอัตราดังตอไปนี้ (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม) การใชไฟฟา (หนวย) หนวยที่ 1-5 (5 หนวยแรก)

อัตราคาไฟฟาหนวยละ(บาท) 4.96

หนวยที่ 6-15 (10 หนวยตอไป)

0.7124

หนวยที่ 16-25 (10 หนวยตอไป)

0.8993

หนวยที่ 26-35 (10 หนวยตอไป)

1.1516

หนวยที่ 36-100 (65 หนวยตอไป)

1.5348

หนวยที่ 101-150 (50 หนวยตอไป)

1.6282

หนวยที่ 151-400 (250 หนวยตอไป)

2.1329

เกินกวา 400 หนวย (หนวยที่ 401 เปนตนไป)

2.4226

2) การใชไฟฟาเกินกวา 150 หนวยตอเดือนมีอัตราดังตอไปนี้ (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม) การใชไฟฟา (หนวย)

อัตราคาไฟฟาหนวยละ(บาท)

หนวยที่ 1-35 (35 หนวยแรก)

85.21

หนวยที่ 36-150 (115 หนวยตอไป)

1.1236

หนวยที่ 151-400 (250 หนวยตอไป)

2.1329

หนวยที่ 401 เปนตนไป (เกินกวา 400 หนวย)

2.4226

3.3.3 คา Ft (Energy Adjustment charge) คา Ft หรือ คาการปรับอัตราคาไฟฟาโดยอัตโนมัติ คือ ตัวประกอบที่ใชใ นการปรับอัตราคาไฟฟา โดยอัตโนมัติ มีคาเปนสตางคตอหนวย ใชสําหรับปรับคาไฟฟาขึ้นลงในแตละเดือน โดยนําไปคูณกับ หนวย การใช ป ระจํ า เดื อ น ซึ่ ง ค า Ft ดั ง กล า วอาจจะเพิ่ ม ขึ้ น หรื อ ลดลงได โดยสามารถตรวจสอบได จ าก ใบเสร็จรับเงิน/ใบกํากับภาษีคาไฟฟาประจําเดือนนั้น ๆ

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 3.3.4 ตัวอยางการคํานวณ บานหลังหนึ่งมีการใชเครื่องใชไฟฟาทั้งหมด 6 ชนิด ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2541 โดยเครื่องใชไฟฟา เหลานี้ มีจํานวนวัตตระบุไวบนปายที่ติดอยูกับเครื่องใชไฟฟา ดังนี้ เครื่องใชไฟฟา

จํานวนวัตต

หมายเหตุ

หลอดไฟฟา

40

รวมบัลลาสตอีก 10 วัตต

หมอหุงขาว

600

-

ตูเย็น

125

-

เครื่องปรับอากาศ

2,000

-

เครื่องปรับอากาศ

1,300

-

เตารีด

800

-

วิธีทํา 1. มี หลอดไฟฟ าขนาด 40 วั ตต (รวมบั ลลาสต 10 วั ตต เป น 50 วั ตต ) จํ านวน 10 ดวง เป ดใช ประมาณวันละ 6 ชั่วโมง จะใชไฟฟาวันละ 50 × 10 × 6 = 3 หนวย หรือประมาณเดือนละ (30x3) = 90 หนวย 1000

2. หมอหุงขาว ขนาด 600 วัตต จํานวน 1 ใบ เปดใชประมาณวันละ 30 นาที จะใชไฟฟาวันละ 600 × 1 × 0.5 = 0.3 หนวย หรือประมาณเดือนละ (30x0.3) = 9 หนวย 1000

3. ตูเย็น ขนาด 125 วัตต จํานวน 1 ตู เปดตลอด 24 ชั่วโมง สมมติคอมเพรสเซอรทํ า งาน 8 ชั่วโมง จะใชไฟฟาวันละ 125 × 1 × 8 = 1 หนวย หรือประมาณเดือนละ (30x1) = 30 หนวย 1000

4. เครื่ อ งปรั บ อากาศ ขนาด 2,000 วั ต ต จํ า นวน 1 เครื่ อ ง เป ด วั น ละ 12 ชั่ ว โมง สมมติ คอมเพรสเซอรทํางานวันละ 8 ชั่วโมง จะใชไฟฟาวันละ 2000 × 1 × 8 = 16 หนวย หรือ ประมาณเดือนละ (30x16) = 480 หนวย 1000

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 5. เครื่ องปรั บอากาศ ขนาด 1,300 วั ตต จํ านวน 1 เครื่ อง เป ดใช งานวั นละ 8 ชั่ วโมง สมมติ คอมเพรสเซอรทํางานวันละ 5 ชั่วโมง จะใชไฟฟาวันละ 1300 × 1 × 5 = 6.5 หนวย หรือ ประมาณวันละ (30x6.5) = 195 หนวย 1000

6. เตารีดไฟฟา ขนาด 800 วัตต จํานวน 1 เครื่อง เปดวันละ 1 ชั่วโมง จะใชไฟฟาวันละ 800 × 1 × 1 = 0.8 หนวย หรือประมาณเดือนละ (30x0.8)= 24 หนวย 1000

ดังนั้น ใน 1 เดือน ใชไฟฟาไปทั้งหมดประมาณ 828 หนวย จากนั้นคํานวณคาไฟฟาของตามอัตราคา

ไฟฟา ดังนี้ หนวยการใชไฟฟา

จํานวนตามหนวยการใชไฟฟา

จํานวนเงิน

(บาท)

(บาท)

35 หนวยแรก

85.21

115 หนวยตอไป

115 x 1.1236 บาท

129.21

250 หนวยตอไป

250 x 2.1329 บาท

533.22

สวนที่เกินกวา 400 หนวย

828-400 = 428 x 2.4226 บาท รวมเปนเงิน

1,036.87 1,784.51

เมื่ อทราบจํ านวนเงิ นตามหน วยการใชทั้ งหมดแล ว ให นํ าจํ านวนเงิ นดั งกล าวมาคิ ดค า Ft และ ภาษี มู ลค าเพิ่ ม (7%) โดยใช ตั วอย างค า Ft ของเดื อนมิ ถุ นายน 2541 หน วยละ 5.45 สตางค (

= 0.0545 บาท)

จากการคํานวณขางตนหนวยการใชไฟฟาทั้งหมด = 828 หนวย คิดคา Ft (หนวยละ 0.0545 บาท)

= 828 x0.0545 = 45.126 บาท = 1,784.51+ 45.126 = 1,829.64 บาท

คิดภาษีมูลคาเพิ่ม (7%)

= 1,829.64 x 0.07 = 128.03 บาท

รวมเปนเงิน

=1,829.64 + 128.03 = 1,957.67 บาท

คาไฟฟาที่เรียกเก็บ

=1,829.64 + 128.03 = 1,957.67 บาท 51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 คาไฟฟาที่ตองชําระในเดือนมิถุนายน 2541 คือ 1,957.65 บาท หมายเหตุ ในกรณีที่คํานวณคาไฟฟาแลวเศษสตางคที่คํานวณไดมีคาต่ํา กวา 12.50 สตางค กฟน.จะการปดเศษลงใหเต็มจํานวน ทุก ๆ 25 สตางค และถาเศษสตางคมีคาเทากับ หรือมากกวา 12.5 สตางค กฟน.จะปดเศษขึ้นใหเต็มจํานวนทุก ๆ 25 สตางค 4. การคํานวณเกี่ยวกับวงจรไฟฟาเบื้องตน การคํานวณเกี่ยวกับวงจรไฟฟาเบื้องตนมีองคประกอบที่สําคัญจากวงจรไฟฟาอยางนอย 3 อยาง คือ แหลงจายไฟ (Power Supply) ตัวนําไฟฟา (Conductor) และภาระทางไฟฟาหรือโหลด (Load) 4.1 วงจรไฟฟาแบบอนุกรม วงจรอนุกรม คือ วงจรที่อุปกรณตาง ๆ เรียงตอกันไปเรื่อย ๆ โดยปลายดานหนึ่งของอุปกรณตัวแรกตอกับปลาย ดานหนึ่งของอุปกรณตัวถัดไปเรื่อย ๆ จนเปนลูกโซ ดังภาพที่ 3.8

ภาพที่ 3.8 วงจรไฟฟาแบบอนุกรม 4.1.1 คุณสมบัติของวงจรไฟฟาแบบอนุกรม 1) คาความตานทานรวมทั้งหมด (RT) มีคาเทากับคาความตานทานยอยของตัวตานทานแต ละตัวบวกกัน

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 2) กระแสไฟฟา (IT) ที่ไหลผานตัวตานทานทุกตัวเทากัน และเทากับคากระแสไฟฟารวมของ วงจร

ดังนั้น กระแสไฟฟารวม 3) แรงดันตกครอมตัวตานทานแตละตัวจะแตกตางกัน คาความตานทานมากเกิดแรงดันไฟฟา ตกครอมมาก คาความตานทานนอยเกิดแรงดันไฟฟาตกครอมนอย ผลรวมของแรงดันตกครอมตัว ตานทานแตละตัวรวมกันเทากับแรงดันไฟฟาที่ปอน ดังนั้น แรงดันแหลงจาย 4)

กําลังไฟฟาที่เกิดขึ้นกับ ตัว ตา นทานแตละตัวในวงจรเทา กับแรงดั นไฟฟ า ตกคร อ มตั ว

ตานทานแตละตัวคูณกับกระแสที่ไหลผานวงจร (เชน PR1 = E R1 × I ) แรงดันไฟฟาตกครอมนอย กํ า ลั ง ไฟฟ าเกิด น อ ยแรงดั น ไฟฟ าตกคร อมมากกํ า ลัง ไฟฟ าเกิ ด มาก ผลรวมกํ า ลั งไฟฟ าของตัว ตานทานแตละตัวรวมกันเทากับกําลังไฟฟาทั้งหมดของวงจร ดังนั้น กําลังไฟฟา 4.1.2 ตัวอยางการคํานวณ 1) เมื่อจายแรงดันไฟฟา 12 V เขาสูจากวงจรไฟฟาดังภาพ จงคํานวณหาคาความตานทานรวม ในวงจร กระแสไฟฟารวมในวงจร และแรงดันตกครอมที่ตัวตานทานแตละตัว มีคาเปนเทาไร

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 2) จากภาพวงจรไฟฟาที่กําหนดให จงหาแรงดันไฟฟาที่ออกมาจากแบตเตอรี่ E มีคาเปนเทาไร

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 3) ความตา นทาน 4 ตัว ตอ กัน แบบอนุ ก รม และตอ เขา กับ แบตเตอรี่ต ัว หนึ่ ง ดั ง ภาพ โดย ความตานทานแตละตัวมีคาดังนี้ คือ 0.5 kΩ, 1 kΩ, 1.5 kΩ และ 2 kΩ ถาระหวางขั้วของ ความตานทาน 1 kΩ มีคาความตางศั กยเ กิ ดขึ้ นเทา กับ 2V จงคํานวณหาค ากระแสที ่ไ หล ในวงจร (I) และแรงดันของแบตเตอรี่ (E)

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 4) จากภาพวงจรไฟฟาที่กําหนดให จงหาคาของ R1 , R2 , V2 , V3 ,V4

- เมื่อนํา R มาตอขนานกับแหลงไฟฟา พบวาแรงดันที่ตกครอม R แตละตัวมีคาเทากัน คือ เทากับแหลงจายไฟฟา นั่นคือ - กระแสไฟฟาไหลผาน R แตละตัว หาไดจากอัตราสวนระหวางจายแรงดันไฟฟา ตอ คา ความตานทาน นั่นคือ - แรงดันไฟฟาที่ตกครอม R แตละตัวมีคาเทากับกระแสที่ไหลผาน R นั้น ๆ เชน กระแส ไหลผาน R1 เทากับ 10 มิลลิแอมป โดยคาของ R1 เทากับ 1 kΩ นั่นหมายความว า แรงดันที่ตกครอม R1 จึงมีคาเทากับ 10 mA x 1 kΩ มีคาเทากับ 10 โวลต สรุปวา E1 (แรงดันตกครอม R1) เทากับ = I1 x R1 นั่นเอง - คากําลังไฟฟา R แตละตัว หาไดจากปริมาณกระแสคูณกับแรงดันนั่น คือ P1 (กําลังไฟฟาของ R1) = I1 (กระแสไหลผาน R1) x E1 (แรงดันแหลงจาย)

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 4.2 วงจรไฟฟาแบบขนาน วงจรไฟฟาแบบขนาน คือ การตอสายไฟฟาจากทั้งขั้วบวกและขั้วลบของแหลงจายไฟ แลวจึงตอสายยอยออกมาเปนคู ๆ เพื่อตอเขากับอุปกรณไฟฟา นิยมใชกับการตอวงจรไฟฟาในบานเรือน

ภาพที่ 3.9 วงจรไฟฟาแบบขนาน 4.2.1 คุณสมบัติของวงจรไฟฟาแบบขนาน 1) กระแสที่ไหลผาน R แตละตัวถูกแยกอิสระออกจากกัน โดยกระแส I1 ไหลผานตัวตานทาน R1 กระแส I2 ผาน R2 และกระแส I3 ไหลผาน R3 กระแสที่ไหลผาน R จะแปรผกผันกับคาความ ตา นทานกระแสที่ไหลผา น R ไดม าก แสดงวา R มีคา ความตา นทานนอ ย และกระแสจะ ไหลผาน R ไดนอย แสดงวาความตานทานตัวนั้นมีคาสูง 2) แรงดันตกครอม ตัวตานทานแตละตัวที่ตอขนานกัน จะมีแรงดันไฟฟาเทากัน นั่นคือ 3) กระแสที่ไหลผาน R แตละตัว เมื่อนํามารวมกันแลวจะมีคาเทากับกระแสไฟฟารวมของวงจร นั่นคือ 4) กระแสที่ไหลผาน R แตละตัวนั้นมีคาเทากับอัตราสวนของแหลงจายตอคาความตานทานนั้น ๆ เชน 4.2.2 ตัวอยางการคํานวณ 1) จากภาพกําหนดใหแหลงจายมีคา 20 V , R1= 1 kΩ, R2= 470 kΩ, R3= 560 kΩ จงหากระแสที่ ไหลผาน R แตละตัว กระแสไฟฟารวม และคาความตานทานรวมของวงจรมีคาเปนเทาไร

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

2) จากภาพวงจรไฟฟาที่กําหนดให จงหาคาแหลงจาย E และ R3

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

3) จากภาพวงจรไฟฟาที่กําหนดให จงหาคาของ I2, E, R1, R3

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

4.3 วงจรไฟฟาแบบผสม วงจรไฟฟาแบบผสม เปนวงจรไฟฟาที่เกิดจากการรวมกันของวงจรไฟฟาแบบอนุกรมกับวงจรไฟฟาแบบขนาน โดยมีรูปแบบที่ไมแนนอน ดังภาพที่ 3.10

ภาพที่ 3.10 วงจรไฟฟาแบบผสม จากภาพตัวอยาง สามารถหาคาได ดังนี้ 1) หาคา R รวม 2) หาคา E รวม 3) หาคา I รวม

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 4) หาคา I1 5) หาคา I2 6) หาคา I3 7) หาคา I4 ตัวอยาง จงหาคาความตานทาน คากระแสไฟฟา และคาแรงดันไฟฟาตกครอมของวงจรตอไปนี้

วิธีทํา หาคาความตานทานรวมที่จุด AB

หาคาความตานทานรวมที่จุด BC

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

หาคาความตานทานรวมทั้งวงจร

RT = RAB + RBC + R6 + R7 = 16 Ω + 40 Ω + 100 Ω + 400 Ω RT = 556 Ω

หาคากระแสรวมในวงจร

= IT = 107.9 mA

หาคาแรงดันตกครอม

EAB = ITRAB = 107.9 x 10-3 A x 16 Ω EAB = 1.73 V EBC = ITRBC = 107.9 x 10-3 A x 40 Ω EAB = 4.32 V ER6 = ITR6 = 107.9 x 10-3 A x 100 Ω E6 = 10.79 V ER7 = ITR7 = 107.9 x 10-3 A x 400 Ω E7 = 43.16 V

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ใครเปนผูคนพบกฎของโอหม ก. จอรจ ไซมอน โอหม ข. นิโคลัส เฟลมเมล ค. หลุยส ปาสเตอร ง. ชาลส ดาวิน 2. สมการหาคาแรงดันไฟฟา มีสูตรอยางไร ก. I = V/R ข. V = IR ค. R = V/I ง. V = R2 3. หมอหุงขาวใบหนึ่งมีแรงดัน 220 โวลต มีความตานทาน 30 โอหม มีกระแสไฟฟาไหลผานหมอหุงขาวเทาใด ก. 7.3 แอมแปร ข. 4.5 แอมแปร ค. 7 แอมแปร ง. 5 แอมแปร 4. หลอดไฟฟาขนาด 50 วัตต จํานวน 3 หลอด เปดไว 30 นาที จะมีการสิ้นเปลืองพลังงานเทาใด ก. W = 115,000 J ข. W = 120,000 J ค. W = 550,000 J ง. W = 225,000 J

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 5. การคํานวณไฟฟาเบื้องตน สามารถนํากฎของโอหม มาใชในวงจรไดกี่ชนิด ก. 4 ชนิด คือ วงจรอนุกรม วงจรขนาน วงจรผสม วงจรตานทาน ข. 3 ชนิด คือ วงจรอนุกรม วงจรขนาน วงจรผสม ค. 2 ชนิด คือ วงจรอนุกรม วงจรขนาน ง. 1 ชนิด คือ วงจรอนุกรม

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

กระดาษคําตอบ ขอ 1 2 3 4 5

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 4

0921720304 ความแตกตางระบบไฟฟาแบบ 1 เฟส และ 3 เฟส (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - บอกระบบไฟฟาแบบ 1 เฟส 2 สาย 220 โวลต ระบบไฟฟาแบบ 3 เฟส 3 สาย แบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต ไดอยางถูกตอง

2. หัวขอสําคัญ 1. การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย 2. การไฟฟานครหลวง 3. การไฟฟาสวนภูมิภาค

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย. 2560. เกี่ยวกับ กฟผ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.egat.co.th/index.php?option=com_content&view=article&id=140&Itemid=178 2557. ระบบไฟฟากําลัง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://nongcom-electrical.blogspot.com/2014/10/blogpost_22.html 2558. ระบบการสงจายกําลังไฟฟา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://montri.rmutl.ac.th/assets/ee02.pdf

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 4 ความแตกตางระบบไฟฟาแบบ 1 เฟส และ 3 เฟส หนวยงานที่ทําหนาที่รับผิดชอบเกี่ย วกับการผลิตและสงจายกําลังไฟฟาภายในประเทศไทย มีหนวยงานที่รับผิดชอบ จํานวน 3 องคกร โดยมีหนาที่และความรับผิดชอบแตกตางกัน ดังนี้ 1. การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) (Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT)) ทําหนาที่จัดหาพลังงานไฟฟาใหกับประชาชน โดยการผลิต จัดหา และจําหนายพลังงานไฟฟาใหกับการไฟฟานครหลวง การไฟฟาสวนภูมิภาค และผูใชพ ลังงานไฟฟา ซึ่งจะมีระบบการสงจายกําลังไฟฟาดวยคาแรงดัน 500 kV, 230 kV, 115 kV และ 69 kV

ภาพที่ 4.1 ตราสัญลักษณการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) 2. การไฟฟานครหลวง (กฟน.) (Metropolitan Electricity Authority (MEA)) ทําหนาที่จัดใหไดม า จัดสง และจําหนายพลังงานไฟฟาแกประชาชน ธุรกิจ และอุตสาหกรรม เขตพื้นที่ 3 จังหวัด ไดแก กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ ทําหนาที่ดูแ ลรักษาสายสงไฟฟาแรงสูง สถานีเปลี่ย นแรงดัน สายจําหนาย ไฟฟาแรงสูง

ภาพที่ 4.2 ตราสัญลักษณการไฟฟานครหลวง (กฟน.)

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 3. การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) (Provincial Electricity Authority (PEA)) ทําหนาที่จัดใหไดม า จัดสง และจําหนายพลังงานไฟฟาใหแ กประชาชน ธุรกิจ และอุตสาหกรรมในเขตพื้นที่จังหวัด รวม 74 จังหวัด (รวมจังหวัดบึงกาฬ) (ยกเวน กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ) มีระบบจําหนายแรงสูงคาแรงดัน 33 kV, 22 kV และระดับแรงดันต่ํา มีข นาด 400/230 V, 3 เฟส 4 สาย โดยระดับแรงดั นของการไฟฟา นครหลวงกับ การ ไฟฟ า ส ว นภู มิ ภ าคจะมี ค า ไม เ ท ากั น เนื่ อ งจากใช ม าตรฐานต า งกั น คื อ การไฟฟ านครหลวงใชม าตรฐานของประเทศ สหรัฐอเมริกา สวนการไฟฟาสวนภูมิภาคใชมาตรฐานของยุโรป

ภาพที่ 4.3 ตราสัญลักษณการไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) 4. ระบบผลิตกําลังไฟฟา (Generating System) ระบบผลิตกําลังไฟฟา หรือเรียกวา โรงไฟฟาหรือโรงจักรไฟฟา (Power Plant) หมายถึง ระบบที่มีการเปลี่ยนรูปพลังงาน จากพลังงานรูปแบบอื่น ๆ เปนพลังงานไฟฟา เชน การเปลี่ยนพลังงานศักยของน้ําการเปลี่ยนพลังงานความรอนจากถ านหิน แกส น้ํามัน ปฏิกิริยานิวเคลียร เปนตน ซึ่งกระบวนการเปลี่ยนพลังงานรูปแบบอื่นเปนพลังงานไฟฟาโดยสวนใหญจะผา นรูป ของพลังงานกลกอนเสมอ และใชพลังงานกลเปนตัวขับ (Primemover) เครื่องกําเนิดไฟฟาอีกทีหนึ่ง เครื่องกําเนิดไฟฟาของโรงไฟฟาในปจจุบันจะมีคาแรงดันจายออกหลายระดับ เชน 3.5 kV, 11 kV และ 13.8 kV ซึ่งแรงดัน ดังกลาวจะถูกแปลงใหสูงขึ้นที่ลานไกไฟฟา (Switch Yard) โดยมีคาเปนไปตามระดับแรงดันมาตรฐานที่ใ ชสงกําลังไฟฟา คือ 69 kV, 115 kV, 230 kV หรือ 500 kV การสงกําลังไฟฟาจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งจะเลือกสงดวยระดับ แรงดันระดับใด ขึ้นอยูกับระยะทางที่ใชสงเปนสําคัญ ในการสงกําลังไฟฟาแรงดันสูงนั้นจะสงดวยระบบ 3 เฟส เนื่องจากการเพิ่มสายสงขึ้นอีก หนึ่งเสนจะสามารถสงกําลังไฟฟาไดสูงกวาระบบเฟสเดียวถึง 75 % เมื่อเปรียบเทียบขณะใชแรงดันและกระแสไฟฟาจํา นวน เทา ๆ กัน 5. ระบบสงกําลังไฟฟา (Transmission System) ระบบสงกําลังไฟฟา คือ ระบบสงพลังงานไฟฟาจากระบบผลิตไฟฟาไปยังระบบจําหนาย ซึ่งเปนศูนยกลาง การจาย โหลด (Load Center) อาจใชสายอากาศเดินเหนือศีรษะ (Overhead Aerial Line) หรือใชสายเคเบิลเดินใตดิน (Underground

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 Cable) ก็ได โดยระดับแรงดั น ไฟฟา ที่ส งผ า นสายสง ไฟฟ าของการไฟฟาฝายผลิ ตแหง ประเทศไทยในป จ จุบั นมี ร ะดับ 69 kV,115 kV, 132 kV, 230 kV และ 500 kV ระบบสงกําลังไฟฟาจะประกอบดวยสถานียอย ดังนี้ 1) สถานียอยแปลงแรงดันไฟฟาใหสูงขึ้น (Step-Up Substation) 2) สายสงกําลังไฟฟา (Transmission Line) หรือเรียกวา สายสง 3) สถานียอยตนทาง (Primary Substation) 4) สายสงกําลังไฟฟายอย (Subtransmission Line) หรือเรียกวา สายสงยอย 6. ระบบจําหนายกําลังไฟฟา (Distribution System) ระบบจําหนายกําลังไฟฟา คือ ระบบที่ทําหนาที่รับแรงดันไฟฟาจากระบบสงกําลังไฟฟา เพื่อจายไปยังผูบริโภค ระบบจาย กําลังไฟฟาประกอบดวย 1) สถานีไฟฟายอยจําหนาย (Secondary Substation) 2) สายปอนหรือสายจําหนายแรงสูง (Primary Distribution Line or High Tension Feeder) 3) หมอแปลงจําหนาย (Distribution Transformer) 4) สายจายหรือสายจําหนายแรงต่ํา (Secondary Distribution Line or Low Tension Feeder) เมื่อสถานียอยจําหนายไดรับแรงดันไฟฟาจากสายสงยอย จะแปลงแรงดันไฟฟาใหมีพิกัดแรงดัน 12 kV, 24 kV (กฟน.) และ 11 kV, 22 kV, 33 kV (กฟภ.) แลวสงแรงดันไฟฟาผานสายปอน ใหผูใ ชไฟรายใหญ ซึ่งอาจเปน โรงงานอุตสาหกรรม สวนราชการ และศูนยการคา รวมไปถึงอาคารสิ่งปลูกสรางขนาดใหญ แลวผูใชไฟดังกลาวจะติดตั้งหมอแปลงลดระดับแรงดัน ใหมีพิกัดแรงดัน 230/400 V แลวนําไปจายโหลด หรือการไฟฟาสงแรงดันไฟฟาไปยังหมอแปลงของการไฟฟา เพื่อลดระดับ แรงดันและจําหนายทางดานแรงดันต่ําแบงเปนระบบจําหนาย 1 เฟส 2 สาย 230 V, ระบบจําหนาย 1 เฟส 3 สาย 230/460 V และ ระบบจําหนาย 3 เฟส 4 สาย 230/400 V หลังจากนั้นจึงสงพลังงานไฟฟาผานสายจําหนายแรงต่ําไปยังผูใชไฟ 6.1 ระดับแรงดันของระบบจําหนายกําลังไฟฟา ระดับแรงดันไฟฟาของระบบจําหนายไฟฟาแบงออกเปน 2 ระดับ คือ ระดับแรงดันไฟฟาทางดานปฐมภูมิหรือ ทางดานแรงสูง (High Voltage : HV) และระดับแรงดันไฟฟาทางดานทุติยภูมิหรือทางดานแรงต่ํา (Low Voltage : LV) 6.1.1 ระดับแรงดันทางดานแรงสูง (High Voltage : HV) 1) ระดับแรงดันทางดานแรงสูงของการไฟฟานครหลวง มีแรงดัน 2 ระดับคือ 12 kV และ 24 kV ชนิด 3 สาย ดังภาพที่ 1.4

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 4.4 ระดับแรงดันไฟฟาของระบบจําหนายกําลังไฟฟาของการไฟฟานครหลวง 2) ระดับแรงดันทางดานแรงสูงของการไฟฟาสวนภูมิภาค มีแรงดัน 3 ระดับ ดังนี้ - ระดับแรงดัน 11 kV เปนระบบ 3 เฟส 3 สาย มีการใชงานใน 3 จังหวัด คือ เชียงใหม ลําปาง และลําพูน ดังภาพที่ 1.5

ภาพที่ 1.5 ระดับแรงดันทางดานแรงสูง 11 kV เปนระบบ 3 เฟส 3 สาย ของการไฟฟาสวนภูมิภาค - ระดับแรงดัน 22 kV เปนระบบ 3 เฟส 3 สาย ระบบนี้จะใชงานเกือบทั่วประเทศ ดังภาพที่ 1.6

72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 1.6 ระดับแรงดันทางดานแรงสูง 22 kV เปนระบบ 3 เฟส 3 สาย ของการไฟฟาสวนภูมิภาค - ระดั บ แรงดั น 33 kV เป น ระบบ 3 เฟส 3 สาย ระบบนี้ จ ะใช งานในภาคใต ตั้ งแต จังหวัดระนองลงไปและในภาคเหนือที่จังหวัดเชียงราย ระบบนี้จะแตกตางกับระบบ แรงดัน 11 kV และ 22 kV คือ สายดินจะอยูดานบนสุดของวงจร ทําหนาที่เปนจุดตอ ลงดินและเปนเกราะปองกันฟาผา ดังภาพที่ 1.7

ภาพที่ 1.7 ระดับแรงดันทางดานแรงสูง 33 kV เปนระบบ 3 เฟส 4 สาย ของการไฟฟาสวนภูมิภาค 6.1.2 ระดับแรงดันทางดานแรงต่ํา (Low Voltage : LV) 1) ระดับแรงดันทางดานแรงต่ํา 1 เฟส สามารถแบงออกเปน 73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 - ระบบ 1 เฟส 2 สาย 230 V มีลักษณะวงจร ดังภาพที่ 1.8

ภาพที่ 1.8 ระดับแรงดันทางดานแรงต่ํา 1 เฟส 2 สาย 230 V - ระบบ 1 เฟส 3 สาย 230/460 V มีลักษณะวงจร ดังภาพที่ 1.9

ภาพที่ 1.9 ระดับแรงดันทางดานแรงต่ํา 1 เฟส 3 สาย 230/460 V 2) ระดับแรงดันทางดานแรงต่ํา 3 เฟส เปนระบบ 3 เฟส 4 สาย ระดับแรงดันไฟฟา 230/400 V เปนระบบที่มีความคลองตัวสูงในการใชงาน ซึ่งสามารถใชกับโหลดแสงสวาง (Lighting) และโหลดกําลั ง (Power) เพราะระบบนี้มี แรงดั น 2 ระดับ คื อ แรงดัน 1 เฟส 230 V (เป นแรงดันระหวางสายไลนกับสายนิวทรัล) และแรงดัน 3 เฟส 400 V (เปนแรงดันระหวาง สายไลนกับสายไลน) ดังภาพที่ 1.10 74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 1.10 ระดับแรงดันทางดานแรงต่ํา 3 เฟส 4 สาย 230/460 V

75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. กฟน. ทําหนาที่จําหนายพลังงานไฟฟาใหกับเขตพื้นที่ใด ก. ชลบุรี ข. บึงกาฬ ค. เชียงใหม ง. กรุงเทพมหานคร 2. ระดับแรงดันทางดานแรงสูงของการไฟฟาสวนภูมิภาค ที่ระดับแรงดัน 33 kV แตกตางกับระบบแรงดัน 11 kV และ 22 kV อยางไร ก. มีความคลองตัวในการใชงานสูง ข. สายดินจะอยูดานบนสุดของวงจร ค. ใชงานใน 3 จังหวัด คือ เชียงใหม ลําปาง และลําพูน เทานั้น ง. สามารถใชกับโหลดแสงสวาง (Lighting) และโหลดกําลัง (Power) ได 3. ระบบแรงดันของการไฟฟานครหลวงแตกตางจากระบบแรงดันของการไฟฟาสวนภูมิภาคอยางไร ก. ใชมาตรฐานระบบแรงดันของประเทศสหรัฐอเมริกา ข. มีระบบจําหนายแรงสูงที่มีคาแรงดัน 33 kV และ 22 kV ค. มีระบบการสงจายกําลังไฟฟาดวยคาแรงดัน 500 kV, 230 kV, 115 kV และ 69 kV ง. การไฟฟานครหลวง มีระบบจําหนายระดับแรงดันต่ําขนาด 400/230 V, 3 เฟส 4 สาย

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

กระดาษคําตอบ ขอ 1 2 3

77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3

คณะผูจ ดั ทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช 4. นายสุรพล

เบญจาทิกุล พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 3 นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.