คู่มือผู้รับการฝึก ช่างบำรุงรักษารถยนต์ ระดับ 1 โมดูล 3

Page 1

หนาปก



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

คูมือผูรับการฝก 0920163100501 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 3 09210103 วิทยาศาสตรประยุกต

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

คํานํา

คูมือผูรับการฝก สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 โมดูล 3 วิทยาศาสตรประยุกต เปนสวนหนึ่งของหลักสู ตร ฝ ก อบรมฝ มื อ แรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่ ง พั ฒ นาขึ้ น เพื่ อ ใช เ ป น เอกสาร ประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 โดยไดดําเนิน การภายใต โครงการพัฒ นาระบบฝก และชุด การฝก ตามความสามารถเพื ่อ การพัฒ นาฝม ือ แรงงาน ดว ยระบบการฝ ก ตาม ความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเ พื่อใหครูฝกได ใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ สามารถอธิบายและทดลองเกี่ยวกับ วิท ยาศาสตร เชน การชั ่ง และการตวงของเหลว หารคํ า นวณหาคา ความหนาแนน เปน ตน ตลอดจนติด ตาม ความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเน น ผลลั พธ การฝ กอบรมในการที่ทําใหผูรับ การฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงาน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

เรื่อง

สารบั ญ

คํานํา สารบัญ ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก โมดูลการฝกที่ 3 09210103 วิทยาศาสตรประยุกต หัวขอวิชาที่ 1 0921010301 ของเหลวและหนวยการวัด หัวขอวิชาที่ 2 0921010302 ความรอนและเคมีเบื้องตน หัวขอวิชาที่ 3 0921010303 หลักการของของเหลว หัวขอวิชาที่ 4 0921010304 ความหมายของมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรง คณะผูจัดทําโครงการ

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

หนา ก ข 1 15 38 61 88 110



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขอแนะนําสําหรับผูร ับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ขอวิชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเข า ใช ง านระบบ แบงสว นการใชง านตามความรับ ผิด ชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดัง ภาพในหนา 2 ซึ่งรายละเอียดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ในคูมือผูรับการฝก จะเริ่มตนที่ ค. ผังการฝกอบรม เพื่อให สอดคลองกับการนําคูมือผูรับการฝกไปใช จึงละเวน ก. ผังการจัดเตรียมระบบ และ ข. ผังการเปดรับสมัครและคัดเลือก ผูรับการฝก ค. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถั ด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม 4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผูรับการฝกดาวนโหลดแอปพลิ เคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวนโหลดแอปพลิ เ คชั น สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหาแอป พลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

- ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการ ฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 6

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตาม เกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว 4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาที่ตรวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถ า ไม ครบ จะไม จ บหลั กสู ตรแต ได รับ การรับ รองความสามารถบางโมดูลในรายการโมดูลที่สําเร็จ เทานั้น ซึ่งสามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920163100501

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางบํารุงรักษารถยนตเพื่อให มีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน 1.2 สามารถบวก ลบ คูณ หาร จํานวนเต็ม เศษสวน และทศนิยม 1.3 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติของของเหลว หนวยการวัด ความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน เคมีเบื้องตน หลักการของของเหลว มวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรง 1.4 มีความรูเกี่ยวกับวัสดุและสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน เชน น้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน สารกันสนิม และทอที่ใชในงานรถยนต 1.5 มีความรูเกี่ยวกับเครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต 1.6 มีความรูเกี่ยวกับหนาที่และโครงสรางของสวนประกอบรถยนต 1.7 มีความรูและสามารถปฏิบัติงานการบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 2. ระยะเวลาการฝก ผู รั บ การฝ กจะได รั บ การฝ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบัน พัฒ นาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 85 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไม พร อมกัน สามารถจบกอนหรื อเกินระยะเวลาที่กําหนดไว ในหลั กสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการ สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 7 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 7 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 4.3 ผู รั บ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ า นการฝ ก ครบทุ ก หน ว ยความสามารถ จะได รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. ชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 3 1. ชื่อหลักสูตร 2. ชื่อโมดูลการฝก 3. ระยะเวลาการฝก 4. ขอบเขตของหนวย การฝก

5. พื้นฐาน ความสามารถของ ผูรับการฝก

รหัสหลักสูตร 0920163100501 วิทยาศาสตรประยุกต รหัสโมดูลการฝก 09210103 รวม 11 ชั่วโมง 45 นาที ทฤษฎี 2 ชั่วโมง 15 นาที ปฏิบัติ 9 ชั่วโมง 30 นาที หน ว ยการฝ กนี้ พั ฒ นาขึ้น ใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับ การฝ ก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายเกี่ยวกับสมบัติของของเหลวได 2. ทดลองเกี่ยวกับสมบัติของของเหลวได 3. อธิบายเกี่ยวกับหนวยการวัดของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได 4. ทดลองเกี่ยวกับหนวยการวัดของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได 5. อธิบายเกี่ยวกับความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน และเคมีเบื้องตนได 6. ทดลองเกี่ยวกับความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน และเคมีเบื้องตนได 7. อธิบายเกี่ยวกับหลักการของของเหลวได 8. ทดลองเกี่ยวกับหลักการของของเหลวได 9. อธิบายความหมายของมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรงได 10. ทดลองเกี่ยวกับมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรงได ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1. มีความรูเรื่องธาตุและสารประกอบ 2. มีความรูเรื่องสารและสมบัติของสาร 3. มีความรูเรื่องปฏิกิริยาเคมีเบื้องตน 4. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 2 มาแลว สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายเกี่ยวกับสมบัติของ หัวขอที่ 1 : ของเหลวและหนวยการวัด 0:15 2:00 2:15 ของเหลวได 2. ทดลองเกี่ยวกับสมบัติของ ของเหลวได 3. อธิบายเกี่ยวกับหนวยการวัด ของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได 4. ทดลองเกี่ยวกับหนวยการวัด ของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได 5. อธิบายเกี่ยวกับความรอน หัวขอที่ 2 : ความรอนและเคมีเบื้องตน 1:00 3:00 4:00 อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน และเคมี เบื้องตนได 6. ทดลองเกี่ยวกับความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน และ เคมีเบื้องตนได 7. อธิบายเกี่ยวกับหลักการของ หัวขอที่ 3 : หลักการของของเหลว 0:30 2:00 2:30 ของเหลวได 8. ทดลองเกี่ยวกับหลักการของ ของเหลวได

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

9. อธิบายความหมายของมวล หัวขอที่ 4 : ความหมายของมวล น้ําหนัก ความ น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน ความดัน และแรง และแรงได 10. ทดลองเกี่ยวกับมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรงได รวมทั้งสิ้น

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

0:30

2:30

3:00

2:15

9:30

11:45


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921010301 ของเหลวและหนวยการวัด (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. 2. 3. 4.

อธิบายเกี่ยวกับสมบัติของของเหลวได ทดลองเกี่ยวกับสมบัติของของเหลวได อธิบายเกี่ยวกับหนวยการวัดของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได ทดลองเกี่ยวกับหนวยการวัดของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได

2. หัวขอสําคัญ 1. ของเหลวและสมบัติทั่วไป 2. หนวยของการวัดของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม วรรณิสา หนาผอง. ลักษณะโมเลกุล ของแข็ง ของเหลว แกส. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://wannisa126. wordpress.com 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ของเหลวและหนวยการวัด 1. ของเหลวและสมบัติทั่วไป ของเหลว เชน น้ํา แอลกอฮอล น้ํามัน มีสมบัติที่เฉพาะตัว ดังตอไปนี้ 1.1 มีอนุภาคเรียงตัวอยางหลวม ๆ เนื่องจากมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคนอยกวาของแข็ง ทําใหโมเลกุลของเหลว สามารถเคลื่อนที่ผานโมเลกุลอื่น ๆ ได ของเหลวจึงสามารถไหลได 1.2 มีรูปรางไมแนนอน สามารถเปลี่ยนรูปรางตามภาชนะที่บรรจุ 1.3 การเพิ่มความดันและการเพิ่มอุณหภูมิไมทําใหปริมาตรของของเหลวเปลี่ยนแปลงไปมากนัก เนื่องจากของเหลวมี ชองวางระหวางโมเลกุลนอย 1.4 อนุภาคของของเหลวสามารถเกิดการแพรได ถานําของเหลวสองชนิดมาผสมกัน จะเกิดการแพรกระจายของ โมเลกุลของของเหลวทั้งสองชนิด เชน การหยดน้ําหมึกลงในน้ําจะสังเกตเห็นการแพรกระจายของน้ําหมึกจนมีสี เดียวกันทั้งหมด

ภาพที่ 1.1 การเรียงตัวของอนุภาคสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแกส

ภาพที่ 1.2 การแพรของน้ําหมึกในน้ํา

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. หนวยของการวัดของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit การวัด (Measurement) หมายถึง กระบวนการเพื่อใหไดมาซึ่งขนาดของปริมาณอันหนึ่ง เชน ความยาว มวล และแรง เปนตน โดยจะมีวิธีการวัด 2 ลักษณะ คือ การวัดโดยตรงและการวัดโดยออม ซึ่งเครื่องมือวัดที่นิยมใชวัดเพื่อหาปริมาณ แบงออกเปน 4 ชนิด ไดแก เครื่องมือวัดละเอียดแบบมีสเกล เครื่องมือวัดละเอียดแบบเลื่อนไดมีสเกล เครื่องมือวัดละเอียด แบบถายขนาด และ เครื่องมือวัดละเอียดแบบคาคงที่ ระบบการวัด คือ กลุมของหนวยวัดที่สามารถใชระบุสิ่งใด ๆ ซึ่งสามารถวัดได และมีความสําคัญทางประวัติศาสตร มีการวางระเบียบและนิยามเพื่อการพาณิชย ในทางวิทยาศาสตรปริมาณบางชนิดที่ไดวิเคราะหแลวจะถูกกําหนดขึ้นใหเปน หนวยมูลฐาน ซึ่งหมายความวาหนวยอื่น ๆ ที่จําเปนสามารถพัฒนาไดจากหนวยมูลฐานเหลานี้ ปจจุบันระบบการวัดที่สําคัญโดยทั่วไป จะแบงออกเปน 2 ระบบ คือ ระบบอังกฤษ (English System) และระบบเมตริก (Metric System) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 2.1 ระบบอังกฤษ หน ว ยวั ด ระบบอั ง กฤษ (English System) หรื อ ที่ เ รี ย กว า “หน ว ยนิ้ ว ” เป น หน ว ยวั ด ของราชสํ า นั ก อั ง กฤษ มีขึ้นเพื่อประโยชน ทางการคา โดยหนวยพื้นฐานของระบบวัดนี้ ประกอบไปด วยความยาว มวล และเวลา ซึ่งก็ คือ ฟุต (ft) ปอนด (lb) และวินาที (s) ปจจุบัน หนวยวัดระบบอังกฤษนี้ยังเปนที่นิยมอยูในหลายประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่ง อังกฤษและสหรัฐอเมริกา 2.1.1 หนวยยอยของการวัดความยาวในระบบอังกฤษ หนวยหลักของการวัดความยาวในระบบอังกฤษ เริ่มจาก 1 หลามาตรฐาน และแบงชวงคาอยางไมคงที่ จนถึง 1 นิ้ว ดังนี้ 1 ไมล

=

1760 หลา

1 หลา

=

3 ฟุต

1 ฟุต

=

12 นิ้ว

สําหรับชวงคาที่ต่ํากวา 1 นิ้วลงไป จะใชการแบงสวนออกเปนสวนยอย คือ 1/2”, 1/8”, 1/16”, 1/32”, 1/64” และ 1/128” และชวงคาที่ยอยลงกวานี้ จะใชคําอุปสรรคนําหนา เชน 1/1,000 นิ้ว

=

0.001 นิ้ว

= 1 ฟลเลอร (Feeler) = 1 Thousandth

1/1,000,000 นิ้ว

=

0.000 001 นิ้ว = 1 micro – inch

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2.2 ระบบเมตริก หนวยวัดระบบเมตริก (Metric System) เปนหนวยการวัดที่รัฐบาลฝรั่งเศสไดสนับสนุนใหมีการศึกษาคนควาและ จัดตั้งระบบ เพื่อใชแทนระบบหนวยและการวัดที่มีอยูเดิมใหมีมาตรฐาน และไดลงนามเห็นชอบใหใชระบบเมตริกเปน หนวยวัดในฝรั่งเศสเมื่อป ค.ศ. 1795 2.2.1 หนวยยอยของการวัดความยาวในระบบเมตริก หนวยหลักของการวัดในระบบเมตริก คือ เมตร เมื่อตองการทําใหเปนหนวยยอย สามารถทําไดโดยใช คําอุปสรรค เปนตัวคูณไวหนาหนวยเมตร ดังนี้ ตารางที่ 1.1 คําอุปสรรค คําอุปสรรค

สัญลักษณ

ตัวคูณ

เทรา (Tera)

T

1012

กิกะ (Giga)

G

109

เมกะ (Mega)

M

106

กิโล (Kilo)

k

103

เฮ็กโต (Hecto)

h

102

เดกะ (Deca)

da

10

เดซิ (Deci)

d

10-1

เซนติ (Centi)

c

10-2

มิลลิ (Milli)

m

10-3

ไมโคร (Micro)

10-6

นาโน (Nano)

μ n

พิโก (Pico)

p

10-12

10-9

จากตารางที่ 1.1 หนวยยอยของการวัดความยาวในระบบเมตริก คือ เทราเมตร กิกะเมตร เมกะเมตร กิโลเมตร เซนติเมตร ไมโครเมตร นาโนเมตร และพิโคเมตร

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2.3 การเปรียบเทียบหนวยการวัดความยาว ตารางที่ 1.2 หนวยการวัดความยาว ระบบเมตริก

ระบบอังกฤษ

25.4

มิลลิเมตร

1

นิ้ว

1

มิลลิเมตร

0.03937 นิ้ว

0.3048 เมตร

1

1

3.281 ฟุต

เมตร

ฟุต

0.9144 เมตร

1

1

1.094 หลา

เมตร

หลา

1.6093 กิโลเมตร

1

1

0.621 ไมล

กิโลเมตร

ไมล

2.4 การวัดในระบบ SI Unit ระบบ SI Unit (International System of Unit) เปนสวนหนึ่งของการวัดในระบบเมตริก สรางมาจากหนวยฐาน ทั้ง 7 หนวย และใชระบบเลขฐานสิบ ซึ่งถือวาเปนหนวยการวัดที่แพรหลายที่สุดในปจจุบัน เนื่องจากของเหลวจะเปลี่ยนรูปรางไปตามภาชนะที่บรรจุ ในการวัดของเหลวจึงบงบอกเปนปริมาตร โดยหนวย ของของเหลวตามมาตรฐานระบบหนวยสากล SI Unit หรือ International System of Unit คือ ลูกบาศกเมตร (m3) ซึ่งคํานวณเบื้องตนจากรูปทรงที่มีความกวาง 1 เมตร ความยาว 1 เมตร และสูง 1 เมตร และลูกบาศกเซนติเมตร (cm3) ซึ่งคํานวณเบื้องตนจากรูปทรงที่มีความกวาง 1 เซนติเมตร ความยาว 1 เซนติเมตร และสูง 1 เซนติเมตร

ภาพที่ 1.3 ลูกบาศกเมตร 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 1.4 ลูกบาศกเซนติเมตร

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. ของเหลวมีรูปรางไมแนนอน เปลี่ยนตามภาชนะที่บรรจุ 2. ของเหลวประกอบดวยโมเลกุลที่เคลื่อนที่อยางเปนระเบียบไมมีชองวางระหวาง โมเลกุล 3. โมเลกุลของของเหลวอยูชิดกั นมากกวากาซ เพราะมีแรงยึ ดเหนี่ยวระหว าง อนุภาคมากกวา 4. ปริมาตรของของเหลวเปลี่ยนแปลงนอยมาก เมื่ออุณหภูมิและความดันเปลี่ยน 5. ของเหลวสวนใหญมีความหนาเเนนมากกวากาซ แตนอยกวาของเเข็งหนวยวัด ในระบบอังกฤษ ไดแก มิลลิเมตร เมตร กิโลเมตร เปนตน 6. อนุภาคของของเหลวสามารถแพรกระจายได 7. หนวยวัดในระบบอังกฤษ มีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา หนวยปอนด 8. ของเหลวสวนใหญมีความหนาเเนนมากกวากาซ แตนอยกวาของเเข็ง 9. 1 นิ้ว มีคาเทากับ 24.5 มิลลิเมตร 10. M (เมกะ) มีคาเทากับ 106

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

กระดาษคําตอบ ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การตวงของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับสมบัติของเหลวได 2. ทดลองเกี่ยวกับหนวยการวัดของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได 3. ปฏิบัติงานตวงของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได 4. คํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเทน้ําเปลาลงในกระบอกตวงแตละขนาดใหไดจํานวน 5,000 ซีซีและทําการบันทึกผลในตาราง บันทึกผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง อุปกรณในการตวง

จํานวนกระบอกที่ใช

กระบอกตวง 500 ซีซี กระบอกตวง 1,000 ซีซี กระบอกตวง 2,000 ซีซี สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 การตวงของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระบอกตวง 500 ซีซี

จํานวน 10 อัน

2. กระบอกตวง 1,000 ซีซี

จํานวน 5 อัน

3. กระบอกตวง 2,000 ซีซี

จํานวน 3 อัน

4. แกลลอนน้ํามัน 5 ลิตร

จํานวน 1 ใบ

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํา

จํานวน 5 ลิตร

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การตวงของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ และใชผาเช็ดทําความสะอาด

2. เติมน้ําลงในแกลลอน

เติ ม น้ํ า ลงไปในแกลลอนเปล า จนเต็ ม ระวังอยาทําน้ําหกและ ความจุ 5 ลิตร

ทําใหพื้นเปยก เพราะ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได

3. ตวงน้ําโดยใชกระบอกตวงขนาด 2,000 ซีซี

เทน้ํ า จากแกลลอนลงในกระบอกตวง

4. นับจํานวนกระบอกตวง

ขนาด 2,000 ซี ซี จนกระทั่ ง น้ํ า หมด

5. ตวงน้ําโดยใชกระบอกตวงขนาด 1,000 ซีซี

แกลลอน

6. นับจํานวนกระบอกตวง

นับจํานวนกระบอกตวงขนาด 2,000 ซีซี

7. ตวงน้ําโดยใชกระบอกตวงขนาด 500 ซีซี

ที่ใช และบันทึกผล

8. นับจํานวนกระบอกตวง

เทน้ํ า จากกระบอกตวงขนาด 2,000 ซี ซี ลงในกระบอกตวงขนาด 1,000 ซีซี นับจํานวนกระบอกตวงขนาด 1,000 ซีซี ที่ใช และบันทึกผล เทน้ําจากกระบอกตวงขนาด 1,000 ซีซี ลง ในกระบอกตวงขนาด 500 ซีซี

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย นั บ จํ า นวนกระบอกตวงขนาด 500 ซี ซี ที่ใช และบันทึกผล

9. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

ผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

สรุปผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

ผลการทดลอง

ผลการทดลองถูกตองทุกขอ ใหคะแนน 5 คะแนน ผลการทดลองถูกตอง 2 ขอ ใหคะแนน 3 คะแนน

5

ผลการทดลองถูกตองนอยกวา 2 ขอ ใหคะแนน 0 คะแนน 5

สรุปผลการทดลอง

สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบงาน ใบงานที่ 1.2 การชั่งของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับสมบัติของเหลวได 2. ทดลองเกี่ยวกับหนวยการวัดของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได 3. ปฏิบัติงานชั่งของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได 4. คํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน 3. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกชั่งแกลลอนเปลาบนเครื่องชั่ง จากนั้นเติมน้ําเปลาครั้งละ 1 ลิตร ชั่งน้ําหนักของแกลลอนที่บรรจุน้ํา พรอมบันทึกผลลงในตารางบันทึกผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง การชั่งน้ําหนักของแกลลอน

น้ําหนักที่ชั่งได (กิโลกรัม)

แกลลอนเปลา แกลลอนบรรจุน้ํา 1 ลิตร แกลลอนบรรจุน้ํา 2 ลิตร แกลลอนบรรจุน้ํา 3 ลิตร แกลลอนบรรจุน้ํา 4 ลิตร แกลลอนบรรจุน้ําจนเต็ม สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.2 การชั่งของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4. การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. แกลลอนน้ํามัน 5 ลิตร

จํานวน 1 ใบ

2. เครื่องชั่งน้ําหนักดิจิทัล

จํานวน 1 เครื่อง

3. ถวยทดลอง 1,000 ซีซี

จํานวน 5 ใบ

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5. การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํา

จํานวน 5 ลิตร

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การชั่งของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ และใชผาเช็ดทําความสะอาด

2. เติมน้ําลงในถวยทดลอง

เทน้ําลงในถวยทดลอง ขนาด 1,000 ซีซี จํานวน 5 ใบ จนเต็ม (1,000 ซีซี = 1 ลิตร)

3. ชั่งแกลลอนเปลา

ชั่งแกลลอนเปลา และบันทึกผล

4. เติมน้ําลงในแกลลอน

เติ ม น้ํ า ลงไปในแกลลอนเปล า ให ไ ด ระวังอยาทําน้ําหกและ ปริมาตร 1 ลิตร

ทําใหพื้นเปยก เพราะ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ชั่งแกลลอนที่มีน้ํา

คําอธิบาย ชั่ ง แกลลอนที่ มี น้ํ า ปริ ม าตร 1 ลิ ต ร และ บันทึกผล

6. เติมน้ําเพิ่มในแกลลอน

เติมน้ําลงไปในแกลลอน เพิ่มอีก 1 ลิตร

7. ชั่งแกลลอนหลังเติมน้ําเพิ่ม

นําแกลลอนที่เติมน้ําเพิ่ม แลว ไปชั่ง และ

8. ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ 5 – 6

บันทึกผล ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ 5 – 6ซ้ํา จนกวาน้ํา ในแกลลอนจะครบความจุ 5 ลิตร

9. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

ผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

สรุปผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

ผลการทดลอง

ผลการทดลองถูกตองทุกขอ ใหคะแนน 5 คะแนน ผลการทดลองถูกตอง 5 ขอ ใหคะแนน 4 คะแนน

5

ผลการทดลองถูกตอง 4 ขอ ใหคะแนน 3 คะแนน ผลการทดลองถูกตอง 3 ขอ ใหคะแนน 2 คะแนน ผลการทดลองถูกตองนอยกวา 3 ขอ ใหคะแนน 0 คะแนน 5

สรุปผลการทดลอง

สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ใหคะแนน 3 คะแนน สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921010302 ความรอนและเคมีเบื้องตน (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายเกี่ยวกับความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน และเคมีเบื้องตนได 2. ทดลองเกี่ยวกับความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน และเคมีเบื้องตนได

2. หัวขอสําคัญ 1. ความรอนและอุณหภูมิ 2. การถายเทความรอน 3. เคมีเบื้องตน

3. วิธีการฝกอบรม

การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก

อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

5. การรับการฝกอบรม

1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล

1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม

ศูนยการเรียนรูวิทยาศาสตรโลกและดาราศาสตร. อุณหภูมิและความรอน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/temperature 39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 ความรอนและเคมีเบื้องตน 1. ความรอนและอุณหภูมิ ความรอน (Heat) คือ พลังงานที่ถายเทขามสสารหรือระบบ โดยอาศัยความแตกตางของอุณหภูมิ เมื่อนําสสารสองชนิดที่ มีอุณหภูมิตางกันมาไวในที่เดียวกัน จะมีการถายเทความรอน โดยหากสสารมีอุณหภูมิสูงกวาสิ่งแวดลอม ความรอนจะถูก ถายเทออกจากสสารไปสูสิ่งแวดลอม ในทางกลับกัน หากสสารมีอุณหภูมิต่ํากวาสิ่งแวดลอม ความรอนก็จะถูกถายเทจาก สิ่งแวดลอมเขาสูสสาร เชน เมื่อนําขวดน้ําออกจากตูเย็น แลวมาวางไวบนโตะ จะสังเกตไดวา เมื่อผานไประยะเวลาหนึ่ ง น้ําอัดลมจะเย็นนอยลงจนกระทั่งเทาอุณหภูมิหอง จึงสรุปไดวา หากสสารหรือระบบมีอุณหภูมิมีอุณหภูมิแตกตางกับสสาร หรือระบบอื่น หรือแตกตางกับสิ่งแวดลอม การถายเทความรอนจะเกิดขึ้น อุณหภูมิ (Temperature) เปนตัวเลขที่มีการเปลี่ยนแปลงสัมพันธกับพลังงานจลนในอะตอม เนื่องจากเมื่ออะตอมไดรับ พลังงานจลน อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่รอบ ๆ นิวเคลียสและเปลี่ยนระดับโคจร และอาจจะหลุดออกจากวงโคจรได ถาไดรับ พลังงานที่มากพอ แตเนื่องจากผิวโลกและบรรยากาศของโลกอะตอมจะรวมตัวเปนโมเลกุล การเคลื่อนที่ของโมเลกุลเหลานี้ จะทําใหเกิดพลังงานจลนที่เรียกวา ความรอน ระดับการวัดอุณหภูมิของสารที่นิยมใชกันมี 3 ระบบ ไดแก 1) องศาฟาเรนไฮต ใชสัญลักษณ °F โดยน้ําแข็งมีจุดหลอมเหลวที่ 32 °F และมีจุดเดือดที่ 212 °F นิยมใช ในสหรัฐอเมริกา 2) องศาเซลเซียส ใชสัญลักษณ °C โดยน้ําแข็งมีจุดหลอมเหลวที่ 0 °C และมีจุดเดือดที่ 100 °C 3) องศาสัมบูรณ หรือหนวยเคลวิน ใชสัญลักษณ K เปนการแสดงความสัมพันธระหวางความรอนและอุณหภูมิ ซึ่งน้ําแข็งมีจุดหลอมเหลวที่ 273 K และมีจุดเดือดที่ 373 K โดยที่อุณหภูมิ -273 °C พบวาอะตอมไม มี พลังงาน และอนุภาคทั้งหมดในอะตอมหยุดนิ่ง ดังนั้น 0 K = -273 °C ซึ่งหนวยเคลวินนิยมใชในการคํานวณ ทางวิทยาศาสตร

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 2.1 การเทียบองศาของเทอรโมมิเตอรหนวยตาง ๆ แมวาการวัดอุณหภูมิจะมีอยูหลายหนวย แตคาที่อานไดก็สามารถแปลงเปนหนวยเดียวกัน เพื่อเปรียบเทียบได โดยเปนไปตามสมการ ตอไปนี้ °F = (1.8 x °C) + 32 °C = K - 273 °C = (°F – 32) / 1.8 K = °C + 273 2. การถายเทความรอน การถายเทความรอน คือ การที่ความรอนจากสสาร ระบบ หรือสิ่งแวดลอม ซึ่งมีอุณหภูมิสูงกวา ถายเทไปยังสสาร ระบบ หรือสิ่งแวดลอมที่มีอุณหภูมิต่ํากวา มี 3 ลักษณะ ไดแก การนําความรอน การพาความรอน และการแผรังสีความรอน ดังนี้ 2.1 การนําความรอน (Heat Conduction) เปนการถายเทความรอนจากจุดที่มีอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ํา โดยที่ ตัวกลางจะอยูกับที่ แตความรอนกระจายไปตามเนื้อวัตถุนั้น เชน การจับถวยที่ใสกวยเตี๋ยวรอน ๆ เปนตน วัสดุที่ ยอมใหความรอนไหลผานไดดีจะเรียกวา ตัวนําความรอน เชน เงิน ทองแดง เหล็ก สวนวัตถุที่ไมยอมใหความรอน ผาน เรียกวา ฉนวนความรอน เชน ไม พลาสติก ผา เปนตน

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 2.2 วัตถุที่เปนตัวนําความรอน

ภาพที่ 2.3 วัตถุที่เปนฉนวนความรอน

ภาพที่ 2.4 การนําความรอน 2.2 การพาความรอ น (Heat Convection) เปน การถา ยเทความรอ นผา นตัว กลางที่เ ปน ของเหลวหรือ แกส โดยที่ตัวกลางจะเคลื่อนที่พาความรอนไปดวย เพราะเมื่อสารไดรับความรอนแลวความหนาแนนของอนุภาคจะลดลง เกิดการขยายตัวลอยสูงขึ้น สวนที่ยังไมไดรับความรอนซึ่งมีความหนาแนนของอนุภาคมากกวาจะเคลื่อนที่มาแทน ตัวอยางเชน การสรางปลองควัน เพื่อระบายความรอนในโรงงานอุตสาหกรรม ก็อาศัยหลักการนี้ดวย

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 2.5 การพาความรอน 2.3 การแผรังสีความรอน (Radiation) เปนการถายเทความรอนทุกทิศทาง โดยไมตองใชตัวกลาง เชน ความรอน จากดวงอาทิตยที่ผานอวกาศมาสูโลก วัตถุตาง ๆ จะมีความสามารถในการดูดกลืนความรอนจากการแผรังสีไดไม เทากัน ขึ้นอยูกับสีของวัตถุ และพื้นผิวของวัตถุ โดยวัตถุที่มีสีเขมจะดูดกลืนความรอนไดดีกวาวัตถุสีออน และ วัตถุท่ีมีผิวขรุขระจะดูดกลืนรังสีไดดีกวาวัตถุผิวเรียบมันวาว

ภาพที่ 2.6 การแผรังสีความรอน 3. เคมีเบื้องตน สสาร (Matter) คือ สิ่งที่มีตัวตน มีมวล และตองการที่อยู สามารถสัมผัสไดโดยประสาทสัมผัสทั้ง 5 แตยังไมทราบสมบัติ ที่แนนอน เชน ดิน น้ํา อากาศ เปนตน ภายในสสารหรือเนื้อของสสาร เรียกวา สาร สาร (Substance) คือ สสารที่รูและสามารถระบุสมบัติและองคประกอบที่แนนอน โดยสมบัติของสารแบงออกเปน 2 ประเภท 1) สมบัติทางกายภาพ (Physical Properties) หมายถึง สมบัติสารที่สังเกตจากลักษณะภายนอก เชน สถานะ เนื้อสาร สี กลิ่น รส ความหนาแนน จุดเดือด จุดหลอมเหลว การนําไฟฟา การนําความรอน การละลาย ความเหนียว ความแข็ง เปนตน 43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2) สมบัติทางเคมี (Chemical Properties) หมายถึง สมบัติที่เกี่ยวของกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีและองคประกอบ ทางเคมีของสาร เชน การผุกรอน การติดไฟ การทําปฏิกิริยากับน้ํา การทําปฏิกิริยากับกรดเบส เปนตน สารแบงออกเปน 3 สถานะ คือ 1) ของแข็ง (Solid) หมายถึง สารที่มีลักษณะรูปรางไมเปลี่ยนแปลง และมีรูปรางเฉพาะตัว เนื่องจากอนุภาค ในของแข็ ง จั ด เรี ย งชิ ด ติ ด กั น และอัด แนน อยา งมีร ะเบีย บไมมีก ารเคลื่ อ นที่ห รือ เคลื่อ นที่ ไ ดน อ ยมาก ไมสามารถทะลุผานไดและไมสามารถบีบหรือทําใหเล็กลงได 2) ของเหลว (Liquid) หมายถึง สารที่มีลักษณะไหลได มีรูปรางตามภาชนะที่บรรจุ เนื่องจากอนุภาคในของเหลว อยูหางกันมากกวาของแข็ง อนุภาคไมยึดติดกันจึงสามารถเคลื่อนที่ไดในระยะใกล และมีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน มีปริมาตรคงที่ สามารถทะลุผานได 3) แกส (Gas) หมายถึง สารที่ลักษณะฟุงกระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ เนื่องจากอนุภาคของแกสอยูหางกันมาก มีพลังงานในการเคลื่อนที่อยางรวดเร็วไปไดในทุกทิศทางตลอดเวลา จึงมีแรงดึงดูดระหวางอนุภาคนอยมาก สามารถทะลุผานไดงาย และบีบอัดใหเล็กลงไดงาย อนุภาคของสารมีอยู 3 แบบ ไดแก 1) อะตอมของธาตุ เขียนแทนดวยตัวอักษรภาษาอังกฤษ เชน H = ไฮโดรเจน O = ออกซิเจน อะตอมเป น อนุภาคขนาดเล็กที่สุด ซึ่งประกอบดวยอนุภาคพื้นฐาน ไดแก อิเล็กตรอน (e) ที่มีประจุไฟฟาลบ โปรตอน (p) มีประจุไฟฟาบวก และนิวตรอน (n) ไมมีประจุไฟฟา 2) โมเลกุล เปนอนุภาคที่สามารถอยูในธรรมชาติ ไดอยางอิส ระ ซึ่งโมเลกุลเกิดจากการรวมกัน ของอะตอม ตั้ งแต 2 อะตอมขึ้ น ไป โดยเขี ย นแทนดว ยสูต รเคมี เชน H2O เปน สูตรเคมี ข องน้ํา ซึ่งประกอบไปด ว ย ไฮโดรเจน 2 อะตอม และออกซิเจน 1 อะตอม 3) ไอออน เปนอะตอมที่มีประจุไฟฟาซึ่งมี 2 ชนิด คือ ไอออนบวก และไอออนลบ เชน H+ กับ O-2

ภาพที่ 2.7 อะตอม โมเลกุล ไอออน

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. องศาฟาเรนไฮต มีจุดหลอมเหลวที่ 34 °F และมีจุดเดือดที่ 200 °F 2. ตัวอยางหนึ่งของการพาความรอน คือ การสรางปลองควัน เพื่อระบายความ รอนในโรงงานอุตสาหกรรม 3. การพาความรอน คือ การถายเทความรอนจากจุดที่มีอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิ ต่ํา โดยที่ตัวกลางจะอยูกับที่ แตความรอนกระจายไปตามเนื้อวัตถุ 4. การแผรังสีความรอน แตกตางกับการถายเทความร อนอื่น ๆ เนื่องจากเป น การถายเทความรอนโดยไมตองผานตัวกลาง 5. ในการถายเทความรอน ถาสสารมีอุณหภูมิต่ํากวาสิ่งแวดลอม ความรอนจะถูก ถายเทออกจากสสารไปสูสิ่งแวดลอม 6. องศาสั มบู ร ณ คือ การแสดงความสั ม พั น ธ ร ะหว า งความร อ นและอุ ณ หภู มิ เรียกอีกอยางหนึ่งวา องศาเคลวิน 7. สารในสถานะของเหลว มีพลังงานในการเคลื่อนที่อยางรวดเร็ว ไปไดในทุก ทิศทาง จึงมีแรงดึงดูดระหวางอนุภาคนอยมาก สามารถทะลุผานไดงาย และบีบ อัดใหเล็กลงไดงาย 8. การผุ ก ร อ น การติ ด ไฟ การทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั บ น้ํ า คื อ ตั ว อย า งของสมบั ติ ทางเคมี 9. การแปลงหนวยองศาเคลวินใหเปนองศาเซลเซียส สามารถทําไดโดย นําคา อุณหภูมิหนวยองศาเซลเซียส มาลบกับ 273 10. อุณหภูมิ คือ ตัวเลขที่มีการเปลี่ยนแปลงสัมพันธกับพลังงานจลนในอะตอม เนื่องจากเมื่ออะตอมไดรับพลังงานจลน อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่รอบ ๆ นิวเคลียส และเปลี่ยนระดับโคจร และอาจจะหลุดออกจากวงโคจรได

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

กระดาษคําตอบ ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบงาน ใบงานที่ 2.1 การทดลองนําความรอนของแทงไมและแทงแกว 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน และเคมีเบื้องตนได 2. ปฏิบัติงานทดลองเรื่องการนําความรอนของแทงไมและแทงแกวได 3. คํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน 4. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลองการนําความรอนของแทงไมและแทงแกว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้งเขียนสรุปผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง

สภาพของดินน้ํามัน

ดินน้ํามันที่ปลายแทงไม

ดินน้ํามันที่ปลายแทงแกว สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 การทดลองนําความรอนของแทงไมและแทงแกว 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4. การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ชุดทดลองการนําความรอน

จํานวน 1 ชุด

2. ถวยทดลอง ขนาด 250 ซีซี.

จํานวน 1 ใบ

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํารอน

ปริมาตร 200 ซีซี.

2. ดินน้ํามัน

จํานวน 2 กอน

3. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การทดลองนําความรอนของแทงไมและแทงแกว ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ

คําอธิบาย ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ และใชผาเช็ดทําความสะอาด

2. เตรียมน้ํารอนในถวยทดลอง

เทน้ํารอนลงในถวยทดลองใหไดปริมาตร 200 ซีซี

3. ประกอบชุดทดลอง

ประกอบแท ง ไม แ ละแท ง แก ว เข า กั บ ชุ ด

4. ติดดินน้ํามันไวที่ปลายแทงไมและแทงแกว

ทดลองการนําความรอน ปนดินน้ํามันเปนกอนกลม ๆ แลวติดไวที่ ปลายแทงไมและแทงแกว

5. เทน้ํารอนลงในชุดทดลอง

เทน้ํารอนจากถวยทดลองลงในชุดทดลอง การนําความรอนที่ประกอบเสร็จเรียบรอย แลว

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. สังเกตผล

คําอธิบาย รอระยะเวลา 10 นาที สังเกตผลที่เกิดขึ้น และบันทึกลงในตาราง

7. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

ผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

สรุปผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

ผลการทดลอง

ผลการทดลองถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน ผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

สรุปผลการทดลอง

สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบงาน ใบงานที่ 2.2 การทดลองนําความรอนของแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน และเคมีเบื้องตนได 2. ปฏิบัติงานทดลองเรื่องการนําความรอนของแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดงได 3. คํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลองการนําความรอนของแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดง และบันทึกผลการทดลอง ลงในตาราง พรอมทั้งเขียนสรุปผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง

สภาพของดินน้ํามัน

ดินน้ํามันที่ปลายแทงอะลูมิเนียม ดินน้ํามันที่ปลายแทงเหล็ก

ดินน้ํามันที่ปลายแทงทองแดง สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.2 การทดลองนําความรอนของแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ชุดทดลองการนําความรอน (อะลูมิเนียม เหล็ก ทองแดง)

จํานวน 1 ชุด

2. ถวยทดลอง ขนาด 250 ซีซี.

จํานวน 1 ใบ

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5. การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํารอน

ปริมาตร 200 ซีซี..

2. ดินน้ํามัน

จํานวน 2 กอน

3. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การทดลองนําความรอนของแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ

คําอธิบาย ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ

ขอควรระวัง

และใชผาเช็ดทําความสะอาด

2. ประกอบชุดทดลอง 3. ติดดินน้ํามันไวที่ปลายแทงไมและแทงแกว

ประกอบแท ง อะลู มิ เ นี ย ม เหล็ ก และ ทองแดงเข า กั บ ชุ ด ทดลองการนํ า ความ รอน ปนดินน้ํามันเปนกอนกลม ๆ แลวติดไวที่ ปลายแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดง

4. เตรียมน้ํารอนในถวยทดลอง 5. เทน้ํารอนลงในชุดทดลอง

เทน้ํารอนลงในถวยทดลองใหไดปริมาตร ระวังอยาใหน้ํารอนหก 250 cm3

เพราะอาจทํ า ให เ กิ ด อุบัติเหตุได

เทน้ํารอนในถวยทดลองลงในชุดทดลอง ก า ร นํ า ค ว า ม ร อ น ที่ ป ร ะ ก อ บ เ ส ร็ จ เรียบรอยแลว

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. สังเกตผล

คําอธิบาย รอระยะเวลา 10 นาที สังเกตผลที่เกิดขึ้น และบันทึกลงในตาราง

7. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

ผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

สรุปผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

ผลการทดลอง

ผลการทดลองถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน ผลการทดลองไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

สรุปผลการทดลอง

สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3 0921010303 หลักการของของเหลว (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายเกี่ยวกับหลักการของของเหลวได 2. ทดลองเกี่ยวกับหลักการของของเหลวได

2. หัวขอสําคัญ 1. แรงลอยตัว 2. ความตึงผิว 3. ความหนืด

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝกกําหนดได

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

7. บรรณานุกรม ของไหล. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.neutron.rmutphysics.com/news/index.php?option=com_ content&task=view&id=2532 ความตึงผิว. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/15/9/ Fluid/sureface.htm ความหนืด. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/15/9/ Fluid/viscosity.htm

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 หลักการของของเหลว เนื่องจากของเหลวมีแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลมากกวาแกส แตนอยกวาของแข็ง ปจจัยดานแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลนี้ ทําใหของเหลวมีสมบัติพิเศษ ดังนี้ 1. แรงลอยตัว (Buoyant Force) คือ แรงดึง ดูดระหวางโมเลกุล ของของเหลวที่ชว ยพยุงวัต ถุที่แชใ นของเหลวนั้น โดยปจจัยที่สงผลตอแรงลอยตัวของของเหลว ไดแก - ความหนาแนน ของวัต ถุแ ละของเหลว เนื่อ งจากสารแตล ะชนิด มีค วามหนาแนน ไมเ ทา กัน ในการวัด ความหนาแน น ของของเหลวจะใช ไ ฮโดรมิ เ ตอร ซึ่ ง อาศั ย หลั ก การเกี่ ย วกั บ แรงลอยตั ว ของของเหลว โดยการเปรียบเทียบระหวางวัตถุที่มีปริมาตรเทากัน จะพบวา กรณีที่ 1 ถาวัตถุมีความหนาแนนนอยกวาของเหลว วัตถุนั้นจะลอย

ภาพที่ 3.1 วัตถุลอยในของเหลว กรณีที่ 2 ถาวัตถุมีความหนาแนนใกลเคียงกับของเหลว วัตถุนั้นจะลอยปริ่มของเหลว

ภาพที่ 3.2 วัตถุลอยปริ่มของเหลว 64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

กรณีที่ 3 ถาวัตถุมีความหนาแนนมากกวาของเหลว วัตถุนั้นจะจม

ภาพที่ 3.3 วัตถุจมของเหลว - ขนาดของวั ต ถุ มี ผ ลต อ ปริ ม าตรของวั ต ถุ ส ว นที่ จ มลงไปในของเหลว ยิ่ ง มี ส ว นที่ จ มในของเหลวมาก แรงลอยตัวที่กระทําของสวนนั้นก็มากดวย ตามหลักการของอารคิมีดีส ซึ่งมีสาระสําคัญวา กรณีที่วัตถุจม ทั้งชิ้น ขนาดของแรงลอยตัว จะเทากับ ขนาดของน้ําหนัก ของของเหลวที่มีป ริม าตรเทากับ วัต ถุ กรณีที่ วัตถุจมแคบางสวนหรือวัตถุลอย ขนาดของแรงลอยตัวจะเทากับน้ําหนักของของเหลวที่มีปริมาตรเทากับ วัตถุสวนที่จมในของเหลว

ภาพที่ 3.4 หลักการของอารคิมีดีส

2. ความตึงผิว (Surface tension) คือ ความพยายามในการยึดเหนี่ยวกันของโมเลกุลบริเวณผิวของของเหลว ซึ่งเกิดจาก แรงตึงผิวที่กระทําตอวัตถุที่ไปสัมผัสกับของเหลวในทิศทางตั้งฉากกับวัตถุที่สัมผัส แตขนานกับผิวของของเหลว 65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 3.5 ทิศทางของแรงตึงผิว โดยแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลในของเหลวจะมีแรง 2 ประเภท ไดแก 1) แรงยึดติด (Cohesive Forces) เปนแรงที่ยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลของของเหลวชนิดเดียวกัน ซึ่งแรงประเภทนี้ สามารถรับความเคนดึงไดเล็กนอย 2) แรงเชื่อมแนน (Adhesive Forces) เปนแรงที่ยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลของของเหลวกับสารชนิดอื่น เชน น้ํากับแกว เปนตน

ภาพที่ 3.6 Cohesive Forces และ Adhesive Forces ปรากฎการณเกี่ยวกับแรงตึงผิว เชน การเกิดหยดของของเหลวในการฉีดของเหลวออกจากหัวฉีด หรือหยดของเหลว บนใบไม ซึ่งแรงตึงผิวจะสงผลใหหยดของเหลวอยูในลักษณะทรงกลม การวางเข็มบนผิวน้ํา และการวิ่งบนผิวน้ําของจิงโจน้ํา

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 3.7 หยดน้ําบนใบไม

ภาพที่ 3.8 จิงโจน้ําบนผิวน้ํา

3. ความหนืด (Viscosity) แสดงถึงความสามารถของของเหลวในการตานทานการไหล เนื่องมาจากแรงที่ตานทานการเคลื่อนที่ ของวัตถุในของเหลว เรียกวา แรงหนืด ซึ่งขนาดของแรงหนืดจะขึ้นอยูกับความเร็วของวัตถุในของเหลว และแรงหนืด มีทิศทางตรงขามกับทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยกฎของสโตกสไดคนพบความหนืดของของเหลว จากการทดลอง ปลอยลูกโลหะกลมลงในของเหลวชนิดหนึ่งในแนวดิ่ง โดยแรงหนืดจะตานทานความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ จนทําให วัตถุมีความเร็วคงที่จึงจะทราบแรงหนืดสูงสุดของของเหลว

ภาพที่ 3.9 ความหนืดของของเหลว 67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. แรงลอยตัว คือ แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลของของเหลวที่ชวยพยุงวัตถุที่แชใน ของเหลวนั้น 2. ถาวัตถุมีความหนาแนนนอยกวาของเหลว วัตถุนั้นจะจม 3. ถาของเหลวมีความหนาแนนนอยกวาวัตถุ วัตถุนั้นจะจม 4. ปจจัยที่สงผลตอแรงลอยตัวของวัตถุในของเหลว ไดแก ความหนาแนนของวัตถุ และขนาดของภาชนะที่บรรจุของเหลว 5. ตามหลักการของอารคิมีดีส ในกรณีที่วัตถุจมทั้งชิ้น ขนาดของแรงลอยตัวจะเทากับ ขนาดของน้ําหนักของของเหลวที่มีปริมาตรเทากับวัตถุ 6. ยิ่ งวั ตถุ มีส ว นที่จ มในของเหลวมาก แรงลอยตัว ที่ก ระทํ า ของสว นนั้ น จะลด นอยลง 7. “ความพยายามในการยึดเหนี่ยวกันของโมเลกุลบริเวณผิวของของเหลว ซึ่งเกิดจาก แรงตึงผิวที่ กระทํ าตอ วัต ถุที่ไ ปสัม ผัส กับ ของเหลวในทิศ ทางตั ้ง ฉากกับ วัต ถุท่ี สัมผัส แตขนานกับผิวของของเหลว” คือความหมายของความตึงผิว 8. แรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลในของเหลว มี 2 ประเภท คือ แรงยึดติด และแรง ควบแนน 9. ความสามารถของของเหลวในการตานทานการไหล เรียกวา ความหนืด 10. ขนาดของแรงหนืดจะขึ้นอยูกับความเร็วของวัตถุในของเหลว และแรงหนืด มีทิศทางเดียวกันกับทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

กระดาษคําตอบ ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบงาน ใบงานที่ 3.1 การทดลองเรื่องแรงลอยตัวของของเหลว 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับหลักการของของเหลวได 2. ปฏิบัติงานทดลองเรื่องแรงลอยตัวของของเหลวได 3. คํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลองเรื่องแรงลอยตัวของของเหลว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้งเขียน สรุปผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง

ผลการทดลอง (g)

น้ําหนักของดินน้ํามันเมื่อชั่งในอากาศ (ก.) น้ําหนักของดินน้ํามันขณะจมครึ่งกอน (ข.) น้ําหนักของดินน้ํามันขณะจมทั้งกอน (ค.) สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.1 การทดลองเรื่องแรงลอยตัวของของเหลว 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เครื่องชั่งสปริงแบบแขวน

จํานวน 1 อัน

2. ถวยยูเรกา

จํานวน 1 ใบ

3. ถวยทดลอง

จํานวน 1 ใบ

4. เครื่องชั่งน้ําหนักดิจิทัล

จํานวน 1 เครื่อง

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํา

จํานวน 1 ลิตร

2. ดินน้ํามัน

จํานวน 1 กอน

3. เชือกเสนเล็ก

จํานวน 1 เสน

4. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน 71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การทดลองเรื่องแรงลอยตัวของของเหลว ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ

คําอธิบาย ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ และใชผาเช็ดทําความสะอาด

2. เตรียมชั่งน้ําหนักกอนดินน้ํามัน

นําปลายเชือกขางหนึ่งผูกกับกอนดินน้ํามัน ปลายเชือกที่เหลือผูกคลองกับตะขอเครื่อง ชั่งสปริง

3. ชั่งน้ําหนักกอนดินน้ํามัน

ชั่งน้ําหนักของดินน้ํามันขณะอยูในอากาศ สังเกตและบันทึกผล

72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. ชั่งน้ําหนักของถวยทดลองเปลา

คําอธิบาย นํ า ถ ว ยทดลองเปล า ชั่ ง บนเครื่ อ งชั่ ง

ขอควรระวัง

น้ําหนัก และบันทึกผล

5. เทน้ําลงในถวยยูเรกา

เทน้ําใสในถวยยูเ รกา ซึ่งมีชองทางใหน้ํ า ระวังอยาทําน้ําหกและ

6. ชั่งน้ําหนักของดินน้ํามันในน้ํา

ลน ออกมาได และวางถว ยทดลองไวใตรู ทําใหพื้นเปย ก เพราะ ของถวยยูเรกา

อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได

ชั่งน้ําหนักของดิ นน้ํามัน ในน้ําขณะจมทั้ง กอน และบันทึกผล

7.หาน้ําหนักของดินน้ํามันที่หายไป

นําน้ําหนักของดินน้ํามันขณะชั่งในอากาศ ลบกับน้ําหนักของดินน้ํามันขณะชั่งในน้ํา เพื่อหาน้ําหนักที่หายไป และบันทึกผล

8. ชั่งน้ําหนักน้ําที่ลนออกจากถวยยูเรกา

นําถวยทดลองที่รองรับน้ําซึ่งลนจากถ ว ย ยูเรกาไปชั่งน้ําหนัก และบันทึกผล

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 9. เปรียบเทียบน้ําหนักของน้ําในถวยทดลองกับ

คําอธิบาย เปรียบเทียบน้ําหนักของน้ําในถวยทดลอง

น้ําหนักของดินน้ํามันที่หายไป

ซึ่งเปนน้ําที่ลนออกมาจากถวยยูเรกา กับ น้ําหนักของดินน้ํามันที่หายไป และสรุปผล การทดลอง

10. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

ผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

สรุปผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม

3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

ผลการทดลอง

ผลการทดลองถูกตองทุกขอ ใหคะแนน 5 คะแนน ผลการทดลองถูกตอง 3 ขอ ใหคะแนน 4 คะแนน

5

ผลการทดลองถูกตอง 2 ขอ ใหคะแนน 3 คะแนน ผลการทดลองถูกตองนอยกวา 2 ขอ ใหคะแนน 0 คะแนน 5

สรุปผลการทดลอง

สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบงาน ใบงานที่ 3.2 การทดลองเรื่องความตึงผิวของของเหลว 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับหลักการของของเหลวได 2. ปฏิบัติงานทดลองเรื่องความตึงผิวของของเหลวได 3. คํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําการทดลองเรื่องความตึงผิวของของเหลว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้ง เขียนสรุปผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง

จํานวนคลิปหนีบกระดาษ

ในน้ําสะอาด ในน้ําผสมกับน้ํายาลางจานในอัตราสวน 50:50 ในน้ําผสมกับน้ํายาลางจานในอัตราสวน 25:75 ในน้ํายาลางจาน สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.2 การทดลองเรื่องความตึงผิวของของเหลว 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก : - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คลิปหนีบกระดาษ

จํานวน 1 กลอง

2. แกวน้ํา

จํานวน 1 ใบ

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํา

จํานวน 1 ลิตร

2. น้ํายาลางจาน

จํานวน 1 ขวด

3. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. ลําดับการทดลอง การทดลองเรื่องความตึงผิวของของเหลว 2.1 การทดลองที่ 1 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ

คําอธิบาย ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ

ขอควรระวัง

และใชผาเช็ดทําความสะอาด

2. เติมน้ําลงในแกว

เติมน้ําสะอาดใหเต็มแกว

ระวังอยาทําน้ําหกและ ทําใหพื้นเปยก เพราะ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได

3. ดัดคลิปหนีบกระดาษ

ดัดคลิปหนีบกระดาษใหเปนรูปตัวแอล (L)

4. วางคลิปหนีบกระดาษ

วางคลิ ป หนี บ กระดาษบนคลิ ป หนี บ กระดาษรูปตัวแอล

80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. วางคลิปหนีบกระดาษลงในแกว

คําอธิบาย วางคลิ ป หนี บ กระดาษลงในแก ว อย า ง

ขอควรระวัง

เบามือ เพื่อใหคลิปหนีบกระดาษลอยอยูได

6. วางคลิปหนีบกระดาษใหเต็มผิวน้ํา

วางคลิปหนีบกระดาษใหเต็มผิวน้ํา สังเกต และบันทึกผลลงในตาราง

2.2 การทดลองที่ 2 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ผสมน้ํากับน้ํายาลางจาน

คําอธิบาย นําน้ําผสมกับน้ํ ายาลางจานในอั ตราส ว น 50:50 แลวเทใสแกวใหเต็ม

2. วางคลิปหนีบกระดาษ

วางคลิ ป หนี บ กระดาษบนคลิ ป หนี บ กระดาษรูปตัวแอล

81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. วางคลิปหนีบกระดาษลงในแกว

คําอธิบาย วางคลิ ป หนี บ กระดาษลงในแก ว อย า ง

ขอควรระวัง

เบามือ เพื่อใหคลิปหนีบกระดาษลอยอยูได

4. วางคลิปหนีบกระดาษเพิ่ม

ทดลองวางคลิปหนีบกระดาษเพิ่ม สังเกต และบันทึกผลลงในตาราง

2.3 การทดลองที่ 3 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ผสมน้ํากับน้ํายาลางจาน

คําอธิบาย นําน้ําผสมกับน้ํ ายาลางจานในอั ตราส ว น 25:75 แลวเทใสแกวใหเต็ม

2. วางคลิปหนีบกระดาษ

วางคลิ ป หนี บ กระดาษบนคลิ ป หนี บ กระดาษรูปตัวแอล

82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. วางคลิปหนีบกระดาษลงในแกว

คําอธิบาย วางคลิ ป หนี บ กระดาษลงในแก ว อย า ง

ขอควรระวัง

เบามือ เพื่อใหคลิปหนีบกระดาษลอยอยูได

4. วางคลิปหนีบกระดาษเพิ่ม

ทดลองวางคลิปหนีบกระดาษเพิ่ม สังเกต และบันทึกผลลงในตาราง

2.4 การทดลองที่ 4 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เทน้ํายาลางจาน

คําอธิบาย เทน้ํายาลางจานใสแกวใหเต็ม

2. วางคลิปหนีบกระดาษ

วางคลิ ป หนี บ กระดาษบนคลิ ป หนี บ กระดาษรูปตัวแอล

83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. วางคลิปหนีบกระดาษลงในแกว

คําอธิบาย วางคลิ ป หนี บ กระดาษลงในแก ว อย า ง เบามือ เพื่อใหคลิปหนีบกระดาษลอยอยูได

4. วางคลิปหนีบกระดาษเพิ่ม

ทดลองวางคลิปหนีบกระดาษเพิ่ม สังเกต และบันทึกผลลงในตาราง

5. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

ผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

สรุปผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม

3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

ผลการทดลอง

ผลการทดลองถูกตองทุกขอ ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ผลการทดลองถูกตอง 3 ขอ ใหคะแนน 4 คะแนน ผลการทดลองถูกตอง 2 ขอ ใหคะแนน 3 คะแนน ผลการทดลองถูกตองนอยกวา 2 ขอ ใหคะแนน 0 คะแนน 5

สรุปผลการทดลอง

สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน

86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 4 0921010304 ความหมายของมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรง (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายความหมายของมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรงได 2. ทดลองเกี่ยวกับมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรงได

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

มวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน แรง

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ 88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

- สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม ครูฟสิกสไทย. แรง มวล และน้ําหนัก. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.thaiphysicsteacher.com/ physics/contentclassmech/force-mass-and-weight/ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. ความถวงจําเพาะ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://th.wikipedia.org/wiki/ ความถ ว งจํา เพาะ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. ความหนาแนน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://th.wikipedia.org/wiki/ ความหนาแน น ความดัน ปริมาตร และอุณหภูมิ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.atom.rmutphysics.com/charud/ oldnews/0/285/22/gas1/pressure_volume_temp.htm

90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 4 ความหมายของมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรง 1. มวล (Mass) เปนสมบัติของสสารซึ่งบงบอกถึงคาความตานทานในการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ หรืออีกความหมายหนึ่ง หมายถึง ความเฉื่อยตอการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยมวลเขียนแทนดวยสัญลักษณ m มีหนวยเปนกิโลกรัม (kg) 2. น้ําหนัก (Weight) หมายถึง แรงที่กระทําตอวัตถุอันเนื่องมาจากความเรงโนมถวงของโลก เขียนแทนดวยสัญลักษณ W โดยน้ําหนักของวัตถุจะคํานวณจากมวล (m) คูณกับ ความเรงโนมถวงของโลก (g) มีหนวยเปนนิวตัน (N) 3. ความถวงจําเพาะ (Specific Gravity) หมายถึง อัตราสวนระหวางความหนาแนนของวัตถุกับความหนาแนนของน้ํา ณ อุณหภูมิหนึ่ง ซึ่งความถวงจําเพาะเปนลักษณะทางกายภาพของสาร เพื่อใชเปรียบเทียบกับน้ําที่มีความถวงจําเพาะ เทากับ 1 ถาใสวัตถุลงในน้ํา วัตถุมีความถวงจําเพาะมากกวา 1 จะจมน้ํา สวนวัตถุที่มีความถวงจําเพาะนอยกวา 1 จะลอยน้ํา ความถวงจําเพาะเขียนแทนดวยสัญลักษณ SG

ภาพที่ 4.1 การจมและการลอยของกอนโลหะที่มีความหนาแนนตางกัน 4. ความหนาแน น (Density) เป น ค า ที่บ งบอกมวลของสาร (m) ในหนึ่งหนว ยปริมาตร (V) มีห นว ยเปน กิโ ลกรัมตอ ลูกบาศกเมตร (kg/m3) ความหนาแนนเปนสมบัติที่เกี่ยวกับเนื้อของวัตถุ วัตถุที่มีเนื้อแนนจะมีความหนาแนนมากกวา วัตถุที่มีเนื้อโปรง การคํานวณหาความหนาแนนของวัตถุ จะเริ่มจากการนําวัตถุไปชั่งเพื่อหามวล และคํานวณหาปริมาตร ถาวัตถุมีลักษณะเปนรูปทรงเรขาคณิต สามารถคํานวณไดโดยใชสูตร แตถาวัตถุนั้นไรรูปราง สามารถคํานวณไดโดยใช การแทนที่น้ําในถวยยูเรกา น้ําที่ลนออกจากถวยจะมีปริมาตรเทากับปริมาตรของวัตถุ อยางไรก็ตาม วิธีนี้สามารถใชกับ วัตถุรูปทรงเรขาคณิตได เมื่อคํานวณหามวลและปริมาตรแลว ใหคํานวณหาความหนาแนนโดยใชสูตร ดังนี้ 91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ρ= เมื่อ

m V

ρ คือ ความหนาแนนของวัตถุ มีหนวยเปนกิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร (kg/m3)

m คือ มวลรวมของวัตถุ มีหนวยเปนกิโลกรัม (kg)

V คือ ปริมาตรรวมของวัตถุ มีหนวยเปนลูกบาศกเมตร (m3) คาที่ควรจํา : ความหนาแนนของน้ําประปา = 1g/cm3

ภาพที่ 4.2 ความหนาแนนที่แตกตางกันของวัตถุชนิดตาง ๆ 5. ปริมาตร (Volume) หมายถึง บริเวณที่อนุภาคตาง ๆ อยูในลักษณะสามมิติ โดยพิจารณาจากความกวาง ความยาว และความสูง เขีย นแทนดว ยสัญ ลัก ษณ V โดยหนว ยของปริม าตรตามมาตรฐานสากลโลก หรือ SI Unit คือ ลูกบาศกเมตร (m3) และหนวยอื่น ๆ เชน ลิตร (L) มิลลิลิตร (ml) และซีซี (Cubic Centimeter) เปนตน

ภาพที่ 4.3 ปริมาตรรูปทรงสามมิติ

92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

6. ความดัน (Pressure) หมายถึง อัตราสวนระหวางแรงของของแข็ง ของเหลว หรือแกส ที่กระทําในทิศทางตั้งฉากกับ พื้นที่ของสาร เขียนแทนดวยสัญลักษณ p เขียนเปนรูปสมการไดดังนี้

P = F/A โดยที่ P คือ ความดันในหนวย F ตอหนวยพื้นที่ A A คือ แรงรวมในหนวยวัดแรงอยางใดอยางหนึ่ง A คือ พื้นที่ทั้งหมดที่ไดรับแรงในหนวยของพื้นที่อยางใดอยางหนึ่ง หนวยความดันที่ใชมีดังนี้ กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร (kg/cm2) ปอนดตอตารางนิ้ว (Ib/in2, psi) กิโลปาสคาล (kPa) นิวตันตอตารางเมตร (N/m2) มิลลิเมตรปรอท (mmHg) นิ้วปรอท (inHg) บาร (Bar) โดย 1 บาร เทากับ 105 N/m2

ภาพที่ 4.4 ความดัน 7. แรง (Force) คือ อํานาจซึ่งเปลี่ยนหรือพยายามจะเปลี่ยนสถานะอยูนิ่งหรือเคลื่อนที่ของวัตถุ เชน การทําใหวัตถุที่กําลัง เคลื่ อ นที่ ห ยุ ด การเคลื่ อ นที่ หรื อ เปลี่ ย นแปลงรู ป ร า งของวั ต ถุ เขีย นแทนดว ยสัญ ลัก ษณ Fและมี ห น ว ยเป น นิวตัน (N)

93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. ความถ ว งจํ าเพาะ หมายถึง อัต ราสว นระหวา งความหนาแนน ของวัต ถุกับ ความหนาแนนของน้ํา ณ อุณหภูมิหนึ่ง 2. ความดัน คือ อัตราสวนระหวางแรงของของแข็ง ของเหลว หรือแกส ที่กระทํา ในทิศทางขนานกับพื้นที่ของสาร 3. น้ําหนัก คือ สมบัติของสสารซึ่งบงบอกถึงคาความตานทานในการเปลี่ยนสภาพ การเคลื่อนที่ 4. การหาคาความหนาแนนของวัตถุที่ไรรูปราง คํานวณไดจากการแทนที่น้ําใน ถวยยูเรกา น้ําที่ลนออกจากถวยจะมีปริมาตรเทากับปริมาตรของวัตถุ 5. มวลของวัตถุจะคํ านวณจากมวล (m) คูณกับ ความเรงโน มถ วงของโลก (g) มี หนวยเปนนิวตัน (N) 6. แรง คือ อํานาจซึ่งเปลี่ยนหรือพยายามจะเปลี่ยนสถานะอยูนิ่งหรือเคลื่อนที่ของ วัตถุ 7. v คือ มวลรวมของวัตถุ มีหนวยเปนกิโลกรัม (kg) 8. ปริมาตร คือ บริเวณที่อนุภาคตาง ๆ อยูในลักษณะสามมิติ โดยพิจารณาจาก ความกวาง ความยาว และความสูง 9. สูตรการหาคาความถวงจําเพาะ คือ ρ =

m V

10. หนวยของปริ มาตรตามมาตรฐานสากลโลก หรือ SI Unit คือ ลูกบาศก เมตร (m3)

94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

กระดาษคําตอบ ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบงาน ใบงานที่ 4.1 การทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปา และ น้ําเกลือ) 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรงได 2. ปฏิบัติงานทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลวได 3. คํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 15 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลอง เรื่องความหนาแนนของของเหลว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้งเขียน สรุปผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง

ผลการทดลอง

การลอยตัวของไขไกในน้ําประปา การลอยตัวของไขไกในน้ําเกลือ สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 4.1 การทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปา และ น้ําเกลือ) 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1 ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2 ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3 เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4 รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ถวยทดลอง ขนาด 500 ซีซี.

จํานวน 1 ใบ

2. ชอนโตะ

จํานวน 1 คัน

3. แทงแกวคนสาร

จํานวน 1 แทง

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขไกสด

จํานวน 1 ฟอง

2. น้ํา

จํานวน 2 ลิตร

3. เกลือ

จํานวน 1 ถุง

4. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. ลําดับการทดลอง การทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปา และ น้ําเกลือ) 2.1 การทดลองที่ 1 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ และใชผาเช็ดทําความสะอาด

2. เติมน้ําลงในถวยทดลอง 3. วางไขไกลงในน้ํา

เติมน้ําลงในถวยทดลอง ประมาณ ถวยทดลอง

1 2

ของ ระวังอยาทําน้ําหกและ ทําใหพื้นเปยก เพราะ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได

นําไขไกสดวางลงในน้ําอยางเบามือ สังเกต และบันทึกผล

98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2.2 การทดลองที่ 2 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เติมน้ําลงในถวยทดลอง 2. เติมเกลือลงในน้ํา

คําอธิบาย เติมน้ําลงในถวยทดลอง ประมาณ ถวยทดลอง

ขอควรระวัง 1 2

ของ ระวังอยาทําน้ําหกและ ทําใหพื้นเปยก เพราะ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได

ตั ก เกลื อ ใส ล งไปในถ ว ยทดลอง 5 ช อ น และใชแทงแกวคนจนเกลือละลายหมด 3. วางไขไกลงในน้ํา

นําไขไกสดวางลงในน้ําอยางเบามือ สังเกต และบันทึกผล

4. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

ผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

สรุปผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

ผลการทดลอง

ผลการทดลองถูกตองทุกขอ

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ผลการทดลองถูกตอง 1 ขอ ใหคะแนน 3 คะแนน ผลการทดลองไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 5

สรุปผลการทดลอง

สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน

101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ใหคะแนน 3 คะแนน สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบงาน ใบงานที่ 4.2 การทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปา และ น้ําผสมน้ําตาล) 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรงได 2. ปฏิบัติงานทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลวได 3. คํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 15 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลอง เรื่องความหนาแนนของของเหลว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้งเขียน สรุปผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง

ผลการทดลอง

การลอยตัวของไขไกในน้ําประปา การลอยตัวของไขไกในน้ําผสมน้ําตาล สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 4.2 การทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปา และ น้ําผสมน้ําตาล) 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตรายเชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ถวยทดลอง ขนาด 500 ซีซี.

จํานวน 1 ใบ

2. ชอนโตะ

จํานวน 1 คัน

3. แทงแกวคนสาร

จํานวน 1 แทง

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขไกสด

จํานวน 1 ฟอง

2. น้ํา

จํานวน 1 ลิตร

3. น้ําตาล

จํานวน 1 ถุง

4. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน 104 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. ลําดับการทดลอง การทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปา และ น้ําผสมน้ําตาล) 2.1 การทดลองที่ 1 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ และใชผาเช็ดทําความสะอาด

2. เติมน้ําลงในถวยทดลอง 3. วางไขไกลงในน้ํา

เติมน้ําลงในถวยทดลอง ประมาณ ถวยทดลอง

1 2

ของ ระวังอยาทําน้ําหกและ ทําใหพื้นเปยก เพราะ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได

นําไขไกสดวางลงในน้ําอยางเบามือ สังเกต และบันทึกผล

105 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2.2 การทดลองที่ 2 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เติมน้ําลงในถวยทดลอง 2. เติมน้ําตาลลงในน้ํา

คําอธิบาย เติมน้ําลงในถวยทดลอง ประมาณ ถวยทดลอง

ขอควรระวัง 1 2

ของ ระวังอยาทําน้ําหกและ ทําใหพื้นเปยก เพราะ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได

ตักน้ําตาลใสลงไปในถว ยทดลอง 5 ชอน และใชแทงแกวคนจนน้ําตาลละลายหมด 3. วางไขไกลงในน้ํา

นําไขไกสดวางลงในน้ําอยางเบามือ สังเกต และบันทึกผล

4. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

106 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

ผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

สรุปผลการทดลอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

107 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

ผลการทดลอง

ผลการทดลองถูกตองทุกขอ ใหคะแนน 5 คะแนน ผลการทดลองถูกตอง 1 ขอ ใหคะแนน 3 คะแนน ผลการทดลองไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

108 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

สรุปผลการทดลอง

สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

5

สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 109 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 110 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

111 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.