หนาปก
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
คูมือผูรับการฝก 0920163100501 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1
ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝกที่ 4 09210201 วัสดุ และคุณสมบัตขิ องวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
คํานํา
คูมือผูรับการฝก สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 โมดูล 4 วัสดุ และคุณสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน ฉบับ นี้ เป น ส ว นหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝ มือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่ง พัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการ พั ฒ นาระบบฝ ก และชุ ด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน ด ว ยระบบการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือ ในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ สามารถอธิบายสมบัติของน้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน สารกันสนิม และสมบัติของทอยางและทอโลหะ รวมทั้งสามารถเลือกใชวัสดุ ตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม ตลอดจนติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไป ตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน น ผลลั พธ การฝ กอบรมในการที่ทํา ใหผูรับ การฝ กอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติ ง าน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชี พ จะถูกกําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝน จนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส ง มอบการฝ ก สามารถดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวกของตน หรื อ ตามแผนการฝ ก หรื อ ตามตารางการนั ด หมาย การฝ ก หรื อ ทดสอบประเมิ น ผลความรู ความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียม และดํา เนิ น การทดสอบ ประเมิ น ผลในลั ก ษณะต า ง ๆ อั น จะทํา ให ส ามารถเพิ่ ม จํา นวนผู รั บ การฝ ก ได ม ากยิ่ ง ขึ้ น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึ งถื อเป น รู ป แบบการฝ ก ที่ มี ความสํา คั ญต อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน ทั้งในปจ จุบัน และอนาคต ซึ่งหากมี ก ารนํา ระบบ การฝกอบรมตามความสามารถมาใชในการพัฒนาฝ มือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชน อยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
สารบัญ เรื่อง
หนา
คํานํา
ก
สารบัญ
ข
ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก
1
โมดูลการฝกที่ 4 09210201 วัสดุ และคุณสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน หัวขอวิชาที่ 1 0921020101 วัสดุ และคุณสมบัติของวัสดุ
14
หัวขอวิชาที่ 2 0921020102 ทอที่ใชในงานรถยนต
44
คณะผูจัดทําโครงการ
65
ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ขอแนะนําสําหรับผูร ับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้
1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝ กฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข อวิ ชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเข า ใช ง านระบบ แบงสว นการใชง านตามความรับ ผิด ชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดัง ภาพในหนา 2 ซึ่งรายละเอียดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
.
2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ในคูมือผูรับการฝก จะเริ่มตนที่ ค. ผังการฝกอบรม เพื่อให สอดคลองกับการนําคูมือผูรับการฝกไปใช จึงละเวน ก. ผังการจัดเตรียมระบบ และ ข. ผังการเปดรับสมัครและคัดเลือก ผูรับการฝก ค. ผังการฝกอบรม
3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถั ด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม 4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ผูรับการฝกดาวนโหลดแอปพลิ เคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวนโหลดแอปพลิ เ คชั น สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหาแอป พลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ
5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
- ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการ ฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70
เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 6
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตาม เกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว 4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก
7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก
8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาที่ตรวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถ าไม ครบ จะไม จ บหลั กสู ตรแต ได รับ การรับ รองความสามารถบางโมดูลในรายการโมดูลที่สําเร็จ เทานั้น ซึ่งสามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ
9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920163100501
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางบํารุงรักษารถยนตเพื่อให มีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน 1.2 สามารถบวก ลบ คูณ หาร จํานวนเต็ม เศษสวน และทศนิยม 1.3 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติของของเหลว หนวยการวัด ความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน เคมีเบื้องตน หลักการของของเหลว มวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรง 1.4 มีความรูเกี่ยวกับวัสดุและสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน เชน น้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน สารกันสนิม และทอที่ใชในงานรถยนต 1.5 มีความรูเกี่ยวกับเครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต 1.6 มีความรูเกี่ยวกับหนาที่และโครงสรางของสวนประกอบรถยนต 1.7 มีความรูและสามารถปฏิบัติงานการบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 2. ระยะเวลาการฝก ผู รั บ การฝ กจะได รั บ การฝ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบัน พัฒ นาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 85 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไม พร อมกัน สามารถจบกอนหรื อเกิ นระยะเวลาที่กําหนดไว ในหลั กสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการ สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 7 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 7 โมดูล 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 4.3 ผู รั บ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ า นการฝ ก ครบทุ ก หน ว ยความสามารถ จะได รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1
11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 4 1. ชื่อหลักสูตร
รหัสหลักสูตร 0920163100501 2. ชื่อโมดูลการฝก วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน รหัสโมดูลการฝก 09210201 3. ระยะเวลาการฝก รวม 5 ชั่วโมง 15 นาที ทฤษฎี 45 นาที ปฏิบัติ 4 ชั่วโมง 30 นาที 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายคุณสมบัติของน้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน และสารกันสนิมได 2. เลือกใชน้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน และสารกันสนิมได 3. จําแนกชนิดของทอยางและทอโลหะที่ใชในงานรถยนตได 4. เลือกใชทอยางและทอโลหะได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1. มีความรูเรื่องสารและสมบัติของสารเบื้องตน ความสามารถของ ผูรับการฝก 2. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 3 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถ และใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายคุณสมบัติของ หัวขอที่ 1 : วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ 0:30 2:30 3:00 น้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน และสารกันสนิมได 2. เลือกใชน้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1
12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
สารระบายความรอน และ สารกันสนิมได 1. จําแนกชนิดของทอยางและ ทอโลหะที่ใชในงานรถยนตได 2. เลือกใชทอยางและทอโลหะได
หัวขอที่ 2 : ทอที่ใชในงานรถยนต
0:15
2:00
3:15
รวมทั้งสิ้น
0:45
4:30
5:15
13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921020101 วัสดุ และคุณสมบัติของวัสดุ (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายคุณสมบัติของน้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน และสารกันสนิมได 2. เลือกใชน้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน และสารกันสนิมได
2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4.
คุณสมบัติของน้ํามันเชื้อเพลิง คุณสมบัติของสารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) คุณสมบัติของสารระบายความรอน คุณสมบัติของสารกันสนิม
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก
4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก
6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝกกําหนดได
15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
7. บรรณานุกรม คุณสมบัติของน้ํามันดีเซล. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://sites.google.com/site/namandisel/khunsmbatikhxng-naman-disel มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. เลขออกเทน และเลขซีเทน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://web.ku.ac.th/ schoolnet/snet5/topic8/octane.html วิทยาลัยเทคนิคกันทรารมย. หนวยที่ 7 วัสดุหลอลื่น. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.krtc.ac.th/html/ images/stories/chapter7.pdf แอลกา โมเอกส. องคประกอบและคุณสมบัติของสารหลอลื่น. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.elkalube.com/index.php/component/content/article/6-2009-02-26-02-26-57
16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ 1. คุณสมบัติของน้ํามันเชื้อเพลิง น้ํ ามั นเชื้ อเพลิ งที่นํ ามาใช กับเครื่ องยนต ได มาจากน้ํามันดิบที่ผ านการกลั่ นและแปรรู ป เพื่ อให เหมาะสมต อการใช งาน โดยทั่วไปจะใชอยูหลัก ๆ 2 ประเภท คือ น้ํามันเบนซินกับน้ํามันดีเซล 1.1 น้ํามันเบนซิน น้ํามันเบนซิน คือ น้ํามันเชื้อเพลิงที่ใชสําหรับการเผาไหมในเครื่องยนตแกสโซลีน ปจจุบันกระทรวงพลังงานได กําหนดใหสีของน้ํามันเบนซินคือสีเหลือง โดยน้ํามันเบนซินมีคุณสมบัติดังนี้ 1) ติดเครื่องยนต ง า ย น้ํา มัน เบนซิน สามารถระเหยกลายเปน ไอไดอยา งรวดเร็ว ในขณะที่เ ครื่องยนต ยัง มีอุณ หภูมิต่ํา ซึ่ง ชว ยใหเ ครื่อ งยนตที่ใ ชง านในแถบประเทศที่มีส ภาพอากาศหนาว สามารถติด เครื่องยนตงาย 2) มีอัตราสวนผสมที่เหมาะสม น้ํามันเบนซินจะมีอัตราสวนที่พอเหมาะตอการเผาไหม ซึ่งทําใหเครื่องยนต ติดงาย และเรงตอบสนองการใชงานไดทันที 3) ไมเกิดอาการเวเปอรล็อก (Vapour Lock) หรือ การระเหยตัวกลายเปนไอของน้ํามัน ถาน้ํามันระเหยตัว กลายเปนไออยางรวดเร็วภายในปมน้ํามันเชื้อเพลิง จะทําใหเกิดฟอง และเกิดอาการเวเปอรล็อกขึ้น ทําใหน้ํามันเชื้อเพลิงไมสามารถจายไปยังหองเผาไหมได สงผลใหเครื่องยนตเกิดอาการสะดุดและดับ 4) เรงเครื่องยนตไดอยางสม่ําเสมอ ในการเรงเครื่องยนตทุกครั้ง วงจรปมเรงในหองเผาไหมจะตองฉีดน้ํามัน เชื้อเพลิงในปริมาณที่มากกวาปกติ น้ํามันเบนซินจะระเหยตัวกลายเปนไออยางรวดเร็ว ซึ่งชวยปองกัน อาการเครื่องยนตสะดุดชั่วขณะ 5) อุนเครื่องยนตไดอยางรวดเร็ว การที่เครื่องยนตอุนตัวไดเร็วขึ้นอยูกับอัตราการระเหยกลายเปนไอของ น้ํามัน ซึ่งน้ํามันเบนซินระเหยตัวกลายเปนไอไดงาย จึงสามารถชวยใหเครื่องยนตติดไดเร็ว
ภาพที่ 1.1 น้ํามันเบนซิน 17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
1.1.1 ชนิดของน้ํามันเบนซิน น้ํามันเบนซินสามารถแบงออกได 2 ชนิด โดยแบงตามเลขออกเทน ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1) น้ํ ามั นเบนซิ นชนิ ดพิ เศษ (Premium Motor Gasoline) คื อ น้ํ ามั นเบนซิ นที่ มี ค าออกเทน 95 น้ํามันมีลักษณะใสและมีสีเหลืองออน เหมาะสําหรับใชงานกับเครื่องยนตเบนซินที่มีกําลังอัดสูง กว า อั ต ราส ว น 8:1 ขึ้ น ไป เช น รถยนต นั่ ง ทั่ ว ไป หรื อ รถบรรทุ ก ขนาดเล็ ก ที่ เ ป น ประเภท เครื่องยนตเบนซิน เปนตน 2) น้ํามันเบนซินธรรมดา (Regular Motor Gasoline) คือ น้ํามันเบนซินที่มีคาออกเทน 91 น้ํามัน มีลักษณะใสและมีสีแดง เหมาะสําหรับ ใชงานกับ เครื่องยนตเ บนซิน ที่มีกําลังอัดต่ํากวา 8:1 เชน รถยนตขนาดเล็ก รถจักรยานยนต เครื่องปนไฟ ปมน้ําขนาดเล็ก เปนตน 1.1.2 ชนิดของน้ํามันแกสโซฮอล น้ํ า มั น แก ส โซฮอล คื อ การนํ า น้ํ า มั น เบนซิ น พื้ น ฐานมาผสมกั บ เอทานอลหรื อ เอทิ ล แอลกอฮอล ซึ่ ง มี รายละเอียด ดังนี้ 1) น้ํามันแกสโซฮอล E10 (Gasohol E10) คือ การนําน้ํามันเบนซินพื้นฐานมาผสมกับเอทานอล หรือเอทิลแอลกอฮอล ในอัตราสวน น้ํามันเบนซินออกเทน 91 จํานวน 90% ตอเอทานอล 10% แบงออกเปน 2 ชนิด ดังนี้ - น้ํามันแกสโซฮอล ออกเทน 95 (Gasohol 95) คือ การนําน้ํามันเบนซินพื้นฐานมา ผสมกั บ เอทานอลหรือเอทิลแอลกอฮอล ในอัตราสว น น้ํามัน เบนซิน ออกเทน 91 จํานวน 9 สวน ผสมกับเอทานอล 1 สวน ใชกับรถยนตที่ระบุวา สามารถใชน้ํามัน แกสโซฮอล ออกเทน 95 ไดเทานั้น และไมควรใชกับรถยนตที่ไมไดใชงานเกิน 1 เดือน ขึ้นไป ปจจุบันกระทรวงพลังงานไดกําหนดใหสีของน้ํามันแกสโซฮอล ออกเทน 95 คือสีสม - น้ํามันแกสโซฮอล ออกเทน 91 (Gasohol 91) คือ การนําน้ํามันเบนซินพื้นฐานมา ผสมกั บ เอทานอลหรือเอทิลแอลกอฮอล ในอัตราสว น น้ํามัน เบนซิน ออกเทน 88 จํานวน 9 สวน ผสมกับเอทานอล 1 สวน ใชกับรถยนตที่ระบุวา สามารถใชน้ํามัน แกสโซฮอล ออกเทน 91 ไดเทานั้น และไมควรใชกับรถยนตที่ไมไดใชงานเกิน 1 เดือน ขึ้นไป ปจจุบันกระทรวงพลังงานไดกําหนดใหสีของน้ํามันแกสโซฮอล ออกเทน 91 คือสีเขียว 18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
2) น้ํามันแกสโซฮอล E20 (Gasohol E20) คือ การนําน้ํามันเบนซินพื้นฐานมาผสมกับเอทานอล หรือเอทิลแอลกอฮอล ในอัตราสวน น้ํามันเบนซินออกเทน 91 จํานวน 80% ตอเอทานอล 20% เหมาะสําหรับรถที่ตองการประหยัดน้ํามัน และไมตองการออกตัวแรง ใชไดกับรถยนตที่ ระบุวา สามารถใชน้ํามันแกสโซฮอล E20 ไดเทานั้น และไมควรใชกับรถยนตที่ไมไดใชงานเกิน 1 เดือนขึ้นไป ปจจุบันกระทรวงพลังงานไดกําหนดใหสีของน้ํามันแกสโซฮอล E20 คือสีน้ําตาล 3) น้ํามันแกสโซฮอล E85 (Gasohol E85) คือ การนําน้ํามันเบนซินพื้นฐานมาผสมกับเอทานอล หรือเอทิลแอลกอฮอล ในอัตราสวน น้ํามันเบนซินออกเทน 91 จํานวน 15% ตอเอทานอล 85% เปนน้ํามันที่ระเหยตัวเร็ว ทําใหเปลืองน้ํามัน เหมาะสําหรับรถยนตที่ไมตองการออกตัว แรง ใชไดกับรถยนตที่ระบุวา สามารถใชน้ํามันแกสโซฮอล E85 ไดเทานั้นและไมควรใชกับ รถยนตที่ไมไดใชงานเกิน 1 เดือนขึ้นไป ปจจุบันกระทรวงพลังงานไดกําหนดใหสีของน้ํามัน แกสโซฮอล E20 คือสีมวง 1.1.3 เลขออกเทน (Octane Number) คาตัวเลขที่แสดงเปนรอยละโดยมวลของไอโซออกเทน ในสวนผสมระหวางไอโซออกเทน (C8H18) และ เฮปเทน (C7H16) ซึ่งสามารถเกิดการเผาไหมไดหมด และนอกจากนี้เลขออกเทนยังเปนตัวเลขที่ใชบอกคุณภาพของ น้ํามันเบนซินดวย ดังนี้ 1) น้ํา มั น เบนซิ น ที่ มี เ ลขออกเทน 100 คือ น้ํา มั น เบนซิ น ที่ มี ส มบั ติ ก ารเผาไหม เ ช น เดี ย วกั บ ไอโซออกเทน 100% โดยมวล 2) น้ํามันเบนซินที่มีเลขออกเทน 0 คือ น้ํามันเบนซินที่มีสมบัติการเผาไหมเชนเดียวกับเฮปเทน 100% โดยมวล 3) น้ํามันเบนซินที่มีเลขออกเทน 70 คือ น้ํามันเบนซินที่มีสมบัติการเผาไหมเชนเดียวกับไอโซออกเทน 70% โดยมวล และเฮปเทน 30 % โดยมวล 1.2 น้ํามันดีเซล น้ํามันดีเซล หรือ โซลา คือ เปนผลิตภัณฑชนิดหนึ่งที่ไดจากการกลั่นน้ํามันดิบ มีชวงของจุดเดือด และความขนใส สูงกวาน้ํามันเบนซิน ปจจุบันกระทรวงพลังงานไดกําหนดใหสีของน้ํามันดีเซลคือสีเขม โดยน้ํามันดีเซลจะมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) การติดไฟ น้ํามัน ดีเ ซลที่มีคาซีเทนต่ําจะจุดระเบิด ไดชา (Long Delay Period) แตถามีคาซีเ ทนสูง จะสามารถจุดระเบิดไดเร็ว (Short Delay Period) ซึ่งชวยใหเครื่องยนตสามารถสตารทติดงาย ปองกัน 19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
การน็อคของเครื่องยนตในระหวางการเผาไหมน้ํามันเชื้อเพลิงภายในกระบอกสูบ ยืดอายุเครื่องยนต ลดควันดํา และชวยประหยัดน้ํามัน 2) ความสะอาด น้ํามันดีเซลตองสะอาดอยูเสมอ ทั้งกอนและหลังการเผาไหม เพราะระบบเครื่องยนตดีเซล ตองใชปมและหัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง สําหรับชวยในการเผาไหม 3) การกระจายตัวเปนฝอย น้ํามันดีเซลที่มีความหนืดหรือขนใสที่เหมาะสม จะสามารถกระจายตัวเปนฝอย ไดดี นอกจากนี้ความหนืดของน้ํามันดีเซลยังมีผลตอการทํางานของระบบปมน้ํามันเชื้อเพลิงดวย เนื่องจาก ในหัวฉีดทําการฉีดน้ํามันในชวงเริ่มการเผาไหม น้ํามันจะทําหนาที่หลอลื่นลูกสูบปมไปในตัว 4) อัตราการระเหยตัว อัตราการระเหยตัวของน้ํามันมีผลตอจุดเดือด (Boiling Point) จุดวาบไฟ (Flash Point) และจุดติดไฟ (Fire Point) น้ํามันดีเซลจัดวาเปนน้ํามันระเหยตัวชาหากเทียบกับน้ํามันเบนซิน โดยการวัดอัตราการระเหยตัวจะวัดจากคาอุณหภูมิที่น้ํามันระเหยตัวกลายเปนไอ แลวกลั่นตัวกลับเปน ของเหลว ถาเกิดการระเหยตัวอยางรวดเร็วจะชวยใหเครื่องยนตสตารทติดไดดีแมมีอุณหภูมิต่ํา เกิดการ ระเหยตัวปานกลางจะชวยทําใหเครื่องยนตรอนเร็ว และถาเกิดการระเหยตัวชาจะชวยในสวนของกําลัง และชวยประหยัดน้ํามัน 5) อัตราซีเทน (Cetane Number) หรือ CN คือ คาที่ใชวัดคุณภาพของน้ํามันดีเซลในเรื่องคุณสมบัติการติดไฟ ซึ่งคา CN นี้ควรสูงพอ ๆ กับความเร็วรอบของเครื่องยนต เพราะจะชวยใหติดเครื่องยนตงาย ปองกัน การน็อค และประหยัดน้ํามันเชื้อเพลิง
ภาพที่ 1.2 น้ํามันดีเซล
20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
1.2.1 ชนิดของน้ํามันดีเซล น้ํามันดีเซลสามารถแบงได 2 ชนิด ดังนี้ 1) น้ํามันดีเซลหมุนเร็ว (High Speed Diesel Oil) หรือน้ํามันโซลา หรือแกสออยล คือ เชื้อเพลิง ของเครื่ อ งยนต ดี เ ซลหมุ น เร็ ว ที่ มี ค วามเร็ ว รอบสู ง กว า 1,000 รอบต อ นาที เช น รถป คอั พ รถบรรทุก รถโดยสาร รถแทรกเตอร เรือประมง และเครื่องกําเนิดไฟฟาบางประเภท เปนตน 2) น้ํามันดีเซลหมุนชา (Low Speed Diesel Oil) คือ เชื้อเพลิงของเครื่องยนตดีเซลความเร็ว รอบปานกลาง ที่มีค วามเร็ว รอบอยูร ะหวา ง 300 – 1,000 รอบตอ นาที และเครื่อ งยนต ดีเ ซลหมุน ชา ที่มีค วามเร็ว รอบต่ํากวา 300 รอบตอ นาที เชน เครื่อ งยนตดีเ ซลขนาดใหญ เรือประมง เรือเดินสมุทร และเครื่องกําเนิดไฟฟาขนาดใหญ เปนตน 1.2.2 เลขซีเทน (Cetane number) คาตัวเลขที่แสดงเปนรอยละโดยมวลของซีเทน ในสวนผสมระหวางซีเทน (C16H34) และแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน (C11H10) ซึ่ง สามารถเกิด การเผาไหมไ ดห มด และนอกจากนี้เ ลขซีเ ทนยังเปน ตัว เลขที่ใ ชบ อกคุณ ภาพของ น้ํามันดีเซลดวย ดังนี้ 1) น้ํามันดีเซลที่มีเลขซีเทน 100 คือ น้ํามันดีเซลที่มีสมบัติการเผาไหมเชนเดียวกับซีเทน 100% โดยมวล 2) น้ํามันดีเซลที่มีเลขซีเทน 0 คือ น้ํามันดีเซลที่มีสมบัติการเผาไหมเชนเดียวกับแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน 100% โดยมวล 3) น้ํามันดีเซลที่มีเลขซีเทน 80 คือ น้ํามันดีเซลที่มีสมบัติการเผาไหมเชนเดียวกับซีเทน 80% โดย มวลในการผสมระหวางซีเทน และแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน 2. คุณสมบัติสมบัติของสารหลอลื่น สารหลอลื่นมีลักษณะเปนทั้งแกส ของเหลว และของแข็ง เพื่อความเหมาะสมตอการใชงาน เชน การใชอากาศเปน สารหลอลื่นในระบบที่มีความเร็วรอบสูง น้ํามันหลอลื่นที่ใชสําหรับเครื่องยนต เปนตน โดยสารหลอลื่นที่ดีควรมีคุณสมบัติดังนี้ 1) สารหลอลื่นประเภทจาระบี ควรมีความหนืดที่เหมาะสมตอการใชงานที่อุณหภูมิหอง และสามารถคงคา ความหนืดไดอยางดี เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในระบบ 2) เมื่ออุณหภูมิสูงสารหลอลื่นที่ดีจะไมมีการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติตาง ๆ ทั้งทางกายภาพและทางเคมี และมี อัตราการระเหยในปริมาณต่ํา 21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
3) หากอุณหภูมิต่ํา สารหลอลื่นจะยังคงไหลไดอยางเปนอิสระ 2.1 ประเภทของสารหลอลื่น สารหลอลื่นสามารถแบงประเภทไดดังนี้ 2.1.1 สารหลอลื่นลักษณะของเหลว หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา น้ํามันหลอลื่น (Lubrication Oils or Lube Oils) เชน น้ํามันเครื่อง น้ํามันเกียร และน้ํามันเฟองทาย เปนตน โดยการเลือกใชสารหลอลื่นประเภทนี้ สามารถดูไดจากเกรดของน้ํามันที่ถูกกําหนดไวตามมาตรฐานตามสภาพการใชงาน เชน - เกรดน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซิน ไดแก API, SA, SB, SC, SD, SE, SF, SG, SH, SJ, SL, SM, SN - เกรดน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซล ไดแก API, CA, CB, CC, CE, CF-4, CG-4, CH-4, CI-4 2.1.1.1 น้ํามันหลอลื่นพื้นฐาน สามารถแบงได 2 ประเภท ดังนี้ 1) น้ํามันเกียร คือ สารหลอลื่นชนิดหนึ่ง ทําหนาที่ลดแรงเสียดทาน ลดสึกหรอ ชะลางเศษโลหะ จากหนาฟนเกียรที่เกิดจากการกระเทือน และปองกันสนิม น้ํามันเกียรแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก น้ํามันเกียรธรรมดา และน้ํามันเกียรอัตโนมัติ 1.1) น้ํามันเกียรธรรมดา กระปุกเกียร ทําหนาที่เปนตัวสงกําลังเพิ่มหรือลดความเร็ว และเปลี่ยนทิศทางการหมุน โดยใชน้ํามันเกียรเปนตัวหลอลื่น ซึ่งน้ํามันเกียรจะทําหนาที่ดังนี้ - ปองกันการสึกหรอของตลับลูกปนและเฟอง - ลดการสั่นสะเทือนและลดแรงกระแทกของเฟองตาง ๆ - รักษาสภาพของเฟองตาง ๆ ใหคงทน - ลดเสียงดังอันเกิดจากการขบกันของเฟอง คุณสมบัติของน้ํามันเกียรธรรมดา มีดังนี้ - ปองกันสนิม การกัดกรอน และการสึกหรอ - มีความหนืดเหมาะสม - ตานทานการรวมตัวกับออกซิเจนไดดี - ตานทานการเกิดฟอง 1.2) น้ํามันเกียรอัตโนมัติ น้ํามันเกียรอัตโนมัติ คือ น้ํามันหลอลื่นคุณภาพสูงผสมดวยสารตาง ๆ โดยทั่วไปมีสีแดงเขม น้ํามันชนิดนี้จะถูกดูดและสงตอไปยังทอรกคอนเวอรเตอร ใชเปนตัวสงกําลังผานการหมุนของ 22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
เครื่องยนตและแรงบิดใหกับระบบสงกําลัง ในขณะเดียวกัน ความดันของน้ํามันเกียรอัตโนมัติ จะกระทํากับลิ้นของระบบควบคุมเกียรอัตโนมัติ เพื่อใหชุดสงกําลังเลื่อนเปลี่ยนเกียรได และ หลอลื่นชิ้นสวนที่หมุนอยูในชุดสงกําลัง คุณสมบัติของน้ํามันเกียรอัตโนมัติ มีดังนี้ - หลอลื่นระบบเฟองเกียร - สามารถสงกําลังผานเขาไปที่ตัวจานลอหรือตัวสงแรงบิดได - ไมทําปฏิกิริยากับคลัตชและซีล - ควบคุมแรงเสียดทานไดอยางเหมาะสม - ปองกันสนิมและการสึกกรอนในชุดสงกําลัง - ระบายความรอนที่เกิดจากทอรกคอนเวอรเตอร มาตรฐานน้ํามันเกียรอัตโนมัติ น้ํามันเกียรอัตโนมัติที่นิยมกันมาก ไดแก ชนิดของ GM (General Motor) ซึ่งน้ํามันเกียร อัตโนมัติที่ใชกับระบบของ GM จะตองมีคําวา Dexron กํากับไว เชน - Dexron II (GM 6137 - M) ซึ่งเปนมาตรฐานที่ใชกันในปจจุบันทั่วโลก - Dexron (GM 6037 - M) ซึ่งเปนมาตรฐานที่ยังใชกันบางแหงในยุโรป - Type A และ Suffix A ซึ่งเปน มาตรฐานเกาแกที่สุด น้ํามัน เกีย รที่ใชกับ ชนิดของ FORD จะมีตัวอักษรที่บอก Type กํากับไว เชน M2C33 – F (Type F) มาตรฐานที่ ใชกันทั่วโลกในยุโรป และ M 2 C 183 – CJ มาตรฐานที่ใชในอเมริกาและยุโรป 1.3) สารเพิ่มคุณภาพน้ํามันเกียร สารเพิ่ม คุณ ภาพที่จ ะใชผ สมลงไปในน้ํา มัน เกีย ร คือ สารรับ แรงกดแรงกระแทก EP สารปองกันสนิม สารปองกันการกัดกรอน สารปองกันปฏิกิริยาออกซิเดชัน และ สารปองกัน การเกิดฟอง หรือในน้ํามันเกียรบางชนิด อาจผสมโมลิบดินัมไดซัลไฟต และแกรไฟต ซึ่งเปนสาร หลอลื่นที่เกาะผิวชิ้นงาน และหลอลื่นฉุกเฉินไดดี 2) น้ํามันเฟองทาย ทําหนาที่ลดแรงเสียดทาน ลดสึกหรอ ชะลางเศษโลหะ และปองกันสนิมใน ระบบเฟองทาย น้ํามันเฟองทายและน้ํามันเกียรโดยทั่วไปใชน้ํามันชนิดเดียวกัน ซึ่งคุณสมบัติ ของน้ํามันเกียรและน้ํามันเฟองทายที่ดี มีดังนี้
23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
- มีคุณสมบัติทางความหนืดเหมาะสม น้ํามันเกียรที่มีคาความหนืดสูงจะชวยปองกัน ความเสียหายของเฟองลูกปน เสียงดัง และการรั่วของน้ํามัน จึงควรใชน้ํามันเกียรที่มี ความหนืดเหมาะสม ซึ่งคาความหนืดของน้ํามันเกียรจะเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิลดลง - ต านทานแรงกดและแรงกระแทก คุณสมบัตินี้ไ ดจ ากการเติม สาร EP (Extreme Pressure) ซึ่งจะแตกตัวออกมาจากกํามะถัน คลอรีน ฟอสฟอรัส และไอโอดีน สาร EP ทนทานตอแรงกดและแรงกระแทกมาก ทนตอความรอน และยังชวยเคลือบผิวโลหะ ที่เสียดสีกันอีกดวย - ต า นทานความร อ นและการรวมตั ว กั บ ออกซิ เ จน เมื่ อ น้ํ า มั น เกี ย ร เ สื่ อ มลง อันเนื่องมาจากความรอนและออกซิเจน ตะกอนและกรดจะกอตัวขึ้น ทําใหความหนืด ของน้ํามันเพิ่มขึ้น และมีการหลอลื่นที่ไมสมบูรณ อีกทั้ง ตะกอนที่มีความแข็งอาจ ทําใหชิ้นสวนเสียหาย - ป อ งกั น การเกิ ด ฟอง เนื่ อ งจากการเกิ ด ฟองคื อ คุ ณ สมบั ติ อั น ไม พึ ง ประสงค ข อง การหล อ ลื่ น จึ ง ควรเติ ม สารซิ ลิ โ คนโพลี เ มอร หรื อ โพลี เ มทิ ล ไซไลแทนลงไปใน น้ํามันเกียร เพื่อปองกันการเกิดฟอง 3) มาตรฐานน้ํามันเกียรและน้ํามันเฟองทาย นิยมใชมาตรฐานเดียวกันกับน้ํามันเครื่อง คือมาตรฐาน SAE และมาตรฐาน API ดังนี้ 3.1) น้ํามันเกียรและน้ํามันเฟองทายตามมาตรฐาน SAE สมาคมวิศวกรรมยานยนตแหงสหรัฐอเมริกา (SAE) ไดกําหนดมาตรฐานความหนืดของ น้ํามันเกียรและน้ํามันเฟองทาย โดยแบงออกเปน 2 ชนิด ไดแก ชนิดเกรดเดี่ยว และชนิดเกรดรวม ซึ่งมี 6 เกรดเชนเดียวกับน้ํามันเครื่อง ไดแก SAE 75W 80W 85W 90 140 และ 250 สําหรับ ประเทศไทยที่มีอากาศรอนตลอดทั้งป รถยนตขับหลังทั่วไปจึงควรใชน้ํามันเกียรเกรดเดี่ยว SAE 90 และสําหรับน้ํามันเฟองทาย ใชน้ํามันเกียรเกรดเดี่ยว SAE 140 หรือตามที่คูมือประจํา รถยนตกําหนด 3.2) น้ํามันเกียรและน้ํามันเฟองทายตามมาตรฐาน API (GL = Gear Lubricant) - GL- 1 ใชสําหรับเกียรแบบเฟองเดือยหมู เฟองหนอน รับภาระเบา และไมจําเปน ตองเติมสารเพิ่มคุณภาพ - GL- 2 ใชสําหรับเกียรเฟองหนอน เพลาลอ ซึ่งรับภาระหนักกวาประเภท GL- 1 และ จําเปนตองเติมสารเพิ่มคุณภาพ 24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
- GL- 3 ใชสําหรับเกียรประเภทเฟองเดือยหมู และกระปุกเกียรที่รับแรงไดขนาดปานกลาง ซึ่งจําเปนตองเติมสารเพิ่มคุณภาพแรงกดปานกลาง - GL- 4 ใช สํ า หรั บ เกี ย ร ป ระเภทเฟ อ งไฮปอยด ที่ ทํ า งานหนั ก ปานกลาง และมี คุณลักษณะการทํางานในขั้น MIL-L-2105 - GL- 5 ใชสําหรับเกียรประเภทเฟองไฮปอยด ที่ทํางานหนัก และมีแรงกระแทก และมี คุณลักษณะการทํางานในขั้น MIL-L-2105 - GL- 6 ใชสําหรับเกียรประเภทเฟองไฮปอยดที่มีแนวเยื้องศูนยมากกวา 2 นิ้ว และมี ความเร็วสูง 2.1.2 สารหลอลื่นลักษณะกึ่งแข็งกึ่งเหลว หรือจาระบี (Grease) เปนสารหลอลื่นที่ใชสําหรับหลอลื่นในบริเวณ ที่ไมสามารถกักเก็บน้ํามันได เชน ตลับลูกปนลอ ลูกหมาก หูแหนบ ลูกปนบางชนิด เปนตน โดยจาระบี สามารถแบงได 5 ชนิด ดังนี้ 1) จาระบีแคลเซียม (Calcium Grease) จาระบีแคลเซียม เรียกอีกชื่อหนึ่งวาจาระบีปูนขาว มีสมบัติไวตออุณหภูมิในจุดที่สามารถทําให เกิดการระเหยตัวได หากเพิ่มเกลือแคลเซียมเขาไปในจาระบีประเภทนี้ จะชวยเพิ่มสมบัติดาน การทนตอความดันสูง ๆ ได จึงนิยมใชงานกับเครื่องจักรกล
ภาพที่ 1.3 จาระบีแคลเซียม 2) จาระบีโซเดียม (Sodium Grease) จาระบีโซเดียม เปนจาระบีที่สามารถละลายน้ําไดงาย จึงมีการนํา Metal Soaps มาผสม เพื่อ เพิ่มสมบัติในดานการตานทานน้ําดีขึ้น โดยจาระบีประเภทนี้สามารถใชไดกับงานที่มีอุณหภูมิสูง ถึง 121 องศาเซสเซียส จึงนิยมใชในมอเตอรไฟฟา
25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ภาพที่ 1.4 จาระบีโซเดียม 3) จาระบีอะลูมินัม (Aluminum Grease) จาระบีอ ะลูมินัม เปน จาระบีใ สที่มีลัก ษณะคลา ยเชือ ก มีส มบัติใ นการยึด ติด และปอ งกัน การเกิดสนิม เมื่อจาระบีชนิดนี้มีอุณหภูมิสูง 79 องศาเซสเซียส จาระบีจะมีความเหนียวมากขึ้น และสรางสารที่มีลักษณะคลายยางออกมารองรับผิวโลหะ และลดระดับการหลอลื่น 4) จาระบีลิเทียม (Lithium Grease) จาระบีลิเ ทีย ม เปน จาระบีที่มีเ นื้อ เรีย บ มีส มบัติท นตอ ความรอ นสูง มีจุด หยดสูง ถึง 204 องศาเซสเซียสมีความคงทนตอแรงเฉือน นิยมใชกับเครื่องจักรที่มีความเร็วสูง
ภาพที่ 1.5 จาระบีลิเทียม 5) จาระบีชนิดอื่น ๆ (Other Grease) จาระบีชนิดอื่น ๆ ในที่นี้หมายถึง จาระบีที่ใชสารอินทรีย (Organics) และสารอนินทรีย (Inorganic) เปนสารประกอบ โดยปราศจาก Soaps ยกตัวอยางเชน 6) จาระบีโพลียูเรีย (Polyurea Grease) จาระบีโพลียูเรียนเปนจาระบีที่ใชสารอินทรียเปนสารประกอบ เพื่อทําใหน้ํามันมีความเขมขน และเกิด ความตานตอการออกซิเดชั่น ทําใหสามารถใชงานตั้งแตอุณหภูมิ -20 องศาเซสเซียส จนถึงอุณหภูมิ 177 องศาเซสเซียส และสามารถตานทานน้ําได
26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
7) จาระบีโพลียูเรียคอมเพล็กซ (Polturea Complex Grease) จาระบี โพลี ยู เรี ยคอมเพล็ กซ เปนจาระบี ที่ผลิ ตจากการนํ าโพลีเมอรมาผสมกับแคลเซี ยมอะซิเตท (Calcium Acetate) หรือแคลเซียมฟอสเฟต (Calcium Phosphate) ทําใหมีสมบัติคลายกับจาระบี อเนกประสงค 8) จาระบีออรกาโน-เคลย (Organo-Clay) จาระบีออรกาโน-เคลเปนจาระบีที่ใชสารอนินทรียเปนสารประกอบ เพื่อใหน้ํามันมีความเขมขน โดยสารอนินทรียที่นํามาใชนั้น ไดจากการดัดแปลงดินเหนียวที่ไมละลายในน้ํามัน จึงมีสมบัติ ความตานทานความรอนสูงเปนพิเศษ การใชงานจึงถูกกําหนดโดยอุณหภูมิการระเหยของน้ํามัน คือ 177 องศาเซสเซียส แตในกรณีที่ใชงานในระยะเวลาสั้น ๆ จะสามารถทนอุณหภูมิไดสูงถึง 260 องศาเซสเซียส และหากผสมสารตานทานการเกิดออกซิเดชั่นเขาไป จะชวยเพิ่มสมบัติในการ ตานทานน้ําไดอีกดวย 2.2 มาตรฐานน้ํามันเครื่องตามสภาพการใชงาน น้ํามันเครื่อง คือ น้ํามันที่ใชหลอลื่นชิ้นสวนตาง ๆ ภายในเครื่องยนต เชน ลูกสุบ เพลาขอเหวี่ยง ลูกเบี้ยว หรือ กระเดื่องกดวาลว เปนตน ซึ่งนอกจากจะชวยหลอลื่นแลว น้ํามันเครื่องยังทําหนาที่ชวยระบายความรอน ปองกันการเกิด สนิมและการกัดกรอน รวมทั้งชวยในการรักษาความสะอาดภายในเครื่องยนตอีกดวยการแบงมาตรฐานการใชงานสาร หลอลื่น โดยทั่วไปสามารถแบงได 6 มาตรฐาน ดังนี้ 1) SAE (Society of Automotive Engineers) มาตรฐานน้ํามันเครื่องที่ถูกกําหนดขึ้นโดยสมาคมวิศวกรรม ยานยนต ใชคาความหนืดของน้ํามันเครื่องเปนตัวกําหนด ยิ่งมีความหนืดมากก็จะยิ่งมีคามาก ซึ่งมาตรฐานนี้ สามารถแบงน้ํามันเครื่องออกเปน 2 ประเภทหลัก ๆ ดังนี้ - น้ํามันเครื่องเกรดเดียว (Monograde) คือ น้ํามันเครื่องที่มีคาความหนืดเดียว เชน SAE 30, SAE 40, SAE 90 เปนตน - น้ํา มัน เครื่อ งเกรดรวม (Multigrade) คือ น้ํา มัน เครื่อ งที่มีเ ลขแสดงความหนืด 2 คา ซึ่ง ตัวเลขชุดแรกจะบอกถึงการวัดคามาตรฐานในเขตหนาว สวนอักษร W ยอมาจาก Wintre Grade และเลขชุด ที ่ 2 จะบอกถึง การวัด คา ความหนืด ที ่อุณ หภูมิ 100 องศาเซลเซีย ส ยกตัวอยาง SAE 15W-40 หมายถึง น้ํามันเครื่องสามารถคงความขนใสไวไดถึงอุณหภูมิ -15 องศาเซสเซียส โดยไมเปนไข และมีคาความหนืดอยูที่หมายเลข 40 เปนตน
27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
2) API (American Petroleum Institute) มาตรฐานน้ํามันเครื่องโดยสถาบันปโตรเลียมแหงอเมริกา ทําการ กําหนดมาตรฐานน้ํามันเครื่องไว ดังนี้ - มาตรฐานน้ํามันเครื่องประเภทเครื่องยนตเบนซิน จะใชตัว S ซึ่งยอมาจาก Service Station เปนตัวกํากับ เชน SF, SH, SJ, SL เปนตน - มาตรฐานน้ํามันเครื่องประเภทเครื่องยนตดีเซล จะใชตัว C ซึ่งยอมาจาก Commercial หรือ Compression เปนตัวกํากับ เชน CC, CD, CF, CF-4, CG-4, CH-4, CD-2, CF-2 เปนตน 3) US.Military Specification หรือ MIL – L Spec. มาตรฐานทางทหารสหรัฐอเมริกา - มาตรฐานน้ํ า มั น เครื่ อ งประเภทเครื่ อ งยนต ดี เ ซล ที่ ใ ช ง านในป จ จุ บั น คื อ MIL-L-2104 D (CD/SF), MIL-L-2104 (CE/SG), MIL-L-2014 F (CF-4/SG) และ MIL-PRE-2104 G - มาตรฐานน้ํ า มั นเครื่ องประเภทเครื่ องยนตเบนซิน ที่ใชงานในป จจุบั น คือ MIL-L-46152 E (SG/CD) 4) CCMC (Committee of Common Market Constructors) มาตรฐานน้ํามันเครื่องของทางยุโรป - มาตรฐานน้ํามันเครื่องประเภทเครื่องยนตเบนซิน คือ CCMC (G1), (G2), (G3), (G4), (G5) - มาตรฐานน้ํา มัน เครื ่อ งประเภทเครื ่อ งยนตดีเ ซลงานเบา คือ CCMC (D1), (D2), (D3), (D4), (D5) - มาตรฐานน้ํ า มัน เครื ่อ งประเภทเครื ่อ งยนตด ีเ ซลที ่ใ ชก ับ รถยนตนั ่ง คือ (Passenger Diesel) : (PD-1), (PD-2) 5) ACEA (Association des Constructeurs Europeensd Automobiles) มาตรฐานน้ํามันเครื่องของยุโรป - มาตรฐานน้ํามันเครื่องประเภทเครื่องยนตเบนซิน คือ ACEA A1, A2, A3 เทียบเทา A - มาตรฐานน้ํามันเครื่องประเภทเครื่องยนตดีเซลงานเบา คือ ACEA B1, B2, B3, B4 - มาตรฐานน้ํามันเครื่องประเภทเครื่องยนตดีเซลงานหนัก คือ ACEA E1, E2, E3, E4, E5 6) Manufacturers มาตรฐานของผูผลิตยานยนตเปนผูกําหนด - มาตรฐานน้ํามันเครื่องประเภทเครื่องยนตเบนซิน คือ VW 500.00, VW 501.01, VW502.02, DB 229.1, ILSAC (GF-1), GF-2, GF-3 - มาตรฐานน้ํามันเครื่องประเภทเครื่องยนตดีเซล คือ DB 227.0/1, DB228.0/1, DB 228.2/3, DB 228.5, DB 229.1, VW 505.00, MAN 270, 271, MAN M 3275, MAN M 3277, VOLVO
28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
VDS, VOLVO VDS-2, MACK EO-K/2, MACK EO-L, MACK E0-M, SCANIA LDF, MTL 5044 TYPE 1,2,3 RVI E2, RVI E2R, RVI E3, RVI E3R, RVI RLD 3. คุณสมบัติของสารระบายความรอน สารระบายความร อน หรื อ น้ํ า ยาหล อเย็ น เครื่องยนต (Coolant) มีสว นประกอบเปน น้ํา สารหลอเย็น (Ethelene Glycol) หัวเชื้อปองกันสนิม และสีตาง ๆ โดยน้ํายาหลอเย็นจะชวยทําใหจุดเดือดของน้ําที่ผสมน้ํายาหลอเย็นสูงขึ้น ทําใหน้ํา ที่อยูในหมอน้ําเดือดชาลง และชวยถายเทความรอนในระบบหลอเย็นไดอยางรวดเร็ว โดยคุณสมบัติของสารระบายความรอน มีดังนี้
ภาพที่ 1.6 น้ํายาหลอเย็น 1) มีสมบัติปองกันน้ําในระบบหลอเย็นแข็งตัวเปนน้ําแข็ง ในชวงที่สตารทเครื่องยนตใหม ๆ 2) ชวยเพิ่มจุดเดือดของน้ํา คือ การชวยชะลอการระเหยของน้ําในระบบหลอเย็นเมื่อเครื่องยนตรอนจัด 3) ชวยปองกันการเกิดสนิม ตะกรัน และตะกอน 4) ชวยหลอลื่นปมน้ํา ซีลปมน้ํา และวาลวน้ํา 3.1 ชนิดของสารยับยั้งการกัดกรอนหรือเกิดสนิม (Corrosion Inhibitors) สารยับยั้งการกัดกรอนหรือเกิดสนิมที่มีอยูในน้ํายาเติมหมอน้ําทั่วไป มีอยูดวยกัน 3 ชนิด 1) สารเพิ่มคุณภาพอนินทรีย (Inorganic Additive Technology) หรือ IAT สารชนิดนี้จะมีสารซิลิกาเปน สวนประกอบ ทําหนาที่ปองกันชิ้นสวนตาง ๆ ในระบบระบายความรอนและทอยาง 2) สารเพิ่มคุณภาพอินทรีย (Organic Additive Technology) หรือ OAT ทําหนาที่เผาชั้นผิวโลหะออกไซด ใหกลายเปนผิวเคลือบบาง ๆ เพื่อปองกันการกั ดกร อน เนื่องจากเมื่อเกิดความชื้นหรื อมี ความชื้ น ใน อากาศ จะสงผลใหเกิดแผนสนิมที่ผิวหนาของชิ้นสวนที่เปนโลหะหรือเหล็กทันที 3) สารเพิ่มคุณภาพไฮบริดอินทรีย (Hybrid Organic Additive Technology) หรือ HOAT คือสารยับยั้ง การกัดกรอนที่มีซิลิกาและกรดอินทรียเปนสวนประกอบ 29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
3.2 อันตรายของสารกัดกรอน 1) สารกัดกรอนมีอันตรายตอผิวหนัง หากมีการสัมผัสกับสารกัดกรอน อาจสงใหเกิดอาการตาง ๆ เหลานี้ได เชน อาการระคายเคือง อักเสบ ผิวหนังไหม ในกรณีที่กระเด็นเขาดวงตา อาจสงผลใหตาบอดได 2) สารกัดกรอนมีอันตรายตอระบบทางเดินหายใจ หากผูใชสัมผัสกับไอระเหยของสารกัดกรอน อาจสงผล ใหเกิดอาการหายใจไมสะดวก แนนหนาอก หากสารมีความเขมขนสูงอาจสงผลกระทบตอการทํางานของ จมูก หลอดลม และปอดได 4. คุณสมบัติของสารกันสนิม การเกิดสนิมเปนปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นไดงาย มีปจจัยคือ น้ําและออกซิเจน เมื่อเหล็กสัมผัสกับน้ําและความชื้น จะคอย ๆ เกิด การสึกกร อนกลายเปน เหล็ กออกไซด ซึ่งมีชื่อเรี ย กทางเคมีว า ไฮเดรตเฟอริกออกไซด หรือที่ทั่ว ไปเรี ย กวา สนิมเหล็ ก โดยจะมีลักษณะเปน คราบสีแดง เพราะฉะนั้ นจึ งมีการผลิตสารกันสนิ มขึ้น เพื่อชวยยับยั้งการเกิดสนิ ม ซึ่งสารกันสนิมมี อยูดวยกันหลายประเภท เชน น้ํามันกันสนิม พลาสติกกันสนิม กระดาษกันสนิม เปนตน 4.1 ประเภทและสมบัติของสารกันสนิม 1) น้ํามันกันสนิม มีสมบัติในการแทนที่ความชื้นไดดี สามารถแทนที่สารละลายตาง ๆ เพื่อเขาไปเคลือบที่ผิว ของโลหะไดอยางรวดเร็ว และเปนของเหลวที่มีความหนืดต่ํา มีหนาที่ชวยปองกันพื้นผิวโลหะจากสนิม
ภาพที่ 1.7 น้ํามันกันสนิม 2) พลาสติกกันสนิม เมื่อใชพลาสติกกันสนิมห อหุมโลหะ สารเคมีที่อยูในพลาสติ กจะระเหย volatilize ออกมา และกลายเปนชั้นโมเลกุล ป องกัน ความชื้น เกลือ สิ่งสกปรก และออกซิเจน มีหนาที่ปองกั น การกัดกรอนและการเกิดสนิม
30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ภาพที่ 1.8 พลาสติกกันสนิม 3) กระดาษกันสนิม เมื่อใชกระดาษกันสนิมหอหุมโลหะ สารเคมีชนิดพิเศษที่เคลือบอยูบนกระดาษจะปลอย โมเลกุลออกมาเคลือบพื้นผิวโลหะ เพื่อปองกันความชื้น จึงมีหนาที่ปองกันสนิมและการกัดกรอนไดดี และสามารถปองกันสนิมไดในระยะเวลา 1 – 3 ป
ภาพที่ 1.9 กระดาษกันสนิม
31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ใบทดสอบ คําชี้แจง : ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดคือปจจัยของการเกิดสนิม ก. น้ําและคารบอนไดออกไซด ข. น้ําและออกซิเจน ค. อากาศและโมเลกุลของเหล็ก ง. ความรอนและความชื้น 2. ขอใด ไมใช หนาที่ของพลาสติกกันสนิม ก. เคลือบผิวโลหะ ข. ปองกันการกัดกรอน ค. ปองกันการเกิดสนิม ง. ปองกันความชื้น 3. จาระบีชนิดใดตอไปนี้ เปนจาระบีใสที่มีลักษณะคลายเชือก เมื่อมีอุณหภูมิสูง 79 องศาเซสเซียส จะมีความเหนียวมากขึ้น และสรางสารที่มีลักษณะคลายยางออกมารองรับผิวโลหะ ก. จาระบีลิเทียม ข. จาระบีออรกาโน – เคลย ค. จาระบีอะลูมินัม ง. จาระบีโพลียูเรีย 4. จาระบีชนิดใดตอไปนี้ นํา Metal Soaps มาผสม เพื่อเพิ่มสมบัติในดานการตานทานน้ําดีขึ้น ก. จาระบีลิเทียม ข. จาระบีโพลียูเรียคอมเพล็กซ ค. จาระบีออรกาโน – เคลย ง. จาระบีโซเดียม
32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
5. เมื่อนําน้ํามันเบนซินพื้นฐานมาผสมกับเอทานอล ในอัตราสวน น้ํามันเบนซินออกเทน 91 จํานวน 9 สวน และเอทานอล 1 สวน จะไดน้ํามันชนิดใด ก. น้ํามันแกสโซฮอล 91 ข. น้ํามันแกสโซฮอล 95 ค. น้ํามันแกสโซฮอล E 20 ง. น้ํามันแกสโซฮอล E 85 6. เมื่อแยกประเภทน้ํามันเกียรตามมาตรฐาน API น้ํามันเกียรประเภทใดใชสําหรับเกียรประเภทเฟองเดือยหมู และกระปุกเกียร ที่รับแรงไดขนาดปานกลาง ก. GL- 1 ข. GL- 2 ค. GL- 3 ง. GL- 4 7. เฟองทายแบบไฮปอยดควรใชน้ํามันเกียรแบบใด ก. GL- 1 ข. GL- 2 ค. GL- 3 ง. GL- 4 8. ขอใดไมใชสมบัติของสารระบายความรอน ก. ชะลอการระเหยของน้ําในระบบหลอเย็น ข. ปองกันการเกิดสนิม ตะกรัน และตะกอน ค. เพิ่มความเย็น ใหน้ําในระบบหลอเย็นแข็งตัวจนเปนน้ําแข็ง ง. หลอลื่นปมน้ํา ซีลปมน้ํา และวาลวน้ํา
33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
9. ขอใด คือ คุณสมบัติของน้ํามันเกียรอัตโนมัติที่ดี ก. ควบคุมแรงเสียดทานไดอยางเหมาะสม ข. ทําปฏิกิริยากับคลัตชและซีล ค. ไมตานทานการรวมกับออกซิเจน ง. ทําใหเกิดฟองไดดี 10. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับอัตราซีเทน (Cetane Number) ก. คุณสมบัติในการเผาไหมของน้ํามันดีเซล ข. คาที่ใชวัดคุณภาพของน้ํามันดีเซลในเรื่องคุณสมบัติการติดไฟ ค. อัตราการระเหยตัวของน้ํามันดีเซลไมมีผลตอจุดเดือด ง. คาความขนใสของน้ํามันดีเซล
34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
กระดาษคําตอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การตรวจสอบน้ํามัน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เลือกใชน้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน และสารกันสนิมได 2. ปฏิบัติงานการตรวจสอบน้ํามันได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 30 นาที
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบน้ํามันชนิดตาง ๆ พรอมทั้งเขียนรายละเอียดลงในตารางบันทึกผล ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ ชนิดของน้ํามัน
ลักษณะของน้ํามัน
36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
รายละเอียด
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 การตรวจสอบน้ํามัน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - หนากากชนิดแผนกรองอากาศ - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. แกวพลาสติก ความจุ 7 ออนซ
จํานวน 10 แกว
2. โตะปฏิบัติการ
จํานวน 1 ตัว
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํามันเกียรอัตโนมัติ
จํานวน 1 แกลลอน
2. น้ํามันแกสโซฮอล E20
จํานวน 1 แกลลอน
3. น้ํามันแกสโซฮอล E85
จํานวน 1 แกลลอน
4. น้ํามันแกสโซฮอล ออกเทน 91
จํานวน 1 แกลลอน
5. น้ํามันแกสโซฮอล ออกเทน 95
จํานวน 1 แกลลอน
6. น้ํามันดีเซล
จํานวน 1 แกลลอน 37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
7. น้ํามันเบนซิน
จํานวน 1 แกลลอน
8. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
หมายเหตุ : เตรียมน้ํามันใสแกวพลาสติกขนาด 7 ออนซ
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การตรวจสอบน้ํามัน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
1. เลือกหยิบน้ํามัน
ผูรับการฝกเลือกหยิบน้ํามันตามที่ครูฝก
ขณะปฏิบัติงานควร
2. สังเกตน้ํามัน
กําหนด
หลีกเลี่ยงการกอ ประกายไฟ
สังเกตสีของน้ํามันที่หยิบมา
ไมควรสูดดมไอน้ํามัน อาจเปนอันตรายตอ ระบบหายใจ และ เสี่ยงตอการเปน โรคมะเร็งปอดอีกดวย
3. บันทึกผลลงในตาราง
บันทึกชื่อ สีของน้ํามัน คุณสมบัติ และ การนําไปใชงาน ลงในตารางบันทึกผล
38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
4. ทําตามขั้นตอนที่ 2-3 อีกครั้ง
คําอธิบาย
หลัง จากบัน ทึก ผลแลว ผู ร ับ การฝก เลือ กหยิบ น้ํ า มัน ตามที ่ค รูฝ ก กํ า หนด และนําไปศึกษาตามขั้น ตอนที่ 2-3 อี ก ครั้ง จนกระทั่งตรวจสอบน้ํามัน ครบทุ ก ชนิด
39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
5. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ
ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
ฃ
40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
การตรวจสอบน้ํามัน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณหลัง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงาน 7
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตองอยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา หนากากชนิดแผนกรองอากาศ รองเทานิรภัย ชุด
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คลอย า งถู ก ต อ ง ครบทั้ง 4 ชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
ปฏิบัติการชาง ไดอยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่ม ปฏิบัติงาน
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง 3 ชิ้น ใหคะแนน 2 คะแนน
3
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คลอย า งถู ก ต อ ง นอยกวา 3 ชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน
3
สลับในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ขามขั้นตอนที่สําคัญ ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การตรวจสอบน้าํ มัน
ตรวจสอบน้ํามันไดถูกตอง ครบถวนทั้ง 7 ชนิด ใหคะแนน 5 คะแนน
5
ตรวจสอบน้ํามันไดถูกตอง 5 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบน้ํามันไดถูกตอง 3 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน ตรวจสอบน้ํามันไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 5
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
3
คะแนนที่ได
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือ ไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และ ไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 0 คะแนน 6
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
3
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตองและไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน3 คะแนน
3
ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนด 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม
23
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 16 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921020102 ทอที่ใชในรถยนต (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. จําแนกชนิดของทอยางและทอโลหะที่ใชในงานรถยนตได 2. เลือกใชทอยางและทอโลหะได
2. หัวขอสําคัญ 1. ชนิดของทอยางที่ใชในงานรถยนต 2. ชนิดของทอโลหะที่ใชในงานรถยนต
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก
4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก
6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝกกําหนดได
7. บรรณานุกรม นิวแอนดไฮด ชนิดของยาง และคุณสมบัติของยาง [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.pneu-hyd.co.th/บทความ-นิวเมติกส-ไฮดรอลิก/361-บทความ.html 45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 ทอที่ใชในงานรถยนต ทอภายในรถยนตเปนสวนที่ใชลําเลียงของเหลวหรือกาซในระบบตาง ๆ เชน ระบบสงไอเสีย ระบบสงอากาศดีขาเขา เปนตน ซึ่งจะมีคุณสมบัติแตกตางกันออกไป ดังนี้ 1. ชนิดของทอยางที่ใชในงานรถยนต ทอยางเปนทอที่ใชในงานสงถายของเหลวจากระบบหนึ่งไปยังระบบหนึ่ง ซึ่งอาจจะเปนน้ําธรรมดา น้ํามันเครื่อง น้ํามัน เชื้อเพลิง น้ํามันไฮดรอลิก หรืออาจจะใชสงถายในรูปของอากาศ กาซ ไอ ก็ได โดยในแตละระบบนั้นจะมีลักษณะการส ง ของเหลว หรือกาซที่ไมเหมือนกัน ในการเลือกใชจึงควรเลือกใชตามความเหมาะสม สาเหตุที่ไมใชทอเหล็ก เพราะทอยาง มีความยืดหยุนสูงกวา บางตําแหนงจะตองสามารถใหตัวได เชน ทอยางหมอน้ํากับเครื่องยนต สายออนเบรก ดังนั้นจึงควรให ความสําคัญในการเลือกใชทอสําหรับการใชงานในแตละระบบ 1.1 ชนิดและลักษณะของทอยางในระบบตาง ๆ 1) ทอยางหมอน้ํา จะยึดติดกับคอหมอน้ําระบายความรอน (รังผึ้ง) ซึ่งทําจากโลหะที่ถายเทความรอนไดรวดเร็ว เมื่อน้ําที่มีอุณหภูมิสูงเหลานี้ เคลื่อนตัวจากดานบนลงสูดานลาง ก็จะถายเทความรอนออกไป ใหครีบ ระบายความรอน โดยทอยางเหลานี้จะมีหนาที่ลําเลียงน้ําที่มีอุณหภูมิสูงผานหมอน้ําตอไปสูทางเขาผนัง เสื้อสูบ เพื่อทําให น้ําที่ มีอยูในระบบ ไหลเวียนไปมาระหว างโพรงผนั งห องเครื่องกับ หมอน้ําได อ ยา ง ตอเนื่อง
ภาพที่ 2.1 ทอยางหมอน้ํา 2) ทอยางถังน้ํามันเชื้อเพลิง มีหนาที่เปนทอที่เชื่อมตอระหวางถังน้ํามันเชื้อเพลิงจนถึงปากทอเติมน้ํามัน เชื้อเพลิง ซึ่งใชสําหรับการเติมน้ํามันเชื้อเพลิง
46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ภาพที่ 2.2 ทอยางถังน้ํามันเชื้อเพลิง 3) ทออากาศ มีหนาที่ลําเลียงอากาศจากหมอกรองอากาศกอนเขาหองเผาไหม เพื่อทําหนาที่ในการลําเลียง อากาศดีที่ผานการกรองจากหมอกรองอากาศ ผสมกับน้ํามันเชื้อเพลิงที่ทอรวมไอดี และเกิดการสันดาป ในหองเผาไหม โดยทออากาศนั้นจะทําการตอจากหมอกรองอากาศเขากับทอรวมไอดีและอากาศจะเขา ฝาสูบ เพื่อนําอากาศดีจากหมอกรองไปยังภายในหองเผาไหม
ภาพที่ 2.3 ทออากาศ 4) ทอหายใจหรือทอดักไอน้ํามัน มีหนาที่คอยดักไอน้ํามันเครื่องที่จะเล็ดลอดออกมาจากฝาครอบวาลว เนื่องจากการทํางานของเครื่องยนตจําเปนตองมีน้ํามันเครื่องในการหลอลื่น และระบายความรอนภายใน รวมไปถึงชิ้นสวนดานบนเครื่องยนต เชน ชุดวาลว และชุดเพลาลูกเบี้ยว เปนตน เพื่อชวยในการถายเท ความรอน นอกจากนี้ ยังชวยระบายแรงดัน ระบายไอระเหย และยังชวยในการหลอลื่นชิ้นสวนของวาลว ที่อยูในชองทางเดินอากาศ กอนที่จะเผาไหมไปบางสวนในการจุดระเบิดอีกดวย 5) ทอออยคูลเลอร ทําหนาที่ลําเลียงน้ํามันที่ผานการระบายความรอนภายในเครื่องยนตเขาและออก ในการ ระบายความรอนของน้ํามันเครื่อง ซึ่งออยคูลเลอรนั้นจะระบายความรอนดวยอากาศ และจะมีการติดตั้ง แยกตัวอยางเปนอิสระ ออยคูลเลอรนั้นจะชวยใหอุณหภูมิของน้ํามันเครื่ องนั้น คงที่ และทําใหน้ํามัน เครื่องใชงานไดอยางเต็มประสิทธิภาพ
47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ภาพที่ 2.4 ทอออยคูลเลอร 6) ทอเพาเวอรพวงมาลัย มีหนาที่ในการสงตอแรงดันน้ํามันเพาเวอรไปยังปมเพาเวอรเพื่อทําการผอนแรง การบังคับลอจากพวงมาลัย โดยเพาเวอรนั้นจะสรางแรงดันดวยปมเพาเวอร โดยการหมุนพวงมาลัย เพื่อเปลี่ยนชองทางการไหลของน้ํามันเพาเวอร
ภาพที่ 2.5 ทอเพาเวอรพวงมาลัย 7) สายออนเบรก ทํา มาจากทอ ยางไฮดรอลิก หลายชั้น หุม ดว ยยางกัน การเสีย ดสี และกัน ความรอ น สามารถออนตัวไปตามการหมุนของลอ และการขยับของชวงลางไดอยางคลองตัว
ภาพที่ 2.6 สายออนเบรก
48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
8) ทอน้ํามันคลัตชและสายออนคลัตช ทําหนาที่ลําเลียงน้ํามันคลัตช ที่มีแรงดันสูงในแบบไฮดรอลิกสงไปยัง ปมคลัตซลาง เพื่อทําหนาที่ตัดตอกําลัง
ภาพที่ 2.7 ทอน้ํามันคลัตช 1.2 มาตรฐานของทอตาง ๆ 1) SAE J30R6 มาตรฐานสายยางทอน้ํามัน ใชกับน้ํามันเบนซินธรรมดา เหมาะสําหรับใชเปนสายน้ํามัน แบบแรงดันต่ํา เชน สงน้ํามันเขาคารบูเรเตอร เปนตน 2) SAE J60R7 มาตรฐานสายยางทอน้ํามัน ใชกับน้ํามันเบนซินธรรมดา เหมาะสําหรับใชเปนสายน้ํามันไหล กลับถัง 3) SAE J30R9 สายยางทอน้ํามันเบนซินและแกสโซฮอล ใชกับระบบหัวฉีดได ทําหนาที่ลําเลียงน้ํามันนอกถัง 4) SAE J30R10 สายยางทอน้ํามันเบนซินและแกสโซฮอล ตอเขากับปมเบนซิน และสามารถอยูในถังน้ํามันได - SAE 30 R10 เปนทอที่อยูภายในถังน้ํามัน สามารถรองรับน้ํามันไดสูงสุด - SAE 30 R9 รองรับแกสโซฮอล E10 E20 E85 น้ํามันดีเซล และไบโอดีเซล ทอชนิดนี้หามแช หรือจุมในถังน้ํามัน - SAE 30 R7 รองรับน้ํามันเบนซินไรสารตะกั่ว น้ํามันดีเซล และน้ํามันเบนซิน ที่มีสวนผสมของ เอทานอล (E10) ทอชนิดนี้หามแชหรือจุมในถังน้ํามัน - SAE 30 R6 เปนรุนเการองรับแคน้ํามันเบนซินไรสารตะกั่ว น้ํามันดีเซล และไมรองรับน้ํ ามัน เบนซินที่มีสวนผสมของเอทานอลและไบโอดีเซล ทอชนิดนี้หามแชหรือจุมในถังน้ํามัน 1.3 คุณสมบัติที่ดีของทอยาง 1) เนื้อยางจะตองนิ่มและยืดหยุนตามลักษณะการใชงาน 2) ไมมีรอยแตกลายงา เปอยยุย หรือฉีกขาด 3) ไมบวม และคงรูปตามลักษณะการใชงาน 4) การใชงานเหมาะสมกับประเภทของทอยาง 5) ไมควรนํายางที่หมดอายุแลวมาใชงาน
49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
2. ชนิดของทอโลหะที่ใชในงานรถยนต ทอโลหะนั้นจะพบไดในระบบทอไอเสีย ซึ่งทําการกรองมลพิษตาง ๆ ที่ไดจากการเผาไหมในกระบอกสูบของเครื่องยนต ซึ่งไอเสียที่ไดจากการเผาไหมนั้นจะถูกลําเลียงกาซที่มีปริมาณคารบอนที่สูง จึงจําเปนที่จะตองมีการกรองไอเสียเพื่อใหเกิดมลพิษ ทางอากาศใหนอยที่สุด การระบายไอเสียออกจากเครื่องยนต ใชการขยายตัวของกาซแรงดันสูงและรอนที่จะเคลื่อนตัวหา อากาศภายนอกที่เย็น และมีแรงดันต่ํากวา รวมกับการเลื่อนตัวขึ้นของลูกสูบ ผานวาลวไอเสีย และพอรทไอเสียบนฝาสูบ ออกนอกเครื่องยนตโดยผานระบบทอไอเสีย โดยมีสวนประกอบดังตอไปนี้ 2.1 ทอรวมไอเสีย (Exhaust manifold) มีหนาที่ในการระบายแกสไอเสียที่เกิดจากการเผาไหม ออกจากกระบอก สูบทางลิ้นไอเสียของเครื่องยนต กอนรวมเปนทอเดี่ยวหรือคู เพื่อสงผานไปยังทอไอเสีย รถยนตทั่วไปมักเลือกใชทอ รวมไอเสียที่ทํามาจากเหล็ กหล อโดยมี ขนาดสั้น ซึ่งสามารถผลิตไดจํานวนมากและมี ความรวดเร็วในการผลิ ต ทอรวมไอเสียนั้นแบงไดเปน 2 ประเภท คือ ทอรวมไอเสียแบบธรรมดาและทอรวมไอเสียแบบเฮดเดอร
ภาพที่ 2.8 ทอรวมไอเสีย 2.2 หมอพัก (Muffler) มีห นาที่ในการดูดซับเสียงที่เ กิดจากทอรวมไอเสีย ซึ่งทําใหเ สียงที่เ กิดขึ้นจากเครื่องยนต เบาลง และไมเกิดการสะทอนของเสียงเขาไปยังหองโดยสาร โดยหมอพักในระบบทอไอเสียจะมีดวยกันสอง ตําแหนง คือหมอพักไอเสียกลางและหมอพักไอเสียทาย โดยหมอพักไอเสียกลางนั้นจะเชื่อมตอจากทอรวมไอเสีย สวนใหญจะเปนไสตรงหรือตรงเกลียว เพื่อประสิทธิภาพในการลดเสียง หมอพักไอเสียทายนั้นจะอยูในสวนสุดทาย สวนใหญจะติดกับปลายทอดานทายรถ มีหนาที่ซัพเสียงไมตางจากหมอพักกลางมากนัก โดยหมอพักไอเสียทายนั้น จะมีลักษณะการวางตัวทอภายในหมอพักที่แตกตางกัน เพื่อสรางแรงอั้นใหเหมาะสมกับขนาดของเครื่องยนตและ ชนิดของเกียร ดังนี้
ภาพที่ 2.9 หมอพักไอเสีย 50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
1) หมอพักไสยอน สว นใหญทอจากโรงงานจะเปน ทอประเภทนี้ โดยจะมีคุณสมบัติในการดูด ซับ เสีย ง จากเครื่องยนตไดดี ใชไดทั้งเกียรธรรมดาและเกียรอัตโนมัติ แตเหมาะกับเกียรอัตโนมัติที่สุดเพราะมี แรงอั้นสูง สงผลใหพละกําลังการออกตัวและรอบตนดี แตจะไมเหมาะกับเครื่องยนตที่มีระบบอัดอากาศ (เทอรโบ)
ภาพที่ 2.10 หมอพักไอเสียไสยอน 2) หมอพักไสเยื้อง จะมีความโลงมากกวาหมอพักไสยอน ใชไดทั้งเกียรธรรมดาและเกียรอัตโนมัติ โดย หมอพักไสเยื้องนั้นจะใหแรงอั้นที่ต่ํากวาหมอพักไสยอน อาจสงผลใหเกิดอาการขาดกําลังในรอบตน
ภาพที่ 2.11 หมอพักไอเสียเยื้อง 3) หมอพักไสตรง มีความโลงมากที่สุดในบรรดาหมอพักทั้งหมด ไมเหมาะกับรถเกียรอัตโนมัติ เนื่องจากไมมี แรงอั้น โดยหมอพักประเภทนี้จะเหมาะสําหรับรถที่มีระบบอัดอากาศ และเกียรธรรมดา
ภาพที่ 2.12 หมอพักไอเสียไสตรง
51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ
ก. = ทอรวมไอเสีย 1. ข. = ทออากาศ
ค. = หมอพักไอเสีย 2. ง. = ทอออยคูลเลอร
จ. = สายออนเบรก
3.
ฉ. = ทอยางหมอน้ํารถยนต 4.
5.
6.
52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 7. หมอพักไสตรงมีความโลงมากที่สุดในบรรดาหม อพักทั้งหมด เหมาะสําหรั บ รถยนตเกียรอัตโนมัติ 8. ทอยางถังน้ํามันเชื้อเพลิง มีหนาที่เปนทอที่เชื่อมตอระหวางถังน้ํามันเชื้อเพลิง จนถึงปากทอเติมน้ํามันเชื้อเพลิง 9. หมอพัก (Muffler) มีหนาที่ในการดูดซับเสียงที่เกิดจากทอรวมไอเสีย ซึ่งทําให เกิดการสะทอนของเสียงเขาไปยังหองโดยสาร 10. ทอรวมไอเสียนั้นแบงไดเปน 2 ประเภท คือ ทอรวมไอเสียแบบธรรมดาและ ทอรวมไอเสียแบบเฮดเดอร 11. ทอออยคูลเลอร มีหนาที่คอยดักไอน้ํามันเครื่องที่จะเล็ดลอดออกมาจากฝา ครอบวาลว 12. SAE J30R6 มาตรฐานสายยางทอ น้ํ า มัน ใชก ับ น้ํ า มัน เบนซิน ธรรมดา เหมาะสําหรับใชเปนสายน้ํามันแบบแรงดันต่ํา เชน สงน้ํามันเขาคารบูเรเตอร 13. ทอออยคูลเลอรนั้นจะระบายความรอนดวยอากาศ และจะมีการติดตั้งแยกตัว อยางเปนอิสระ 14. SAE J60R7 เปนทอที่อยูภายในถังน้ํามัน สามารถรองรับน้ํามันไดสูงสุด 15. ทออากาศมีหนาที่ลําเลียงอากาศจากหมอกรองอากาศกอนเขาหองเผาไหม 16. สายอ อ นเบรก ทํ า มาจากทอ ยางไฮดรอลิก หลายชั ้น หุ ม ดว ยยาง กันการเสียดสี และกันความรอน
53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
กระดาษคําตอบ ตอนที่ 1 จับคู ขอ
ก
ข
ค
ง
จ
1 2 3 4 5 6 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ
ถูก
ผิด
7 8 9 10 11 12 13 14 15 16
54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ฉ
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ใบงาน ใบงานที่ 2.1 การสํารวจทอยางและทอโลหะที่ใชในงานรถยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เลือกใชทอยางและทอโลหะได 2. ปฏิบัติงานสํารวจทอยางและทอโลหะที่ใชในงานรถยนตได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกสํารวจทอยางในรถยนต ประกอบทอยางเขากับหองเครื่องใหถูกตําแหนง และบันทึกผลลงในตาราง ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ ชื่อของทอ
ตําแหนงของทอในรถยนต
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 การสํารวจทอยางและทอโลหะที่ใชในงานรถยนต 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต
จํานวน 1 คัน
2. ลิฟตยกรถ
จํานวน 1 ตัว
3. ทอน้ําเขา
จํานวน 1 ทอ
4. ทอน้ําออก
จํานวน 1 ทอ
5. ทอน้ําหมอพักน้ํา
จํานวน 1 ทอ
6. ทออากาศ
จํานวน 1 ทอ
7. ทอน้ํามันเบรก
จํานวน 1 ทอ
8. ทอน้ํายาแอร
จํานวน 1 ทอ
9. สายฉีดน้ําฝน
จํานวน 1 ทอ
10. ทอไอเสียจากทอรวม
จํานวน 1 ทอ
11. ทอไอเสียจากกรองไอเสียตัวที่ 1
จํานวน 1 ทอ 56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การสํารวจทอยางและทอโลหะที่ใชในงานรถยนต ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. จอดรถ
คําอธิบาย ใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ
2. ดับเครื่องยนตและเขาเกียร
กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน
ขอควรระวัง
ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขาเกียร ที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ ปองกันรถไหล 3. เปดฝากระโปรงหนารถ 4. สํารวจทอยางในหองเครื่อง
เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไมค้ํายัน
ล็อกไมค้ํายันฝา กระโปรงหนารถทุกครั้ง เพื่อปองกันไมใหฝา กระโปรงปด ระหวาง ปฏิบัติงาน
57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย ผูรับ การฝก จํา ตํา แหนง ทอ ยางตา ง ๆ ใน หองเครื่อง เปนเวลา 15 นาที
5. เลือกหยิบทอยาง
หลังจากจําตําแหนงของทอแลว ใหผูรับการ ฝกเลือกหยิบทอยางที่ครูฝกเตรียมไวบนพื้น ครั้งละ 1 ทอ
6. สังเกตและบันทึกผล
สั ง เกตลั ก ษณะของท อ ยาง และบั น ทึ ก ชื่ อ ของทอยาง และตําแหนงของทอยางใน หองเครื่อง ลงในตารางบันทึกผล
7. ทําตามขั้นตอนที่ 5-6 อีกครั้ง
หลังจากบัน ทึ กผลแลว ใหผู รับการฝ ก เลือกหยิบ ท อยางใหม และทําตามขั้น ตอน ที่ 6-7 อีกครั้ง จนกระทั่งครบทุกทอ
58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ยกรถขึ้น
คําอธิบาย ขอควรระวัง เลื่ อ นแขนของจานรองรั บ รถให อ ยู ใ น ห า มนํ า จานไปรองรั บ ตําแหนงรองรับรถ จากนั้นกดสวิต ช ย กรถ บ ริ เ ว ณ พื้ น ร ถ ห รื อ ขึ้นในตําแหนงที่ต องการ
บริเวณที่ไมใชจุดรองรั บ
เพื่อยกรถขึ้น ดวยลิ ฟตย กรถ
เพราะจะทํ า ให ตั ว ถั ง ชํารุด
9. สํารวจทอโลหะในรถยนต
ผู ร ับ การฝก จํ า ตํ า แหนง ทอ โลหะตา ง ๆ เปนเวลา 10 นาที
10. เลือกหยิบทอโลหะ
หลังจากจําตําแหนงของทอแลว ใหผูรับ การฝกเลือกหยิบทอโลหะที่ครูฝกเตรียมไว บนพื้นครั้งละ 1 ทอ
59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
11. สังเกตและบันทึกผล
คําอธิบาย
สังเกตลักษณะของทอโลหะ และบันทึกชื่อ ของทอยาง และตําแหนงของทอยางในหอง เครื่อง ลงในตารางบันทึกผล
12. ทําตามขั้นตอนที่ 10-11 อีกครั้ง
หลัง จากบัน ทึก ผลแลว ใหผู ร ับ การฝก เลือกหยิบ ท อยางใหม และทําตามขั้ น ตอน ที่ 10-11 อีกครั้ง จนกระทั่งครบทุกท อ
60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 13. นํารถลง
คําอธิบาย ขอควรระวัง กดสวิตชนํารถลงสูระดับ พื้ นราบปกติ และ ระวังอยาใหมีคนหรือสิ่ง เลือ่ นแขนของจานรองรับรถออก โดยใหแขน กีดขวางใตทองรถ หรือ ของคานอยูในตําแหนงขนานกับเสา
บริเวณใกลเคียง ขณะนํา
ผู ขั บ ขึ้ น รถ และขั บ รถออกจากลิ ฟ ต ย กรถ รถลง จากนั้ น พั บ แขนของลิ ฟ ต ย กรถเก็ บ ให เรียบรอย
14. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณสถานที่ อุปกรณ
ปฏิบัติงาน และจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหเรียบรอย
61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
การสํารวจทอยาง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
การสํารวจทอโลหะ
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
หลังปฏิบัติงาน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คลอย า งถู ก ต อ ง
รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติการชาง ไดอยางถูกตองและ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
ครบทั้ง 3 ชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง 2 ชิ้น
3
ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง 1 ชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน
3
ใหคะแนน 3 คะแนน สลับในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ขามขั้นตอนที่สําคัญ ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การสํารวจทอยาง
บอกชื่อและตําแหนงของทอยางไดถูกตอง ครบถวน
5
ใหคะแนน 5 คะแนน บอกชื่อและตําแหนงของทอยางผิด 1 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน บอกชื่อและตําแหนงของทอยางผิด 2 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน บอกชื่อและตําแหนงของทอยางผิดตั้งแต 3 ชนิดขึ้นไป ใหคะแนน 0 คะแนน 5
การสํารวจทอโลหะ
บอกชื่อและตําแหนงของทอโลหะไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน บอกชื่อและตําแหนงของทอโลหะผิด 1 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน
63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
บอกชื่อและตําแหนงของทอโลหะผิด 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 0 คะแนน 7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
3
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนด 1-5 นาที ใหคะแนน 2คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
28
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
3. นายธวัช
เบญจาทิกุล
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
4. นายสุรพล
พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา
ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน
ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก
7. นายวัชรพงษ
มุขเชิด
ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ
คําเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพสาลี
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกลา
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กําภู ณ อยุธยา
สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงควัฒนานุรักษ
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
11. นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 4
66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน