คู่มือผู้รับการฝึก ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 1 โมดูล 5

Page 1

.

หนาปก



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

คูมือผูรับการฝก 0920164170201 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 5 09217205 การตอสายไฟฟา

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

คํา นํา

คูม ือ ผูรับ การฝก สาขาชา งเครื่อ งปรับ อากาศในบา นและการพาณิช ยข นาดเล็ก ระดับ 1 โมดูล 5 การตอ สายไฟฟา ฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่ง พัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการ พัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูรับการฝกไดใชเปนเครื่องมือในการฝกอบรม ใหเปนไปตามหลั กสู ตร กลาวคือ หลังเรียนจบโมดูลการฝ ก ผูรับการฝกสามารถตอสายไฟแบบตาง ๆ รวมถึงตรวจหาขั้ ว คอมเพรสเซอรไดอยางถูกตอง ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรีย นรูไ ด ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแ ก ผูรับการฝกอบรม และตองการใหผู รับ การฝ กอบรมเกิ ดการเรีย นรูด วยตนเอง การฝกปฏิบัติ จะดํ าเนิ น การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชใ นการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรีย นรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรีย มการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรีย มและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดม ากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคาใช จายในการพั ฒ นาฝมือแรงงานใหแ ก กําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝ ก ที่ มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใ ชแ รงงานผูวางงาน นักเรีย น นักศึกษา และผูประกอบอาชีพ อิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

เรื่อง

สารบัญ

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

1

โมดูลการฝกที่ 5 09217205 การตอสายไฟฟา หัวขอวิชาที่ 1 0921720501 การตอสายไฟแบบตาง ๆ

14

หัวขอวิชาที่ 2 0921720502 การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอร

104

คณะผูจัดทําโครงการ

122

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูม ือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด วย หัวขอวิชาที่ผูรับการฝกตองเรีย นรูแ ละฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูลและรหัสหัวขอวิชาเป นตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรีย นรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนํา ความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑม าตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรีย นรูข องผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรีย นรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบีย น เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผา นอุป กรณอิเล็กทรอนิก สหรือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขา ใช ง านระบบ แบงสวนการใชง านตามความรั บผิ ด ชอบของผู มีส ว นได ส ว นเสีย ดั ง ภาพในหน า 2 ซึ่งรายละเอีย ดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

. 2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ในคูมือผูรับการฝก จะเริ่ม ตนที่ ค. ผังการฝกอบรม เพื่อให สอดคลองกับการนําคูมือผูรับการฝกไปใช จึงละเวน ก. ผังการจัดเตรียมระบบ และ ข. ผังการเปดรับสมัครและคัด เลือก ผูรับการฝก ค. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิ บั ติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่อ อิเ ล็ก ทรอนิ กส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม 4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถั ดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผูรับการฝกดาวนโหลดแอปพลิเคชั น DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวนโหลดแอปพลิ เ คชั น สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหาแอป พลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิ เคชั น DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถั ดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด วยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการ ฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 6

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตาม เกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว 4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาทีต่ รวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถาไมครบ จะไมจบหลักสูตรแตได รับการรับ รองความสามารถบางโมดู ลในรายการโมดูล ที่สํา เร็ จเท า นั้ น ซึ่งสามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและ การพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164170201

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางเครื่องปรับอากาศในบา น และการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก เพื่ อ ให มี ค วามรู ค วามสามารถและทั ศ นคติ ต ามมาตรฐานฝ มื อ แรงงานแห ง ชาติ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูใ นการปฏิบัติงานเกี่ย วกับงานชางไฟฟา งานชางเครื่องทําความเย็น และชางเครื่องปรับอากาศ ไดอยางปลอดภัย 1.2 มีความรูเกี่ย วกับหนว ยวั ดของระบบต าง ๆ ที่ใ ชงานในเครื่ องทํา ความเย็ นและเครื่อ งปรั บอากาศ และ สามารถอานแบบเครื่องกล แบบทางไฟฟาเบื้องตน รวมทั้งแบบวงจรไฟฟาที่เกี่ย วกับงานเครื่องทําความเย็น 1.3 มีความรูเกี่ยวกับทฤษฎีไฟฟา 1.4 มีความรูความสามารถในการใชงานเครื่องมือวัดงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ 1.5 มีความรูความสามารถในการตอสายไฟฟาตามแบบที่กําหนด 1.6 มีความรูความสามารถในการตัด ปรับแตง ขยาย บาน ดัด และการเชื่อมทอทองแดง 1.7 มีความรูเกี่ยวกับหลักการทําความเย็นและสารทําความเย็น 1.8 มีความรูเกี่ยวกับสวนประกอบระบบทําความเย็นแบบแกสอัดไอ 1.9 มีความรูความสามารถในการตรวจสอบวงจรไฟฟาในเครื่องปรับอากาศ 1.10 มีความรูความสามารถในการติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับ การฝ กในภาคทฤษฎีแ ละภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝมื อแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 82 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝ ก จบการฝ กไมพ รอมกั น สามารถจบกอ นหรือ เกิ น ระยะเวลาที่ กํา หนดไวใ นหลักสูต รได 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใ หอยูใ นดุ ล ยพิ นิ จ ของผู อํา นวยการ สถาบั น พั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน หรื อ ผู อํา นวยการสํา นั ก งานพั ฒ นาฝ มื อ แรงงานที่ เ ป น หน ว ยฝ ก ตามความสามารถ จะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 10 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 10 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผา นการฝก ครบทุ กหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. ชางเครื่องปรับอากาศในบา นและการพาณิชยข นาดเล็ก ระดับ 1

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 5 1. ชื่อหลักสูตร 2. ชื่อโมดูลการฝก 3. ระยะเวลาการฝก 4. ขอบเขตของหนวย การฝก

รหัสหลักสูตร 0920164170201 รหัสโมดูลการฝก 09217205 รวม 14 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 12 ชั่วโมง หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุม ดา นความรู ทักษะ และเจตคติแ กผูรั บการฝ ก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. บอกขั้นตอนการตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได 2. ตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได 3. บอกวิธีการตอสายไฟฟาดวยอุปกรณได 4. ใชอุปกรณในการตอสายไฟได 5. บอกขั้นตอนการเขาขั้วสายดวยหางปลา 6. เขาขั้วสายดวยหางปลาได 7. บอกขั้นตอนการใชวายนัทตอสายได 8. ใชวายนัทตอสายได 9. บอกขั้นตอนการใชหลอดตอสายไฟได 10. ใชหลอดตอสายไฟได 11. บอกขั้นตอนการบัดกรี และการพันฉนวนได 12. บัดกรี และพันฉนวนได 13. บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และการกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได 14. ตรวจสอบ และกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 การตอสายไฟฟา

5. พื้นฐาน ความสามารถของ ผูรับการฝก

ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1. มี ค วามรู พื้ น ฐานเกี่ ย วกั บชนิ ด ของสายไฟ การต อ สายไฟ หรื อ ผ า นการฝ ก อบรม เกี่ยวกับการตอสายไฟ จากหนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานการฝกโมดูลที่ 4 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ 12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ผลลัพธการเรียนรู

ชื่อหัว ขอวิชา

1. บอกขั้นตอนการตอสายไฟฟา หัวขอที่ 1 : การตอสายไฟแบบตาง ๆ แบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียว ได 2. ตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยว และสายตีเกลียวได 3. บอกวิธีการตอสายไฟฟา ดวยอุปกรณได 4. ใชอุปกรณในการตอสายไฟได 5. บอกขั้นตอนการเขาขั้วสาย ดวยหางปลา 6. เขาขั้วสายดวยหางปลาได 7. บอกขั้นตอนการใชวายนัท ตอสายได 8. ใชวายนัทตอสายได 9. บอกขั้นตอนการใชหลอด ตอสายไฟได 10. ใชหลอดตอสายไฟได 11. บอกขั้นตอนการบัดกรี และ การพันฉนวนได 12. บัดกรี และพันฉนวนได 13. บอกขั้นตอนการตรวจสอบ หัวขอที่ 2 : การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอร และการกําหนดขั้ว คอมเพรสเซอรได 14. ตรวจสอบ และกําหนด ขั้วคอมเพรสเซอรได รวมทั้งสิ้น

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1:30 10:00 11:30

0:30

2:00

2:30

2:00

12:00 14:00


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1

0921720501 การตอสายไฟแบบตาง ๆ (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกขั้นตอนการตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได 2. ตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียวได 3. บอกวิธีการตอสายไฟฟาดวยอุปกรณได 4. ใชอุปกรณในการตอสายไฟได 5. บอกขั้นตอนการเขาขั้วสายดวยหางปลา 6. เขาขั้วสายดวยหางปลา 7. บอกขั้นตอนการใชวายนัทตอสายได 8. ใชวายนัทตอสายได 9. บอกขั้นตอนการใชหลอดตอสายไฟได 10. ใชหลอดตอสายไฟได 11. บอกขั้นตอนการบัดกรี และการพันฉนวนได 12. บัดกรี และพันฉนวนได

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

การตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียว การใชอุปกรณตอสายไฟ การเขาขั้วสายดวยหางปลา การตอสายดวยวายนัท การใชหลอดตอสายไฟ การบัดกรีและพันฉนวน

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม นพ มหิษานนท. 2555. การเดินสายไฟและติดตั้งอุปกรณไฟฟา. นนทบุรี : คอรฟงกชั่น บุญสืบ โพธิ์ศรี ; และคณะ. 2550. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมอาชีวะ. วิวรรธน บุรภัธรเวศมกุล. 2556. วิธีการตอสายไฟแบบตาง ๆ . [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.tic.co.th/index.php?op=tips-detail&id=68 ไวพจน ศรีธัญ. 2556. การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมอาชีวะ.

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 การตอสายไฟฟาแบบตาง ๆ ชนิดของสายไฟ เนื่องจากสายไฟฟาเปนสื่อกลางในการนําเอากําลังไฟฟาจากแหลงตนกําลังไปยังสถานที่ตาง ๆ ที่ตองการใชไฟฟาไป ติดตั้งใชงาน ดังนั้น การไฟฟานครหลวงจึงแนะนําการเลือกใชสายไฟฟาอยางเหมาะสม ดังตอไปนี้ 1) ใชเฉพาะสายไฟฟาที่ไดมาตรฐาน จากสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมซึ่งมีเครื่องหมาย มอก.112553 เทานั้น 2) สายไฟฟาชนิดที่ใชเดินภายในอาคารหามนําไปใชเดินนอกอาคาร เนื่องจากแสงแดดจะทําใหฉนวนแตกกรอบ ชํารุด ดังนั้น สายไฟชนิดที่ใ ชเดินนอกอาคารจึงมักจะมีการเติมสารปองกันแสงแดดไวใ นเปลือกหรือฉนวน ของสาย สารปองกันแสงแดดสวนใหญที่ใชกันโดยมากนั้นจะเปนสีดํา แตอาจจะเปนสีอื่นก็ได การเดินรอยใน ทอก็มีสวนชวยปองกันฉนวนของสายจากแสงแดดไดในระดับหนึ่ง 3) เลือกใชชนิดของสายไฟใหเหมาะสมกับสภาพการติดตั้งใชงาน เชน สายไฟชนิดออนหามนําไปใชเดินยึ ดติ ด กับผนังหรือลากผานบริเวณที่มีการกดทับสาย เชน ลอดผานบานพับประตู หนาตาง หรือตู เปนตน เนื่องจาก ฉนวนของสายไมสามารถรับแรงกดกระแทกจากอุปกรณจับยึดสายหรือบานพับได ดังนั้น การเดินสายใตดิน จึงตองใชสายชนิดทีเ่ ปนสายใตดิน (เชน สายชนิด NYY) พรอมทั้งมีการเดินรอยในทอเพื่อปองกันสายใต ดิ น ไมใหเสียหาย เปนตน 4) เลื อ กขนาดของสายไฟฟ าใหเ หมาะสม คื อ ต อ งใช ส ายตั วนํ า ทองแดงและเลื อกใหเ หมาะสมกั บขนาด แรงดันไฟฟา (1 เฟส หรือ 3 เฟส) ปริมาณกระแสไฟฟาที่ใชงาน และสอดคลองกับขนาดของฟวสหรือสวิ ตช อัตโนมัติ (เบรกเกอร ) ที่ใ ช สําหรับขนาดสายเมนและสายต อหลั กดิ น นั้ น ตองสอดคลอ งกั บขนาดของ เมนสวิตชและขนาดของเครื่องวัดฯ ดวย ชนิดของสายไฟฟา สายไฟฟาตาม มอก. 11-2531 เปนตัวนําทองแดงที่ใชกันเปนสวนใหญ โดยแตละชนิดจะมีลักษณะที่แตกตางกัน ดังนั้น จึงจําเปนตองตองพิจารณาเลือกใชใ หถูกตองและเหมาะสมตาม ตารางที่ 1.1 ซึ่งแสดงลักษณะสายไฟตามมาตรฐาน มอก. 11-2531 และขอกําหนดในการติดตั้ง โดยมีทั้งหมด 17 ชนิด ทั้งนี้ ชนิดที่ไดรับความนิย มในการใชงาน ไดแ ก VAF, VSF, THW, VCT และ NYY เปนตน

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ตารางที่ 1.1 ขอกําหนดการใชงานของสายไฟฟาที่ผลิตตาม มอก. 11-2531 (อุณหภูมิใชงาน 70 องศาเซลเซียส) มอก.

ชนิดของสาย

ชื่อเรียก แรงดันไฟฟา

11-2531

ที่กําหนด

ตารางที่

(โวลต)

1

สายไฟฟาหุมฉนวน

IV

แกนเดียว

HIV

300

ลักษณะการติดตั้ง

- เดินลอยตองยึดดวยวัสดุฉนวน - เดินในชองเดินสายในสถานที่แหง - หามรอยทอฝงดินหรือฝงดินโดยตรง

2

สายไฟฟาหุมฉนวนมี

VAF

เปลือกนอกแกนเดียว

VAF-S

300

สายกลม - เดินลอย เดินเกาะผนัง เดินซอนในผนัง

สายแบน 2 แกนและ

- เดินในชองเดินสาย

สายแบน 3 แกน

- หามฝงเดินโดยตรง - เดินรอยทอฝงดินไดแตตองปองกันไมใหน้ําเขา ภายในทอ และปองกันไมใหสายแชน้ํา สายแบน - เดินเกาะผนัง เดินซอนในผนัง - หามเดินในชองเดินสาย ยกเวน รางเดินสาย - หามรอยทอฝงดินหรือฝงดินโดยตรง

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 มอก. 11-2531

ชนิดของสาย

ชื่อเรียก แรงดันไฟฟา ที่กําหนด

ตารางที่ 3

ลักษณะการติดตั้ง

(โวลต) สายไฟฟาหุมฉนวนมี

VVR

300

เปลือกนอกหลายแกน

- ใชงานทั่วไป - หามฝงดินโดยตรง - เดินรอยทอฝงดินไดแตตองปองกันไมใหน้ําเขา ภายในทอ และปองกันไมใหสายแชน้ํา

4

สายไฟฟาหุมฉนวนแบบ

THW

750

แกนเดียว

- เดินลอยตองยึดดวยวัสดุฉนวน - เดินในชองเดินสายในสถานที่แหง - หามฝงดินโดยตรง - เดินรอยทอฝงดินไดแตตองปองกันไมใหน้ําเขา ภายในทอ และปองกันไมใหสายแชน้ํา

5

สายไฟฟาหุมฉนวนมี

VVF

เปลือกนอกแกนเดียว และสายแบน 2 แกน

VVF-S

750

- เหมือนสายในตารางที่ 2

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 มอก. 11-2531

ชนิดของสาย

ชื่อเรียก แรงดันไฟฟา ที่กําหนด

ตารางที่

6

ลักษณะการติดตั้ง

(โวลต)

สายไฟฟาหุมฉนวนมี

NYY

750

เปลือกนอกแกนเดียว

- ใชงานทั่วไป - เดินรอยทอฝงดิน - ฝงดินโดยตรง

7

สายไฟฟาหุมฉนวนมี

NYY

750

เปลือกนอกหลายแกน

- ใชงานทั่วไป - เดินรอยทอฝงดิน - ฝงดินโดยตรง

8

สายไฟฟาหุมฉนวนมี

NYY-N

750

- ใชงานทั่วไป

เปลือกนอก 3 แกน

- เดินรอยทอฝงดิน

สายนิวทรัล

- ฝงดินโดยตรง 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 มอก. 11-2531

ชนิดของสาย

ชื่อเรียก แรงดันไฟฟา ที่กําหนด

ตารางที่

9

(โวลต)

สายไฟฟาหุมฉนวนมี

VCT

750

เปลือกนอก

10

ลักษณะการติดตั้ง

- ใชงานทั่วไป - เดินรอยทอฝงดิน

สายไฟฟาหุมฉนวนและ

VSF

เปนสายชนิดออนตัวได

VFF

300

- ใชตอเขาเครื่องใชไฟฟาชนิดหยิบยกไดและใชตอ เขาดวงโคม

VTF

11

สายแบน 2 แกนและ

B-GRD

สายแบน 3 แกน

VAF-G

300

- เดินเกาะในผนัง เดินซอนในผนัง - หามเดินในชองเดินสาย ยกเวน รางเดินสาย

มีสายดิน 21

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 มอก. 11-2531

ชนิดของสาย

ชื่อเรียก แรงดันไฟฟา ที่กําหนด

ตารางที่

ลักษณะการติดตั้ง

(โวลต) - หามรอยทอฝงดินหรือฝงดินโดยตรง

12

13

สายไฟฟาหุมฉนวนมี

VVR -

เปลือกนอกหลายแกน

GRD

สายแบน 2 แกนมี

VVF-

สายดิน

GRD

300

- ใชงานทั่วไป - หามฝงดินโดยตรง

750

- เดินเกาะในผนัง เดินซอนในผนัง - หามเดินในชองเดินสาย ยกเวน รางเดินสาย - หามรอยทอฝงดินหรือฝงดินโดยตรง

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 มอก. 11-2531

ชนิดของสาย

ชื่อเรียก แรงดันไฟฟา ที่กําหนด

ตารางที่

14

ลักษณะการติดตั้ง

(โวลต)

สายไฟฟาหุมฉนวนแบบ

NYY-

มีเปลือกนอกหลายแกนมี

GRD

750

- ใชงานทั่วไป - ฝงดินโดยตรง

สายดิน

15

16

สายไฟฟาหุมฉนวนมี

VCT-

เปลือกนอกมีสายดิน

GRD

สายไฟฟาหุมฉนวน

VFF-

750

- ใชตอเขาเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณไฟฟา

300

- ใชตอเขาเครื่องใชไฟฟาชนิดหยิบยกไดและใชตอ

GRD

เขาดวงโคม

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 มอก. 11-2531

ชนิดของสาย

ชื่อเรียก แรงดันไฟฟา ที่กําหนด

ตารางที่

ลักษณะการติดตั้ง

(โวลต)

17

สายไฟฟาหุมฉนวนมี

VFF-F

300

- ใชตอเขาเครื่องใชไฟฟาทั่วไป

เปลือกนอกหลายแกน

การเทียบเคียงสายไฟมาตรฐาน มอก. 11-2531 และ มอก.11-2553 การเทียบเคียงสายไฟฟาตามมาตรฐาน มอก.11-2531 และ มอก.11-2553 โดยเทียบเคียงสีฉนวนและรหัสชนิดเคเบิล หรือชื่อเรียกบางชนิด ดังตารางตอไปนี้ ตารางที่ 1.2 การเทียบเคียงสีฉนวนสายไฟฟา ชื่อสายไฟ

สีฉนวน

สีฉนวน

มอก.11-2531

มอก.11-2553

L1

ดํา

น้ําตาล

L2

แดง

ดํา

L3

น้ําเงิน

เทา

N

เทา หรือ ขาว

ฟา

G

เขียวแถบเหลือง

เขียวแถบเหลือง

สีฉนวน ตามมาตรฐาน มอก.11-2553 1 แกน : ไมกําหนดสี 2 แกน : สีฟาและสีน้ําตาล 3 แกน : สีฟา สีน้ําตาล และสีเขียวแถบเหลือง หรือ สีน้ําตาล สีดํา และสีเทา 4 แกน : สีน้ําตาล สีดํา สีเทา และสีเขียวแถบเหลือง หรือ สีฟา สีน้ําตาล สีดํา และสีเทา 5 แกน : สีฟา สีน้ําตาล สีดํา สีเทา และสีเขียวแถบเหลือง หรือ สีฟา สีน้ําตาล สีดํา สีเทา 24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ตารางที่ 1.3 การเทียบเคียงรหัส ชนิดของสายไฟฟา รหัสชนิด

เทียบเคียง มอก.11-2531

สีฉนวนและลักษณะของสาย มอก.11-2553

60227 IEC

THW

01

ทั้งตัวนําเดี่ยวแข็งและตีเกลียว ไมกําหนดสีฉนวน ขนาด 1.5-400 ตร.มม. แรงดันไฟฟา 450/750 V

60227 IEC

THW

05

ตัวนําเดี่ยวแข็ง ไมกําหนดสีฉนวน ขนาด 0.5-1 ตร.มม. แรงดันไฟฟา 300/500 V

60227 IEC 02

VSF ตัวนําฝอย ไมกําหนดสีฉ นวน ขนาด 1.5-240 ตร.มม. แรงดันไฟฟา 450/750 V

60227 IEC

NYY

10

ตัวนําตีเกลียว กําหนดสีฉนวน 2 แกนขึ้นไฟ ขนาด 1.5-35 ตร.มม. แรงดันไฟฟา 300/500 V

60227 IEC 52

VCT ตัวนําฝอย กําหนดสีฉนวน 2 แกนขึ้นไป ขนาด 0.5-0.7 ตร.มม. แรงดันไฟฟา 300/500 V

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 รหัสชนิด

เทียบเคียง มอก.11-2531

สีฉนวนและลักษณะของสาย มอก.11-2553

VAF VAF-G

ตัวนําเดี่ยวแข็งหรือตีเกลียวกําหนดสีฉ นวน ขนาด 1-16 ตร.มม. แรงดันไฟฟา 300/500 V

VCT

-

VCT-G ตัวนําฝอย กําหนดสีฉนวน 2 แกนขึ้นไป ขนาด 4-35 ตร.มม. แรงดันไฟฟา 470/750 V

NYY

-

NYY-G

ตัวนําตีเกลียว กําหนดสีฉนวน 2 แกนขึ้นไป แรงดันไฟฟา 470/750 V

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ความสัมพันธระหวางพื้นที่หนาตัด ความยาวของสายไฟฟาและกระแสไฟฟา ในการเลือกใชสายไฟฟาอยางเหมาะสม ตองคํานึงถึงความสัมพันธระหวางพื้นที่หนาตัด ความยาวของสายไฟฟ าและ กระแสไฟฟา เนื่อ งจากเมื่อ ใหกระแสไฟฟา ผานเสน ลวดตัว นํา ชนิด เดีย วกัน และความยาวเสน ลวดตัว นํา เทา กัน แต พื้ น ที่ ห น า ตั ด ของเส น ลวดตั ว นํ า ต า งกั น เส น ลวดตั ว นํ า ที่ มี พื้ น ที่ ห น า ตั ด ใหญ จ ะมี ค วามต า นทานน อ ยกว า เส น ลวดที่ มี พื้นที่หนาตัดเล็ก แตหากใชลวดตัวนําชนิดเดียวกันที่มีพื้นที่หนาตัดเทากัน แตความยาวเสนลวดตางกัน เสนลวดตัวนําที่มี ความยาวจะมี ค วามต า นทานมากกว าเสน ลวดตั วนํ า ที่ มีค วามยาวน อ ย ส ว นเส น ลวดตั ว นํ า ต า งชนิ ด ที่ มี ค วามยาวและ พื้นที่หนาตัดของเสนลวดเทากัน จะมีความตานทานตางกัน ขนาดพื้นที่หนาตัดของเสนลวดตัวนํา มีผลตอความตานทานไฟฟาและกระแสไฟฟา ที่เคลื่อนผานเสนลวดตัวนํา ดังนั้น ในการตอวงจรไฟฟ าจึ งต องคํา นึ งถึง กระแสไฟฟาที่ใ ชกับ เครื่ องใช ไฟฟา ชนิด นั้ น ๆ กลาวคือ เครื่องใชไ ฟฟา ที่ตองการกระแสไฟฟามาก เชน เตารีด หมอหุงขาวไฟฟา เปนตน จะตองตอกับสายไฟฟาที่มีพื้นที่หนาตัดขนาดใหญ เพราะถาใชข นาดเล็กอาจจะเกิดความรอนมาก เพราะกระแสไฟฟาเคลื่อนที่ผานเสนลวดในปริม าณมากจนทําใหเกิด ความรอนที่อาจกอใหเกิดเพลิงไหม นอกจากนี้ยังไมควรใชเตาเสีย บหลายอันเสีย บบนเตารับอันเดีย ว เพราะจะทําให กระแสไฟฟาที่เคลื่อนที่ผานสายไฟฟาของเตารับมากวาที่สายไฟฟาของเตารับนั้นจะทนได ดังนั้น เพื่อความปลอดภัย ควร เลือกใชขนาดสายไฟฟาใหเหมาะสมกับการใชงานตาง ๆ ขนาดของสายไฟฟา การเลือกสายไฟฟาที่มีขนาดเหมาะสมกับการใชงานจะทําใหการใชงานเปนไปไดอยางเต็มประสิทธิภาพ รวมถึงกอใหเกิด ความปลอดภัยแกผูใชงานดวยเชนกัน 1) ขนาดของสายไฟฟาตามขนาดของเมนสวิตช ในการเลือกสายไฟสายเมนและสายตอหลักดินนั้ นต องสอดคลองกับขนาดของเมนสวิ ตชแ ละขนาดของ เครื่องวัดฯ ดวย ตามตารางตอไปนี้ ตารางที่ 1.4 ขนาดสายไฟฟาตามขนาดของเมนสวิตช ขนาดเครื่องวัดฯ

เฟส

(แอมแปร)

ขนาดสูงสุด

ขนาดต่ําสุดของสายเมนและ

แรงดันไฟฟา

ของเมนสวิตช

(สายตอหลักดิน) **ตร.มม.

ของสายเมน

(แอมแปร)

สายเมนในอากาศ

สายเมนในทอ

(โวลต)

5 (15)

1

16

4 (10)

4,10** (10)

300

15 (45)

1

50

10 (10)

16 (10)

300

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 30 (100)

1

100

25 (10)

50 (16)

300

50 (150)

1

125

35 (10)

70 (25)

300

15 (45)

3

50

10 (10)

16 (10)

750

30 (100)

3

100

25 (10)

50 (16)

750

50 (150)

3

125

35 (10)

70 (25)

750

200

3

250

95 (25)

150 (35)

750

400

3

500

240 (50)

500 (70)

750

หมายเหตุ * สายตอหลักดินขนาด 10 ตร.มม. ใหเดินในทอ สวนสายเมนที่ใหญกวา 500 ตร.มม. ใหใชสายตอหลักดิน ขนาด 95 ตร.มม. เปนอยางนอย ** สายเมนที่ใชเดินในทอฝงดินตองไมเล็กกวา 10 ตร.มม. 2) ขนาดของสายตอหลักดิน สายตอหลักดินตองมีขนาดไมเล็กกวาที่กําหนดไว ตามตารางตอไปนี้ ตารางที่ 1.5 ขนาดต่ําสุดของสายตอหลักดิน ขนาดสายเมนเขาอาคาร

ขนาดต่ําสุดของสายตอหลักดิน

(ตัวนําทองแดง) (ตร.มม.)

(ตัวนําทองแดง) (ตร.มม.)

ไมเกิน 35

10 (ควรเดินในทอ)

เกิน 35 แตไมเกิน 50

16

เกิน 50 แตไมเกิน 95

25

เกิน 95 แตไมเกิน 185

35

เกิน 185 แตไมเกิน 300

50

เกิน 300 แตไมเกิน 500

70

เกิน 500

95

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 3) ขนาดของสายดินปองกัน สายดินที่เดินไปยังอุปกรณไฟฟา (บริภัณฑไฟฟา) หรือเตารับใหมีข นาดเปนไปตามขนาดปรับตั้งของเครื่ อง ปองกันกระแสเกินตาม ตารางตอไปนี้ ตารางที่ 1.6 ขนาดต่ําสุดของสายดินของบริภัณฑไฟฟา พิกัดหรือขนาดปรับตั้งของ

ขนาดต่ําสุดของสายดินของบริภัณฑไฟฟา

เครื่องปองกันกระแสเกิน ไมเกิน (แอมแปร)

(ตัวนําทองแดง) (ตร.มม.)

20

2.5*

40

4*

70

6*

100

10

200

16

400

25

500

35

800

50

1000

70

1250

95

2000

120

2500

185

4000

240

6000

400

หมายเหตุ * เครื่องปองกันกระแสเกิน อาจจะเปนฟวสหรือเบรกเกอร (สวิตชอัตโนมัติ) ก็ได หมายถึง ขนาดต่ําสุดของสายดิน ของบริภัณฑไฟฟาสําหรับที่อยูอาศัยหรืออาคารของผูใชไฟฟาที่อยูหางจากหมอแปลงระบบจําหนายระยะไมเกิน 100 เมตร หากเกินระยะ 100 เมตร ใหศึกษาเพิ่ม เติม จากมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟา สําหรับประเทศไทย หรือใชข นาดเทากับ ขนาดสายเสนไฟ

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 4) ขนาดสายไฟฟาที่มีสายดิน การเลือกขนาดสายดินนั้นจะขึ้นอยูกับขนาดกระแสลัดวงจรและความเร็วของอุปกรณปองกันดังนั้นในกรณีที่ สายดินเดินดวยสายเดี่ย ว เชน สาย IEC 01 สีเขีย ว หากไมมีขอมูลใด ๆ ทางการไฟฟานครหลวงแนะนําใหใช ขนาดสายดินเทากับขนาดสายเสนไฟ สําหรับ มอก. 11-2553 ไดกําหนดขนาดของสายดิน ตามตารางดังตอไปนี้ ตารางที่ 1.7 ขนาดสายไฟฟาที่มีสายดินตาม มอก. 11-2553 ขนาดสายไฟฟาที่มีสายดินตาม มอก. 11-2553 ขนาดสายเสนไฟ (ตร.มม.)

ขนาดสายดิน (ตร.มม.)

25.0

16.0

35.0

16.0

50.0

25.0

70.0

35.0

95.0

50.0

120.0

70.0

150.0

95.0

185.0

95.0

240.0

120.0

300.0

150.0

ขนาดสายไฟฟาตามการใชงาน การเลือกใชขนาดสายไฟฟาใหเหมาะสมกับสภาพการใชงานตาง ๆ ตองเปนไปตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟา สําหรับ ประเทศไทย

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ตารางที่ 1.8 ตารางแสดงขนาดกระแสของสายไฟฟา มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟา สําาหรับประเทศไทย ขนาดกระแสของสายไฟฟาทองแดงหุมฉนวนพีวีซี มี/ ไมมีเปลือกนอก สําหรับขนาดแรงดัน (U๐/U) ไมเกิน 0.6/1 กิโลโวลต อุณหภูมิตัวนํา 70 ºC อณุหภูมิโดยรอบ 40 ºC เดินในชองเดินสายในอากาศ ลักษณะการติดตั้ง

กลุมที่ 1

จํานวนตัวนํา

2

กระแส ลักษณะ ตัวนํากระแส

กลุมที่ 2 3

2

แกนเดียว หลายแกน แกนเดียว หลายแกน

3

แกน

หลาย

แกน

หลาย

เดียว

แกน

เดียว

แกน

รูปแบบการติดตั้ง รหัสชนิดเคเบิลที่

60227 IEC 01, 60227 IEC 02, 60227 IEC 05, 60227 IEC 06, 60227 IEC 10, NYY, NYY-G,

ใชงาน

VCT, VCT-G, IEC 60502-1 และสายที่มีคุณสมบัติพิเศษตาง ๆ เชน สายทนไฟ สายไรฮาโลเจน สายควันนอย เปนตน

ขนาดสาย

ขนาดกระแส (แอมแปร)

(ตร.มม.) 1

10

10

9

9

12

11

10

10

1.5

13

12

12

11

15

14

13

13

2.5

17

16

16

15

21

20

18

17

4

23

22

21

20

28

26

24

23

6

30

28

27

25

36

33

31

30

10

40

37

37

34

50

45

44

40

16

53

50

49

45

66

60

59

54

25

70

65

64

59

88

78

77

70

35

86

80

77

72

109

97

96

86

50

104

96

94

86

131

116

117

103

70

131

121

118

109

167

146

149

130

95

158

145

143

131

202

175

180

156

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ขนาดกระแสของสายไฟฟาทองแดงหุมฉนวนพีวีซี มี/ ไมมีเปลือกนอก สําหรับขนาดแรงดัน (U๐/U) ไมเกิน 0.6/1 กิโลโวลต อุณหภูมิตัวนํา 70 ºC อณุหภูมิโดยรอบ 40 ºC เดินในชองเดินสายในอากาศ ลักษณะการติดตั้ง

กลุมที่ 1

จํานวนตัวนํา

2

กระแส ลักษณะ ตัวนํากระแส

กลุมที่ 2 3

2

แกนเดียว หลายแกน แกนเดียว หลายแกน

3

แกน

หลาย

แกน

หลาย

เดียว

แกน

เดียว

แกน

รูปแบบการติดตั้ง รหัสชนิดเคเบิลที่

60227 IEC 01, 60227 IEC 02, 60227 IEC 05, 60227 IEC 06, 60227 IEC 10, NYY, NYY-G,

ใชงาน

VCT, VCT-G, IEC 60502-1 และสายที่มีคุณสมบัติพิเศษตาง ๆ เชน สายทนไฟ สายไรฮาโลเจน สายควันนอย เปนตน

ขนาดสาย

ขนาดกระแส (แอมแปร)

(ตร.มม.) 120

183

167

164

150

234

202

208

179

150

209

191

188

171

261

224

228

196

185

238

216

213

194

297

256

258

222

240

279

253

249

227

348

299

301

258

300

319

291

285

259

398

343

343

295

400

-

-

-

-

475

-

406

-

500

-

-

-

-

545

-

464

-

หมายเหตุ กลุมที่ 1 คือ สายแกนเดียวหรือสายหลายแกนสายหุมฉนวน มี/ไมมีเปลือกนอก เดินในทอโลหะหรืออโลหะในฝา เพดานที่เปนฉนวนความรอน หรือผนังกันไฟ กลุมที่ 2 คือ สายแกนเดียวหรือหลายแกนหุมฉนวน มี/ไมมีเปลือกนอก เดินในทอโลหะหรืออโลหะเดินเกาะ ผนังหรือเพดาน หรือฝงในผนังคอนกรีตที่คลายกัน 32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 การตอสายไฟฟา คือ การตอตัวนําตั้งแต 2 สายขึ้นไปใหเปนตัวนําอันเดีย วกัน ดวยการบิดตีเกลียวตัวนําดวยคีม หรือเครือ่ งมือสําหรับการตอสายไฟ ซึ่งรอยตอของสายไฟตองทนทานตอแรงที่กดทับรอยตอ และกระแสไฟตองสามารถ ไหลผานตัวนําไดตลอด ถาหากรอยตอนั้นตีเกลียวหลวมไปก็จะนํากระแสไฟฟาไดไมดี ทําใหเกิดความรอนขึ้นและนําพา ความเสียหายใหเกิดขึ้นได ดังนั้น ผูปฏิบัติงานจึงตองกระทําดวยความระมัดระวังเพื่อปองกันปญหาที่จะเกิดขึ้น ซึ่งวิธีการตอ สายไฟมีหลายชนิดผูปฏิบัติงานจึงควรศึกษาเพื่อเลือกใชใหเหมาะสม ดังนี้ 1. การตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยวและสายตีเกลียว 1.1 การตอสายตอตรงแบบเดี่ยว เปนการตอสายแบบรับแรงดึง ใชในสายรหัสชนิด 60227 IEC 01 วิธีการตอคือใหปอกปลายสายเสนที่ 1 และเสนที่ 2 ใหมีความยาวประมาณ 10 เซนติเมตร จากนั้นใชคีมบิดสายเสนที่ 1 พันรอบสายเสนที่ 2 แลวใชคีมบิดสายเสนที่ 2 พัน รอบสายเสนที่ 1 ทําเชนนี้ไปเรื่อย ๆ ดานละประมาณ 5 – 8 รอบ เพื่อไมใหสายคลายตัว

ภาพที่ 1.1 การตอสายตอตรงแบบเดี่ยว 1.2 การตอสายตอตรงแบบคู เปนการตอสายแบบรับแรงดึงใชใ นสายรหัสชนิด VAF วิธีการตอคือ ปอกฉนวนชั้น นอกใหย าว 15 เซนติเ มตร จากนั้น ตัด สายสีน้ํา ตาลและสีฟา ใหม ีค วามยาว 6 เซนติเ มตร และ 9 เซนติเ มตรตามลํา ดับ แลว ปอกฉนวนใหมี ความยาว 5 เซนติเมตร ใชคีม บิดสายสีน้ําตาลเสนที่ 1 พันรอบสายสีน้ําตาลเสนที่ 2 แลวใชคีมบิดสายสีน้ําตาลเสนที่ 2 พันรอบสายสีน้ําตาลเสนที่ 1 สวนสายสีฟาก็ทําเชนเดียวกับสีน้ําตาล ใหทําเชนนี้ดานละประมาณ 5 – 8 รอบ เพื่อไมใ ห สายคลายตัว

ภาพที่ 1.2 การตอสายตอตรงแบบคู 33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 1.3 การตอสายไฟฟาแบบหางเปย เปนการตอสายไฟฟาแบบไมรับแรงดึง ในสายรหัสชนิด 60227 IEC 01 วิธีการตอ คือ ปอกปลายสายไฟฟาทั้งสอง เสนใหมีความยาวประมาณ 5 เซนติเมตร แลวนําปลายสายมาไขวกันโดยใชมือหรือคีมบิดตีเกลียวใหแ นน ระยะเกลียวเสมอ กันตลอดเพื่อความสวยงามแข็งแรง ซึ่งการตอแบบหางเปยนิยมใชตอในกลองตอสายทั่วไป

ภาพที่ 1.3 การตอสายไฟฟาแบบหางเปย 1.4 การตอสายไฟฟาแบบแยกทางเดียว หรือแบบตัว ที (T – Tap) เปน การตอ สายไฟฟา แบบไมรับ แรงดึง ใชตอสายแยกออกจากสายเมน วิธีการตอ คือ ปอกสายเมนที่บริเวณ กึ่งกลางใหยาวประมาณ 2 เซนติเมตร สวนสายที่จะนํามาตอแยกใหปอกปลายสายยาวประมาณ 4 เซนติเมตร นําคีมบิด สายแยกพันรอบสายเมนตีเกลียวใหแนน เพื่อไมใหสายคลายตัว

ภาพที่ 1.4 การตอสายไฟฟาแบบแยกทางเดียว 1.5 การตอสายไฟฟาแบบแยก 2 ทาง เปนการตอสายไฟฟาตั้งแต 2 เสนขึ้นไปเพื่อแยกออกจากสายเมน ซึ่งเปนแบบไมรับแรงดึง วิธีการตอ คือ ปอก สายเมนที่บริเ วณกึ่ง กลางใหย าวประมาณ 3 เซนติเ มตร สวนสายที่จะนํามาตอแยก แตละเสนใหปอกปลายสายยาว ประมาณ 4 เซนติเมตร จากนั้นนําคีมบิดสายแยกพันรอบสายเมนทีละเสน ตีเกลียวใหแนน เพื่อไมใหสายคลายตัว

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.5 การตอสายไฟฟาแบบแยก 2 ทาง 1.6 การตอสายไฟฟาออนเขากับสายไฟฟาแข็ง เปนการตอสายไฟฟาแบบไมรับแรงดึง ซึ่งใชในการตอสายออนเชน สายรหัสชนิด 60227 IEC 02 กับสายแข็งเชน สายรหัสชนิด 60227 IEC 01 วิธีการตอ คือ ปอกสายทั้ง 2 ชนิด ใหมีความยาวประมาณ 4 เซนติเมตร แลวนําสายออนพัน รอบสายแข็งประมาณ 5 – 8 รอบ แลวจึงพับสายแข็งวกกลับใหทับเกลียว

ภาพที่ 1.6 การตอสายไฟฟาออนเขากับสายไฟฟาแข็ง 1.7 การตอสายไฟฟาตีเกลียวแบบตรง ใชในการตอสายขนาด 6 ตารางมิลลิเมตร (มม.2) ขึ้นไป ซึ่งเปนการตอสายไฟฟาแบบรับแรงดึง โดยวิธีการตอ คือ ปอก ปลายสายเสนที่ 1 และเสนที่ 2 ใหยาวประมาณ 10 เซนติเมตร แยกสายตีเกลียวแตละเสนออก แลวนํามาประสานกันโดยใช คีมบิดสายที่แยกออกของเสนที่ 1 พันรอบสายที่แยกออกของเสนที่ 2 แลวนําสายที่แยกออกของเสนที่ 2 พันรอบสายที่แยก ออกของเสนที่ 1 ทําเชนนี้ดานละประมาณ 5 – 8 รอบ ไลไปทีละเสนจนครบทั้งหมด

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.7 การตอสายไฟฟาตีเกลียวแบบตรง 1.8 การตอสายไฟฟาตีเกลียวแบบแยก ใชในการตอสายขนาด 6 ตารางมิลลิเมตร (มม.2) ขึ้นไป ซึ่งเปนการตอสายไฟฟาแบบไมรับแรงดึง ซึ่งสามารถทําได 3 แบบ ดังนี้ 1.8.1 แบบ Ordinary Tap Splice วิธีการตอ คือ ปอกสายเมนบริเวณกึ่งกลางใหย าวประมาณ 3 เซนติเมตร สวนสายที่จะนํามาตอแยก ใหป อกปลายสายยาวประมาณ 7 เซนติเ มตร จากนั้น แยกสายตีเ กลีย วของสายแยกเปน 2 สว นเทา ๆ กัน แลวนําไปสวมเขาที่กึ่งกลางของสายเมน พันสายแยกสวนที่ 1 เขากับสายเมน จากนั้นคอยพันสวนที่ 2 ใหมี ทิศทางตรงขามกันจนครบทั้งดานซายและขวา

ภาพที่ 1.8 การตอสายไฟฟาตีเกลียวแบบแยกแบบ Ordinary Tap Splice

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 1.8.2 แบบ Y Splice วิธีการตอ คือ ปอกสายเมนบริเวณกึ่งกลางใหย าวประมาณ 3 เซนติเมตร สวนสายที่จะนํามาตอแยก ใหปอกปลายสายยาวประมาณ 10 เซนติเมตร จากนั้นจึงพันสายแยกตีเกลียวสายเมนทั้งหมด

ภาพที่ 1.9 การตอสายไฟฟาตีเกลียวแบบแยกแบบ Y Splice 1.8.3 แบบ Split Tap Splice วิธีการตอ คือ ปอกสายเมนบริเวณกึ่งกลางใหย าวประมาณ 3 เซนติเมตร สวนสายที่จะนํามาตอแยก ใหปอกปลายสายยาวประมาณ 10 เซนติเมตร จากนั้นแยกสายตีเกลียวของสายแยกเปน 2 สวนเทา ๆ กัน แลวนําไปสวมเขาที่กึ่งกลางของสายเมน พันสายแยกทีละเสนเขากับสายเมนจนครบทั้งดานซายและขวา

ภาพที่ 1.10 การตอสายไฟฟาตีเกลียวแบบแยกแบบ Split Tap Splice

2. การใชอุปกรณในการตอสายไฟ ในปจจุบันมีหลากหลายวิธีที่สามารถนําไปใชในการตอปลายสายไฟเขาดวยกัน หนึ่งในนั่นคือการใชขั้วตอสายไฟ และ เทอรมินอล ซึ่งสะดวกรวดเร็วและประหยัดเวลามากขึ้น โดยในปจจุบันมีการพัฒนาหลายหลายรูปแบบ ดังนี้ 2.1 ตัวตอสายสปลิตโบลต ใชสําหรับจับยึดรวมสายเคเบิลใหญ ๆ วิธีการตอ คือ ใหวางสายตอรูปตัวยูบนสายไฟที่ไมตัดสายนั้น วางดวยแผน โลหะทองแดงประสมคั่น แลวจึงนําเอาสายตัวนําที่จะตออีกสายลงไปในรอง จากนั้นจึงขันนอตใหแนน

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.11 ตัวตอสายสปลิตโบลต 2.2 ขั้วตอสายแบบกดรัดสาย ใชสําหรับตอปลายสายไฟที่ดานหลังสวิตชหรือปลั๊กไฟตัวเมีย วิธีการตอ คือ งอสายใหรอบสกรูตามเข็มนาฬิกา หมุนสกรูไปทางขวามือ จะทําใหสกรูดึงสายไฟใหตึงโดยสายไมหลุดจากที่ตอสายนั้น

ภาพที่ 1.12 ขั้วตอสายแบบกดรัดสาย 2.3 ขั้วตอสายแบบลูกเตา เปนพลาสติกรูปสี่เหลี่ยมตอกันเปนแถว ซึ่งในการใชงานจะตัดออกใหเหลือเพียงที่ใชจริงเทานั้น เหมาะสําหรับการ ตอสายจํานวนสองเสนเพื่อเพิ่มความยาว หรือใชตอกับสายขนาดเล็ก เมื่อเสียบสายไฟไปที่ชองรูเสียบขั้วแลวจะถูกยึด ดวยแรงสปริงหรือแรงกดของสกรู เมื่อไมใชงานแลว ใหใชไขควงหรือลวดแข็ง ๆ ดันลวดสปริงใหอาออกจากชองรูเสียบ แลวจึงดึงปลายสายไฟนั้นออกมา แมวาลูกเตาจะเปนแถวยาวติดตอกัน แตวาลูกเตาแตละลูกจะไมตอถึงกันในทางไฟฟา

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.13 ขั้วตอสายแบบลูกเตา 2.4 ขั้วตอสายแบบเชอรแมน ใชตอสายไฟโดยนําสกรูขันยึดสายไฟ แลวใชเทปพันรอบที่ตอ

ภาพที่ 1.14 ขั้วตอสายแบบเชอรแมน 2.5 ขั้วตอสายแบบสกอตโชลก ใชตอสายไฟโดยวิธีการตอเหมือนวายนัท โดยใชสปริงจับยึดสายเชนเดียวกัน

ภาพที่ 1.15 ขั้วตอสายแบบสกอตโชลก 2.6 ขั้วตอสายอะลูมิเนียม ใชตอสายไฟฟาตัวนําอะลูมิเนียมเขาดวยกัน แลวพันเทปภายหลัง

ภาพที่ 1.16 ขั้วตอสายอะลูมิเนียม

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 2.7 ขั้วตอสายแบบแยกสาย ใชในการตอสายไฟฟาเขากับสายเมน แลวตอแยกสายเมนลงมา โดยใชนอตขันเขากับตัวแยกสายเพื่อจับยึดสายไว ใหแนน แข็งแรงทนทานดี

ภาพที่ 1.17 ขั้วตอสายแบบแยกสาย 2.8 หัวหมวกย้ําสาย ใชตอสายไฟโดยวิธีการตอเหมือนวายนัท แลวกดย้ําดวยเครื่องย้ําพิเศษใหรอยตอนั้นแนนยิ่งขึ้น แลวจึงพันเทป ภายหลัง

ภาพที่ 1.18 หัวหมวกย้ําสาย 2.9 การตอสายไฟฟาผานเทอรมินอล สามารถวิธีการตอสายตามลักษณะของเทอรมินอล 3 ประเภทดังนี้ 2.9.1 การเขาสายแบบ Screw ใชหลักการยึดสายดวยสกรูบีบอัดล็อก ซึ่งใหการยึดแนนที่ดีเปนวิธีแรกเริ่มและ ไดรับความนิยมเปนอยางมาก

ภาพที่ 1.19 การเขาสายแบบ Screw

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 2.9.2 การเขาสายแบบ Tension Spring ใชหลักการสปริงเปนตัวกดล็อกสาย มีขอดีที่ไมตองซอมบํารุง เขา สายไดงาย ประหยัดเวลา สามารถใชไขควงทั่วไปในการเขาสาย มีความแข็งแรง สามารถเขาสายไดทั้ง การใชสายปกติและการใช Ferrule การเขาสายทําไดรวดเร็ว

ภาพที่ 1.20 การเขาสายแบบ Tension Spring 2.9.3 การเขาสายผานระบบ Push In เปนวิธีการเขาสาย โดยใสเขาโดยตรงไมตองใชเครื่องมือแตอยางใด แต ใชเทคโนโลยีข องการใช ที่มีประสิทธิภาพสูง เปนรูปแบบที่มีความรวดเร็วในการเขาสายมาก เหมาะ สําหรับผูสรางเครื่องจักรและงานอาคาร เนื่องจากสามารถเขาสายที่มีข นาดถึง 10 mm² กระแส 57 A และแรงดันถึง 1000 V

ภาพที่ 1.21 การตอสายตรงแบบ Push In

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 3. การเขาขั้วสายดวยหางปลา หางปลามีดวยกันหลายรูปแบบ บางชนิดถูกออกแบบมาเพื่อใชงานเฉพาะ อยางไรก็ตามสามารถจําแนกหางปลาออกเปน 2 กลุมคือ 1) จําแนกจากวัสดุและมาตรฐานการผลิต และ 2) จําแนกจากรูปแบบการใชงาน โดยในแตละกลุมที่จําแนก ออกไปนั้นมีรายละเอียดปลีกยอยแตกตางกันออกไปไมมากนัก โดยรายละเอียดไดดังนี้ 3.1 จําแนกจากวัสดุและมาตรฐานการผลิต 1)

Solderless Terminal คือหางปลาที่ทําจากแผนทองแดง ที่มีลักษณะพับขึ้นรูปแลวเชื่อมรอยตอนั้ น บางคนเรียกวา “หางปลาทรงญี่ปุน” เหมาะกับงานที่ใชกระแสไมสูงมากใชกับสายตีเกลียว หรือสายฝอย ไมเหมาะกับสายทองแดงตัน (Solid) การย้ําหางปลาจะใชแบบกด

ภาพที่ 1.22 หางปลาทรงญี่ปุน (Solderless Terminal) 2)

Tubular Cable Lugs คือหางปลาที่ทําจากทอทองแดงตัดตามขนาดแลวทําการกดเปลี่ย นรูปทรงใหได ตามแบบที่ตองการ บางครั้งเรียกวา “หางปลาทรงยุโรป” เหมาะกับงานที่มีกระแสสูงใชไ ด กับ สายไฟ ทุกชนิด สามารถย้ําไดทั้งแบบกดและแบบหกเหลี่ยม

ภาพที่ 1.23 หางปลาทรงยุโรป (Tubular Cable Lugs) 3)

DIN Terminal คือหางปลาชนิด Tubular Cable Lugs ที่ผลิตขึ้นตามมาตรฐานของ DIN ซึ่งตองผลิต ตามขอกําหนดดังนี้ 1) วัสดุที่ใชตองเปน E-CU เทานั้น 2) ขนาดและรูปรางตองไดมาตรฐาน 3) การย้ําตองเปนแบบหกเหลี่ยมเทานั้น หางปลาแบบนี้คลายแบบ Tubular ตางกันที่มีข นาดใหญแ ละหนากวาและมีจุด Mark ไวใ หสะดวก

ในการกําหนดรอยย้าํ หางปลาแบบ DIN นิยมใชกับงานที่ตองการกระแสสูง ๆ และมีความแนนอนของระบบ เชน วงจรไฟฟา โรงจักรไฟฟา เปนตน 42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.24 DIN Terminal 3.2 การจําแนกหางปลาจากรูปแบบการใชงาน สามารถแบงออกได 3 ประเภท โดยแตละประเภทยังแบงออกไดเปนแบบหุมฉนวนและแบบไมหุมฉนวน ดังนี้ 1) หางปลากลม (Ring Terminal Lug)

ภาพที่ 1.25 หางปลาแบบกลม (ไมหุมฉนวน)

ภาพที่ 1.26 หางปลาแบบกลม (หุมฉนวน)

2) หางปลาแฉก (Spade Terminal Lug หรือ Y-Type Lug)

ภาพที่ 1.27 หางปลาแบบแฉก (ไมหมุ ฉนวน)

ภาพที่ 1.28 หางปลาแบบแฉก (หุมฉนวน)

3) หางปลาเหลี่ยม (Square Terminal Lug)

ภาพที่ 1.29 หางปลาเหลี่ยม (ไมหมุ ฉนวน)

ภาพที่ 1.30 หางปลาเหลี่ยม (หุมฉนวน) 43

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 นอกจากนี้เรายังสามารถใชหางปลาเปนตัวเชื่อมระหวางสายไฟกับเทอรมินอลไฟฟาตาง ๆ ได โดยเฉพาะสกรูเทอรมินอล เนื่องจากหางปลาจะชวยเพิ่ม ความสะดวกในการถอดและติดตั้ง เพราะเพียงแคขันสกรูยึดไวก็จะทําใหการเชื่อมตอทางไฟฟา สมบูรณ แนนหนา และแข็งแรง เมื่อตองการตัดการเชื่อมตอทางไฟฟา ก็เพีย งคลายสกรูออกเพื่อไมใหเนื้อโลหะสัมผัสกัน นอกจากนี้ ยังสามารถทนแรงดันไดสูง (ประมาณ 300 - 600 V) และทนกระแสไดสูงมากอีกดวย (ทนกระแสไดตามเบอร AWG สายไฟ) ขอสังเกตสีของปลอกฉนวน ตามมาตรฐานแลว ปลอกฉนวนหางปลาจะมีสีหลัก ๆ อยู 4 สี คือ แดง น้ําเงิน ดํา และเหลือง ซึ่งแตละสีจะแบงตาม ขนาดสายไฟที่ใช ดังนี้ 1) สีแดง : ขนาดสายไฟ 22-16 AWG หรือ 0.5 - 1.5 DIN mm² 2) สีน้ําเงิน : ขนาดสายไฟ 16-14 AWG หรือ 1.5 - 2.5 DIN mm² 3) สีดํา : ขนาดสายไฟ 14-12 AWG หรือ 2.5 - 4.0 DIN mm² 4) สีเหลือง : ขนาดสายไฟ 12-10 AWG หรือ 4.0 - 6.0 DIN mm² การตอหางปลา การตอหางปลาหรือการเขาสายหางปลาและอุปกรณไฟฟานั้น มักนิยมใชสําหรับตอสายเพื่อยึดปลายสายเขากับอุปกรณ เชน การตอสายเขากับจุดตอสาย การตอสายเขากับเมน หรือ เบรกเกอร เปนตน เพราะการตอสายลักษณะดังกลาว ไมควร ยึดสายเขากับจุดตอสายโดยตรง เพราะถาสายบริเวณจุดตอไมแนนพอที่จะนํากระแสไฟฟาไดสะดวก อาจทําใหเกิดความรอน และไฟไหมได โดยมีวิธีการตอสายไฟฟาเขากับหางปลาดังนี้ 1. ปอกสายไฟใหไดความยาวของทองแดงเทากับความยาวของปลอก และบวกอีก 10% ของความยาวปลอก 2. หลังจากปอกสายแลว ตองทําความสะอาดตัวนําดวยผาหรือแปรงใหสะอาดกอนทําการย้ําหางปลา 3. นําหางปลาสวมทับกับปลายสายโดยดันเขาไปจนสุดตําแหนงที่จะบีบ 4. ใชคีมบีบที่หางปลาจนแนน 5. ในกรณีที่หางปลามีสกรู ใหคลายสกรูที่จะตอกับหางปลาออกกอน แลวเสียบหางปลาเขาไปจนสุด จากนั้นจึง ขันสกรูใหแนน แตถาหางปลาปลายเจาะรู (ไมใชชนิดเปด) จะตองคลายสกรูออกมาทั้งตัวกอนจึงจะใสสายได 6. ทดสอบแรงดึง โดยหางปลาตองทนแรงดึงใหไดที่ 60 N/sq.mm.

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.31 ขั้วตอสายแบบหางปลา

ภาพที่ 1.32 การตอขั้วสายแบบหางปลา

คุณสมบัติทางกลของหางปลา ตามมาตรฐาน VDE 0220 ไดกําหนดคุณสมบัติของหางปลา ใหมีความสามารถในการทนตอแรงดึง (Tensile Strength) ดังนี้ - หางปลาที่ทําดวยทองแดง ตองทนแรงดึงไมนอยกวา 60 N/sq.mm. - หางปลาที่ทําดวยอะลูมิเนียม ตองทนแรงดึงไมนอยกวา 40 N/sq.mm. หมายเหตุ คากําหนดในมาตรฐานเปนคาอยางต่ําที่สามารถทนได ซึ่งในความเปนจริงอาจมีคาสูงกวาที่กําหนดมาก เครื่องวัดความตึงเครียด 0-5000g ชนิดดึง Japan Gage Tool (Tension Gage) ใชสําหรับทดสอบแรงดึงของการย้ําหางปลา

ภาพที่ 1.33 เครื่องวัดความตึงเครียด 4. การตอสายดวยวายนัท

ภาพที่ 1.34 วายนัท

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 เปนฝาครอบพลาสติกที่สวมครอบเพื่อรวมและยึดสายไฟเขาดวยกัน วิธีการตอคือ นําปลายสายไฟมาบิดตีเกลียวแบบหาง หมูใ หแ นน แลวใชวายนัทสวมปลายสายหมุนตามเข็ม นาฬิ กาใหแ น น เพื่อปองกันไมใ หตัวนํ าสัม ผัสกั บ โครงโลหะ หรือ สายไฟฟาสัมผัสกับบุคคล 4.1 การตอวายนัท 1) ปอกสาย THW ดานใดดานหนึ่งใหมีความยาวประมาณ 2.5 ซม.

ภาพที่ 1.35 ปอกฉนวนสายไฟประมาณ 2.5 ซม. 2) ใชคีมบิดสายไฟเสนที่ 1 และ 2 เปนเกลียวแบบหางหมู

ภาพที่ 1.36 บิดสายไฟเปนเกลียว 3) นําวายนัทหมุนใสตรงปลายหางเปย แลวบิดตามเข็มนาฬิกาใหสุด ระวังใหปดทองแดงใหหมดเพื่อปองกัน อันตราย ดังภาพ

ภาพที่ 1.37 นําวายนัทมาสวม

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 5. การใชหลอดตอสายไฟ ใชในการเดินสายไฟเหนือศีรษะ เปนหลอดโลหะที่ใชสําหรับตอสายไฟฟาขนาดตางกันเขาดวยกันโดยอาศัยแรงบีบ สําหรับงานเดิ นสายไฟฟา ระบบเครื่องปรับอากาศนิย มใชหลอดต อสายแบบมีฉ นวนหุ ม เพื่อปองกั นอั นตรายและ อํานวยความสะดวกในการใหบริการตามจุดที่มีความชื้น

ภาพที่ 1.38 หลอดตอสายแบบมีฉนวยนหุม (Sleeve Connector) 6. การบัดกรีและการพันฉนวน 6.1 การบัดกรี การบัดกรี คือ การเชื่อมตอโลหะเขาดวยกันโดยใชวัสดุตัวกลางซึ่งเปนโลหะผสมของดีบุกและตะกั่วเปนตัวเชื่อม ประสาน จุดประสงคเพื่อใหมีการเชื่อมตอกันทางไฟฟาได และสะดวกตอการถอดถอนในภายหลังการบัดกรีจะตองมี อุปกรณหลัก 2 อยางคือ 6.1.1 หัวแรงบัดกรี หัวแรงบัดกรีที่ใชในงานบัดกรีดานอิเล็กทรอนิกสสวนใหญ มักจะเปนหัวแรงที่สรางความรอนจาก พลังงานไฟฟา เพื่อความสะดวกในการใชงานซึ่งเรียกวา หัวแรงบัดกรีไฟฟา (Electric Soldering Iron) โดยทั่วไปจะมี 2 ชนิดคือ หัวแรงปน และหัวแรงแช 1) หัวแรงปน (Electric Soldering Gun) เปนหัวแรงประเภทที่ใชความรอนสูงและรวดเร็ว โดยการทํางานของหัวแรงชนิดนี้จะใชหลักการ ของหมอแปลงไฟฟา คือ แปลงแรงดันไฟบาน ใหเปนไฟฟาแรงดันต่ํา แตจายกระแสไดสูงโดยภายใน ตัวหัวแรงจะมีลักษณะเปนหมอแปลงไฟฟา ซึ่งมีขดลวด 3 ชุด พันอยูบนแกนเหล็ก โดยชุดปฐมภูมิ จะพันดวยลวดเสนเล็กจํา นวนรอบมาก ๆ นําไปตอเขากับปลั๊กไฟบา น 220 V สวนทางดา นชุ ด ทุติย ภูมิ จะมี 2 ขด คือ ขดเสนลวดเล็ก พันใหไดแ รงดันไฟฟาประมาณ 2.2 โวลต เพื่อใชไปจุด หลอดไฟขนาดเล็กเพื่อแสดงการทํางาน และอีกขดจะพันดวยลวดเสนใหญโดยพัน 5-6 รอบ เพื่อให ไดกระแสสูงมากและตอเขากับชุดปลายหัวแรง เพื่อสรางความรอนในการบัดกรี การปด-เปดการ ทํางานจะใชสวิตช ซึ่งทําลักษณะคลายไกปน ในการเปด-ปดการใหความรอนในขณะใชงาน หัวแรง ชนิดนี้จะใหความรอนสูงเหมาะสําหรับงานบัดกรีที่ตองการความรอนมาก ๆ เชน การบัดกรีสายไฟ กับหลักตอสาย การบัดกรีอุปกรณที่มีข นาดใหญ และการบัดกรีรอยตอเพื่อถอดเปลี่ย นอุปกรณ 47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 อิเล็กทรอนิกส เปนตน แตจะมีขอเสีย คือ ไมเหมาะกับการบัดกรีอุปกรณอิเล็กทรอนิกส เพราะ อุปกรณอิเล็กทรอนิกสบางชนิดมีความไวตอความรอน ถาใชความรอนสูงเกินไป อาจทําใหอุปกรณ เสื่อมสภาพหรือเสียหายได นอกจากนี้ยังมีการแพรสนามแมเหล็ก จึงไมควรบัดกรีอุปกรณที่ทํางาน ดวยระบบแมเหล็ก เชน หัวเทป หรือสวิตชแมเหล็ก

ภาพที่ 1.39 หัวแรงปน และวงจรการทํางานภายใน 2) หัวแรงแช (Electric Soldering) หัวแรงชนิดนี้ เมื่อตองการใชงาน จะตองเสียบปลั๊กทิ้งไวใหรอนตลอดเวลา เพราะไมมีสวิตชปดเปด แบบหัวแรงปน โดยมากเสียบเขากับปลั๊กไฟฟาตลอด จนกวางานจะเสร็จ เนื่องจากเมื่อ เสีย บ ใหม ต อ งใช เ วลานานพอควร หั ว แร ง จึ ง จะร อ นถึ ง ระดั บ ใชง าน โครงสร า งภายในจะเป น เสน ลวดความรอน พันอยูบนฉนวนที่หอหุมดวยไมกา และมีขอตอสําหรับเชื่อมตอกับปลายหัวแรง โดย ความรอนที่เกิดขึ้นจะเกิดจากกระแสที่ไหลผานขดลวดความรอน ที่บริเวณปลายหัวแรง และถายเท ไปยังสวนปลายหัวแรงที่ใชสําหรับบัดกรี หัวแรงชนิดนี้มักนิยมใชในงานประกอบวงจรเพราะให ความร อนคงที่ เลือกขนาดไดมากและมี ปลายหั วแร งให เลื อ กใช หลายแบบ โดยมี ตั้ งแต ข นาด 6 วั ตต จนถึ ง 250 วั ตต แต ที่ ใ ช ใ นงาน อิเล็กทรอนิ กสจะใชขนาด 15 – 30 วัตต ซึ่งใหความรอนไมสูงมากนัก เหมาะกับการบัดกรีอุปกรณ บนแผนวงจรพิม พ นอกจากนี้ใ นบางรุ น จะมีสวิ ตชก ดเพิ่ม ระดับ ความรอ นใหสู งได ดวย สําหรับ ปลายบัดกรีข องหัวแรงแชจะมีทั้งชนิดที่ใ ชแ ลวสึกกรอนหมดไปและชนิดเปลี่ย นปลายได

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.40 หัวแรงแช และวงจรการทํางานภายใน 6.1.2 ตะกั่วบัดกรี ตะกั่ วบั ดกรี นิ ย มใช โลหะผสมระหว างดี บุ กกั บ ตะกั่ ว เพื่ อให หลอมเหลวได ที่ อุ ณหภู มิ ต่ํ า ๆ โดยจะ ระบุสวนผสมเป น ดีบุก/ตะกั่ ว เชน ตะกั่วบัดกรีชนิ ด 60/40 จะมีสวนผสมของดีบุ ก 60% และตะกั่ว 40% นอกจากนี้แลวในตัวตะกั่วบัดกรี จะมีการแทรกฟลั๊กซ (Flux) ไวภายในดวยจํานวนที่พอเหมาะ เพื่อเพิ่มความสะดวก ในการใชงาน ซึ่งหนาที่ของฟลั๊กซคือ จะดูดกลืนโลหะออกไซด ซึ่งเกิดจากการเขารวมทําปฏิกริยา ของออกซิเจน ในอากาศออกไป ทําใหรอยตอระหวางตะกั่วกับโลหะติดแนนยิ่งขึ้น โดยการแทรกฟลั๊กซนี้ไวตลอดความยาว ซึ่งบางชนิดมีถึง 5 แกน จะเรียกกันตามผูผลิตวา ตะกั่วมัลติคอร (Multi-core)

ภาพที่ 1.41 ตะกั่วบัดกรี และการแทรกฟลั๊กซภายในเสนตะกั่ว การบัดกรีชิ้นงาน 1. เลือกใชหัวแรงใหเหมาะสมกับงาน ทั้งในสวนของความรอนและปลายหัวแรง 2. ทําความสะอาดปลายหัวแรงดวยผานุม หรือฟองน้ําทนไฟ และในกรณีใชหัวแรงครั้งแรกควรเสียบหัวแรงทิ้งไว ใหรอนเต็มที่ แลวใชตะกั่วไลที่ปลายหัวแรง เพื่อใหการใชงานตอ ๆ ไป ตะกั่วจะไดติดปลายหัวแรง 3. ทําความสะอาดชิ้นงานกอนทําการบัดกรี 4. ใชมือประคองหัวแรงโดยไมตองออกแรงกด ใหความรอนกับชิ้นงานทั้งสองแลวจายตะกั่วบัดกรีระหวางตัวชิ้นงาน 5. จายตะกั่วใหกับชิ้นงาน 49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 6. เมื่อตะกั่วหลอมละลาย จึงคอยถอนตะกั่วออก 7. จากนั้นจึงคอยถอนหัวแรงออกจากชิ้นงานตามลําดับ

ภาพที่ 1.42 หัวแรงจี้ที่ลวดตัวนํา หมายเหตุ ไมควรใชวิธีนําหัวแรงไปละลายตะกั่วแลวนํามาพอกที่ชิ้นงานเพราะตะกั่วจะไมเกาะชิ้นงาน ทําให ชิ้นงานที่บัดกรีมีปญหา 6.2 การพันฉนวน เมื่อต อสายไฟฟาแลว ตอ งหุม จุ ดตอสายดวยฉนวนเพื่ อป องกั นไฟรั่ว หรือไฟดู ด ซึ่ง นิย มใชเทปพีวีซีในการพัน ฉนวน ในการหุมฉนวนสาย ใหดึงเทปพีวีซีตึงพอสมควร แลวเริ่มพันบนฉนวนเหนือทองแดงประมาณ 0.5 – 1 เซนติเมตร โดยพันใหเสนเทปซอนกันประมาณ 1 ใน 4 ของความกวางแผนเทป ทําเชนนี้ประมาณ 2 – 3 รอบ เพื่อความแนนหนา

ภาพที่ 1.43 การพันฉนวน

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดคือขั้นตอนแรกของการตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยว ก. บิดสายเสนที่ 1 พันรอบสายเสนที่ 2 ข. ออกแรงดึงเพื่อทนสอบแรงดึง ค. นําสายออนพันรอบสายแข็ง ง. ใชบัดกรีจี้ไปที่สายไฟ 2. ขอใดเปนการใชอุปกรณตอสาย ก. สุชาติเสียบปลั๊กไฟ ข. มณฑาเปลี่ยนสายเตารีด ค. สุทินใชขั้วตอสายไฟกับสายไฟโรงงาน ง. เอกทําการบัดกรีสายไฟแลวพันฉนวน 3. ขอใดแสดงถึงการตอสายดวยวายนัท ก. นําปลายลวดตัวนําสองเสน ข. พับสายแข็งวกกลับใหพับเกลียว ค. นําหางปลาสวมทับกับปลายสาย ง. ตอสายไฟแบบหางเปยกอนสวมวายนัท 4. การใชหลอดตอสายไฟ ใชในการเดินสายแบบใด ก. ตอสายไฟเพื่อลดกระแส ข. ตอสายไฟ 3 สายเขาดวยกัน ค. ตอสายไฟฟาขนาดตางกันเขาดวยกันโดยอาศัยแรงบีบ ง. ตอสายไฟฟาขนาดตางกันเขาดวยกันโดยตะกั่วเปนตัวเชื่อม

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 5. การบัดกรีขั้วสายเขาตอกันตองมีอะไรเปนตัวกลาง ก. ทอง ข. ตะกั่ว ค. พลาสติก ง. เทปพันสายไฟ 6. ขั้นตอนสุดทายเมื่อย้ําหางปลาเสร็จควรทดสอบคุณภาพอยางไร ก. ใช tension gage ทดสอบความทนตอแรงตึง ข. ใชโอหมมิเตอรวัดคากระแสไฟที่ผานหางปลา ค. ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานของหางปลา ง. ใชมือลองดึงหางปลาออกจากสายวาแนนหรือไม

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4 5 6

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การตอสายไฟตอตรงแบบเดี่ยว ตอตรงแบบตีเกลียว ตอตรงแบบคู ตอตรงแบบหางเปย และตอสายไฟออนเขากับสายไฟแข็ง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยว สายตีเกลียว ตอตรงแบบคู แบบหางเปย และตอสายไฟออนเขากับสายไฟแข็งได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตอสายไฟฟาตามแบบตอไปนี้ 1. จงตอสายไฟฟาตอตรงแบบสายเดี่ยว 2. จงตอสายไฟฟาตอตรงแบบตีเกลียว 3. จงตอสายไฟฟาตอตรงแบบคู 4. จงตอสายไฟฟาตอตรงหางเปย 5. จงตอสายไฟออนเขากับสายไฟแข็ง

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 1.1 การตอสายไฟตอตรงแบบเดี่ยว ตอตรงแบบตีเกลียว ตอตรงแบบคู ตอตรงแบบหางเปย และตอสายไฟออนเขากับสายไฟแข็ง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวาง กีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คัตเตอร

จํานวน 1 อัน

2. คีมชางไฟฟา

จํานวน 1 ตัว

3. คีมตัด

จํานวน 1 ตัว

4. คีมปากแหลม

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. สายไฟ THW ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 25 เซนติเมตร

จํานวน 2 เสน

2. สายไฟ THW ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 20 เซนติเมตร

จํานวน 5 เสน

3. สายไฟ THW ขนาด 6 ตารางมิลลิเมตร ยาว 25 เซนติเมตร

จํานวน 4 เสน

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 4. สายไฟ VAF ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 25 เซนติเมตร

จํานวน 3 เสน

5. สายไฟ VSF 2 ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 15 เซนติเมตร

จํานวน 2 เสน

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน 2.1 การตอสายไฟตอตรงแบบเดี่ยว ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตัดสายไฟยาว 20 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

2. ปอกฉนวน ยาว 10 เซนติเมตร

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตัดสายไฟ THW ขนาด 2.5 mm2 ยาว 20 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

จากนั้นปอกฉนวนเสนที่ 1 และเสน ในการปอกฉนวนของสายไฟฟา ที่ 2 ออกเสนละ 10 เซนติเมตร

ควรทําอยางระมัดระวัง หากใชแรง มากเกินไปตัวนําไฟฟาอาจขาด ซึ่งจะสงผลตอการใชงาน โดยทําให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจรได

3. ใชคีมบิดสายสายเสนที่ 1 และ 2 เขาดวยกัน ใชคีมบิดสายเสนที่ 1 พันรอบสาย เสนที่ 2 ใชคีมบิดสายเสนที่ 2 พันรอบสายเสนที่ 1

4. บิดสายไปเรื่อย ๆ ใหไดประมาณ 5 - 8

โดยทําเชนนี้ไปเรื่อย ๆ ดานละ

รอบ แลวใชคีมบีบใหแนน จากนั้นทําเพิ่มอีก

ประมาณ 5 - 8 รอบ เพื่อไมใหสาย

1 ชิ้นและสงชิ้นงาน

คลายตัวใชคีมบีบใหแนน ทําเพิ่ม อีก 1 ชิ้น และตรวจสอบความ เรียบรอยของชิ้นงานกอนสงงาน

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 2.2 การตอสายไฟตอตรงแบบตีเกลียว ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. ตัดสายไฟ THW ขนาด 6 mm2 ยาว 25

ใชคีมตัดตัดสายไฟ THW ขนาด 6

เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

mm2 ยาว 25 เซนติเมตร จํานวน 2

ขอควรระวัง

เสน 2. ปอกฉนวนปลายสายยาว 15 เซนติเมตร

ปอกปลายสายทั้ง 2 เสน ใหมีความ ในการปอกฉนวนของสายไฟฟา ยาว 15 เซนติเมตร

ควรทําอยางระมัดระวัง หากใชแรง มากเกินไปตัวนําไฟฟาอาจขาด ซึ่งจะสงผลตอการใชงาน โดยทําให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจรได

3. แยกเสนลวดตัวนําใหบานออกทั้ง 2 เสน

คลี่เกลียวออกดึงสายเสนเล็ก ๆ

ออกประมาณ 12 เซนติเมตร

ออกใหตรง แลวแยกใหบานออกทั้ง 2 เสน ประมาณ 12 เซนติเมตร

4. รวบเสนลวดตัวนํา

รวบเสนลวดตัวนําแลวพันลวดตัว นํา เปนเกลียวทีละเสน

5. พันลวดตัวนําเปนเกลียวทีละเสน

พันลวดตัวนําใหหมดทีละดาน

6. ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้น จากนั้นตรวจสอบความ

ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้น จากนั้นตรวจสอบ

เรียบรอยและสงชิ้นงาน

ความเรียบรอยของชิ้นงานกอนสง งาน

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 2.3 การตอสายไฟตอตรงแบบคู ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. ตัดสายไฟ VAF ยาว 15 เซนติเมตร

ใชคีมตัดตัดสายไฟ VAF ขนาด

จํานวน 2 เสน

62.5 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร

ขอควรระวัง

จํานวน 2 เสน 2. ปอกฉนวน ยาว 6 เซนติเมตร

วัดความยาวจากปลายสายเขามา 6 เซนติเมตร แลวใชคัตเตอรปอก ฉนวนชั้นนอกออก

3. ปอกฉนวนชั้นในเสนที่หนึ่งใหมีระยะที่ แตกตางกัน

ปอกฉนวนหุมสายชั้นในแตละเสน ใหมีระยะที่แตกตางกัน โดยเสนที่ หนี่งใหปอกฉนวนสีน้ําตาลออก 5 เซนติเมตร และเสนสีฟาปอกฉนวน 3 เซนติเมตร

4. ปอกฉนวนชั้นในเสนที่สองใหมีระยะที่

เสนที่สองปอกฉนวนสีน้ําตาล

แตกตางกัน

3 เซนติเมตร และปอกฉนวนสีฟา ควรทําอยางระมัดระวัง หากใชแรง ออก 5 เซนติเมตร

ในการปอกฉนวนของสายไฟฟ า มากเกินไปตัวนําไฟฟาอาจขาด ซึ่งจะสงผลตอการใชงาน โดยทําให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจรได

5. นําเสนลวดตัวมาตอแบบตอตรง

นําเสนลวดตัวนําของตอละสีมาตอ เขาดวยกัน ดวยการพันแบบตอตรง สายเดี่ยว

6. พันเสนลวดตัวนํา เมื่อเสร็จแลวจะเหลื่อม เมื่อพันเสร็จแลวลวดตัวนําจะ ระยะกัน

เหลื่อมพนจากกัน

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

7. ทําเพิ่ม อีก 1 ชิ้น จากนั้นตรวจสอบความ ทําเพิ่ม อีก 1 ชิ้น จากนั้นตรวจสอบ เรียบรอยและสงชิ้นงาน

ความเรีย บรอยของชิ้นงานก อ นส ง งาน

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 2.4 การตอสายไฟตอตรงแบบหางเปย ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. ตัดสายไฟ THW ยาว 15 เซนติเมตร

ใชคีมตัดตัดสายไฟ THW ขนาด 2.5

จํานวน 2 เสน

mm2 ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 2

ขอควรระวัง

เสน

2. ปอกฉนวนออก 5 เซนติเมตร

ใชคัตเตอรปอกฉนวนออก ยาว 5

ในการปอกฉนวนของสายไฟฟา

เซนติเมตร ทั้งสองเสน

ควรทําอยางระมัดระวัง หากใชแรง มากเกินไปตัวนําไฟฟาอาจขาด ซึ่งจะสงผลตอการใชงาน โดยทําให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจรได

3. นําสายทั้ง 2 เสนมาวางทับกัน

วางสายทั้ง 2 เสนทับกัน ทํามุม 60 องศา

4. ใชคีมจับสายทั้งสองเสนบิดเปนเกลียว

ใช คี ม บิ ด ลวดตั ว นํ า ทั้ ง สองเส น ให

ตามเข็มนาฬิกา

เปนเกลียว ตามเข็มนาฬิกา

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

5. ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้น จากนั้นตรวจสอบความ

ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้น จากนั้นตรวจสอบ

เรียบรอยและสงชิ้นงาน

ความเรียบรอยของชิ้นงาน กอนสงงาน

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 2.5 การตอสายไฟออนเขากับสายไฟแข็ง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. ตัดสายไฟ THW และ VSF ขนาด 1.5

ตัดสายไฟ THW 1.5 mm2

mm2 ยาว 15 เซนติเมตร อยางละเสน

ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 1 เสน

ขอควรระวัง

และสาย VSF ขนาด 1.5 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 1 เสน

2. ปอกสายไฟทั้ง 2 เสน ยาว 5 เซนติเมตร

ปอกฉนวนสาย THW และ VSF

ในการปอกฉนวนของสายไฟฟา

ออก เสนละ 5 เซนติเมตร

ควรทําอยางระมัดระวัง หากใชแรง มากเกินไปตัวนําไฟฟาอาจขาด ซึ่งจะสงผลตอการใชงาน โดยทําให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจรได

3. บิด แลวพันสายไฟออน (VSF) รอบสาย

พันลวดตัวนําสายไฟออน VSF

แข็ง (THW)

รอบลวดตัวนําสายไฟแข็ง THW

4. พันสายออนรอบสายแข็งใหได 5-8 รอบ

พันลวดตัวนําสายไฟออน VSF ไปเรื่อย ๆ ใหได 5 – 8 รอบ

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. พับลวดตัวนําแข็งเพื่อกดสายออนไว

คําอธิบาย จากนั้นใชคีมพับลวดตัวนําสายแข็ง THW เพื่อกดลวดตัวนําสายออนไว

6. ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้น จากนั้นตรวจสอบความ

ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้น จากนั้นตรวจสอบ

เรียบรอยและสงชิ้นงาน

ความเรียบรอยของชิ้นงานกอนสงงาน

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การตอสายไฟ 1.1 การตอสายไฟสายเดี่ยวแบบตอตรง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 การตอสายไฟตีเกลียวแบบตอตรง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 การตอตรงแบบคู

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 การตอตรงแบบหางเปย

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.5 การตอสายไฟออนเขากับสายไฟแข็ง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 การตอสายไฟสายเดี่ ยวแบบตอตรง

คะแนนเต็ม 25

- ต อ สายไฟสายเดี่ยวแบบต อ ตรงไดถูก ต องตามหลั กวิ ธี เส น ทองแดง

5

เรียงตัวสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - ตอสายไฟสายเดี่ยวแบบตอตรงไดถูกตองตามหลักวิธี ทองแดงเรียงตัว ไมสม่ําเสมอเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตอสายไฟสายเดี่ยวแบบตอตรงไดถูกตองตามหลักวิธี ทองแดงไมเรียง ตัว ใหคะแนน 1 คะแนน 1.2 การตอสายไฟตีเกลียวแบบตอตรง

- ตอสายไฟตีเกลียวแบบตอตรงไดถูกตองตามหลักวิธี เสนทองแดงเรียง

5

ตัวสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - ตอสายไฟตีเกลียวแบบตอตรงได ถูกตองตามหลักวิ ธี ทองแดงเรียงตั ว ไมสม่ําเสมอเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตอสายไฟตีเกลียวแบบตอตรงได ถูกต องตามหลักวิ ธี ทองแดงไมเ รี ยง ตัว ใหคะแนน 1 คะแนน 1.3 การตอตรงแบบคู

- ต อ สายไฟต อ ตรงแบบคู ไดถูก ต องตามหลัก วิ ธี เส น ทองแดงเรียงตัว

5

สวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - ตอสายไฟตอตรงแบบคูไดถูกตองตามหลักวิธี ทองแดงเรียงตัว ไมสม่ําเสมอเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตอสายไฟตอตรงแบบคูไดถูกตองตามหลักวิธี ทองแดงไมเรียงตัว ใหคะแนน 1 คะแนน 1.4 การตอตรงแบบหางเปย

- ตอสายไฟตอตรงแบบหางเปยไดถูกตองตามหลักวิธี เสนทองแดงเรียง

5

ตัวสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - ตอสายไฟตอตรงแบบหางเป ยได ถูกต องตามหลักวิธี ทองแดงเรียงตั ว ไมสม่ําเสมอเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตอสายไฟตอตรงแบบหางเป ยได ถูกตองตามหลั กวิธี ทองแดงไมเ รี ยง ตัว ใหคะแนน 1 คะแนน 1.5 การตอสายไฟออนเขากับสายไฟแข็ง

- ตอสายไฟออนเข ากั บสายไฟแข็ งได ถูกตอ งตามหลั กวิ ธี เสนทองแดง เรียงตัวสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - ตอสายไฟออนเขากับสายไฟแข็ง ได ถูกตองตามหลักวิธี ทองแดงเรี ยง ตัวไมสม่ําเสมอเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ต อ สายไฟอ อ นเข ากั บสายไฟแข็ ง ไดถูก ต องตามหลัก วิธี ทองแดงไม เรียงตัว ใหคะแนน 1 คะแนน

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ลําดับที่ 2

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ วน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

คะแนนที่ได

1 1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 30

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 21 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบงาน ใบงานที่ 1.2 การตอสายไฟดวยหางปลา หลอดตอสาย และสกรูบบี อัดล็อก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เขาขั้วสายไฟดวยหางปลาได 2. ใชหลอดตอสายไฟได 3. ใชอุปกรณในการตอสายไฟได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกตอสายไฟฟาตามแบบตอไปนี้ 1. จงตอสายไฟฟาดวยหางปลากลมหุมฉนวน 2. จงตอสายไฟฟาดวยหางปลาแบบแฉกหุมฉนวน 3. จงตอสายไฟฟาดวยหางปลาเหลี่ยมหุมฉนวน 4. จงตอสายไฟฟาดวยหลอดตอสาย 5. จงตอสายไฟฟาดวยสกรูบีบอัดล็อก

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 1.2 การตอสายไฟดวยหางปลา หลอดตอสาย และสกรูบบี อัดล็อก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวาง กีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขควงแฉก

จํานวน 1 อัน

2. ไขควงปากแบน

จํานวน 1 อัน

3. คัตเตอร

จํานวน 1 ตัว

4. คีมตัด

จํานวน 1 ตัว

5. คีมย้ําหางปลา

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ชุดตอสายสกรูบีบอัดล็อก ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร

จํานวน 2 ชุด

2. สายไฟ THW ขนาด 6 ตารางมิลลิเมตร ยาว 15 เซนติเมตร

จํานวน 4 เสน

3. สายไฟ VSF หรือ THW (f) ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 15 เซนติเมตร

จํานวน 10 เสน

4. หลอดตอสาย ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร

จํานวน 2 ชิ้น

5. หางปลาแบบกลมหุมฉนวน ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร

จํานวน 2 ชิ้น

6. หางปลาแบบแฉกหุมฉนวน ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร

จํานวน 2 ชิ้น

7. หางปลาแบบเหลี่ยมหุมฉนวน ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร

จํานวน 2 ชิ้น

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน 2.1 การตอสายไฟโดยใชหางปลาแบบกลมหุมฉนวน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. ตัดสายไฟ VSF ยาว 15 เซนติเมตร

ใชคีมตัด ตัดสายไฟ VSF หรือ THW (f)

จํานวน 2 เสน

ขนาด 2.5 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร

ขอควรระวัง

2. ปอกปลายสายไฟ ใหยาวกวาปลอกหาง วัดความยาวปลายสายไฟใหเทากับปลอก หากเลือกใชขนาดรองตัดที่คีมย้ํา ปลา 1-2 มิลลิเมตร

3. นําหางปลามาสวมกับสายไฟ

ของหางปลาและเวนพื้นที่เพิ่มอีก 10%

หางปลาไมเหมาะกับขนาดสายไฟ

สําหรับพื้นที่ที่ปลอกจะขยายเมื่อทําการ

ลวดตัวนําไฟฟาอาจขาดได ซึ่งจะ

ย้ําหางปลา จากนั้นใชคีมย้ําหางปลาปอก

สงผลตอการใชงาน โดยทําให

ฉนวนทีป่ ลายสายไฟ

กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจร

นําหางปลาขนาด 2.5 mm2 สวมเขากับ ปลายสายโดยดันเขาไปจนสุดตําแหนงที่ จะบีบ

4. ใชคีมบีบหางปลา

ใชคีมบีบที่หางปลาจนแนน เสร็จแลว ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้น

5. ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้นงาน แลวตรวจความ

ตรวจสอบความเรียบรอยของชิ้นงานกอน

เรียบรอยกอนสงชิ้นงาน

สงงาน

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. ทดสอบแรงดึง

คําอธิบาย ทดสอบแรงดึง โดยใช Tension Gage ซึ่งหางปลาตองทนแรงดึงใหไดที่ 60 N/sq.mm. (นิวตันตอตารางมิลลิเมตร)

72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 2.2 การตอสายไฟโดยใชแบบแฉกหุมฉนวน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

1. ตัดสายไฟ VSF ยาว 15 เซนติเมตร

ใชคีมตัด ตัดสายไฟ VSF หรือ THW (f)

จํานวน 2 เสน

ขนาด 2.5 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร

2. ปอกปลายสายไฟ ใหยาวกวาปลอก

วัดความยาวปลายสายไฟใหเทากับปลอก

หากเลือกใชขนาดรองตัดที่คีมย้ํา

หางปลา 1-2 มิลลิเมตร

ของหางปลาและเวนพื้นที่เพิ่มอีก 10%

หางปลาไมเหมาะกับขนาดสายไฟ

สําหรับพื้นที่ที่ปลอกจะขยายเมื่อทําการย้ํา ลวดตัวนําไฟฟาอาจขาดได ซึ่งจะ

3. นําหางปลามาสวมกับสายไฟ

หางปลา จากนั้นใชคีมย้ําหางปลาปอก

สงผลตอการใชงาน โดยทําให

ฉนวนทีป่ ลายสายไฟ

กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจร

นําหางปลาขนาด 2.5 mm2 สวมเขากับ ปลายสายโดยดันเขาไปจนสุดตําแหนงที่ จะบีบ

4. คีมบีบใหแนน

ใชคีมบีบที่หางปลาจนแนน

5. ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้นงาน แลวตรวจความ

ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้นตรวจสอบความเรียบรอย

เรียบรอยกอนสงชิ้นงาน

ของชิ้นงานกอนสงงาน

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. ทดสอบแรงดึง

คําอธิบาย ทดสอบแรงดึง โดยใช Tension Gage ซึ่งหางปลาตองทนแรงดึงใหไดที่ 60 N/sq.mm. (นิวตันตอตารางมิลลิเมตร)

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 2.3 การตอสายไฟโดยใชแบบเหลี่ยมหุมฉนวน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

1. ตัดสายไฟ VSF ยาว 15 เซนติเมตร

ใชคีมตัด ตัดสายไฟ VSF หรือ THW (f)

จํานวน 2 เสน

ขนาด 2.5 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร

2. ปอกปลายสายไฟ ใหยาวกวาปลอก

วัดความยาวปลายสายไฟใหเทากับปลอก

หากเลือกใชขนาดรองตัดที่คีมย้ํา

หางปลา 1-2 มิลลิเมตร

ของหางปลาและเวนพื้นที่เพิ่มอีก 10%

หางปลาไมเหมาะกับขนาดสายไฟ

สําหรับพื้นที่ที่ปลอกจะขยายเมื่อทําการย้ํา ลวดตัวนําไฟฟาอาจขาดได ซึ่งจะ หางปลา จากนั้นใชคีมย้ําหางปลาปอก

สงผลตอการใชงาน โดยทําให

ฉนวนทีป่ ลายสายไฟ

กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจร

3. นําหางปลาแบบเหลี่ยมหุมฉนวนมา

นําหางปลาขนาด 2.5 mm2 สวมทับกับ

เสียบกับสายไฟ

ปลายสายโดยดันเขาไปจนสุดตําแหนงที่ จะบีบ

4. ใชคีมบีบหางปลา

ใชคีมบีบที่หางปลาจนแนน

5. ทําเพิ่ม อีก 1 ชิ้นงาน แลวตรวจความ ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้นงาน แลวตรวจสอบความ เรียบรอยกอนสงชิ้นงาน

เรียบรอยของชิ้นงานกอนสงงาน

75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. ทดสอบแรงดึง

คําอธิบาย ทดสอบแรงดึง โดยใช Tension Gage ซึ่งหางปลาตองทนแรงดึงใหไดที่ 60 N/sq.mm. (นิวตันตอตารางมิลลิเมตร)

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 2.4 การตอสายไฟโดยใชหลอดตอสาย ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

1. ตัดสายไฟ VSF ยาว 15 เซนติเมตร 2

ใชคีมตัด ตัดสายไฟ VSF หรือ THW (f)

เสน

ขนาด 2.5 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร

2. ปอกปลายสายไฟ ใหยาวกวาปลอก

วัดความยาวปลายสายไฟใหเทากับปลอก

หากเลือกใชขนาดรองตัดที่คีมย้ํา

หลอดตอสาย 1-2 มิลลิเมตร

ของหลอดตอสายและเวนพื้นที่เพิ่มอีก

หางปลาไมเหมาะกับขนาดสายไฟ

10% สําหรับพื้นที่ที่ปลอกจะขยายเมื่อทํา ลวดตัวนําไฟฟาอาจขาดได ซึ่งจะ การย้ําหลอดตอสาย จากนั้นใชคีมย้ําให

สงผลตอการใชงาน โดยทําให

แนน

กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจร

3. นําสายไฟมาตอกับหลอดตอสาย ทั้ง 2 นําหลอดตอสายมาสวมเขากับปลาย เสน

สายไฟโดยดันเขาไปจนสุดตําแหนง ที่จะบีบ

4. ใชคีมบีบที่ปลายหลอดตอสาย

ใชคีม บีบที่ปลายหลอดตอสายทั้ง 2 ดาน

ทั้ง 2 ดานจนแนน

จนแนน

5. ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้นงาน แลวตรวจความ

ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้นงาน แลวตรวจสอบความ

เรียบรอยกอนสงชิ้นงาน

เรียบรอยกอนสง

77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 2.5 การตอสายไฟโดยใชสกรูบีบอัดล็อก (ตัวยึดขอตอ) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตัดสายไฟยาว 15 เซนติเมตร

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตัดสายไฟ THW ขนาด 6 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

2. ปอกสายไฟ ใหไดขนาดของปลอกสรู

ใชคีมย้ําหางปลาปอกปลายสายไฟ

ในการปอกฉนวนสายไฟฟา ควรทํา

ใหมีความยาวเทากับปลอกของสกรู อยางระมัดระวัง หากเลือกใชขนาด บีบอัดล็อก รองตัดที่คีมย้ําหางปลาไมเหมาะกับ ขนาดสายไฟ ลวดตัวนําไฟฟาอาจ ขาดได ซึ่งจะสงผลตอการใชงาน โดยทําใหกระแสไฟฟาเกิดการ ลัดวงจร 3. คลายสกรู

คลายสกรูออกใหพอหลวมทั้ง 2 ฝง

4. เสียบสายเขาสกรู

เสียบสายไฟเขาไปในสกรูจนสุด

78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ขันสกรูใหแนนและสงชิ้นงาน

คําอธิบาย ขันสกรูใหแนน แลวทําเพิ่มอีก 1 ชิ้นงาน จากนั้นตรวจสอบความ เรียบรอยกอนสง

79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การตอสายไฟ 1.1 การตอสายไฟฟาดวยหางปลากลมหุมฉนวน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 การตอสายไฟฟาดวยหางปลาแบบแฉกหุมฉนวน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 การตอสายไฟฟาดวยหางปลาเหลี่ยมหุมฉนวน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 การตอสายไฟฟาดวยหลอดตอสาย

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.5 การตอสายไฟฟาดวยสกรูบีบอัดล็อก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

การปฏิบัติงาน

75

1.1 การตอสายไฟฟาดวยหางปลากลมหุมฉนวน

15

- ขั้นตอนการปอกสายไฟถูกตอง

- ปอกสายไฟถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ปอกสายไฟเกินหรือขาด 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 4 คะแนน - ปอกสายไฟเกินหรือขาด 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - ปอกสายไฟเกิ น หรื อ ขาดมากกว า 3 มิ ล ลิ เ มตร ให ค ะแนน 1- 2 คะแนน ตามความเหมาะสม - ขั้นตอนการตอสายไฟฟาถูกตอง

- ตอสายไฟถูกตองตามหลักวิธี ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ตอสายไฟไมถูกตองตามหลักวิธีเล็กนอย ใหคะแนน 3 – 4 คะแนนตอสายไฟไม ถูกตอง ชิ้นงานไมสมบูรณ ใหคะแนน 1- 2 คะแนนตาม ความเหมาะสม - ความเรียบรอยของผลงาน

- ชิ้นงานเรียบรอย หรือ ไม มีฉนวนเกินออกมา ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ชิ้นงานไมเรียบรอย หรือ มีฉนวนเกินออกมาเล็กนอย ใหคะแนน 4 3 คะแนน - ชิ้นงานไมเรียบรอย หรือ มีฉนวนเกินออกมามากเกินไป ใหคะแนน 1- 2 คะแนนตามความเหมาะสม 1.2 การตอสายไฟฟาดวยหางปลาแบบแฉกหุม

15

ฉนวน - ขั้นตอนการปอกสายไฟถูกตอง

- ปอกสายไฟถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ปอกสายไฟเกินหรือขาด 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 4 คะแนน - ปอกสายไฟเกินหรือขาด 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - ปอกสายไฟเกิ น หรื อ ขาดมากกว า 3 มิ ล ลิ เ มตร ให ค ะแนน 1- 2 คะแนน ตามความเหมาะสม - ขั้นตอนการตอสายไฟฟาถูกตอง

- ตอสายไฟถูกตองตามหลักวิธี ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ตอสายไฟไมถูกตองตามหลักวิธีเล็กนอย ใหคะแนน 3 – 4 คะแนน - ตอสายไฟไมถูกตอง ชิ้นงานไมสมบูรณ ใหคะแนน 1- 2 คะแนนตาม ความเหมาะสม - ความเรียบรอยของผลงาน

- ชิ้นงานเรียบรอย หรือ ไม มีฉนวนเกินออกมา ใหคะแนน 5 คะแนน - ชิ้นงานไมเรียบรอย หรือ มีฉนวนเกินออกมาเล็กนอย ใหคะแนน 4 3 คะแนน - ชิ้ น งานไม เ รียบรอย หรื อ มี ฉนวนเกิ น ออกมามากเกินไป ให ค ะแนน 1- 2 คะแนนตามความเหมาะสม

81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ลําดับที่

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

1.3 การตอสายไฟฟาดวยหางปลาเหลี่ยมหุ ม

คะแนนเต็ม 15

ฉนวน - ขั้นตอนการปอกสายไฟถูกตอง

- ปอกสายไฟถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ปอกสายไฟเกินหรือขาด 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 4 คะแนน - ปอกสายไฟเกินหรือขาด 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - ปอกสายไฟเกิ น หรื อ ขาดมากกว า 3 มิ ล ลิ เ มตร ให ค ะแนน 1- 2 คะแนน ตามความเหมาะสม - ขั้นตอนการตอสายไฟฟาถูกตอง

- ตอสายไฟถูกตองตามหลักวิธี ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ตอสายไฟไมถูกตองตามหลักวิธีเล็กนอย ใหคะแนน 3 – 4 คะแนน - ตอสายไฟไมถูกตอง ชิ้นงานไมสมบูรณ ใหคะแนน 1- 2 คะแนนตาม ความเหมาะสม - ความเรียบรอยของผลงาน

- ชิ้นงานเรียบรอย หรือ ไม มีฉนวนเกินออกมา ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ชิ้นงานไมเรียบรอย หรือ มีฉนวนเกินออกมาเล็กนอย ใหคะแนน 4 3 คะแนน - ชิ้ น งานไม เ รียบรอย หรื อ มี ฉนวนเกิ น ออกมามากเกินไป ให ค ะแนน 1- 2 คะแนนตามความเหมาะสม 1.4 การตอสายไฟฟาดวยหลอดตอสาย - ขั้นตอนการปอกสายไฟถูกตอง

15 - ปอกสายไฟถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ปอกสายไฟเกินหรือขาด 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 4 คะแนน - ปอกสายไฟเกินหรือขาด 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - ปอกสายไฟเกิ น หรื อ ขาดมากกว า 3 มิ ล ลิ เ มตร ให ค ะแนน 1- 2 คะแนน ตามความเหมาะสม - ขั้นตอนการตอสายไฟฟาถูกตอง

- ตอสายไฟถูกตองตามหลักวิธี ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ตอสายไฟไมถูกตองตามหลักวิธีเล็กนอย ใหคะแนน 3 – 4 คะแนน - ตอสายไฟไมถูกตอง ชิ้นงานไมสมบูรณ ใหคะแนน 1- 2 คะแนนตาม ความเหมาะสม - ความเรียบรอยของผลงาน

- ชิ้นงานเรียบรอย หรือ ไม มีฉนวนเกินออกมา ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ชิ้นงานไมเรียบรอย หรือ มีฉนวนเกินออกมาเล็กนอย ใหคะแนน 4 3 คะแนน - ชิ้ น งานไม เ รียบรอย หรื อ มี ฉนวนเกิ น ออกมามากเกินไป ให ค ะแนน 1- 2 คะแนนตามความเหมาะสม 1.5 การตอสายไฟฟาดวยสกรูบีบอัดล็อก - ขั้นตอนการปอกสายไฟถูกตอง

15 - ปอกสายไฟถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน - ปอกสายไฟเกินหรือขาด 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 4 คะแนน - ปอกสายไฟเกินหรือขาด 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน

82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ลําดับที่

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

- ปอกสายไฟเกิ น หรื อ ขาดมากกว า 3 มิ ล ลิ เ มตร ให ค ะแนน 1- 2 คะแนน ตามความเหมาะสม - ขั้นตอนการตอสายไฟฟาถูกตอง

- ตอสายไฟถูกตองตามหลักวิธี ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ตอสายไฟไมถูกตองตามหลักวิธีเล็กนอย ใหคะแนน 3 – 4 คะแนน - ตอสายไฟไมถูกตอง ชิ้นงานไมสมบูรณ ใหคะแนน 1- 2 คะแนนตาม ความเหมาะสม - ความเรียบรอยของผลงาน

- ชิ้นงานเรียบรอย หรือ ไม มีฉนวนเกินออกมา ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ชิ้นงานไมเรียบรอย หรือ มีฉนวนเกินออกมาเล็กนอย ใหคะแนน 4 3 คะแนน - ชิ้ น งานไม เ รียบรอย หรื อ มี ฉนวนเกิ น ออกมามากเกินไป ให ค ะแนน 1- 2 คะแนนตามความเหมาะสม 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ วน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1 1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 80

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 56 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝกขอ เขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบงาน ใบงานที่ 1.3 การตอสายไฟโดยใชวายนัท 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ใชวายนัทตอสายได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกตอสายไฟฟาตามแบบตอไปนี้ 1. จงตอสายไฟ THW ขนาด 1.5 mm2 จํานวน 2 เสน ดวยวายนัท 2. จงตอสายไฟ THW ขนาด 2.5 mm2 จํานวน 2 เสน ดวยวายนัท 3. จงตอสายไฟ THW ขนาด 2.5 mm2 จํานวน 3 เสน ดวยวายนัท

84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 1.3 การตอสายไฟโดยใชวายนัท 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวาง กีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คัตเตอร

จํานวน 1 อัน

2. คีมชางไฟฟา

จํานวน 1 ตัว

3. คีมตัด

จํานวน 1 ตัว

4. คีมปากแหลม

จํานวน 1 ตัว

5. ถุงมือ

จํานวน 1 คู

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. วายนัท ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร (สีเทา)

จํานวน 1 ตัว

2. วายนัท ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร (สีน้ําเงิน หรือ เหลือง)

จํานวน 1 ตัว

3. วายนัท ขนาด 6 ตารางมิลลิเมตร (สีแดง)

จํานวน 1 ตัว 85

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 4. สาย THW ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร ความยาว 15 เซนติเมตร

จํานวน 5 เสน

5. สาย THW ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร ความยาว 15 เซนติเมตร

จํานวน 2 เสน

86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน การตอสายไฟโดยใชวายนัท ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตัดสายไฟ ยาว 15 เซนติเมตร

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตัดสายไฟ THW ขนาด 1.5 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

2. ปอกฉนวน 5 ซม.

ปอกสายไฟดานใดดานหนึ่งใหมี

ในการปอกสายไฟฟา ควรทําอยาง

ความยาวประมาณ 2.5 ซม.

ระมัดระวัง หากใชแรงมากเกินไป ตัวนําไฟฟาอาจขาด ซึ่งจะสงผลตอ การใชงาน โดยทําใหกระแสไฟฟา เกิดการลัดวงจรได

3. นําสายไฟมาตอแบบหางเปย

ตอลวดตัวนําของสายไฟ ทั้ง 2 เสน เขาดวยกันแบบหางเปย

4. นําวายนัทหมุนใสตรงปลายหางเปย

นําวายนัท ขนาด 1.5 mm2 หมุนใส ตรงปลายหางเปยโดยหมุนตามเข็ม นาฬิกาใหแนน

5. ตรวจความเรียบรอย

ตรวจความเรียบรอย

87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

6. จากขั้นตอนที่ 1-5 ในขางตน ทําซ้ํากับ

จากลําดับขั้นตอนที่ 1-5 ใหผูรับการ

สายไฟและวายนัทที่กําหนดให

ฝ ก เพิ่ ม ความชํ า นาญด ว ยการต อ สายไฟ THW ขนาด 2.5 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน ดวยวายนัทขนาด 2.5 mm2 จํานวน 1 ชิ้ น งาน และต อ สายไฟ THW ขนาด 2.5 mm2 ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 3 เสน ดวยวายนัท ขนาด 6 mm2 จํานวน 1 ชิ้นงาน

7. ตรวจความเรียบรอยกอนสงชิ้นงาน

ตรวจความเรียบรอยของชิ้นงานทั้ง 3 ชิ้น กอนสงใหครูฝกประเมินผล การปฏิบัติงาน

88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การตอสายไฟโดยใชวายนัท 1.1 การตอสายไฟ THW ขนาด 1.5mm2 2 เสน ดวยวายนัท

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 การตอสายไฟ THW ขนาด 2.5mm2 2 เสน ดวยวายนัท

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 การตอสายไฟ THW ขนาด 2.5mm2 3 เสน ดวยวายนัท

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

การปฏิบัติงาน

30

1.1 การตอสายไฟ THW ขนาด 1.5mm2 2 เสน - ต อ สายไฟแบบหางเป ยถู ก ต อ ง และบิ ด เกลี ยวสายไฟเป น ระเบี ยบ

5

ดวยวายนัท

เรียบรอย ใหคะแนน 5 คะแนน - ตอสายไฟแบบหางเป ยถู กตอง และบิดเกลียวสายไฟได ใหคะแนน 3 คะแนน - ตอสายไฟแบบหางเป ยได แตบิดเกลียวไดไมเ ปนระเบี ยบ ใหคะแนน 1 คะแนน - สวมวายนัทถูกตอง บิดเกลียวแนนสนิท ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- สวมวายนัทถูกตอง แตบิดเกลียวไมแนน ใหคะแนน 3 คะแนน - สวมวายนั ทได แต บิด เกลี ยวไม แนน หรื อ ไม บิด เกลี ยว ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.2 การตอสายไฟ THW ขนาด 2.5mm2 2 เสน - ต อ สายไฟแบบหางเป ยถู ก ต อ ง และบิ ด เกลี ยวสายไฟเป น ระเบี ยบ ดวยวายนัท

5

เรียบรอย ใหคะแนน 5 คะแนน - ตอสายไฟแบบหางเป ยถู กตอง และบิดเกลียวสายไฟได ใหคะแนน 3 คะแนน - ตอสายไฟแบบหางเป ยได แตบิดเกลียวไดไมเ ปนระเบี ยบ ใหคะแนน 1 คะแนน - สวมวายนัทถูกตอง บิดเกลียวแนนสนิท ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- สวมวายนัทถูกตอง แตบิดเกลียวไมแนน ใหคะแนน 3 คะแนน - สวมวายนั ทได แต บิด เกลี ยวไม แนน หรื อ ไม บิด เกลี ยว ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.3 การตอสายไฟ THW ขนาด 2.5mm2 3 เสน - ต อ สายไฟแบบหางเป ยถู ก ต อ ง และบิ ด เกลี ยวสายไฟเป น ระเบี ยบ ดวยวายนัท

5

เรียบรอย ใหคะแนน 5 คะแนน - ตอสายไฟแบบหางเป ยถู กตอง และบิดเกลียวสายไฟได ใหคะแนน 3 คะแนน - ตอสายไฟแบบหางเป ยได แตบิดเกลียวไดไมเ ปนระเบี ยบ ใหคะแนน 1 คะแนน - สวมวายนัทถูกตอง บิดเกลียวแนนสนิท ใหคะแนน 5 คะแนน - สวมวายนัทถูกตอง แตบิดเกลียวไมแนน ใหคะแนน 3 คะแนน

90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ลําดับที่

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

- สวมวายนั ทได แต บิด เกลี ยวไม แนน หรื อ ไม บิด เกลี ยว ให ค ะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ วน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1 1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 35

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 25 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝกขอ เขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบงาน ใบงานที่ 1.4 การตอสายไฟดวยการบัดกรี 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ตอสายไฟฟาดวยการบัดกรีได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกตอสายไฟฟาตามแบบตอไปนี้ - จงบัดกรีใหถูกตอง

92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 1.4 การตอสายไฟดวยการบัดกรี 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวาง กีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คัตเตอร

จํานวน 1 อัน

2. คีมตัด

จํานวน 1 ตัว

3. ถุงมือ

จํานวน 1 คู

4. ปลั๊กพวง

จํานวน 1 ตัว

5. หัวแรง

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ตะกั่วบัดกรี

จํานวน 1 มวน

2. น้ํายาประสาน

จํานวน 1 กระปุก

3. สาย THW ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร ความยาว 15 เซนติเมตร

จํานวน 4 เสน

93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน 2.1 การตอสายไฟดวยการบัดกรี ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

1. ตัดสายไฟยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 2

ตัดสายไฟ THW ขนาด 2.5mm2

เสน

ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

2. ปอกฉนวน 10 เซนติเมตร

จากนั้นปอกฉนวนเสนที่ 1 และเสน ในการปอกฉนวนของสายไฟฟา ที่ 2 ออกเสนละ 10 เซนติเมตร

ควรทําอยางระมัดระวัง หากใชแรง มากเกินไปตัวนําไฟฟาอาจขาด ซึ่งจะสงผลตอการใชงาน โดยทําให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจรได

3. ใชคีมบิดสายสายเสนที่ 1 และ 2 เขา

ใชคีม บิดสายเสนที่ 1 พันรอบสาย

ดวยกัน 5-8 รอบ

เสนที่ 2 ใชคีม บิดสายเสนที่ 2 พัน รอบสายเส น ที่ 1 โดยทํ า เช น นี้ ไ ป เรื่ อ ย ๆ ด า นละประมาณ 5 – 8 รอบ เพื่อไมใหสายคลายตัว

4. ใชคีมบีบใหแนน

ใชคีมบีบใหแนน

5. นําตะกั่วมาจุมน้ํายาประสาน

นําตะกั่วบัดกรีมาจุมกับน้ํายา ประสาน

94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. เริ่มทําการบัดกรี

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

นําหัวแรงไปจี้บนลวดตัวนําที่ไดตอ อยานําตะกั่วไปจี้กับหัวแรงโดยตรง สายแบบต อ ตรงไว แ ล ว ในข า งต น เพราะตะกั่วจะไมยึดเกาะชิ้นงาน เพื่อใหลวดตัวนํารอน

จากนั้นนําตะกั่วไปจี้บนลวดตัวนํา

7. บัดกรีจนทั่วรอยตอ

บัดกรีจนทั่วบริเวณรอยตอ

8. ทําเพิ่ม อีก 1 ชิ้นงาน จากนั้นตรวจความ ทําเพิ่มอีก 1 ชิ้นงานเพื่อฝกความ เรียบรอยของชิ้นงาน

ชํานาญ จากนั้นตรวจสอบความ เรียบรอยและสงชิ้นงานทั้ง 2 ชิ้น

95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การบัดกรี 1.1 ตรวจชิ้นงานและทําความสะอาดกอนบัดกรี

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 บัดกรีชิ้นงานไดอยางถูกตอง แข็งแรง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 ทดสอบแรงดึง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

การปฏิบัติงาน

15

1.1 ตรวจชิ้นงานและทํ าความสะอาดกอนบัดกรี - ตรวจชิ้นงานและทํ าความสะอาดชิ้นงานกอนบัดกรี ใหคะแนน 5

5

คะแนนที่ได

คะแนน - ตรวจชิ้ น งานและทํ าความสะอาดชิ้น งานไม เ พียงพอกอ นบั ดกรี ให คะแนน 3 คะแนน - ตรวจชิ้นงานแตไมไดทําความสะอาดชิ้นงาน ใหคะแนน 1 คะแนน 1.2 บัดกรีชิ้นงานไดอย างถูกตอง แข็งแรง

- บั ด กรี ชิ้ น งานได ถูก ต อ ง ชิ้ น งานยึ ด เกาะกั น ได ดี เนื้ อ ตะกั่ วผสาน

5

ครอบคลุมสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - บัดกรีชิ้นงานได ถูก ตอง ชิ้นงานยึดเกาะกั นไดดี เนื้อตะกั่วผสานบาง หรือหนาเกินไป ใหคะแนน 3 คะแนน - บัดกรีชิ้นงานได แตชิ้นงานยึดเกาะกันไดไมดี เนื้อตะกั่วผสานบางหรือ หนาเกินไป ใหคะแนน 1 คะแนน 1.3 ทดสอบแรงดึง

- ทดสอบแรงดึงแลวสายไฟไมหลุดจากกัน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ทดสอบแรงดึงแลวสายไฟหลุดจากกันเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน -ทดสอบแรงดึงแลวสายไฟหลุดออกจากกัน ใหคะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ วน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1 1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 20

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 14 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผเู ขารับการฝกขอ เขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบงาน ใบงานที่ 1.5 การพันฉนวน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ตอสายไฟฟาดวยการพันฉนวนได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกตอสายไฟฟาตามแบบตอไปนี้ - จงพันฉนวนใหถูกตอง

98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 1.5 การพันฉนวน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวาง กีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คัตเตอร

จํานวน 1 อัน

2. คีมชางไฟฟา

จํานวน 1 ตัว

3. คีมตัด

จํานวน 1 ตัว

4. คีมปากแหลม

จํานวน 1 ตัว

5. ถุงมือ

จํานวน 1 คู

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. เทปพันสายไฟ

จํานวน 1 มวน

2. สาย THW ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร ความยาว 15 เซนติเมตร

จํานวน 4 เสน

99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน 2.1 การพันฉนวน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. ตัดสายไฟยาว 20 เซนติเมตร 2 เสน

ขอควรระวัง

ตัดสายไฟ THW ขนาด 2.5mm2 ยาว 20 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

2. ปอกฉนวน 10 เซนติเมตร

จากนั้นปอกฉนวนเสนที่ 1

ในการปอกฉนวนของ

และเสนที่ 2 ออกเสนละ

สายไฟฟา ควรทําอยาง

10 เซนติเมตร

ระมัดระวัง หากใชแรงมาก เกินไปตัวนําไฟฟาอาจขาด ซึ่งจะสงผลตอการใชงาน โดย ทําใหกระแสไฟฟาเกิดการ ลัดวงจรได

3. ใชคีมบิดสายสายเสนที่ 1 และ 2 เขาดวยกัน 5-8

ใชคีมบิดสายเสนที่ 1 พันรอบ

รอบ

สายเสนที่ 2 ใชคีมบิดสายเสน ที่ 2 พันรอบสายเสนที่ 1 โดยทําเชนนี้ไปเรื่อย ๆ ดานละประมาณ 5 – 8 รอบ เพื่อไมใหสายคลายตัว

4. ใชคีมบีบใหแนน

ใชคีมบีบใหแนน

5. เริ่มพันสายไฟ โดยพันในแนวเดียวกับสายไฟ

นําเทปพันสายไฟมาพันตรงจุด ที่ตอสายตอตรงแบบเดี่ยว โดยพันในแนวเดียวกับสายไฟ 100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

6. พันจนครอบคลุมบริเวณรอยตอ

พันเทปสายไฟจนถึงปลาย รอยตอ

7. พันกลับมาที่จุดเริ่มตน

พันกลับมาที่จุดเริ่มตน ทําซ้ําอีก

8. ทําซ้ําอีก 1 ชิ้น แลวตรวจสอบความเรียบรอยกอน

ทําซ้ําอีก 1 ชิ้น จากนั้น

สงชิ้นงาน

ตรวจสอบความเรียบรอยกอน สงชิ้นงาน

101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การพันฉนวน 1.1 ปอกสายไฟถูกตอง สายไฟไมเสียหาย

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 ตอสายไฟแบบเดี่ยวไดถูกตอง รับแรงดึงไดดี

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 พันฉนวนแนนหนา ไมเกิดชองวาง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 ปอกสายไฟถูกตอง สายไฟไมเสียหาย

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

15 - ปอกฉนวนสายไฟไดตามกําหนด สายไฟไมเสียหาย ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ปอกฉนวนสายไฟไดตามกําหนด พื้นผิวทองแดงเสียหายเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ปอกฉนวนสายไฟขาดหรือเกินมากกวา 2 มิลลิเมตร หรือ พื้นผิวทองแดงเสียหาย มาก ใหคะแนน 1 คะแนน

1.2 ตอสายไฟแบบเดี่ยวได ถูกตอง รับแรงดึงไดดี - ตอสายไฟแบบเดี่ยวไดถูกตองตามหลักวิธี รับแรงดึงไดดี ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ตอสายไฟแบบเดี่ยวไดถูกตองตามหลักวิธี รับแรงดึงแลวขยับเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตอสายไฟแบบเดี่ยวไดถูกตองตามหลักวิธี รับแรงดึงแลวขยับคอนขางมาก หลวม ใหคะแนน 1 คะแนน

1.3 พันฉนวนแนนหนา ไมเกิดชองวาง

2

- พันฉนวนแนนหนา เรียบรอยไมเกิดชองวาง ใหคะแนน 5 คะแนน - พั น ฉนวนแน น หนา ค อ นข า งเรี ยบร อ ย หรื อ มี ช อ งว า งเห็ น ทองแดงไม เ กิ น 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - พั น ฉนวนแน น หนา ค อ นข า งเรี ยบร อ ย หรื อ มี ช อ งว า งเห็ น ทองแดงมากกว า 3 มิลลิเมตรขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน

5

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ วน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน

คะแนนเต็ม

20

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 14 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2

0921720502 การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอร (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกขั้นตอนการตรวจสอบ และการกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได 2. ตรวจสอบ และกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได

2. หัวขอสําคัญ - การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอร

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

104 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ ครูฝกกําหนดได

105 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

7. บรรณานุกรม นุกูล แกวมะหิงษ. 2558. เครื่องปรับอากาศ (ภาคทฤษฎี). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. ยุทธนา สุวรรณลักษณ. 2557. การตรวจสอบสภาพมอเตอรคอมเพรสเซอร. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://e-learning.e-tech.ac.th/learninghtml/compers/cm03.htm

106 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอร คอมเพรสเซอร หรือ มอเตอรคอมเพรสเซอร ทําหนาที่ดูดน้ํายาที่เปนแกสแรงดันต่ํา (Low Pressure) แลวอัดใหมีแรงดั นสู ง (HI Pressure) ซึ่งมอเตอรที่ใชในคอมเพรสเซอรเปนแบบสปลิทเฟสมอเตอร แบงไดเปน 2 ชนิด คือ 1. แบบเฮอรเมติค (Hermetic Compressor) เปนแบบเชื่อมปดสนิท ใชในตูเย็น ตูแช และเครื่องปรับอากาศ 2. แบบเซมิเฮอรเมติค (Semi Hermetic) เปนคอมเพรสเซอรที่มีนอตยึดเพื่อถอดและประกอบซอมได ซึ่งในบทเรียนนี้จะเนนที่แบบเฮอรเมติคเพราะเปนแบบที่ใชในเครื่องปรับอากาศ โดยองคประกอบภายนอกจะมีทอ 3 ทอ ประกอบดวย ทอทางดูด (Suction หรือทางกลับ) ทอทางอัด (Discharge) และทอเติม น้ํายา (Charge) และที่สําคัญคื อ ขั้วหลัก 3 ขั้ว ซึ่งประกอบดวย 1) ขั้ว S คือ ขั้วที่ตอจากขดลวดสตารท (Starting Winding) โดยขดลวดสตารทนั้น มีคุณสมบัติคือจะพันดวย ขดลวดเสนเล็กจํานวนมากรอบ คาความตานทานมีคาสูง 2) ขั้ว R คือ ขั้วที่ตอจากขดลวดรัน (Running Winding) โดยขดลวดรันมีคุณสมบัติคือจะพันดวยขดลวดเสนใหญ จํานวนนอยรอบ คาความตานทานมีคา 3) ขั้ว C คือ ขั้วที่เกิดจากจุดรวมระหวางขั้ว S และขั้ว R หรือที่เรียกวา ขั้ว (Common) ซึ่งเปนจุดที่ข ดลวดรันและ ขดลวดสตารทมาตอกัน การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอร ผูปฏิบัติงานสามารถหาขั้วคอมเพรสเซอรไดจากการใชโอหมมิเตอรวัด ทดลองวัดทีละคูแลวบันทึกคาความตา นทาน ที่วัดได ดังภาพที่ 2.1

107 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.1 วิธีการกําหนดขั้วคอมเพรสเซอร คูใดที่มีคาความตานทานสูงสุด ขั้วที่เหลือจะเปนขั้ว C จากนั้นใหขั้ว C เปนขั้วหลัก แลวทดลองวัดโดยจับคูขั้ว C กับ ขั้วที่เหลือ ถาคูใดอานคาความตานทานไดสูงสุด แสดงวา ขั้วที่จับคูกับขั้ว C คือ ขั้ว S และขั้วที่เหลือคือ ขั้ว R ตัวอยางการกําหนดขั้วคอมเพรสเซอร ทดลองวัดทีละคูแลวบันทึกคาความตานทานที่วัดได 1. วัดคาความตานทานระหวางขั้ว 1 กับขั้ว 2 ไดเทากับ 15 โอหม

108 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.2 การวัดคาความตานทานระหวางขั้ว 1 กับขั้ว 2 2. วัดคาความตานทานระหวางขั้ว 1 กับขั้ว 3 ไดเทากับ 20 โอหม

ภาพที่ 2.3 การวัดคาความตานทานระหวางขั้ว 1 กับขั้ว 3 3. วัดคาความตานทานระหวางขั้ว 2 กับขั้ว 3 ไดเทากับ 5 โอหม

ภาพที่ 2.4 การวัดคาความตานทานระหวางขั้ว 2 กับขั้ว 3 แสดงวา ขั้ว 1 กับขัว้ 3 มีคาความตานทานสูงสุด

ดังนั้น ขั้วที่ 2 คือ ขั้ว C

ขั้ว 1 กับขั้ว 2 มีคาความตานทานรองลงมา ดังนั้น ขั้วที่ 1 คือ ขั้ว S ขั้ว 2 กับขั้ว 3 มีคาความตานทานนอยสุด ดังนั้น ขั้วที่ 3 คือ ขั้ว R

ภาพที่ 2.5 การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอร 109 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 การตรวจสอบไฟรั่ว (การลงกราวด) กระแสไฟฟารั่ว การที่กระแสไฟฟาไดรั่วไหลจากวงจรไฟฟาไปที่ผิวของสายไฟฟา หรือโครง (ผิว หรือโครงที่เปนโลหะเปนสื่อนํา กระแสไฟฟา) ของอุปกรณไฟฟา เครื่องใชไฟฟา หรือรั่วไปที่ผิวของโครง หรือผนังของจุดติดตั้งระบบไฟฟา เชน เสาโลหะโคม ไฟสองสวาง เสาโลหะกลอง CCTV เปนตน ทําใหจุดเหลานั้นมีกระแสไฟฟา หรือแรงดันไฟฟา ซึ่งถาคนไปสัมผัสอาจทําใหเกิด อันตรายถึงชีวิตได กระแสไฟฟารั่วเกิดไดหลายสาเหตุ เริ่มตั้งแตการติดตั้งเดินสายไฟที่ไมถูกตองตามมาตรฐาน การขาดการตรวจสอบ และบํารุงรักษาอุปกรณไฟฟา การใชงานที่ไมถูกตอง ตลอดไปจนถึงการเสื่อมสภาพของฉนวนอุปกรณไฟฟาที่ใ ชม าเป น เวลานาน เปนตน ซึ่งสวนใหญมาจากการที่ฉนวนที่ใชหอหุม ใชพัน หรือใชคั่นสวนที่มีแรงดันไฟฟา เกิดชํารุด หรือเสื่อมสภาพ ทําใหตัวนํา หรือจุดเหลานั้นมีแรงดันไฟฟา แลวไปสัมผัสกับโครงโลหะของอุปกรณไฟฟาจึงเกิดกระแสไฟฟารั่วขึ้น การเกิดกระแสไฟฟารั่วมีผล หรืออันตรายดังนี้ 1. ผู ที่ ไ ปจั บ ต อ ง หรื อ สั ม ผั สส วนที่ มีก ระแสไฟฟารั่ ว จะทํ า ให ถูก กระแสไฟฟ าดู ด ความเป น อั น ตรายของ กระแสไฟฟาขึ้นอยูกับ ปริม าณของกระแสไฟฟาและระยะเวลาที่ถูกไฟดูด ความรุนแรงของไฟดูดนั้นถึง ขั้นเปนอันตรายถึงชีวิตได โดยผลของกระแสไฟฟาสลับที่มีตอมนุษย ตามมาตรฐาน IEC * 60479-1 ที่ ยานความถี่ 15 Hz ถึง 100 Hz สําหรับกระแสไหลผานจากมือถึงเทา 2. ทําใหเกิดการสิ้นเปลืองไฟฟาโดยเปลาประโยชน เนื่องจาก กระแสไฟฟารั่วจะพยายามไหลไปตามสิ่งที่เปนสื่อ ไฟฟา เพื่อลงดินและทําใหเสียคาไฟฟาเพิ่มขึ้น ซึ่งเปรียบเสมือน น้ําประปารั่วตามจุดตาง ๆ ในบานก็จะเปน การสูญเสียน้ํา โดยเปลาประโยชนและเสียคาน้ําเพิ่มขึ้นเชนเดียวกัน 3. เปนเหตุใ หเกิดอัคคีภัย ขึ้นได เนื่องจากบริเวณ หรือจุดที่เกิด กระแสไฟฟารั่ว จะมีกระแสไฟฟาไหลจนเกิด ความรอนขึ้นและหากความรอนสะสมเปนเวลานาน จะทําใหเกิดการติด ไฟจนเปนสาเหตุใหเกิดเพลิงไหมได การตรวจการลงกราวด ระบบไฟฟาที่ใชกันในบาน และที่อยูอาศัยควรไดรับการตรวจสอบวามีกระแสไฟฟารั่วหรือไมนั้น ซึ่งผูอาศัยสามารถ ตรวจสอบไดเองโดยใชไขควงเช็คไฟ (Test Lamp) ตรวจสอบ ใชโอหม มิเตอร มัลติมิเตอร หรือเครื่องมืออื่น ๆ ที่สามารถ ตรวจวัดกระแสไฟได จิ้ม สวนที่เปนโลหะ หากใชไขควงเช็คไฟใหจับที่ดามไขควง และนําปลายไขควงไปแตะจุดที่ตองการ ตรวจสอบ หากเปนเครื่องใชไฟฟาที่ใชไฟอยู ใหแ ตะที่ผิวที่โครงซึ่งเปนโลหะของเครื่องใชไฟฟานั้น ๆ ถาพบวาหลอดไฟที่ ดามไขควงสวางขึ้ น แสดงวาเครื่อ งใช ไฟฟ าที่ ต รวจสอบเกิ ดไฟรั่ว ควรระวังอยาไปแตะต อง หรือหลีกเลี่ย งการใช ง าน สําหรับการตรวจสอบระบบไฟฟาในบานรวมถึงสายไฟ วามีกระแสไฟฟารั่วหรือไม จะตองใหชางหรือผูมีความรูความชํา นาญ เปนผูตรวจสอบกระแสไฟฟารั่ว เพื่อความปลอดภัยตอไป 110 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. การตรวจขั้วคอมเพรสเซอรชวยใหประหยัดคาไฟ 2. การตรวจขั้วคอมเพรสเซอรทําไดโดยใชมัลติมิเตอร 3. ขั้ว R คือ ขั้วที่มีคาความตานทานต่ําสุด 4. ขั้ว C คือ ขั้วที่อยูตรงขามกับคูขั้วที่มีคาต่ําสุด 5. ควรปรับการชี้ศูนย (Set Zero) กอนนําโอหมมิเตอรแบบเข็มไปใชทุกครั้ง

111 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

กระดาษคําตอบ ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5

112 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบงาน ใบงานที่ 2.1 การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอร และตรวจการลงกราวด 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ตรวจสอบและกําหนดขั้วคอมเพรสเซอรได 2. ตรวจการลงกราวดได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน

- ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกวัดคาความตานทานระหวางขั้วคอมเพรสเซอรพรอมบันทึกผลการตรวจสอบ บันทึกผลการตรวจสอบขั้ว ขั้วคอมเพรสเซอรคูที่ 1 กับ 2 1 กับ 3 2 กับ 3

คาความตานทานที่วัดได

สรุปขั้ว

บันทึกผลการตรวจการลงกราวด ขั้วที่ตรวจสอบ

คาความตานทาน ขึ้น ไมขึ้น

สรุปผล ดี

เสีย

C กับ ตัวถัง/ทอ S กับ ตัวถัง/ทอ R กับ ตัวถัง/ทอ สรุปผลการตรวจสอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

113 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 2.1 การกําหนดขั้วคอมเพรสเซอร และตรวจการลงกราวด 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวาง กีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คอมเพรสเซอร

จํานวน 1 เครื่อง

2. มัลติมิเตอรแบบเข็ม จํานวน 1 เครื่อง หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ชุดเครื่องเขียน

จํานวน 1 ชุด

2. แบบบันทึกผลการตรวจสอบ

จํานวน 1 ใบ

114 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน 2.1 การหาขั้วคอมเพรสเซอร ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ปรับยานวัดของมัลติมิเตอรไปที่ Range R ×1หรือ 2,000 โอหม

คําอธิบาย ขอควรระวัง ทําการตรวจขั้วคอมเพรสเซอร ทดสอบ Zero โดยใหเข็มชี้ โดยปรับยานวัดของมัลติมิเตอรไปที่ ตรงเลข 0 Range R ×1 หรือ 2,000 โอหม

2. กําหนดจุด 3 จุด แทนตําแหนงขั้ว คอมเพรสเซอร

กําหนดจุดเปนสามเหลี่ยมบน กระดาษ โดยแบงเปนขั้วที่ 1 2 และ 3

3. ตรวจขั้ว 1 กับ 2 แลวบันทึกผล

ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน ระหวางขั้ว 1 กับ 2 บันทึกผล

115 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ค ว ร ทํ า ค ว า ม ส ะ อ า ด ขั้ ว คอมเพรสเซอรแ ละโครงที่จะวัดคา กอนเสมอ และไมควรใชเข็ ม มั ล ติ มิเตอรแ ตะบริเวณที่มีสีเ คลื อ บอยู เพื่อการวัดคาที่มีประสิทธิภาพและ ไดคาที่ถูกตอง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

4. ตรวจขั้ว 1 กับ 3 แลวบันทึกผล

ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน ระหวางขั้ว 1 กับ 3 บันทึกผล

5. ตรวจขั้ว 2 กับ 3 แลวบันทึกผล

ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน ระหวางขั้ว 2 กับ 3 บันทึกผล

116 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. กําหนดขั้ว C ขั้ว S และขั้ว R แทน ตําแหนงขั้ว 1 ขั้ว 2 และ ขั้ว 3

คําอธิบาย กําหนดขั้ว C ขั้ว S และขั้ว R จากคู ที่วัดคาความตานทานไดสูงสุด ขั้วที่ อยูตรงขามจะเปนขั้ว C จากนั้นโดย ทางเทคนิค ขั้ว S จะมีคารองลงมา และขั้ว R จะมีคานอยที่สุด

7. บันทึกผล และสงครูฝก

บันทึกผลลงในใบงาน และสงครูฝก เพื่อรับการประเมิน

117 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 2.2 การตรวจสอบไฟรั่วลงกราวด ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ปรับยานวัดมัลติมิเตอรที่ Range R × 1K

คําอธิบาย ทําการตรวจสอบไฟรั่วลงกราวด

ขอควรระวัง ทดสอบ Zero โดยใหเข็มชี้

หรือ 2,000,000 โอหม

โดยปรับยานวัดของมัลติมิเตอร

ตรงเลข 0

ไปที่ Range R × 1K หรือ 2,000,000 โอหม

2. วัดคาความตานทานระหวางขั้ว 1 กับทอ

ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน

ควรทําความสะอาดขั้ว

ทางดูดหรือทอทางอัด แลวบันทึกผล

ระหวางขั้ว 1 กับทอทางดูด หรือ

คอมเพรสเซอรและโครงที่จะวัดคา

ทอทางอัด จากนั้นบันทึกผล

กอนเสมอ และไมควรใชเข็มมัลติ มิเตอรแตะบริเวณที่มีสีเคลือบอยู เพื่อการวัดคาที่มีประสิทธิภาพและ ไดคาที่ถูกตอง

3. วัดคาความตานทานระหวางขั้ว 2 กับทอ

ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน

ทางดูดหรือทอทางอัด แลวบันทึกผล

ระหวางขั้ว 2 กับทอทางดูด หรือ ทอทางอัด จากนั้นบันทึกผล

118 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. วัดคาความตานทานระหวางขั้ว 3 กับทอ

คําอธิบาย ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน

ทางดูดหรือทอทางอัด จากนั้นบันทึกผล

ระหวางขั้ว 3 กับทอทางดูด หรือ ทอทางอัด จากนั้นบันทึกผล

5. ประเมินและสรุปผลการลงกราวด

ประเมินผลการตรวจสอบลงในใบ งาน หากไมมีการลงกราวด มัลติมิเตอรจะไมแสดงคาโอหม หรือมีคาความตานทานเปนอินฟ นิตี้ ถามีการลงกราวด มัลติมิเตอร จะแสดงคาโอหม สรุปไดวาไมควร นําคอมเพรสเซอรตัวนั้นกลับไปใช จากนั้นสงใบบันทึกผลและสรุปผล

119 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ รายการตรวจสอบ 1 การตรวจขั้วคอมเพรสเซอร 1.1 ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานระหวางขั้วของ คอมเพรสเซอรได 1.2 ใชมัลติมิเตอรตรวจสอบการลงกราวดได 1.3 อานคาจากมัลติมิเตอรได 1.4 สรุปผลการลงกราวดไดถูกตอง 2 กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

120 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เกณฑการพิจารณา ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ รายการประเมิน เกณฑการใหคะแนน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 ใชมัลติมิเตอรวัดคาความต านทานระหวางขั้ว - ใชเครื่องมือไดถูกตอง คลองแคลว ใหคะแนน 5 คะแนน ของคอมเพรสเซอรได - ใชเครื่องมือไดถูกตอง แตขาดความคลองแคลว ใหคะแนน 3 คะแนน - ใช เ ครื่ อ งมื อ ได ไม ถูก ต อ งและขาดความคล อ งแคล ว ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.2 ใชมัลติมิเตอรตรวจสอบการลงกราวดได - ใชเครื่องมือไดถูกตอง คลองแคลว ใหคะแนน 5 คะแนน - ใชเครื่องมือไดถูกตอง แตขาดความคลองแคลว ใหคะแนน 3 คะแนน - ใช เ ครื่ อ งมื อ ได ไม ถูก ต อ งและขาดความคล อ งแคล ว ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.3 อานค าจากมัลติมิเตอรได - อานคาจากเครื่องมือวัดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน - อานคาจากเครื่องมือวัดคลาดเคลื่อน 1 ครั้ง ใหคะแนน 3 คะแนน - อ านค าจากเครื่ อ งมื อวั ด คลาดเคลื่ อนมากกวา 2 ครั้ ง ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.4 สรุปผลการลงกราวดไดถูกตอง - สรุปผลไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน - สรุปผลไดถูกตอง แตไมครบถวน 1 รายการ ใหคะแนน 3 คะแนน - สรุ ปผลถู ก ต อ งบางส วนหรื อ ไม ค รบถ วนมากกว า 2 รายการ ให คะแนน 1 คะแนน 2 กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน ครบถ วน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

คะแนนเต็ม 20 5

คะแนนที่ได

5

5

5

5 1 1 1 1 1 25

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

121 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5

คณะผูจ ดั ทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช 4. นายสุรพล

เบญจาทิกุล พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

122 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 5 นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

123 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.