หนาปก
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
คูมือผูรับการฝก 0920164170201 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1
ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝกที่ 6 09217301 งานทอและการเชื่อม
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
คํา นํา
คูม ือ ผูรับ การฝก สาขาชา งเครื่อ งปรับ อากาศในบา นและการพาณิช ยข นาดเล็ก ระดับ 1 โมดูล 6 งานทอ และการเชื่อม ฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการ พัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูรับการฝกไดใชเปนเครื่องมือในการฝกอบรม ใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ หลังเรียนจบโมดูลการฝก ผูรับการฝกสามารถบอกและเลือกใชทอแตละขนาน และแตละชนิด ได สามารถนําทอมาตัด ขยาย บานแฟลร ดัด รวมถึง การปรับตั้งไฟแกส เพื่อเชื่อมทอไดอยางถูกตอง ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรีย นรูไ ด ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแ ก ผูรับการฝกอบรม และตองการใหผู รับ การฝ กอบรมเกิ ดการเรีย นรูด วยตนเอง การฝกปฏิบัติ จะดํ าเนิ น การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชใ นการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรีย นรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรีย มการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรีย มและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดม ากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคาใช จายในการพั ฒ นาฝมือแรงงานใหแ ก กําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝ ก ที่ มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใ ชแ รงงานผูวางงาน นักเรีย น นักศึกษา และผูประกอบอาชีพ อิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน
ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
สารบัญ
เรื่อง
หนา
คํานํา
ก
สารบัญ
ข
ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก
1
โมดูลการฝกที่ 6 09217301 งานทอและการเชื่อม หัวขอวิชาที่ 1 0921730101 ทอในเครื่องทําความเย็น
14
หัวขอวิชาที่ 2 0921730102 ชนิดของลวดเชื่อมแกส
51
หัวขอวิชาที่ 3 0921730103 ชนิดของหัวเชื่อมแกส
57
หัวขอวิชาที่ 4 0921730104 การเชื่อมแกส
71
หัวขอวิชาที่ 5 0921730105 การเชื่อมทอทองแดง
91
คณะผูจัดทําโครงการ
118
ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้
1. รายละเอียดของคูม ือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด วย หัวขอวิชาที่ผูรับการฝกตองเรีย นรูแ ละฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูลและรหัสหัวขอวิชาเป นตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรีย นรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนํา ความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑม าตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรีย นรูข องผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรีย นรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบีย น เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผา นอุป กรณอิเล็กทรอนิก สหรือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขา ใช ง านระบบ แบงสวนการใชง านตามความรั บผิ ด ชอบของผู มีส ว นได ส ว นเสีย ดั ง ภาพในหน า 2 ซึ่งรายละเอีย ดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
. 2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ในคูมือผูรับการฝก จะเริ่ม ตนที่ ค. ผังการฝกอบรม เพื่อให สอดคลองกับการนําคูมือผูรับการฝกไปใช จึงละเวน ก. ผังการจัดเตรียมระบบ และ ข. ผังการเปดรับสมัครและคัด เลือก ผูรับการฝก ค. ผังการฝกอบรม
3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิ บั ติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่อ อิเ ล็ก ทรอนิ กส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม 4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถั ดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ผูรับการฝกดาวนโหลดแอปพลิเคชั น DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวนโหลดแอปพลิ เ คชั น สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหาแอป พลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิ เคชั น DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ
5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถั ดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด วยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการ ฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70
เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 6
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตาม เกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว 4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก
7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก
8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาทีต่ รวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถาไมครบ จะไมจบหลักสูตรแตได รับการรับ รองความสามารถบางโมดู ลในรายการโมดูล ที่สํา เร็ จเท า นั้ น ซึ่งสามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ
9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและ การพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920164170201
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุม ดานความรู ทักษะ และเจตคติแ กผูรับการฝกในสาขาชางเครื่องปรับอากาศในบาน และการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก เพื่ อ ให มี ค วามรู ค วามสามารถและทั ศ นคติ ต ามมาตรฐานฝ มื อ แรงงานแห ง ชาติ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูใ นการปฏิบัติงานเกี่ย วกับงานชางไฟฟา งานชางเครื่องทําความเย็น และชางเครื่องปรับอากาศ ไดอยางปลอดภัย 1.2 มีความรูเกี่ย วกับหนว ยวั ดของระบบต าง ๆ ที่ใ ชงานในเครื่ องทํา ความเย็ นและเครื่อ งปรั บอากาศ และ สามารถอานแบบเครื่องกล แบบทางไฟฟาเบื้องตน รวมทั้งแบบวงจรไฟฟาที่เกี่ย วกับงานเครื่องทําความเย็น 1.3 มีความรูเกี่ยวกับทฤษฎีไฟฟา 1.4 มีความรูความสามารถในการใชงานเครื่องมือวัดงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ 1.5 มีความรูความสามารถในการตอสายไฟฟาตามแบบที่กําหนด 1.6 มีความรูความสามารถในการตัด ปรับแตง ขยาย บาน ดัด และการเชื่อมทอทองแดง 1.7 มีความรูเกี่ยวกับหลักการทําความเย็นและสารทําความเย็น 1.8 มีความรูเกี่ยวกับสวนประกอบระบบทําความเย็นแบบแกสอัดไอ 1.9 มีความรูความสามารถในการตรวจสอบวงจรไฟฟาในเครื่องปรับอากาศ 1.10 มีความรูความสามารถในการติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับ การฝ กในภาคทฤษฎีแ ละภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝมื อแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 82 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝ ก จบการฝ กไมพ รอมกั น สามารถจบกอ นหรือ เกิ น ระยะเวลาที่ กํา หนดไวใ นหลักสูต รได 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใ หอยูใ นดุ ล ยพิ นิ จ ของผู อํา นวยการ สถาบั น พั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน หรื อ ผู อํา นวยการสํา นั ก งานพั ฒ นาฝ มื อ แรงงานที่ เ ป น หน ว ยฝ ก ตามความสามารถ จะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 10 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 10 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. ชาง เครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1
11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 6 1. ชื่อหลักสูตร
รหัสหลักสูตร 0920164170201 2. ชื่อโมดูลการฝก รหัสโมดูลการฝก 09217301 3. ระยะเวลาการฝก รวม 14 ชั่วโมง 15 นาที ทฤษฎี 3 ชั่วโมง 15 นาที ปฏิบัติ 11 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหน ว ย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุม ดา นความรู ทักษะ และเจตคติแ กผูรั บการฝ ก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. บอกชนิดของทอที่ใชในเครื่องทําความเย็นได 2. ตัดทอ ปรับแตงปลายทอ ขยายทอ บานทอ ดัดทอ และนําไปใชได 3. บอกชนิดของลวดเชื่อมแกสได 4. บอกชนิดของหัวเชื่อมแกส และการเลือกใชงานได 5. เลือกใชงานหัวเชื่อมแกสไดถูกตอง 6. บอกขั้นตอนการเชื่อมแกส ปรับแตงแรงดันแกสอะเซทิลีน แกส LPG แกสออกซิเจน และนําไปใชได 7. เชื่อมแกส ปรับแตงแรงดันแกสอะเซทิลีน แกส LPG และแกสออกซิเจนได 8. บอกขั้นตอนการเชื่อมทอทองแดงผานทอไนโตรเจนได 9. เชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจนได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับชนิดของทอ สามารถตัด ขยาย บานแฟลร ดัด ทอได รวมถึง ผูรับการฝก การปรับตั้งไฟแกส เพื่อเชื่อมทอไดอยางถูกตอง หรือผานการฝกอบรมที่เกี่ย วของ เบื้องตน จากหนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานการฝกโมดูลที่ 5 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัว ขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. บอกชนิ ดของทอที่ใ ชใ น หัวขอที่ 1 : ทอในเครื่องทําความเย็น 1:15 4:00 5:15 เครื่อ งทําความเย็นได สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 งานทอและการเชื่อม
12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 2. ตัดทอ ปรับแตงปลายทอ ขยายทอ บานทอ ดัดทอ และ นําไปใชได 3. บอกชนิ ด ของลวดเชื่ อ มแก ส และการเลือกใชงานได 4. บอกชนิดของหัวเชื่อมแกสได 5. เลื อ กใช ง านหั ว เชื่ อ มแก ส ได ถูกตอง 6. บอกขั้นตอนการเชื่อมแกส ปรับแตงแรงดัน แกสอะเซทิลีน แกส LPG และ แกสออกซิเจน 7. เชื่อมแกส ปรับแตงแรงดันแกส อะเซทิลีน แกส LPG และ แกสออกซิเจนได 8. บอกขั้นตอนการเชื่อมทอ ทองแดงผานทอไนโตรเจนได 9. เชื่อมทอทองแดง ผานแกสไนโตรเจนได
หัวขอที่ 2 : ชนิดของลวดเชื่อมแกส
0:30
-
0:30
หัวขอที่ 3 : ชนิดของหัวเชื่อมแกส
0:30
1:00
1:30
หัวขอที่ 4 : การเชื่อมแกส
0:30
3:00
3:30
หัวขอที่ 5 : การเชื่อมทอทองแดง
0:30
3:00
3:30
รวมทั้งสิ้น
3:15
11:00 14:15
13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1
0921730101 ทอในเครื่องทําความเย็น (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกชนิดของทอที่ใชในเครื่องทําความเย็นได 2. ตัดทอ ปรับแตงปลายทอ ขยายทอ บานทอ และดัดทอได
2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5.
ชนิดของทอที่ใชในเครื่องทําความเย็น การตัดทอ การปรับแตงปลายทอ การขยายทอ และการบานทอ การดัดทอ
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ 14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก
6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ ครูฝกกําหนดได
15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
7. บรรณานุกรม จีรวรรณ บุตรโสภา. 2557. หนวยที่ 3 งานเชื่อมแกส. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://2100-1005-1.blogspot.com/2014/01/3.html ภานุวัฒน หนูกิจ. 2556. งานเชื่อมและโลหะแผนเบื้องตน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.maceducation.com/ebook/3305806100/files/assets/common/downloads/publication.pdf สนอง อิ่มเอม. 2547. เครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศรถยนต. กรุงเทพฯ : อมรินทรพ ริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง
16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ทอในเครื่องทําความเย็น 1. ชนิดของทอที่ใชในเครื่องทําความเย็น 1.1 ทอทางเดินสารทําความเย็นที่ใชในระบบเครื่องทําความเย็น แบงออกเปน 2 ชนิด ดังนี้ 1) ทอชนิดออน สวนใหญที่นิยมใช ไดแก ทอทองแดงอยางออน ทออะลูมิเนียม ทอที่ทําจากสารอัลลอยดพิ เศษ โดยมีเสนผานศูนยกลางหลายขนาด เชน ทอทองแดงชนิดออน (Soft Copper) ทออะลูมิเนียม หรือทอ ที่ทําจากอัลลอยดชนิดพิเศษ ที่นิยมใชกันทั่วไป คือ ทอทองแดงชนิดออน มีขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอก (Outside Diameter หรือ OD) ตั้งแต 1/4 นิ้ว ถึง 3/4 นิ้ว มีความหนาหลายขนาด เชน ชนิดหนา (K) ชนิด ปานกลาง (M) และชนิด บาง (L) เปน ตน มีค วามยาวมวนละ 50 ฟุต (15 เมตร) เวลาใชงาน ตอ งระมัดระวังในการคลี่ออกจากมวน มิฉะนั้นอาจทําใหทอพับหรือแบนได ทอชนิดออนมักนิยมใชกับ ระบบการทําความเย็นขนาดเล็กโดยทั่วไป 2) ทอชนิดแข็งที่ใชในระบบทําความเย็น ไดแก ทอทองแดงอยางแข็ง (Hard – draw Copper) ทอสเตนเลส โดยมีการจําหนายเปนทอน ๆ มีข นาดเสนผานศูนยกลางภายนอกตั้ง แต 3/8 นิ้ว ถึง 4 นิ้ว มีค วาม หนาหลายขนาดเช น เดีย วกั บท อชนิ ด อ อ น มีความยาวประมาณท อ นละ 20 ฟุต (6 เมตร) มักใชกับ ระบบการทําความเย็นขนาดใหญ การนําทอทองแดงชนิ ดออนไปใชงานจะตองมีวิธีการในการตัดทอ การ ขยายทอ การบานทอ การเชื่อม
ภาพที่ 1.1 ทอชนิดออน
ภาพที่ 1.2 ทอชนิดแข็ง 17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.2 ขนาดของทอทองแดง และทอแคปทิ้วป ทอทองแดงชนิดทอออนแบบมวน และชนิดแข็งแบบเสนมีหลายขนาด ซึ่งนํามาใชกับงานเดินทอของสารทําความเย็น ในระบบที่มีขนาดแตกตางกัน โดยมีรายละเอียดตามตารางตอไปนี้ ตารางที่ 1.1 ขนาดของทอทองแดงแบบมว น แบบความหนาปกติ ขนาด (นิ้ว)
ความหนา (มม.)
1/4
0.40
1/4
0.50
1/4
0.71
5/16
0.40
5/16
0.50
5/16
0.60
5/16
0.70
3/8
0.46
3/8
0.50
3/8
0.60
3/8
0.71
1/2
0.48
1/2
0.60
1/2
0.71
5/8
0.54
5/8
0.71
3/4
0.61
3/4
0.71
3/4
0.81
18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ตารางที่ 1.2 ขนาดของทอทองแดงแบบมว น แบบความหนาพิเศษ ขนาด (นิ้ว) 3/16 3/16 1/4 5/16 5/16 3/8 1/2 5/8 5/8 3/4 3/4
ความหนา (มม.) 0.60 0.40 1.20 1.20 1.02 1.20 1.20 1.20 1.02 1.20 1.02
ตารางที่ 1.3 ขนาดของทอทองแดงแบบเสน Type M ความยาว 6 เมตร ขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอก (นิ้ว) 3/8 ½ 5/8 ¾ 7/8 1-1/8 1-3/8 1-5/8 2-1/8 2-5/8 3-1/8
ขนาดเสนผานศูนยกลางภายใน (นิ้ว) 1/4 3/8 1/2 5/8 3/4 1 1-1/4 1-1/2 2 2-1/2 3
19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ความหนา (มม.) 0.55 0.64 0.71 0.76 0.81 0.89 1.07 1.27 1.52 1.78 2.03
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ตารางที่ 1.4 ขนาดของทอทองแดงแบบเสน Type L ความยาว 6 เมตร ขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอก
ขนาดเสนผานศูนยกลางภายใน
ความหนา
(นิ้ว)
(นิ้ว)
(มม.)
3/8
1/4
0.76
1/2
3/8
0.89
5/8
1/2
1.02
3/4
5/8
1.07
7/8
3/4
1.14
1-1/8
1
1.27
1-3/8
1-1/4
1.40
1-5/8
1-1/2
1.52
2-1/8
2
1.78
2-5/8
2-1/2
2.03
3-1/8
3
2.29
3-5/8
3-1/2
2.54
4-1/8
4
2.79
5-1/8
5
3.18
6-1/8
6
3.56
8-1/8
8
5.08
ตารางที่ 1.5 ขนาดของทอทองแดงแบบเสน Type K ความยาว 6 เมตร ขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอก
ขนาดเสนผานศูนยกลางภายใน
ความหนา
(นิ้ว)
(นิ้ว)
(มม.)
3/8
1/4
0.89
1/2
3/8
1.24
5/8
1/2
1.24
3/4
5/8
1.24
20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอก (นิ้ว)
ขนาดเสนผานศูนยกลางภายใน (นิ้ว)
ความหนา (มม.)
7/8
3/4
1.65
1-1/8
1
1.65
1-3/8
1-1/4
1.65
1-5/8
1-1/2
1.83
2-1/8
2
2.11
2-5/8
2-1/2
2.41
3-1/8
3
2.77
4-1/8
4
3.40
5-1/8
5
4.06
6-1/8
6
4.88
นอกจากนี้ทออีกประเภทที่เปนอุปกรณสําคัญของระบบปรับอากาศ คือ ทอแคปปลลารี่ หรือแคปทิ้วป ซึ่งมี รายละเอียดของขนาดตามตารางตอไปนี้ ตารางที่ 1.6 แสดงขนาดของทอแคปปลลารี่ ขนาดและเบอรแคปทิ้วป ขนาด (นิ้ว)
เบอร
0.026
22
0.031
21
0.036
20
0.042
19
0.050
18
0.055
17
0.059
16
0.064
15
0.070
14 21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 2. การตัดทอ การตัดทอสารทําความเย็น มี 2 วิธี ดังนี้ 2.1 การตัดทอโดยใชคัตเตอรหรือมีดตัด คัตเตอรหรือมีดสําหรับตัดทอ มีหลายประเภท ซึ่งผูใชงานควรเลือกใชคัตเตอรใหเหมาะสมกับประเภท และขนาดของทอ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1) คัตเตอรตัดทอแบบสายคลองตัว สําหรับใชตัดทอในที่แ คบ โดยตัดทอไดตั้งแตข นาดเสนผ า นศู น ยก ลาง 2-12 นิ้ว
ภาพที่ 1.3 คัตเตอรตัดทอแบบคลองตัว 2) คัตเตอรตัดทอแบบสปริง ประกอบไปดวยสวนของสปริงที่มีหนาที่ชวยใหการขยับเขาออกรวดเร็วขึ้น ทําใหประหยัดเวลาในการหมุนคัตเตอรเพื่อตัดทอ คัตเตอรตัดทอแบบสปริงมีหลายรุน ซึ่งสามารถตัดทอ ที่มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 1/4 - 6 นิ้ว
ภาพที่ 1.4 คัตเตอรตัดทอแบบสปริง 3) คัตเตอร ตั ด ท อทองแดง และทอคอนดู ด (Tubing and Conduit Cutter) สําหรับตัด ท อทองแดง ทอทองเหลือง ทออะลูมิเนีย ม และทอคอนดูดแบบบาง โดยคัตเตอรประเภทนี้ จะมีลูกบิดขนาดใหญ ซึ่งชวยประหยัดเวลาในการตัดทอ คัตเตอรประเภทนี้มีหลายขนาด สามารถตัดทอขนาดเสนผานศูนยกลาง 1/8 – 4 นิ้ว
22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 1.5 คัตเตอรตัดทอทองแดง และทอคอนดูด 4) คัตเตอรตัดทอแบบลูกกลิ้งขนาดใหญ เปนคัตเตอรที่ออกแบบมาเพื่อใชกับทอขนาดใหญ และสามารถใช รวมกับมอเตอรขันทอ โดยอุปกรณนี้สามารถรองรับทอที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางตั้งแต 1/8 – 2 นิ้ว
ภาพที่ 1.6 คัตเตอรตัดทอแบบลูกกลิ้งขนาดใหญ 5) คัตเตอรตัด ทอแบบอัต โนมั ติ เหมาะสําหรับตัดทอ ทองแดง ทอทองเหลือง ทออะลูมิเนีย ม ทอพีวีซี ทอคอนดูดแบบบาง อุปกรณจะทําใหจับยึดทอไดแบบพอดี และสามารถตัดไดโดยหมุนอุปกรณไปรอบ ๆ เหมาะสํา หรับ การทํา งานในพื้ น ที่จํ า กัด คัต เตอรแ บบอัต โนมัติม ี 2 ขนาด คือ สํา หรับ ทอ ขนาด เสนผานศูนยกลาง 15 มิลลิเมตร และ 22 มิลลิเมตร
ภาพที่ 1.7 คัตเตอรตัดทอแบบอัตโนมัติ 6) มินิคัตเตอร เปนคัตเตอรขนาดเล็ก เหมาะสําหรับการตัดทอขนาดเล็ก เสนผานศูนยกลาง 3-22 มิลลิเมตร และ พื้นที่ทํางานที่จํากัด ซึ่งมินิคัตเตอรสามารถตัดทอทองแดง ทออะลูมิเนียม และทอทองเหลือง 23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 1.8 มีด มินิคัตเตอร ในระบบการทํา ความเย็น ขนาดเล็ก มีด ตัด ทอ จัด เปน เครื่อ งมือ ที่ใ ชใ นการตั ด ทอ มากที่สุ ด รองลงไป คือ ตะไบสามเหลี่ยม สวนเลื่อยตัดเหล็กมักใชกับงานทอของระบบการทําความเย็นขนาดใหญเทานั้น การตัดทอดวยมีดตัดทอ เปนวิธีที่นิย มใชทั่วไปเนื่องจากกระทําไดงาย และไมมีเศษผงขณะทําการตัด มีดตัดทอ เปน เครื่องมือที่ใ ชสําหรับตัดทอทองแดงชนิ ดออ น ในการปฏิบัติงานบางครั้งมี ดตั ดทอ ธรรมดาไมสามารถใชง านได เนื่อ งจากพื้น ที่คับแคบจึงตองใชมีดตัดทอ ขนาดเล็ก (Mini Cutter) มีด ตัด ทอขนาดเล็ก จะใชกับทอขนาดเล็กโดยมี เสนผานศูนยกลางไมเกิน 1/2 นิ้ว ดังภาพที่ 1.8 ขางตน การคลี่ทอทองแดงออน ทอทองแดงออนที่มีจําหนายเปนมวนเมื่อจะใชงานตองคลี่ใ หถูกตอง มิฉ ะนั้นอาจทําใหทอพับหรือแบนได และ ความยาวที่คลี่ออกมาเพื่อตัดใชงานจะตองมีความพอดี ถามีความยาวมากเกินไปเมื่อตองการมวนกลับคืนจะกระทํา ไดลําบาก ปกติจะตองใชสปริงดัดทอดัดคืนเขามวน การคลี่ทอทองแดงออนจะกระทําโดยการขับมวนทองแดงใหตั้ งฉาก กับพื้นที่เรียบ เอามือกดดานปลายทอใหชิดกับพื้น แลวคอย ๆ จับมวนทอทองแดงกลิ้งมวนไปตรงขามกั บด า นปลายทอ ที่กดไวชิดพื้น การกลิ้งมวนทอทองแดงออกไปก็จะไดความยาวทอที่ตองการใชงาน เมื่อไดความยาวที่ตองการก็จะมีการตั ดทอ ในขั้นตอนตอไป โดยที่คลี่ออกจากมวนทออาจะดูโคงงอไมสวยงาม ซึ่งสามารถตกแตงไดดวยมือ และคอนยางรวมกัน สําหรับมวนทอทองแดงเมื่อมีการตัดทอบางสวนออกไปแลว จะตองรีบปดปลายทอดวยฝาจุกปดทันที ทั้งนี้เพื่อปองกันฝุ นผง แมลงหรือสิ่งแปลกปลอมตาง ๆ รวมทั้งความชื้นที่อาจเขาไปในทอได ขั้นตอนการตัดทอโดยใชมีดตัด 1) ทําตําแหนงที่จะตัดไวที่ทอทองแดง 2) วางทอระหวางลูกกลิ้งกับใบมีดของมีดตัดทอ โดยใหใบมีดตรงกับตําแหนงที่ทําเครื่องหมาย 3) หมุนหัวปรับตั้งหรือปุมเรงระยะใบมีด ใหฝงลงในเนื้อทองแดงเล็กนอย 4) หมุนตัวมีดตัดทอชา ๆ รอบทอ จะทําใหใบมีดหมุนฝงเนื้อทอโดยรอบ 5) หมุนหัวปรับระยะใบมีดลงในทออีก แลวหมุนมีดตัดทอชา ๆ รอบทอ ทําซ้ํา ๆ จนทอขาด 24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 6) จัดการลบคมทอดวยตัวลบคมทอ (Reamer)
ภาพที่ 1.9 ลักษณะการตัดทอดวยคัตเตอร 2.2 การตัดทอโดยใชเลื่อย เหมาะสําหรับทอแข็ง โดยตองใชตัวจับทอยึดทอไวกอนที่จะใชเลื่อยตัดเพื่อความสะดวกและแมนยํา
ภาพที่ 1.10 การใชเลื่อยตัดทอ การตัดทอแคปปลลารี่ ทอแคปปลลารี่ หรือ แคปทิ้วป เปนทอที่มีข นาดเล็กมาก ดังนั้นในการตัดแคปทิ้วปจึงใชอุปกรณเฉพาะสําหรับ ตัดแคปทิ้วปเทานั้น โดยการตัดแคปทิ้วปมีขั้นตอน ดังนี้ 1) คลี่ทอแคปทิ้วปออกจากมวน ตกแตงใหเปนเสนตรง 2) ทําตําแหนงจุดที่จะตัด 3) ใชตะไบสามเหลี่ยมถูตรงจุดตัดใหเปนรองลึก ประมาณ 1/3 ของขนาดทอ 4) ใชมือดัดงอไปมาใหทอหัก ตรงจุดตัด 5) ตกแตงปลายทอดวยตะไบใหดูสวยงาม 6) ทําความสะอาดไมใหเศษผงทองแดง หรือสิ่งสกปรกอื่น ๆ เขาไปในทอ
25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 1.11 ตะไบสามเหลี่ยม กับที่วัดขนาดทอแคปทิ้วป 3. การปรับ แตงปลายทอ (ลบคมทอ) การลบคมทอ (Reamer) เมื่อเสร็จจากการตัดทอทุกครั้ง จะตองลบคมทอใหเรียบรอยทุกครั้งดวยเครื่องมือที่เรียกวา ตัวลบคมทอ (Reamer) การลบคมทอทําไดโดยการใชตัวลบคมทอดานที่เปนกรวยแหลมสอดเขาไปในทอที่ชี้ลงต่ํา กดและ หมุนตัวลบคมทอใหตัดเศษทองแดงออกไป และขณะที่กําลังลบคมทอ จะตองระมัดระวังไมใหเศษผงทองแดงตกเขาไปในท อ เพราะอาจเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดการอุดตันในระบบได - ชุดใบมีดงอ เปนอุปกรณลบคมทอโลหะสําหรับใสกับกานจับขนาด 3.2 มิลลิเมตร
ภาพที่ 1.12 ชุดใบมีดงอ - อุป กรณล บคมปลายทอ สามารถลบคมไดทั้งขอบดานใน และดา นนอก โดยสว นที่จับ ทํา จากพลาสติก ชวยใหจับไดแนนกระชับ
ภาพที่ 1.13 อุปกรณลบคมปลายทอ
ภาพที่ 1.14 การใชรีมเมอรปรับแตงปลายทอ 26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 4. การขยายทอและการบานทอ 4.1 การขยายทอทองแดง เปนการขยายทอใหมีข นาดใหญขึ้ นเล็ก นอย เพื่อใหส ามารถสวมต อกับท ออีกท อนหนึ่ งที่มีข นาดเทากั นได โดยใชเครื่องมือขยายทอ (Swaging Tool) ซึ่งประกอบไปดวยตัวจับทอ และเหล็กตอก ขั้นตอนการขยายทอ มีดังนี้ 1) ควานตกแตงปลายทอใหเรียบรอย 2) ใสทอเขาไปในรูของตัวจับทอ ขนาดของรูกับทอตองเทากัน วัดความสูงของปลายทอใหเทากับความหนา ของเหล็กตอก 3) ขันตัวจับใหแนน 4) ใสเหล็กตอกเขาไปในทอ แลวใชคอนคอย ๆ ตอกเหล็กตอก จนปลายทอแนบกับดามเหล็กตอก 5) คลายตัวจับทอออก
ภาพที่ 1.15 การขยายทอ 4.2 การบานทอ การบานทอ หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา การบานแฟลร มีจุดประสงคเพื่อตอทอเขาดวยกัน โดยใช วิธีการขันเกลีย ว ของแฟลรนัตที่เกลียวใน เขากับเกลีย วนอกของยูเนียน ซึ่งแบงออกเปน การบานทอชั้นเดีย ว และการบานทอสองชั้น มีระยะการบานแฟลรตามขนาดเสนผานศูนยกลาง ดังนี้
27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ตารางที่ 1.7 แสดงระยะ A ตอขนาดทอตาง ๆ เสนผานศูนยกลาง
ระยะ A (มม.)
1/4 นิ้ว
0.8 – 1.5
5/16 นิ้ว
0.8 – 1.2
3/8 นิ้ว
1.0 – 1.8
1/2 นิ้ว
1.0 – 2.0
ขั้นตอนการบานทอชั้นเดียว มีดังนี้ 1) ควานตกแตงปลายทอใหเรียบรอย 2) ใสทอเขาไปในรูจับ ท อ ขนาดของรู กับ ท อ ต องเทา กั น และใหปลายท อสู งกว าตัว จั บ ประมาณ 1/3 ของความสูงปากหลุม ถาเหลือปลายทอไวมากเกิน เมื่อบานทอทอจะแตกออก ถาเหลือปลายทอนอยเกิ นไป เมื่อไปสวมตอจะทําใหเกิดการรั่วไหลของสารทําความเย็นได 3) ขันตัวจับใหแนน 4) สวมตัวบานทอเขาไปในตัวจับ แลวออกแรงขันใหตัวบานทอกดทอทองแดงบานออก 5) คลายตัวจับออก
ภาพที่ 1.16 การบานทอชั้นเดียว
28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการบานทอสองชั้น มีดังนี้ 1) ควานตกแตงปลายทอใหเรียบรอย 2) ใสทอเขาไปในรูจับทอ โดยใหความสูงของปลายทอเทากับความหนาของอะแดปเตอร 3) ขันตัวยึดใหแนน 4) สวมอะแดปเตอรเขาไปในทอ 5) ออกแรงขันใหตัวบานทอกดลงบนอะแดปเตอรจนแนน 6) คลายตัวบานทอและเอาอะแดปเตอรออก แลวออกแรงขันใหตัวบนทอกดลงบนปลายทออีกครั้ง 7) คลายตัวบานทอ และตัวจับทอออก 8) ถาหากทอที่บานแลวสวมกับยูเนียนไมพอดีใหทําใหม
ภาพที่ 1.17 การบานทอสองชั้น 5. การดัดทอ การดัดทอใหโคง เพื่อใหสามารถตอถึงกันได โดยการดัดทอจะใชเครื่องมือที่เรียกวา เบนเดอร (Bender) ซึ่งสามารถดัดท อได หลายชนิด เชน ทอเหล็ก ทอสเตนเลส ทอทองแดง ทออะลูมิเนียม เปนตน โดยไมควรใชกับทอที่มีผนังทอบางมาก และทอแข็ง เบนเดอร แบงออกได 3 ประเภท คือ 1) แบบกระเดื่อง (Lever Bender) เปนแบบที่นิย มใชทั่วไป สามารถใหระยะดัดไดที่ 180 องศา การใชงาน มีหลักสําคัญคือเลือกขนาดใหเหมาะกับขนาดทอที่จะดัด เลือกใชรัศมีของโคงวงกลมที่ดัดใหตรงกับขนาดของ เบนเดอร
29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ตารางที่ 1.8 ระยะรัศมีของโคงวงกลมของเบนเดอร ขนาดเบนเดอร
ระยะรัศมี (นิ้ว)
1/4
9/16
5/16
11/16
3/8
15/16
2) แบบสปริง (Spring Bender) เปนเครื่องมือสามารถดัดทอไดหลายรูปแบบ การใชงานมีหลักการ คือ ตองเลือก ขนาดสปริงใหเหมาะกับขนาดทอ หลัง การดัดแลวสปริงมักติดกับ ตัวทอ ใหทําการหมุน ตามเกลีย วสปริง เพื่อนําสปริงออก ไมควรดึงสปริงออกโดยตรง 3) แบบ Gear Type เปนเครื่องมือที่ไมพ บได โดยทั่วไป สวนใหญจะใชใ นงานอุ ตสาหกรรม เพื่อผลิต งาน ในปริมาณมาก ๆ ขั้นตอนการดัดทอ ดังนี้ 1) เลือกเบนเดอรใหพอดีกับขนาดของทอ 2) ยกดามหมุนขึ้น ใสทอทองแดงในชอง และตัวจับทอเพื่อปองกันไมใหทอลื่นไหล ดังภาพที่ 1.18
ภาพที่ 1.18 ระยะจับยึดทอกอนดัด 3) นําทอทองแดงสอดเขาไปในเบนเดอร ตรวจสอบตําแหนงองศาที่ 0 ใหตรงกับตําแหนงที่จะดัด ดังภาพที่ 1.19 – 1.20
ภาพที่ 1.19 ตรวจสอบตําแหนงองศาที่ 0 ใหตรงกับตําแหนงที่จะดัด
30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 1.20 ทิศทางการดัด 4) คอย ๆ กดดามของเบนเดอรใหทองอโคงตามองศาที่ตองการ ดังภาพที่ 1.21
ภาพที่ 1.21 ตําแหนงการอานคาองศาในการดัด 5) ถาตองการดัดทอที่มีมุม มากกวา 90 องศา ใหหมุนดานจับทวนเข็ม นาฬิกาเขาหาตัว เพื่อใหสามารถกด ดามจับไดอีก 6) วัดความยาวจากปลายทอ และทําเครื่องหมายจุดที่ตองการดัดทอ 7) ถาดานปลายของทอที่ตองการดัดอยูดานซายของตัวจับทอ ใหขยับเครื่องหมายบนทอใหตรงกับ ขีด L บนดามจับ 8) ถาดานปลายของทอที่ตองการดั ดอยู ดา นขวาของตัว จับ ทอ ใหข ยับเครื่องหมายบนทอใหตรงกับ ขีด R บนดามจับ 9) การดัดทอดวยมุม 90 องศา จะกดดามกดลงจนกระทั่งขีด 0 บนดามจับตรงกับขีด 90 องศาบนวงลอ 10) การดัดทอดวยมุม 45 องศา จะกดดามกดลงจนกระทั่งขีด 0 บนดามจับตรงกับขีด 45 องศาบนวงลอ 11) ถอดทอออกจากเบนเดอร
31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดตอไปนี้ตรงกับลักษณะของทอแคปปลลารี่ หรือ แคปทิ้วป ก. ทออะลูมิเนียมขนาดใหญ ข. ทอสเตนเลสขนาดใหญ ค. ทอทองแดงขนาดเล็ก ง. ทอสังกะสีขนาดเล็ก 2. ทอแบบใดเหมาะสําหรับระบบการทําความเย็นสําหรับแอรข นาด 12000 BTU ก. ทอทองแดงขนาดเล็ก ข. ทออะลูมิเนียมขนาดใหญ ค. ทอสเตนเลสขนาดใหญ ง. ทอสังกะสีขนาดเล็ก 3. ทอขนาดเล็ก มีเสนผานศูนยกลางไมเกิน 1/2 นิ้ว ควรใชที่ตัดแบบใด ก. มีด มินิคัตเตอร ข. คัตเตอรตัดทอแบบสปริง ค. คัตเตอรตัดทอแบบอัตโนมัติ ง. คัตเตอรตัดทอแบบลูกกลิ้งขนาดใหญ 4. ขอใดเปนวิธีที่ถูกตองในการการลบคมทอ ก. ใชตัวลบคมทอดานที่เปนกรวยแหลมสอดเขาไปในทอกวาดหมุนไปมาแนวนอน ข. ใชตัวลบคมทอดานที่เปนกรวยแหลมสอดเขาไปในทอที่ชี้ขึ้นเอียง 45 องศา ค. ใชตัวลบคมทอดานที่เปนกรวยแหลมสอดเขาไปในทอที่ชี้ลงต่ํา ง. ใชตัวลบคมทอดานที่เปนกรวยแหลมสอดเขาไปในทอที่ชี้ขึ้น
32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 5. ทอชนิดใดหากคลี่ออกไมระมัดระวังทออาจแบนหรือพับงอได ก. ทอทองแดง ข. ทอเหล็ก ค. ทอ PVC ง. ทอสเตนเลส
33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
กระดาษคําตอบ ขอ 1 2 3 4 5
ก
ข
ค
34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบงาน ใบงานที่ 1.1 ทอในเครื่องทําความเย็น 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ตัดทอ ปรับแตงปลายทอ ขยายทอ บานทอ และดัดทอได
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 4 ชั่วโมง
3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. จงตัดทอขนาด 1/4 นิ้ว 5/16 นิ้ว และ 3/8 นิ้ว ใหมีความยาว 50 เซนติเมตร 2. จงขยายทอทองแดงแตละขนาด อยางละ 2 ชิ้น 3. จงบานแฟลรหนึ่งชั้นทอแตละขนาด อยางละ 2 ชิ้น 4. จงบานแฟลรสองชั้นทอแตละขนาด อยางละ 2 ชิ้น 5. จงดัดทอทํามุม 30 องศากับพื้นราบ (องศาภายใน 150 องศา) ทอแตละขนาด อยางละ 1 ชิ้น ตารางบันทึกผล ขนาดทอ
ตัด
ขยาย
บานแฟลร 1 ชั้น บานแฟลร 2 ชั้น
(แบบตอก) 1/4 นิ้ว 5/16 นิ้ว 3/8 นิ้ว
35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ดัด
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 1.1 ทอในเครื่องทําความเย็น 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติงาน ไมใ หม ีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไ มเกี่ย วของ หรือ วัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คอน
จํานวน 1 อัน
2. เครื่องมือขยายทอ
จํานวน 1 อัน
3. ชุดเครื่องมืองานทอ
จํานวน 1 ชุด
4. ดินสอ 2B/ปากกาหมึก
จํานวน 1 ดาม
5. ตลับเมตร
จํานวน 1 อัน
6. ตัวจับทอ
จํานวน 1 ตัว
7. คัตเตอรตัดทอ
จํานวน 1 อัน
8. รีมเมอร
จํานวน 1 อัน
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ
36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว ความยาว 50 เซนติเมตร
จํานวน 1 เสน
2. ทอทองแดงขนาด 3/8 นิ้ว ความยาว 50 เซนติเมตร
จํานวน 1 เสน
3. ทอทองแดงขนาด 5/16 นิ้ว ความยาว 50 เซนติเมตร
จํานวน 1 เสน
37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน 2.1 งานตัดทอ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. คลี่ทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว ออกจากมวน
คําอธิบาย ขอควรระวัง ค ลี่ ท อ ง แ ด ง ข น า ด 1/ 4 นิ้ ว ท อ ทองแดงขนาดเล็ก และบาง บางสวนออกจากมวนอยางถูกวิธี ง า ยต อ การหั ก งอ เมื่ อ ใช เ สร็ จ แล ว ให เ ก็ บ ไว ใ นที่ ที่ เ หมาะสม เสมอ
2. กําหนดตําแหนงตัดทอที่ 50 เซนติเมตรจาก มวน
ใช ต ลั บ เมตรวั ด ความยาวใหได กํ า หนดตํ า แหน ง ตั ด ให ชั ด เจน 50 เซนติ เ มตรจากม ว น แล ว เพือ่ ลดความผิดพลาดในการตัด กําหนดตําแหนงไวเพื่อตัด
3. ตัดทอในจุดที่กําหนดตําแหนงไว แลวลบคมทอ
ใชคัตเตอรตัดทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ ว ให ไ ด ค วาม ย าว 50 เซนติเมตร จากนั้นทําการลบคม ทอ
4. คลี่ทองแดงขนาด 5/16 นิ้ว และ 3/8 นิ้ว จากนั้นตัดตามขั้นตอนที่ 1 - 3
คลี่ทองแดงขนาด 5/16 นิ้ว และ 3/8 นิ้ ว แล ว ตั ด ท อ ทองแดงทั้ ง สองขนาด ตามลําดับขั้นขอ 1–3
38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
การปรั บใบมี ดขณะการตั ด ควร ปรับทีละนอยอยาแรงมาก เพราะ จะทําใหใบมีด และทอไดรับความ เสียหาย
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. สรุปผล
คําอธิบาย สรุปผลการทดลอง
39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 2.2 งานขยายทอ (แบบตอก) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คําอธิบาย 1. นําทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว ทีต่ ัดไวใสใน นําทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว ตัวจับยึด จากงานตัด ใสในตัวจับยึด
2. นําตัวขยายทอตอกลงในทอที่จับยึดไว
นําตัวขยายทอตอกขยายทอตาม ขั้นตอน
40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง ท อ ทองแดงขนาดเล็ ก และ บาง งายตอการหักงอ เมื่อใชเสร็จแล ว ใหเก็บไวในที่ที่เหมาะสมเสมอ
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คําอธิบาย 3. คลายตัวจับยึดและนําทอที่ขยายมาพักไว คลายตั ว จั บ ยึ ด ถอดท อ ทองแดง ขนาด 1/4 นิ้ว ที่ขยายทอเรียบร อย แลวออกมา
4. นําทอทองแดงขนาด 5/16 นิ้ว และ 3/8 นิ้ว ที่ตัดไวใสในตัวจับทอ ทําการขยายตาม ขั้นตอนที่ 1 - 3
นําทอทองแดงขนาด 5/16 นิ้ว และ 3/8 นิ้ ว มาขยายท อตามลํา ดับขั้น ขอ 1 - 3
5. สังเกตและบันทึกผล
สั ง เกตผลปฏิ บั ติ ง านจากชิ้ น งาน บั น ทึ ก ผลลงในตารางการทดลอง และสรุปผลการทดลอง
41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 2.3 งานบานแฟลร 1 ชั้น ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. นําทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว มาตัดออกแลวทํา การลบคมทอ
คําอธิบาย นํ า ท อ ทองแดงขนาด 1/4 นิ้ ว จากใบงานขยายทอ (แบบตอก) มาตัดดานที่ทําการขยายออก 3 นิ้ว แลวทําการลบคมทอ
2. นําทอใสตัวจับยึด
นําทอที่ลบคมแลวใสใ นตั ว จั บ ยึดทอ
3. สวมตัวบาน แลวทําการบานแฟลร
สวมตั ว บานท อ เข า ไปในท อ แ ล ว ทํ า ก า ร บ า น แ ฟ ล ร ท อ แบบชั้นเดียว
42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง ทอทองแดงขนาดเล็กและบาง งายตอการหักงอ เมื่อใชเสร็จ แลวใหเก็บไวใ นที่ที่เหมาะสม เสมอ
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คําอธิบาย 4. คลายตัวจับยึด แลวนําทอที่บานแฟลรแลวออกเพื่อ คลายตั ว จั บ ท อ ถอดเอาท อ พักไว ที่บานแฟลรแลวออก
5. นําทอทองแดงขนาด 5/16 และ 3/8 นิ้ว มาตั ด นําทอทองแดงขนาด 5/16 และ ออกแล ว ทํ า การลบคมท อ จากนั้ น บานแฟลร ต าม 3/8 นิ้ ว จากใบงานขยายท อ ขั้นตอนที่ 1 - 4 (แบบตอก) มาตัดออก 3 นิ้ว จากนั้นนํามาบานแฟลร ชั้นเดียวตามลําดับขอ 1 - 4
6. คลายตั ว จั บ ยึด ถอดท อ ที่ บ านแล วออก จากนั้ น คลายตั ว จั บ ท อ ถอดเอาท อ ที่ สังเกตแลวบันทึกผล บานแฟลร แ ล ว ออกสั ง เกตผล แลวบันทึกผลลงในตาราง
43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 2.4 งานบานแฟลร 2 ชั้น ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คําอธิบาย ขอควรระวัง 1. นําทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว จากใบงาน นําทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว ท อ ทองแดงขนาดเล็ ก และบาง บานแฟลร ชั้ น เดี ย วมาตั ด ด า นที่ บ านแฟลร จากใบงานบานแฟลรชั้นเดียว งายตอการหักงอ เมื่อใชเสร็จแลว ออก แลวลบคมทอ มาตัดดานที่ บานแฟลร ออก 3 นิ้ว ใหเก็บไวในที่ที่เหมาะสมเสมอ แลวทําการลบคมทอ
2. นําทอใสตัวจับยึด
นําทอที่ลบคมแลวใสในตัวจับยึดทอ
3. สวมชุดตัวจับทอลงในปลายทอ ใชคอนทุบ สวมชุดตัวจับทอ ขนาด 1/4 นิ้ว ลง ปลายทอเบา ๆ ใหงอเขาดานใน ในปลายท อ จากนั้ น ใช ค อ นทุ บ ปลายทอเบา ๆ ใหงอเขาดานใน
4. สวมตัวบานทอเขาไปในทอ แลวขันกรวย สวมตัวบานทอเขาไปในทอ แลวขัน ทอใหกดลงบนตัวจับทอ กรวยท อ ให ก ดลงบนตั ว จั บ ท อ ให สนิท
44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. คลายตัวบานทอ เอาชุดตัวจับทอออก ขัน ตั ว บานท อ อี ก ครั้ ง แล ว คลายตั ว บานท อ จากนั้นถอดเอาทอที่บานแฟลรแ บบสองชั้ น ออก
คําอธิบาย คลายตั ว บานท อ เอาชุ ดตั ว จั บ ทอ ออก ขั น ตั ว บานท อ ให กรวยกดลง ปลายทอจนแนบสนิทอีกครั้ง แลว คลายตัวบานทอและตัวจับทอถอด เอาทอที่บานแฟลรแบบสองชั้นออก
6. นําทอทองแดงขนาด 5/16 และ 3/8 นิ้ว นํ า ท อ ท อ ง แ ด ง ข น า ด 5 / 1 6 มาบานแฟลรสองชั้นตามลําดับขั้นตอนที่ 1-5 และ 3/8 นิ้ว มาบานแฟลรสองชั้น ตามลําดับขอ 1 - 5
7. สังเกตผล แลวบันทึกผลลงในตาราง
สังเกตผล แลวบันทึกผลลงในตาราง
45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 2.5 งานดัดทอ (เบนเดอร) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. นําทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว มาตัดดานที่ บานแฟลรออกแลวทําการลบคมทอ
คําอธิบาย ขอควรระวัง นําทอทองแดงขนาด 1/2 นิ้ว ทอทองแดงขนาดเล็กและบาง จากใบงานบานแฟลรสองชั้น งายตอการหักงอ เมื่อใชเสร็จแลว มาตัดดานที่บานแฟลรออก 3 นิ้ว ใหเก็บไวในที่ที่เหมาะสมเสมอ แลวทําการลบคมทอ
2. เลือกขนาดเบนเดอรใหเหมาะกับขนาดทอ
เลือกเบนเดอรขนาด 1/2 นิ้ว ซึ่งมีระยะรัศมี 1 ½ นิ้ว
3. สังเกตจุดดัดที่ 0 องศาบนตัวเบนเดอรแลว กําหนดจุดดัดบนทอ จากนั้นสอดทอลงในเบน เดอร
สังเกตจุดดัดใหตรงกับองศาที่ 0 เสมอ (ตําแหนงนี้ตองหักลบดวย รัศมีของการดัดจากระยะดัดจริง) กําหนดตําแหนงที่จะดัดลงบนทอที่ กึ่งกลางทอ จากนั้นสอดทอลงใน เบนเดอร
46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คําอธิบาย 4. กดดามจับดานที่มีคานหมุนเบนเดอร ใ ห ไ ด คอย ๆ กดดามของเบนเดอร ใหทอ ขนาดองศาดัด ตามตองการ จากนั้นถอดทอที่ งอโคงตามองศาที่ตองการ คือ 30 ดัดแลวออกจากเบนเดอรแลวตกแตงทอ องศากั บ พื้ น ราบ จากนั้ นถอดท อ ออกจากเบนเดอร แ ลว ตกแตงให เรียบรอย
5. สรุปผล
สรุปผลการทดลอง
47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
2
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
ทอในเครื่องทําความเย็น 1.1 งานตัดทอ
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.2 งานขยายทอ (แบบตอก)
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.3 งานบานแฟลร 1 ชั้น
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.4 งานบานแฟลร 2 ชั้น
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.5 งานดัดทอ (เบนเดอร)
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
ปฏิบัติงาน
48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1
รายการประเมิน
เกณฑการใหคะแนน
การปฏิบัติงาน 1.1 งานตัดทอ
คะแนนเต็ม 25
- ตัดทอไดขนาดตามที่กํ าหนด ลบคมทอเรียบรอย
5
ใหคะแนน 5 คะแนน - ตัดทอขาด/เกิน 1-2 มิลลิเมตร ยังมีคมทออยูเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตัดทอขาด/เกินตั้งแต 3 มิลลิเมตร ลบคมทอไมเรียบรอ ย ใหคะแนน 1 คะแนน 1.2 งานขยายทอ (แบบตอก)
- ผิวเรียบ คอทอ ไมมีรอยราว แตก ระยะขยายไดขนาด
5
ใหคะแนน 5 คะแนน - ผิวเรียบ คอทอ มีรอยเล็กนอย ระยะขยายไดขนาด ใหคะแนน 3 คะแนน - ผิวเรียบ คอทอ มีรอยราว แตก ระยะขยายลึก หรือตื้นเกินไป ใหคะแนน 1 คะแนน 1.3 งานบานแฟลร 1 ชั้น
- ผิวเรียบ ระยะความบานไดตามขนาด ใหคะแนน 5 คะแนน
5
- ผิวมีรอยเล็กนอย ระยะบานไดตามขนาด ใหคะแนน 3 คะแนน - ผิวมีรอย ระยะการบานมากเกิน ทอมีรอยแตก ใหคะแนน 1 คะแนน 1.4 งานบานแฟลร 2 ชั้น
- ผิวเรียบ ระยะความบานไดตามขนาด ใหคะแนน 5 คะแนน
5
- ผิวมีรอยเล็กนอย ระยะบานไดตามขนาด ใหคะแนน 3 คะแนน - ผิวมีรอย ระยะการบานมากเกิน ทอมีรอยแตก ใหคะแนน 1 คะแนน 1.5 งานดัดทอ (เบนเดอร)
- กํ า หนดร ะยะตํ า แหน ง ดั ด ถู ก ต อ ง ส ามาร ถดั ด ได 30 องศา
5
ใหคะแนน 5 คะแนน - กําหนดระยะตํ าแหนงดัด ขาด/เกิน 1-2 มิลลิเมตร สามารถดัดได ขาด/ เกิน 1-2 องศา ใหคะแนน 3 คะแนน - กําหนดระยะตํ าแหนงดัด ขาด/เกินตั้งแต 3 มิลลิเมตร สามารถดัดได ขาด/เกินตั้งแต 3 องศา ใหคะแนน 1 คะแนน 2
กิจนิสัย
5
2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน
1
ครบถ วน
- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน
2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล
- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน
อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน
- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน
2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน
- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน
49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
1 1
คะแนนที่ได
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ลําดับที่
รายการประเมิน
เกณฑการใหคะแนน
คะแนนเต็ม
คะแนนที่ได
- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน
- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน
1
- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า
- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน
ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน
- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม
1 30
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 21 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2
0921730102 ชนิดของลวดเชื่อมแกส (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - บอกชนิดของลวดเชื่อมแกส และการเลือกใชงานได 2. หัวขอสําคัญ
- ชนิดของลวดเชื่อมแกส
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม ภานุวัฒน หนูกิจ. 2556. งานเชื่อมและโลหะแผนเบื้องตน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.maceducation.com/ebook/3305806100/files/assets/common/downloads/publication.pdf วิทยาลัยการอาชีพเกษตรวิสัย. 2558. งานเชื่อมแกส (Gas Welding). [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.kaset.ac.th/technic/index.php/2014-12-22-08-52-36/2015-01-28-09-42-43 สนอง อิ่มเอม. 2547. เครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศรถยนต. กรุงเทพฯ : อมรินทรพ ริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง
52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 ชนิดของลวดเชื่อมแกส 1. ชนิดของลวดเชื่อม ในการเชื่อมแกสจําเปนตองมีลวดเชื่อมแกส เพื่อเปนตัวชวยในการประสานระหวางทอที่ทําการเชื่อม โดยลวดเชื่อมแกส จะหลอมละลายเมื่อ ไดรั บ ความร อ น และจะแทรกตัว ไปยึ ด เกาะกั บท อ เปรีย บเหมือ นดั่ง กาวที่ ชวยยึ ด ติ ด นอกจากนี้ ยังชวยไมใหเกิดรอยรั่วระหวางการเชื่อมตอของทอดวย ลวดเชื่อมแกส มีหลายชนิดซึ่งมีคุณสมบัติตางกัน ดังนี้ 1.1 ลวดเชื่อมเงิน ลวดเชื่อมเงิน เรีย กอีกอยางวา ลวดเชื่อมทองแดง มีจุดหลอมเหลวต่ํา และไมตองใชฟ ลักซในการชวยประสาน เหมาะสําหรับใชในงานเชื่อมระหวางทองแดงกับทองแดง เชน ในงานเครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศ
ภาพที่ 2.1 ลวดเชื่อมเงิน 1.2 ลวดเชื่อมทองเหลือง มี จุ ด หลอมเหลวสูง และต อ งใช ฟ ลัก ซ ใ นการช วยประสาน เหมาะสํ า หรั บ ใชใ นงานเครื่ อ งทํา ความเย็นและ เครื่องปรับอากาศ และการซอมแซมชิ้นงาน เชน งานเชื่อมทองเหลือง ทองแดง ทองแดงผสม และเหล็กหลอ
ภาพที่ 2.2 ลวดเชื่อมทองเหลือง 53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.3 ลวดผิวแดง ลวดผิวแดงเปนลวดที่ใชใ นงานเชื่อมเหล็กทั่วไป เหมาะกับงานทําทอมอเตอรไซค และเฟอรนิเจอรนอกจากนี้ยังมี ลวดเชื่อมแกสอีกหลายชนิดที่ใชไดกับงานที่ทําจากโลหะเฉพาะเจาะจงเทานั้น เชน ลวดเชื่อมเหล็ก ลวดเชื่อมเหล็กหลอ ลวดเชื่อมโลหะผสมลวดเชื่อมสเตนเลส และลวดเชื่อมอะลูมิเนียม เปนตน ตารางที่ 2.1 ตัวอยางลวดเชื่อม มาตรฐาน AWS
ชนิดของโลหะ
อุณหภูมิหลอมเหลว (องศาเซลเซียส)
ER5356
อะลูมิเนียม
2060
ER70S-6
อารกอน
-40 - 30
ER308
สเตนเลสสตีล
1400 - 1450
ERCuAl-A2
ทองแดง
1040
การเลือกใชลวดเชื่อมในงานทอของเครื่องปรับอากาศ จะใชลวดเชื่อมทองแดง หรือลวดเชื่อมเงิน ซึ่งสามารถแบงระดับได ดังนี้ ตารางที่ 2.2 ลวดเชื่อมเงินระดับตาง ๆ ชนิด
งานเชื่อมที่เหมาะสม
ไมมีสวนผสมของเงิน (0%)
งานเชื่อมทองแดงแบบประหยัด และงานที่ใชอุณหภูมิสูงได
มีสวนผสมของเงิน 2%
งานเชื่อมทองแดง และงานเชื่อมทองเหลือง แบบที่ใช อุณหภูมิสูงได
มีสวนผสมของเงิน 5%
งานเชื่อมทีต่ องการความยืดหยุนกวาแบบ 0% และ 2%
มีสวนผสมของเงิน 15%
งานที่หนาสัมผัสไมเรียบ งานเครื่องทําความเย็น และงาน เครื่องปรับอากาศเคลื่อนที่
มีสวนผสมของเงิน 35%
งานที่มีโลหะพื้นฐานตางสกุล เชน เหล็กกับทองแดง
มีสวนผสมของเงิน 45%
งานที่มีโลหะพื้นฐานตางสกุล เชน สเตนเลสสตีล กับ ทองแดง หรือ ทองเหลือง
มีสวนผสมของเงิน 56%
งานเชื่อมที่ตองการคุณภาพสูงสุด เชน ในอุตสาหกรรมผลิต อาหาร 54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ชนิดของลวดเชื่อมแกสมีกี่ประเภท อะไรบาง ก. 3 ประเภท คือ ลวดเชื่อมเงิน ลวดเชื่อมทองเหลือง และลวดเชื่อมผิวแดง ข. 3 ประเภท คือ ลวดเชื่อมเงิน ลวดเชื่อมทองเหลือง และลวดแบบตะกั่ว ค. 2 ประเภท คือ ลวดเชื่อมเหล็ก ลวดเชื่อมทองแดง ง. 2 ประเภท คือ ลวดเชื่อมเหล็ก ลวดเชื่อมบุก 2. ลวดเชื่อมเงินเหมาะสําหรับใชในงานใด ก. งานทําเฟอรนิเจอร ข. งานซอมรถมอเตอรไซต ค. งานตอเติมหลังคาบาน ง. งานเชื่อมระบบทําความเย็น 3. งานทําทอมอเตอรไซค และเฟอรนิเจอรควรเลือกใชลวดชนิดใด ก. ลวดผิวแดง ข. ลวดเชื่อมเงิน ค. ลวดเชื่อมทองเหลือง ง. ลวดเงินผสมตะกั่ว
55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
กระดาษคําตอบ ขอ 1 2 3
ก
ข
ค
56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3
0921730103 ชนิดของหัวเชื่อมแกส (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกชนิดของหัวเชื่อมแกสได 2. เลือกใชงานหัวเชื่อมแกสไดถูกตอง
2. หัวขอสําคัญ
- ชนิดของหัวเชื่อมแกส
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก
4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก
6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ ครูฝกกําหนดได
58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
7. บรรณานุกรม จีรวรรณ บุตรโสภา. 2557. หนวยที่ 3 งานเชื่อมแกส. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://2100-1005-1.blogspot.com/2014/01/3.html วิทยาลัยเทคนิคพัทยา. 2560. หนวยที่ 5 งานบัดกรีแข็ง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.pattayatech.ac.th/files/150511088525213_15051111115447.pdf
59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 ชนิดของหัวเชื่อมแกส หัวเชื่อมแกส (Welding Torch) อุปกรณสําคัญที่เปนทางผานของแกสออกซิเจนและแกสอะเซทิลีน และชวยควบคุม ทิศทางของแกส ซึ่งหัวเชื่อมแกส ประกอบไปดวย ตัวหัวเชื่อม (Torch Body) มีลักษณะเปนทอกลวงที่ติดกับทอแกสออกซิ เจน และอะเซทิลีน รวมทั้งเปนบริเวณมือจับสําหรับทํางานเชื่อม สวนปลาย เรีย กวา หัวเชื่อม (Torch Tip) ซึ่งอยูปลายสุด ของหัวเชื่อมติดกับสวนหองผสมแกส หัวเชื่อมแกสถูกนํามาใชในการเชื่อมติดชิ้นงานโลหะเขาดวยกันอยางแข็งแรง และ แนบเนียน
ภาพที่ 3.1 สวนประกอบของหัวเชื่อมแกส 1. หัวเชื่อมแกส แบงตามลักษณะของแรงดันแกสอะเซทิลีนไดเปน 2 ชนิด ไดแก 1.1 ชนิดความดันสมดุล (Equal Pressure Type) ชนิ ด ความดั น สมดุ ล ใช กั บ ถั ง แก ส อะเซทิ ลี น แบบบรรจุ ถั ง สํ า เร็ จ ที่ มี ค วามดั น สู ง กว า ถั ง แก ส ที่ เ ตรี ย ม เอง ในบางครั้งจะเรียกวา Balanced Pressure เนื่องจากมักจะใชความดันของแกสออกซิเจนและอะเซทิลีนในอัตราสวนเทากัน
ภาพที่ 3.2 หัวเชื่อมแกส ชนิดความดันสมดุล
60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.2 ชนิดหัวฉีด (Injection Type) ชนิดหัวฉีด หรือเรีย กวา Low Pressure Type เหมาะสําหรับใชกั บถั งแก สอะเซทิ ลี น จากถั งที่มี ค วามดั น ต่ํ า หัวฉีดประเภทนี้มีโครงสรางภายในที่แ ตกตางจากหัวฉีดแบบสมดุล เนื่องจากมีทอแกสออกซิเจนอยูตรงกลางดานใน และมีทอแกสอะเซทิลีนลอมรอบ ซึ่งโครงสรางแบบนี้ ทําใหเกิดสุญญากาศดูดแกสอะเซทิลีนเขาไปผสมกับแกสออกซิเจน
ภาพที่ 3.3 หัวเชื่อมแกส ชนิดหัวฉีด นอกจากนี้ ในการเชื่อมแกสตองใหความสําคัญกับการเลือกขนาดหัวทิพ เชื่อม (Welding Tip) ซึ่งเปนทอทองแดง ผสมที่มีขนาดของรูที่หลากหลาย โดยขนาดของรูที่หัวทิพเชื่อมจะสัมพันธกับขนาดของเปลวไฟ ดังนั้น การเลือกขนาด ของหัวทิพจะตองพิจารณาจากความหนาและชนิดของโลหะที่จะเชื่อมดวย เนื่องจากการเลือกหัวทิพที่ใหญเกินไป จะทําให แนวเชื่อมมีข นาดใหญและอาจเกิดการทะลุได สวนการเลือกหัวทิพ ที่เล็กเกินไป จะทําใหปริม าณความรอนไมเพียงพอ สําหรับการหลอมละลายโลหะ ทําใหเสียเวลาในการเชื่อมนานเกินความจําเปน โดยความเหมาะสมระหวางขนาดของหั วทิพ และความหนาของชิ้นงานเปนไปตามตารางนี้ ตารางที่ 3.1 ขนาดของหัวทิพและความหนาของชิ้นงาน ขนาดเบอรหวั ทิพ
ขนาดความหนาโลหะที่ตองการเชื่อม (มิลลิเมตร)
0
0.79
1
1.58
2
2.38
3
3.17
ปลายหัวตัดแกส สามารถนํามาใชเชื่อมตอกับชุดถังแกสได เพื่อทําการตัดชิ้นงานโลหะใหมีขอบที่คมเรียบ ปลายหัวตัด จะมีลักษณะเปนรูข นาดเล็กที่พนเปลวไฟ อยูรอบ ๆ รูข องแกสออกซิเจน ซึ่งเปลวไฟนี้จะชวยเตรีย มใหชิ้นงานรอ น โดยปลายหัวตัด แบงไดเปน
61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 - ปลายหัวตัดแบบมาตรฐาน เสนผานศูนยกลางภายในของทอมีขนาดคงที่ ซึ่งปลอยแกสออกซิเจนที่ความดัน 30 – 60 psi - ปลายหัวตัดแบบความเร็วสูง ภายในทอจะมีข นาดเสนผานศูนยกลางจากแคบไปกวาง ทําใหสามารถ ปลอยแกสออกซิเจนออกมาที่ความดัน 60 – 100 psi ดวยความเร็วในการตัดที่สูงมาก หัวตัดประเภทนี้ จึงตองใชกับเครื่องตัดเทานั้น
ภาพที่ 3.4 หัวตัดแกส
62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. หากโลหะมีความหนา 2.38 มิลลิเมตร ควรใชหัวทิพเบอรใด ก. 0 ข. 1 ค. 2 ง. 3 2. ปลายหัวตัดแบบความเร็วสูงปลอยแกสออกซิเจนออกมาที่ความดันเทาไหร ก. 1- 60 psi ข. 60 – 100 psi ค. 100-150 psi ง. 150- 200 psi 3. หัวเชื่อมแกสชนิดหัวฉีด เหมาะสําหรับใชกับถังแกสชนิดใด ก. ถังแกสอะเซทิลีน ข. ถังแกสออกซิเจน ค. ถังแกสฮีเลียม ง. ถังแกสไนโตรเจน
63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
กระดาษคําตอบ ขอ 1 2 3
ก
ข
ค
64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบงาน ใบงานที่ 3.1 ชนิดของหัวเชื่อมแกส 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - เลือกใชงานหัวเชื่อมแกสไดถูกตอง
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง
3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกวัดขนาดความหนาของทอทองแดงที่จะเชื่อมแลวเลือกขนาดหัวทิพเชื่อมใหเหมาะสม 3 ขนาด จาก 4 ขนาดที่กําหนดให ลําดับที่
ขนาดของทอ
ความหนาของทอ
1 2 3
65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขนาดหัวทิพ
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 3.1 ชนิดของหัวเชื่อมแกส 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใ หมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เวอรเนียรคาลิปเปอร
จํานวน 1 ตัว
2. หัวเชื่อมแกสขนาดตาง ๆ
จํานวน 1 ชุด
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ทอทองแดงขนาด 1/2 ความยาว 10 เซนติเมตร
จํานวน 1 เสน
2. ทอทองแดงขนาด 1/4 ความยาว 10 เซนติเมตร
จํานวน 1 เสน
3. ทอทองแดงขนาด 3/8 ความยาว 10 เซนติเมตร
จํานวน 1 เสน
4. ทอทองแดงขนาด 5/8 ความยาว 10 เซนติเมตร
จํานวน 1 เสน
66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน 2.1 ชนิดของหัวเชื่อมแกส ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เลือกทอ 3 ขนาดจากที่ครูฝกกําหนด
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
เลือกทอที่จะทําการเชื่อม
ทอทองแดงขนาดเล็กและบาง
มาอยางนอย 3 ขนาด
งายตอการหักงอ เมื่อใชเสร็จแลว ใหเก็บไวในที่ที่เหมาะสมเสมอ
2. ใชเวอรเนียวัดขนาดทอ และความหนา
ใชเวอรเนียรคาลิปเปอร วัดขนาด
ของทอ
ของทอและวัดความหนาของทอ
3. บันทึกผลที่ไดจากการวัดขนาดทอ
บันทึกขอมูลของทอที่วัดแลว
ทองแดง
ลงในตารางที่กําหนดใหในใบงาน
67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. เลือกขนาดหัวทิพที่เหมาะกับขนาดทอ
คําอธิบาย เลื อ กขนาดหั ว ทิ พ ที่ เ หมาะสมกั บ ทอที่เลือก
5. บันทึกขนาดหัวทิพที่เลือกลงในตาราง
บันทึกขนาดหัวทิพที่เลือก
บันทึกผล แลวสรุปผลสงครูฝก
ลงในตารางบันทึกผลที่กําหนด แลวสรุปผลสงครูฝก
68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
2
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เลือกหัวเชื่อมที่เหมะสม 1.1 วัดขนาดทอไดถูกตองเหมาะสม
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.2 การใชเวอรเนียรคาลิปเปอร
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.3 การเลือกขนาดหัวทิพ
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.4 การบันทึกผลการเลือกขนาดหัวทิพ
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
ปฏิบัติงาน
69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1
รายการประเมิน
เกณฑการใหคะแนน
การปฏิบัติงาน 1.1 วัด ขนาดทอได ถูกตองเหมาะสม
คะแนนเต็ม
คะแนนที่ได
20 - วัดขนาดทอถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน
5
- วัดขนาดทอคลาดเคลื่อนเกิน/ขาด 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - วัดขนาดทอคลาดเคลื่อนเกิ น/ขาดตั้ งแต 3 หนวย ใหคะแนน 1 คะแนน 1.2 การใชเวอรเนียรคาลิปเปอร
- ใชเครื่องมือไดถูกตอง และชํานาญ ใหคะแนน 5 คะแนน
5
- ใชเครื่องมือไดถูกตอง แตขาดความชํานาญ ใหคะแนน 3 คะแนน - ใชเครื่องมือได โดยขอใหครูหรือเพื่อนชวย ใหคะแนน 1 คะแนน 1.3 การเลือกขนาดหัวทิพ
- เลือกหัวเชื่อมแกสไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน
5
- เลือกหัวเชื่อมแกสไดไมถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน 1.4 การบันทึกผลการเลือกขนาดหัวทิพ
- บันทึกผลไดถูกตอง ครบถ วน ใหคะแนน 5 คะแนน
5
- บันทึกผลไดถูกตอง แต ไมครบถวน 1 รายการ ใหคะแนน 3 คะแนน - บั น ทึ ก ผลถู ก ต อ งบางส ว นหรื อ ไม ค รบถ ว นตั้ ง แต 2 รายการ ใหคะแนน 1 คะแนน 2
กิจนิสัย
5
2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน
1
ครบถ วน
- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน
2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล
- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน
อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน
- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน
2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน
- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน
1 1
- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน
- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน
1
- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า
- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน
ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน
- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม
1 25
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 4 0921730104 การเชื่อมแกส (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกขั้นตอนการเชื่อมแกส ปรับแตงแรงดันแกสอะเซทิลีน แกส LPG แกสออกซิเจนได 2. เชื่อมแกส ปรับแตงแรงดันแกสอะเซทิลีน แกส LPG และแกสออกซิเจนได
2. หัวขอสําคัญ - ขั้นตอนการเชื่อมแกส 3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก
4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก
6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ ครูฝกกําหนดได
72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 7. บรรณานุกรม วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีแพร. 2557. การเชื่อมแกส. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.pcat.ac.th/_files_school/00000831/data/00000831_1_20141106-121955.pdf วิทยาลัยเทคนิคพัทยา. 2560. หนวยที่ 5 งานบัดกรีแข็ง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.pattayatech.ac.th/files/150511088525213_15051111115447.pdf
73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 4 ขั้นตอนการเชื่อมแกส 1. ขั้นตอนการเชื่อมแกส
ภาพที่ 4.1 ชุดเชื่อมแกส 1.1 เครื่องมือ ในการเชื่อมทอน้ํายาสารทําความเย็น จะประกอบไปดวยเครื่องมือและอุปกรณ ดังนี้ 1) ถังบรรจุแกสแอลพีจี (Liquefied Petroleum Gas : LPG Cylinder) 2) แกส แอลพีจี เปน สารประกอบประเภทไฮโดรคารบอน เมื่อรวมตัวกับออกซิเจนจะทําเกิดการสันดาป และใหคาความรอนสูง มีคุณสมบัติ คือ ติดไฟได หนักกวาอากาศ ไมมีสี ไมมีกลิ่น และอาจเกิดการระเบิด ไดถ า มีค วามดัน หรืออุณหภูม ิสูงถึง จุด วิกฤต แกส แอลพีจีจะบรรลุคาความดันประมาณ 100 - 130 psig ที่อุณหภูมิ 20°C 3) ถังบรรจุแกสอะเซทิลีน (Acetylene Cylinder) 4) แกสอะเซทิลีน เปนสารประกอบประเภทไฮโดรคารบ อน เมื่อรวมตัวกับออกซิเจนจะทําเกิดการสั นดาป และใหคาความรอนสูง มีคุณสมบัติ คือ ติดไฟได เบากวาอากาศ ไมมีสี มีกลิ่นฉุน และอาจเกิดการระเบิด ไดถ า มีค วามดัน หรือ อุณ หภูม ิสูง ถึงจุด วิก ฤต แกส แอลพีจีจะบรรลุคาความดันประมาณ 250 psig ที่ อุณหภูมิ 20°C 5) ถังบรรจุแกสออกซิเจน (Oxygen Cylinder) 6) ทอแกสออกซิเจน (Oxygen Cylinder) แกสออกซิเจนจัดเปนแกสชนิดทั่วไปที่มีตามธรรมชาติ มีคุณสมบัติ คือ ชว ยใหไ ฟติด แ ตไ มต ิ ด ไฟ ไมม ีส ี ไมม ีก ลิ ่น ทอ ออกซิเ จนจะบรรจุ ค า ความ ดั น ประม าณ 2,000 psig ที่อุณหภูมิ 20°C 7) ชุดวาลวหัวปรับความดันพรอมเกจวัดสําหรับแกสออกซิเจน (Oxygen Regulator) เปนวาลวที่มีเกจเปน ตัวบอกคาความดันที่มีภายในถังออกซิเจนและคาความดันที่ปลอยออกไปใชงาน และมีวาลวปรับความ 74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ดันที่เปนตัวควบคุมคาความดันที่ปลอยออกไปใชงานใหมีอัตราการไหลอยางสม่ําเสมอ โดยทั่วไปเกจที่ เป น ตัวบอกคาความดันที่ม ีภ ายในถัง ออกซิเ จนจะมีคาประมาณ 3,000 – 4,000 psig และเกจที่เปนตัว บอกคาความดันที่ปลอยออกไปใชงานจะมีคาประมาณ 250 – 300 psig 8) ชุดวาลวปรับความดันพรอมเกจวัดสําหรับแกสแอลพีจี (LPG Regulator) เปนวาลวที่มีเกจเปนตัวบอกคา ความดันที่มีภายในถังอะเซทิลีน และคาความดันที่ปลอยออกไปใชงาน และมีวาลวหัวปรับแรงดันเปน ตัวควบคุม คาความดันที่ปลอยออกไปใชงานใหมีอัตราการไหลอยางสม่ําเสมอ โดยทั่วไปเกจที่เปนตัวบอกคา ความดันที่มีภายในถังแอลพีจี จะมีคาประมาณ 100 – 130 psig และเกจที่เปนตัวบอกค าความดั น ที่ปลอยออกไปใชงานจะคาประมาณ 15 – 30 psig 9) ชุดวาลวปรับความดันพรอมเกจวัดสําหรับแกสอะเซทิลีน (Acetylene Regulator) เปนวาลวที่มีเกจเปน ตัวบอกคาความดันที่มีภ ายในถังอะเซทิลีน และคา ความดัน ที่ปลอ ยออกไปใชง าน และมีว าลวปรับ แรงดันเปนตัวควบคุม คาความดันที่ปลอยออกไปใชงานใหมีอัตราการไหลอยางสม่ําเสมอ โดยทั่วไปเกจที่ เปนตัวบอกคาความดันที่มีภ ายในถัง อะเซทิลีน จะมีคาประมาณ 200 - 250 psig และเกจที่เป น ตัว บอกคาความดันที่ปลอยออกไปใชงานจะคาประมาณ 15 – 30 psig 10) สายยางแอลพีจี สายยางอะเซทิลีน และสายยางออกซิเ จน (Welding House) มีลัก ษณะเปน ทอ ยาง ซึ่งอาจใชแ บบสายเดี่ย วเดิ นคูกัน หรือแบบสายคู ซึ่งมีรหัสสีที่ชัดเจน คือ ถาเปนสีแ ดงจะใชกับ แกส แอลพีจี หรือแกสอะเซทิลีน สีเขีย วหรือสีดํา จะใชกับแกสออกซิเจน ขนาดสายจะมีความยาว ประมาณ 5 – 10 เมตร 11) ขอตอ (Fitting) ไวสําหรับสวมเขากับสายเชื่อม แลวยึดดวยแคลมปรัดทอยาง 12) ทอรช เชื่อมและหัวทิพ เชื่อม (Welding Torch and Welding tip) ทอรช เชื่อม หรือ กระบอกเชื่อม เปน สว นที่แ กส ออกซิเ จนและแกสแอลพีจีม าผสมกัน โดยสามารถควบคุม อัตราสวนไดตามตอ งการ จากนั้นแกสจะไหลไปสูหัวทิพเชื่อม 13) แวน ตาเชื่อ มแกส (Welding Goggle) สวมเพื่อ ปอ งกัน สะเก็ด ไฟจากการเชื่อ ม และถนอมสายตา โดยมีทั้งแบบเลนสคูและเลนสเดี่ยว 14) อุปกรณจุดเปลวไฟ (Spark Lighter) ขณะจุดไฟควรใหปลายทิพหางประมาณ 1 นิ้ว 15) อุปกรณทําความสะอาดหัวทิพเชื่อม (Tip Cleaner) เพื่อไมใหเปลวไฟเอียงหรือแตกออก 16) วาลวปองกันแกสและไฟยอนกลับ (Reverse Floe Check Valves) 17) ประแจ (Wrench) ใชประแจเปดถังโดยเฉพาะ 18) ลวดเชื่อมแกส (Filler Rod) 75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.2 การเตรียมการเชื่อม มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1.2.1 การเปดวาลวถังแกส 1) เปดวาลวหัวทอของแกสแอลพีจี ประมาณ 1/4 รอบ จะสังเกตคาความดันภายในถังจากเกจวัดแรงดัน 2) เปดวาลวปรับความดัน (Regulator) โดยหมุนตามเข็มนาฬิกา ใหไดความดันประมาณ 7 – 10 psig (0.5 Kg/cm2) 3) เปดวาลวหัวทอของแกสอะเซทิลีน ประมาณ 1/4 รอบ จะสังเกตคาความดันภายในถังจากเกจวัดแรงดัน 4) เปดวาลวปรับความดัน (Regulator) โดยหมุนตามเข็มนาฬิกา ใหไดความดันประมาณ 7 – 10 psig (0.5 Kg/cm2) 5) เปดวาลวหัวทอของแกสออกซิเจน ประมาณ 1/8 รอบ จะสังเกตคาความดันภายในถังจากเกจวัดแรงดัน 6) เปดวาลวปรับความดัน (Regulator) โดยหมุนตามเข็มนาฬิกา ใหไดความดันประมาณ 15 – 30 psig (5 Kg/cm2) 1.2.2 การปรับเปลวไฟชุดหัวเชื่อม 1) เปดวาลวหัวเชื่อมของแกสแอลพีจี หรือแกสอะเซทิลีน ประมาณ 1/4 รอบ โดยหมุนทวนเข็มนาฬิกา ใชมือบังที่หัวเชื่อม เมื่อรูสึกมีแ กสพุงออกมา ใหใ ชอุปกรณจุดเปลวไฟ โดยใหหางจากหัวเชื่อมประมาณ 3 เซนติเมตร 2) เปดวาลวหัวเชื่อมของแกสออกซิเจน โดยจะตองคอย ๆ เปด เพื่อใหไดเปลวไฟตามตองการ เปลวไฟจะตองไมมีควันดําหรือไมมีเสียงดัง 3) เพิ่มแกสออกซิเจนจนไดเปลวกลาง (Neutral Flame) 4) ถาตองการเปลวไฟแบบเดิม แตตองการความรอนสูงขึ้น ก็สามารถทําไดโดยการเพิ่มแกสแอลพีจี และ แกส ออกซิเ จน ในอัต ราสว นเทา กัน (ในกรณีที่เ ชื่อ มแกส แอลพีจี) หรือ แกส อะเซทิลีน และแกส ออกซิเจน ในอัตราสวนเทากัน (ในกรณีที่เชื่อมแกสอะเซทิลีน) 5) ปรับเปลวไฟใหมีลักษณะตามตองการ โดยลักษณะของเปลวไฟที่ใชในการเชื่อม มีหลายลักษณะ ดังนี้ เปลวไฟในงานเชื่อมทั่วไป สามารถปรับได 3 แบบ ขึ้นอยูกับโลหะที่ใชเชื่อม ดังนี้ - เปลวลด (Carburizing Flame) ลัก ษณะของเปลวไฟจะเปน กรวย 3 ชั้น เปลวลดเกิดจาก ปรับ หมุน วาลว ของแกส ออกซิเ จนมาผสมกับ แกส แอลพีจีใ นอัต ราสว นผสมที ่น อ ยกวา แกสแอลพีจี ดังรูป
76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 4.2 ลักษณะเปลวลด เปนคุณลักษณะของเปลวลด 3x ซึ่งมีอัตราสวนผสมของแกสอะเซทิลีนมากกวาออกซิเจน 3 เทา และสามารถปรับอัตราสวนผสมนี้ไดตามความเหมาะสมของแตละงาน เชน เปลวลด 2x ซึ่งจะให คาความรอนเพิ่มจากเดิม -
เปลวกลาง (Neutral Flame) ลักษณะของเปลวไฟจะเปนกรวย 2 ชั้น ชั้นในกรวยมน เกิดจาก
การปรับหมุนวาลวของแกสออกซิเ จนออกมาผสมกับแกสอะเซทิลี นในอั ตราสว นผสมที่เ ทา กัน ทําใหเกิดการเผาไหมที่สมบูรณโลหะเหล็กที่ถูกเผาดวยเปลวนี้ จะหลอมเหลวไดอยางใสสะอาด จึงใชสําหรับการเชื่อมโลหะไดเกือบทุกชนิด การตัดโลหะและการแลนประสาน ซึ่งมีลักษณะเปลวไฟ ดังรูป
ภาพที่ 4.3 ลักษณะเปลวกลาง 77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 -
เปลวเพิ่ม (Oxidizing Flame) ลักษณะของเปลวไฟจะเปนกรวย 2 ชั้น ชั้นในเปนกรวยแหลม
เปลวนอกสั้นกวาเปลวชนิดอื่น ๆ เกิดจากการปรับหมุนวาลวของแกสออกซิเจนออกมาผสมกับ แกส อะเซทิลีน ในอัต ราสว นผสมที่ม ากกวา แกส อะเซทิลีน ทํา ใหเ กิด การเผาไหมไ มส มบูร ณ มีออกซิเจนเหลื ออยูใ นเปลวเหมาะสมสํ าหรับการเชื่ อมบรอนซ การเชื่อมประสาน การอุนชิ้ น งาน เหล็ก หลอกอนเชื่อ ม แตไ มเ หมาะสํา หรับการเชื่อมเหล็ก เพราะจะทําใหแ นวเชื่อ มไมแ ข็งแรง ซึ่งมีลักษณะ ของเปลว ดังรูป
ภาพที่ 4.3 ลักษณะเปลวเพิ่ม ในสวนของเชื่อมทอในระบบเครื่องทําความเย็น ซึ่งทอสวนมากมักจะเปนทอทองแดง มักจะเลือกใช เปลวกลาง (Neutral Flame) ซึ่งสามารถใชเชื่อมไดทั้งการเชื่อมทองแดงกับทองแดง หรือทองแดงกับ เหล็กนอกจากนี้เปลวไฟเชื่อมทั้ง 3 แบบ นอกจากจะมีอัตราสวนผสมที่ไมเทากันแลว ยังใหคาความรอน และธาตุที่เหลือไมเหมือนกันดวย ตารางที่ 4.1 แสดงคุณสมบัติของเปลวไฟที่ใชในงานเชื่อม ชนิดเปลวไฟเชื่อมที่ใช เปลดลด
ความรอนที่ได
อัตราสวนผสม
ธาตุที่เหลือ
2,800°C
C2H2 > O2
คารบอน
3,200°C
C2H2 = O2
ไมเหลือธาตุ
3,400°C
C2H2 < O2
ออกซิเจน
(Carburizing Flame) เปลวกลาง (Neutral Flame) เปลวเพิ่ม (Oxidizing Flame) 78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.3 ขั้นตอนการเชื่อม มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1) นําทอที่จะทําการเชื่อมมาทําการขยายหรือสวมขอตอ แลวทําการทดสอบสวมกันดูใหเรียบรอย 2) ทําความสะอาดผิวนอกทอดวยกระดาษทราย 3) ทาฟลักซ (Flux) บริเวณผิวดานนอกและผิวดานในของทอ (ถาเชื่อมดวยลวดเชื่อมเงิน และเปนการเชื่อม ระหวางทองแดงกับทองแดงไมตองทาฟลักซ) 4) ปรับเปลวไฟของหัวเชื่อมใหเหมาะสมตามวิธีและขั้นตอนการปฏบัติ 5) ใชหัวเชื่อมแกสเปาใหความรอนชิ้นงานจนแดง แลวนําลวดเชื่อมไปแตะชิ้นงานสังเกตการวิ่งของลวดเชื่อม ที่หลอมละลาย คอยดึงเปลวไฟเขา - ออกใหพอดี โดยพยายามใหเนื้อลวดเชื่อมจับโดยรอบ 6) ปดชุดเชื่อมแกสตามขั้นตอน ขอสังเกต ขณะที่ปฏิบัติงานเชื่อมทอจะมีขอควรปฏิบัติหรือขอควรสังเกต ดังนี้ - ขณะทําการเชื่อมทอขนาดใหญ ควรใชคอนเคาะเบาๆ เพื่อชวยในการจับตัวของลวดเชื่อมขณะที่กําลัง หลอมละลาย - ถาตองการไมใ หเกิดออกไซดภายในทอ ขณะที่ทําการเชื่อมทอจะตองมีการผานแกส ไนโตรเจนใหไหล ภายในทอดวยความดันประมาณ 1-2 psig เสมอ - ในการเปดเปลวไฟเพื่อใชงานถาเราเปดแกสอะเซทิลีนพรอมกับออกซิเจนเมื่อทําการจุดเปลวไฟจะทําให เกิดเสียงดังเสมอ (เนื่องจากการเกิดสันดาป) แตถาเราเปดเฉพาะแกสอะเซทิลีนเมื่อทําการจุดแกสก็มักจะ เกิดเขมา และควันดําตามมา 1.4 ขั้นตอนการปดเปลวไฟ มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1) ปดวาลวแกส LPG หรือแกสอะเซทิลีนที่ชุดหัวเชื่อม โดยหมุนตามเข็มนาฬิกา 2) รอจนเปลวไฟดับแลว ปดวาลวแกสออกซิเจนที่ชุดหัวเชื่อม โดยหมุนตามเข็มนาฬิกา 3) ปดวาลวที่หัวทอแกส LPG หรือแกสอะเซทิลีน โดยหมุนตามเข็มนาฬิกา 4) ปดวาลวที่หัวทอแกสออกซิเจน โดยหมุนตามเข็มนาฬิกา 5) เปดวาลวแกส LPG หรือแกสอะเซทิลีนที่ชุดหัวเชื่อม โดยหมุนทวนเข็มนาฬิกา เพื่อปลอยแกสที่อยู ภายในสายออก สังเกตเข็มของเกจวัดคาความดันใชงาน และคาความดันภายในถังชี้ที่ 0 ปดวาลวปรับ ความดัน (Regulator) โดยหมุนทวนเข็มนาฬิกา 79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 6) ปดวาลวแกส LPG หรือแกสอะเซทิลีนที่ชุดหัวเชื่อม โดยหมุนตามเข็มนาฬิกา 7) เปดวาลวแกสออกซิเจนที่ชุดหัวเชื่อม โดยหมุนทวนเข็มนาฬิกา เพื่อปลอยแกสที่อยูภายในสายออก สังเกตเข็มของเกจวัดคาความดันใชงาน และคาความดันภายในถังชี้ที่ 0 ปดวาลวปรับความดัน (Regulator) โดยหมุนทวนเข็มนาฬิกา 8) ปดวาลวแกสออกซิเจนที่ชุดหัวเชื่อม โดยหมุนตามเข็มนาฬิกา
80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. เปลวไฟที่ใชในงานเชื่อมมีกี่ชนิด ก. 3 ชนิด ข. 2 ชนิด ค. 5 ชนิด ง. 6 ชนิด 2. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการปรับตั้งไฟเปลวลด ก. แกสออกซิเจนผสมกับแกสอะเซทิลีนในอัตราสวนผสมที่เทากัน ข. แกสออกซิเจนผสมกับแกสไนโตรเจนในอัตราสวนผสมที่เทากัน ค. แกสออกซิเจนผสมกับแกสอะเซทิลีนในอัตราสวนผสมที่มากกวาแกสอะเซทิลีน ง. แกสออกซิเจนผสมกับแกสอะเซทิลีนในอัตราสวนผสมที่นอยกวาแกสอะเซทิลีน
3.
จากภาพ คือการปรับตั้งเปลวไฟชนิดใด ก. เปลวลด ข. เปลวกลาง ค. เปลวเพิ่ม ง. เปลวทั่วไป
81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
กระดาษคําตอบ ขอ 1 2 3
ก
ข
ค
82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบงาน ใบงานที่ 4.1 การเชื่อมแกส 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - เชื่อมแกส ปรับแตงแรงดันแกสอะเซทิลีน แกส LPG และแกสออกซิเจนได
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง
3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. จงเชื่อมทอทองแดง 2 ทอเขาดวยกัน 2. จงเชื่อมแคปทิ้วปกับทอทองแดง 3. จงทดสอบรอยรั่ว
83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 4.1 การเชื่อมแกส 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใ หมีอุปกรณอ่ืน ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. แปรงลวด
จํานวน 1 อัน
2. อุปกรณจุดเปลวไฟ
จํานวน 1 อัน
3. แวนนิรภัย
จํานวน 1 อัน
4. ถุงมือ
จํานวน 1 คู
5. ชุดเชื่อมแกส
จํานวน 1 ชุด
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกให ทราบ
84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ลวดเชื่อมแกส
จํานวน 1 เสน
2. ทอทองแดง ขนาด 5/8 นิ้ว ความยาว 20 เซนติเมตร
จํานวน 1 เสน
85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน 2.1 การเชื่อมแกส ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
1. ตัดทอทองแดงยาว 4 เซนติเมตรจํานวน 4 ตัดทอทองแดงขนาด 5/8 นิ้ว ทอน
ความยาว 4 เซนติเมตร จํานวน 4 ทอนจากนั้นลบคมทอ
2. นําทอทองแดงเสนหนึ่งมาขยาย จากนั้น
นําทอทองแดงขนาด 5/8 นิ้ว 1 เสน
นําทอทองแดงอีกเสนลองสวม เพื่อตรวจดูวา มาขยายดวยเครื่องมือขยายทอ ทอทั้งสองเสนสามารถสวมกันไดพอดีหรือไม จากนั้นลองสวมทอทองแดงอีกเสน ลงไป ทดลองขยับเล็กนอยเพื่อดู ความเหมาะสม จากนั้นขยายทอ ทั้งหมด 4 ทอน
3. นําทอแคปทิ้วปมาสวมลงในทอทองแดง
นําทอแคปทิ้วป ความยาว 5
เสนที่ไมไดขยาย จากนั้นบีบปลายทอ
เซนติเมตรสวมลงในทอทองแดง
ทองแดง ใหทอแคปทิ้วปไมหลุด
ดานที่ไมไดขยาย โดยบีบปลายทอ ใหทอแคปทิ้วปไมหลุด
86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
4. ทําความสะอาดจุดเชื่อมทุกจุด
ทําความสะอาดจุดเชื่อมตอทุกจุด
5. เปดวาลวชุดเชื่อม
เป ด วาล ว แก ส อะซี ที ลี น แล ว เป ด การใชแกสควรมีครูฝกควบคุม วาล ว หั ว ท อ ของแก ส ออก ซิ เ จน อยางใกลชิด อันตรายจากถังแกส จากนั้นเปดวาลวหัวเชื่อมของแก ส ระเบิดอาจทําใหเสียชีวิตได อะเซทิ ลี น แ ล ว จุ ด แ ก ส โดย ให อุ ป กรณ จุ ด เปลวไฟ เป ด วาล ว หั ว เชื่อมของออกซิเจน เปลวไฟจะตอง ไ ม มี ค วั น ดํ า ห รื อ ไ ม มี เ สี ย ง ดั ง ปรั บ แต ง ให ไ ด เ ปลวกลาง หรื อ Neutral Flame
87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. ปรับเปลวไฟใหไดตามการใชงาน
คําอธิบาย ปรับตั้งไฟเพื่อทําการเชื่อมทอทองแดง และทอแคปทิ้วป เขาเปนชิ้นงาน เดียวกัน
7. เชื่อมจุดตาง ๆ ดวยลวดเชื่อมเงิน
ทํ า การเชื่ อ มจุ ด เชื่ อ มต อ ด ว ยลวด เชื่อมเงิน
8. ปดอุปกรณเชื่อม ปดวาลวใหถูกตอง
ขณะเปลวไฟยั งติ ด อยู ใ ห ป ดวาลว แกสออกซิเจนตรงหัวเชื่อม จากนั้น ป ด วาล ว หั ว เชื่ อ มแก ส อะซี ที ลี น แลวจึงปดวาลวที่ถังแกสออกซิเจน และที่ถังแกสอะซีทีลีนตามลําดับ
9. ตรวจสอบความเรียบรอยและสงชิ้นงาน
ตรวจสอบความเรีย บรอ ย และ สงชิ้นงาน
88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
2
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
การเชื่อมทอ 1.1 การตัดทอ
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.2 การลบคมทอ
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.3 การเชื่อมทอ
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.4 ทดสอบรอยรั่ว
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
ปฏิบัติงาน
89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 การตัดทอ
1.2 การลบคมทอ
1.3 การเชื่อมทอ
1.4 ทดสอบรอยรั่ว
2
กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ ครบถ วน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน 2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน
เกณฑการใหคะแนน - ตัดทอไดขนาดตามที่กําหนด ใหคะแนน 5 คะแนน - ตัดทอขาด หรือเกิน ที่กําหนด 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตัดทอขาด หรือเกินตั้งแต 3 หนวยขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน - ลบคมทอโดยทอไมมีคมเหลืออยู ไมมีเศษทอภายในทอ ใหคะแนน 5 คะแนน - ลบคมทอโดยทอ ไมมีค มเหลือ อยู แตมีเศษทออยู ภายในทอ เล็ ก น อ ย ใหคะแนน 3 คะแนน - ลบคมทอโดยท อไม มีค มเหลื ออยู มีเศษทออยูภายในท อจํ านวนมาก ใหคะแนน 1 คะแนน - เชื่อมทอไดแนบสนิท แข็งแรง ทอตรงสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - เชื่อมทอได ทอตรง แข็งแรง แตยังไมแนบสนิท ใหคะแนน 3 คะแนน - เชื่อมทอได ทอไมตรง ไมแนบสนิท ไมแข็งแรง ใหคะแนน 1 คะแนน - รอยเชื่อมไมรั่ว ละลายเปนเนื้อเดียวกัน ผิวหนารอยเชื่อมสม่ําเสมอให คะแนน 5 คะแนน - รอยเชื่อมไมรั่ว ผิวหนารอยเชื่อมไมสม่ําเสมอ หรือรอยพอกหนา เกินความจําเปน ใหคะแนน 3 คะแนน - รอยเชื่อมรั่ว ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม
คะแนนเต็ม 20 5
คะแนนที่ได
5
5
5
5 1 1 1 1 1 25
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 5 0921730105 การเชื่อมทอทองแดง (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกขั้นตอนการเชื่อมทอทองแดงผานทอไนโตรเจนได 2. เชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจนได
2. หัวขอสําคัญ - ขั้นตอนการเชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจน 3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก
4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก
6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ ครูฝกกําหนดได
92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
7. บรรณานุกรม จีรวรรณ บุตรโสภา. 2557. หนวยที่ 7 งานบัดกรีออน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://2100-1005-1.blogspot.com/2014/01/7_23.html วิทยาลัยเทคนิคพัทยา. 2560. หนวยที่ 5 งานบัดกรีแข็ง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.pattayatech.ac.th/files/150511088525213_15051111115447.pdf
93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 5 ขั้นตอนการเชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจน การเชื่อมทอทองแดงดวยวิธีการบัดกรีแข็ง (Brazing) ซึ่งเปนการใหความรอนแกทอทองแดง และเติมลวดเชื่อมโดยไมใ ช น้ํายาประสาน โดยระหวางที่เชื่อมตองปล อยแกสไนโตรเจนเข าสูภายในท อ เพื่อปองกันการเกิด ออกไซดข องทองแดง ซึ่งจะทําใหเกิดคราบเขมาสีดําที่ผิวดานในของทอ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ปรับแตงปลายทอใหเรียบรอย 2. สวมทอทั้งสองที่ตองการเชื่อมตอกัน 3. ใชเทปปดปลายทออีกดาน แลวเจาะรูขนาดเล็ก เพื่อใหแกสไนโตรเจนไหลออกได 4. ปลอยแกสไนโตรเจนแรงดันประมาณ 1-2 psi เขาสูทอ 5. ตรวจเช็คความพรอมของอุปกรณเชื่อม และจุดไฟที่หัวเชื่อม 6. ปรับเปลวไฟใหเปนเปลวไฟนิวทรัล โดยปรับปริมาณของแกสออกซิเจนและแกสอะเซทิลีนในอัตราสวนที่เทากัน 7. ใหความรอนแกบริเวณปลายทอ โดยใหหางจากขอบประมาณ 1 นิ้ว และสายไปมาเล็กนอย หามคางอยูจุด ใดจุดหนึ่งนานเกินไป เพราะจะทําใหทอเสียหายได 8. เมื่อบริเวณที่จะเชื่อมมีอุณหภูมิสูงพอแลวใหเลื่อนเปลวไฟออก 9. ใสลวดเชื่อมพรอมฟลักซเขาไปที่รอยตอ 10. เมื่อลวดเชื่อม และฟลักซละลายดีแลว จึงดับเปลวไฟได 11. ปดแกสไนโตรเจน
ภาพที่ 5.1 ขั้นตอนการบัดกรีแข็งผานแกสไนโตรเจน
94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 5.2 ทอที่ผานการบัดกรีแข็งผานแกสไนโตรเจน นอกจากนี้ แกสไนโตรเจนยังถูกนํามาใชใ นการตรวจสอบรอยรั่วของทอสารทําความเย็นได โดยตอสายจากถังไนโตรเจน เขาสูระบบทางสายตรงกลาง จากนั้นคอย ๆ อัดแกสใหมีแรงดันมากกวา 100 ปอนดตอตารางนิ้ว จากนั้นใชน้ําผสมฟองสบู ลูบตามทอ โดยเฉพาะจุดที่เปนรอยเชื่อม และขอตอ ถามีฟองอากาศผุดขึ้น แสดงวาจุดนั้นมีรอยรั่ว
95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. อัตราการปลอยแกสไนโตรเจนที่เหมาะสมในการเชื่อมทอทองแดงคือ ก. 28 -30 psi ข. 45 -50 psi ค. 55 -60 psi ง. 65 -70 psi 2. การเชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจน ตองปรับใหเปลวไฟอยูในลักษณะใด ก. เปลวลด ข. เปลวกลาง ค. เปลวเพิ่ม ง. เปลวเฉื่อย 3. การใหความรอนทอควรจอทอใหรอนหรือไม ก. ควร เพราะทอจะไดรอน ข. ควร เพราะทอจะไดไมเกิดออกไซดติดภายใน ค. ไมควร การใหความรอนควรสายไปมาเล็กนอย ง. ไมควร การใหความรอนควรใหโดยเวนวางจุดละ 5 นาที
96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
กระดาษคําตอบ ขอ 1 2 3
ก
ข
ค
97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบงาน ใบงานที่ 5.1 การเชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - เชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจนได
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง
3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกเชื่อมทอทองแดง 2 ขนาด ดวยวิธีการเชื่อมทอผานแกสไนโตรเจน
98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 5.1 การเชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใ หมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณผูรับการฝก 1 คน 1. ชุดเชื่อมแกส
จํานวน 1 ชุด
2. ถังไนโตรเจน พรอมเกจเรกูเลเตอร
จํานวน 1 ชุด
3. แปรงลวด
จํานวน 1 อัน
4. อุปกรณจุดเปลวไฟ
จํานวน 1 อัน
5. แวนนิรภัย
จํานวน 1 อัน
6. ถุงมือ
จํานวน 1 คู
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ
99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.5 การเตรียมวัสดุผูรับการฝก 1 คน 1. ลวดเชื่อมเงิน
จํานวน 1 เสน
2. ฟลักซ
จํานวน 1 อัน
3. ทอทองแดงขนาด 3/8 นิ้ว ความยาว 20 เซนติเมตร
จํานวน 1 เสน
4. ทอทองแดงขนาด 5/8 นิ้ว ความยาว 20 เซนติเมตร
จํานวน 1 เสน
100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน 2.1 การเชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
1. ตัดทอทองแดงยาว 5 เซนติเมตร
ตัดทอทองแดงขนาด 5/8 นิ้ว
จํานวน 4 เสน จากทอทั้ง 2 ขนาด
ความยาว 5 เซนติเมตร จํานวน 4 เสน และทอทองแดงขนาด 3/8 นิ้ว ความยาว 5 เซนติเมตร จํานวน 4 เสน จากนั้นลบคมทอทั้งหมด
2. นําทอทองแดงขนาด 5/8
นําทอทองแดงขนาด 5/8 นิ้ว
เส นหนึ่ งมาขยาย จากนั้ นนํา 1 เสน มาขยายดวยเครื่องมือขยายทอ ทอ ทองแดงขนาดเดียวกันอีกเสนลองสวม จากนั้ น ลองสวมท อ ทองแดงขนาด 5/8 อีกเสนลงไป ทดลองขยับเล็กนอย เพื่อดูความเหมาะสม จากนั้นขยาย ทอจํานวน 3 เสน
101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
3. นําทอทองแดงขนาด 3/8 มาขยายเสน
นําทอทองแดงขนาด 3/8 นิ้ว
หนึ่ง และนําอีกเสนหนึ่งมาสวม
1 เสนมาขยายดวยเครื่องมือขยายทอ จากนั้นลองสวมทอทองแดงขนาด 3/8 อี ก เส น ลงไป ทดลองขยั บ เล็ ก นอย เพื่ อ ดู ค วามเหมาะสมเช น เดี ย วกั น จากนั้นขยายทอจํานวน 3 เสน
4. ทําความสะอาดจุดเชื่อมทุกจุด
ทําความสะอาดจุดเชื่อมตอทุกจุด
102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ใชเทปปดทอ แลวเจาะรูขางหนึ่ง
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ใช เ ทปป ด ปลายท อ ทองแดงขนาด 5/8 ด า นหนึ่ ง แล ว เจาะรู ข นาดเล็ ก เพื่ อ ให แ ก ส ไนโตรเจนไหลออกได จากนั้ น ใช เ ทปปด ปลายทอ ทองแดง ขนาด 3/8 ดานหนึ่ง แลวเจาะรูข าด เล็กเพื่อใหแกสไนโตรเจนไหลออกได
6. ปลอยแกสไนโตรเจนผานทอ
ปลอยแกสไนโตรเจนแรงดันประมาณ การใชแกสควรมีครูฝกควบคุมอยาง
1-2 ปอนดตอตารางนิ้ว
1-2 psi เขาสูทอเพื่อเตรียมการเชื่อม ใกลชิด อันตรายจากถังแกสระเบิด อาจทําใหเสียชีวิตได
7. ตั้งไฟใหเปนไฟแบบนิวทรัล
ปรั บ เปลวไฟใหเ ปน เปลวไฟนิวทรัล ตรวจเช็คความพรอมของอุป กรณ โดยปรับปริม าณของแก สออกซิ เ จน เชื่อม และจุดไฟที่หัวเชื่อม และแก ส อะเซทิ ลี น ในอั ต ราส ว นที่ เทากัน
8. ใหความรอนบริเวณปลายทอ โดยสาย
ให ค วามร อ นแก บ ริ เ วณปล าย ท อ หามคางอยูจุดใดจุดหนึ่งนานเกินไป
ไฟมาเล็กนอย
โดยใหหางจากขอบประมาณ 1 นิ้ว เพราะจะทําใหทอเสียหายได และสายไปมาเล็กนอยเมื่อบริ เ วณที่ จะเชื่อมมีอุณหภูมิสูงพอแลวใหเลื่อน เปลวไฟออก
103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
9. ใสลวดเชื่อมพรอมฟลักซเขาไปที่รอยตอ ใส ล วดเชื่ อ มพร อ มฟลั ก ซ เ ข า ไปที่ เชื่อมใหทั่วบริเวณ
รอยต อ เมื่ อลวดเชื่ อ มและฟลั ก ซ ละลายดีแลว จึงดับเปลวไฟได
10. ตรวจสอบความเรียบรอย และสง
ตรวจสอบความเรียบรอยของรอยเชื่อม
ชิ้นงาน
จากนั้นปดแกสไนโตรเจน และสงชิ้นงาน
104 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
2
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
การเชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจน 1.1 ขยายทอทองแดงไดอยางถูกตอง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.2 ทําความสะอาดผิวทอทองแดงกอนเชื่อม
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.3 ปรับตั้งเปลวเชื่อม
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.4 รอยเชื่อม
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.5 ตรวจการปลอยแกสไนโตรเจน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
ปฏิบัติงาน
105 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 ขยายทอทองแดงไดอย างถูกตอง
2
เกณฑการใหคะแนน
- ขยายทอแลวคอทอสมบูรณ เรียบรอย ใหคะแนน 5 คะแนน - ขยายท อ แล วคอท อ มี ร อย เล็ ก น อ ยแต ไม เ สี ยหายต อ การใชง าน ให คะแนน 3 คะแนน - ขยายทอแลวคอทอมีรอยลึก หรือ ขาดรั่ว สงผลเสียตอการใชงาน ให คะแนน 1 คะแนน 1.2 ทํ าความสะอาดผิวของทอทองแดงกอนเชื่อม - ทําความสะอาดครบทุกจุดที่จะทําการเชื่อม ใหคะแนน 5 คะแนน - ไมทําความสะอาดจุดเชื่อม 1 จุด ใหคะแนน 3 คะแน - ไมทําความสะอาดจุดเชื่อม 2 จุด ใหคะแนน 1 คะแน 1.3 ปรับตั้งเปลวเชื่อม - ปรับเปลวไฟไดอัตราสวนแกสที่เหมาะสม ใหคะแนน 5 คะแนน - ปรั บเปลวไฟไม ได อั ต ราส วนแก ส ที่ เ หมาะสม แต พ อเชื่ อ มได ให คะแนน 3 คะแนน - ปรั บเปลวไฟไม ได อัต ราส วน ต อ งให ค รู หรื อเพื่ อนชวย ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.4 รอยเชื่อม - เชื่อมทอไดแนบสนิท แข็งแรง ทอตรงสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - เชื่อมทอได ทอตรง แข็งแรง แตยังไมแนบสนิท ใหคะแนน 3 คะแนน - เชื่อมทอได ทอไมตรง ไมแนบสนิท ไมแข็งแรง ใหคะแนน 1 คะแนน 1.5 ตรวจการปลอยแกสไนโตรเจน - ผาทอแลวไมพบเขมา ใหคะแนน 5 คะแนน - ผาแลวพบเขมาภายในทอเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ผาแลวพบเขมาภายในทอจํานวนมาก ใหคะแนน 1 คะแนน กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน ครบถ วน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม
คะแนนเต็ม 25 5
คะแนนที่ได
5
5
5
5 1 1 1 1 1 30
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 21 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
106 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบงาน ใบงานที่ 5.2 งานทอ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ตัด ตอ ขยาย บานแฟลร และดัดทอได - เชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจนได
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 4 ชั่วโมง
3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานทอตามแบบที่กําหนดให
หนวย : มิลลิเมตร
107 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 5.2 งานทอ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใ หมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คอน
จํานวน 1 ตัว
2. คัตเตอรตัดทอ
จํานวน 1 ตัว
3. ชุดขยายทอ
จํานวน 1 ชุด
4. ชุดบานแฟลร
จํานวน 1 ชุด
5. บรรทัดเหล็ก
จํานวน 1 อัน
6. ตะไบสามเหลี่ยม
จํานวน 1 ตัว
7. เบนเดอรดัดทอขนาด 1/2 นิ้ว
จํานวน 1 ตัว
8. รีมเมอร
จํานวน 1 ตัว
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ
108 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ทอแคปทิ้วป ยาว 3 เซนติเมตร
จํานวน 1 เสน
2. ทอทองแดง ขนาด 1/2 นิ้ว ความยาว 40 เซนติเมตร
จํานวน 1 เสน
3. แฟลรนัต ขนาด 1/2 นิ้ว
จํานวน 1 อัน
4. ยูเนี่ยน ขนาด 1/2 นิ้ว
จํานวน 1 อัน
109 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน 2.1 งานทอ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เตรียมทอความยาว 40 เซนติเมตร
คําอธิบาย เตรียมทอทองแดง ขนาด 1/2 นิ้ว ความยาว 40 เซนติเมตร
2. วัดความยาวทอที่ 6 เซนติเมตร แลวตัด สว น
ใชตลับเมตรวัด ความยาว และ
ปลายอีกดา นหนึ่งใหทํา การขยายทอ และลบคม
กํ า หนดจุ ด ที่ 6 เซนติ เ ม ต ร
ทอใหเรีย บร อย
จากนั้ น ใช คั ต เตอร ตั ด ท อ ตาม ความยาว โดยเผื่อความยาว เพิ่ ม ประมาณ 1 เซนติ เ มตร สํ า หรั บ สวม ท อ เข าอี ก ด า น โดยปลายด า นหนึ่ ง ให ทํ า การ ข ย า ย ท อ เ พื่ อ เ ต รี ย ม เ ชื่ อ ม จากนั้นลบคมทอใหเรียบรอย
110 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
3. วัดความยาวทอ 8 เซนติเมตรแลวกําหนดจุดดัดทอ ใชตลับเมตรวัดความยาวลงมา อีก 8 เซนติเมตร แลวกําหนดจุด เพื่อเตรียมดัดทอ 90 องศา
4. ดัดทอ 90 องศาตามที่ไดกําหนดจุดไว
ใช เ บนเดอร ดั ด ท อ ให ไ ด 90 องศา
5. วัดความยาวทอ 8 เซนติเมตร แลวกําหนดจุดเพื่อ ใชตลับเมตรวัดความยาว เตรียมดัด
8 เซนติเมตร ตามแบบ กําหนดจุด เพื่อเตรียมดัด 45 องศา
111 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
6. ดัดทอใหไดมุม 45 องศา
ใชเบนเดอรดัดทอ ทํามุม 45 องศา
7. จากจุดดัดที่ 45 องศา วัดความยาว 8 เซนติเมตร ใชตลับเมตรวัดความยาวจากจุด แลวตัดทอ และลบคมทอใหเรียบรอยจากนั้นพักไว
ที่ดัด 45 องศามาอีก 8 เซนติเมตร แลวกําหนดจุดเพื่ อตั ด จากนั้ น ตัดทอทองแดง แลวลบคมทอให เรียบรอย จากนั้นพักไว
8. นําทอที่ตัดออกในตอนแรก ใสแฟลรนัตตามแบบ
นําทอที่ตัดออกในตอนแรก มา ใส แ ฟลร นั ต ตามแบบที่ กํา หนด ในใบงาน
112 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
9. จากนั้นบานแฟลร แลวนําทอทั้งสองสวนมาสวม จากนั้นใหทําการบานแฟลร ตาม เขาดวยกัน
แบบที่กําหนดในใบงาน แลวนํา ทอทั้งสองชิ้นมาสวมเขาดวยกัน
10. เชื่อมรอยตอที่ 1 ที่ไดขยายทอไว
เชื่ อ มรอย ต อ ที่ 1 ผ า นแ ก ส ไนโตรเจน
11. ตัดแคปทิ้วปสวมในทอ ใชคีม บีบแลวเชื่อมป ด ตัดแคปทิ้วปดวยตะไบสามเหลี่ยม แคปทิ้วป
ยาวประมาณ 3 เซนติ เ มตร จากนั้ น สวมแคปทิ้ ว ป ล งในทอ ประมาณ 8 มิลลิเมตร แลวใชคีม บีบทอ จากนั้นเชื่อมปดแคปทิ้ วป ใหสนิท
113 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
12. ทดสอบรอยรั่ว
ทดสอบรอยรั่วผานไนโตรเจน
13. สงชิ้นงาน
สงชิ้นงาน
114 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
2
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
ทอในเครื่องทําความเย็น 1.1 งานตัดทอ
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.2 งานขยายทอ (แบบตอก)
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.3 งานบานแฟลร 1 ชั้น
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.4 งานดัดทอ (เบนเดอร)
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
ปฏิบัติงาน
115 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1
รายการประเมิน
เกณฑการใหคะแนน
การปฏิบัติงาน 1.1 งานตัดทอ
คะแนนเต็ม 20
- ตัดทอไดขนาดตามที่กํ าหนด ลบคมทอเรี ยบรอย ให คะแนน 5 คะแนน
5
- ตัดทอขาด/เกิน 1-2 มิลลิเมตร ยังมีคมทออยูเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตั ด ท อ ขาด/เ กิ น ตั้ ง แต 3 มิ ล ลิ เ มตร ล บคมท อ ไม เ รี ย บร อ ย ใหคะแนน 1 คะแนน 1.2 งานขยายทอ (แบบตอก)
- ผิวเรียบ คอทอ ไมมีรอยราว แตก ระยะขยายไดขนาด
5
ใหคะแนน 5 คะแนน - ผิวเรียบ คอทอ มีรอยเล็กนอย ระยะขยายไดขนาด ใหคะแนน 3 คะแนน - ผิวเรียบ คอทอ มีรอยราว แตก ระยะขยายลึก หรือตื้นเกินไป ใหคะแนน 1 คะแนน 1.3 งานบานแฟลร 1 ชั้น
- ผิวเรียบ ระยะความบานไดตามขนาด ใหคะแนน 5 คะแนน
5
- ผิวมีรอยเล็กนอย ระยะบานไดตามขนาด ใหคะแนน 3 คะแนน - ผิวมีรอย ระยะการบานมากเกิน ทอมีรอยแตก ใหคะแนน 1 คะแนน 1.4 งานดัดทอ (เบนเดอร)
- กําหนดระยะตํ าแหนงดัด ถูกตอง สามารถดัดได 30 องศา
5
ใหคะแนน 5 คะแนน - กําหนดระยะตํ าแหนงดัด ขาด/เกิน 1-2 มิลลิเมตร สามารถดัด ไดขาด/เกิน 1-2 องศา ใหคะแนน 3 คะแนน - กําหนดระยะตํ าแหนงดัด ขาด/เกินตั้งแต 3 มิลลิเมตร สามารถดัด ไดขาด/เกินตั้งแต 3 องศา ใหคะแนน 1 คะแนน 2
กิจนิสัย
5
2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน
1
ครบถ วน
- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน
2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล
- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน
อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน
- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน
2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน
- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน
1 1
- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน
- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน
1
- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า
- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน
ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน
- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม
1 25
116 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คะแนนที่ได
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
117 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
คณะผูจ ดั ทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
3. นายธวัช 4. นายสุรพล
เบญจาทิกุล พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา
ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน
ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก
7. นายวัชรพงษ
มุขเชิด
ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ
คําเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพสาลี
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกลา
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กําภู ณ อยุธยา
สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงควัฒนานุรักษ
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
118 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
ปกหลัง
119 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน