คู่มือผู้รับการฝึก ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 1 โมดูล 7

Page 1

หนาปก



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

คูมือผูรับการฝก 0920164170201 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 7 09217302 หลักการทําความเย็นและสารทําความเย็น

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

คํา นํา

คูม ือ ผูรับ การฝก สาขาชา งเครื่อ งปรับ อากาศในบา นและการพาณิช ยข นาดเล็ก ระดับ 1 โมดูล 7 หลัก การ ทํา ความเย็น และสารทําความเย็น ฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจั ดการฝกอบรมกับชุ ดการฝกตามความสามารถ โดยได ดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝ กตาม ความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูรับการฝกได ใชเปนเครื่องมือในการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ หลังเรียนจบโมดูลการฝก ผูรับการฝกสามารถอธิบาย บอก หลักการ ดวยความ เขาใจเกี่ยวกับวัฏจักรระบบการทํา ความเย็ น และระบบปรับอากาศได ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรีย นรูไ ด ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแ ก ผูรับการฝกอบรม และตองการใหผู รับ การฝ กอบรมเกิ ดการเรีย นรูด วยตนเอง การฝกปฏิบัติ จะดํ าเนิ น การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชใ นการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรีย นรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรีย มการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรีย มและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตางๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่ม จํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคาใช จายในการพั ฒ นาฝมือแรงงานใหแ ก กําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝ ก ที่ มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใ ชแ รงงานผูวางงาน นักเรีย น นักศึกษา และผูประกอบอาชีพ อิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

สารบัญ

เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

1

โมดูลการฝกที่ 7 09217302 หลักการทําความเย็นและสารทําความเย็น หัวขอวิชาที่ 1 0921730201 ระบบทําความเย็นและปรับ อากาศ

14

หัวขอวิชาที่ 2 0921730202 หนวยวัดในระบบทําความเย็น

20

หัวขอวิชาที่ 3 0921730203 สารทําความเย็น

29

คณะผูจัดทําโครงการ

38

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูม ือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด วย หัวขอวิชาที่ผูรับการฝกตองเรีย นรูแ ละฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูลและรหัสหัวขอวิชาเป นตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรีย นรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนํา ความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑม าตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรีย นรูข องผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรีย นรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบีย น เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผา นอุป กรณอิเล็กทรอนิก สหรือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขา ใช ง านระบบ แบงสวนการใชง านตามความรั บผิ ด ชอบของผู มีส ว นได ส ว นเสีย ดั ง ภาพในหน า 2 ซึ่งรายละเอีย ดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ในคูมือผูรับการฝก จะเริ่ม ตนที่ ค. ผังการฝกอบรม เพื่อให สอดคลองกับการนําคูมือผูรับการฝกไปใช จึงละเวน ก. ผังการจัดเตรียมระบบ และ ข. ผังการเปดรับสมัครและคัด เลือก ผูรับการฝก ค. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิ บั ติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่อ อิเ ล็ก ทรอนิ กส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม 4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถั ดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผูรับการฝกดาวนโหลดแอปพลิเคชั น DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวนโหลดแอปพลิ เ คชั น สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใ ชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิ เ คชั น DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวน โ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิ เคชั น DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถั ดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด วยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการ ฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพือ่ ใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 6

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้ น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว 4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาทีต่ รวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถาไมครบ จะไมจบหลักสูตรแตได รับการรับ รองความสามารถบางโมดู ลในรายการโมดูล ที่สํา เร็ จเท า นั้ น ซึ่งสามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและ การพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164170201

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุม ดา นความรู ทักษะ และเจตคติแ กผูรับการฝกใน สาขาชางเครื่องปรับอากาศ ในบานและการพาณิชยข นาดเล็ก เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแห งชาติ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟาและงานชางเครื่องทําความเย็นไดอยางปลอดภัย 1.2 มีความรูเกี่ยวกับหนวยวัดของระบบตาง ๆ ที่ใชงานในเครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศ และสามารถ อานแบบเครื่องกล แบบทางไฟฟาเบื้องตน รวมทั้งแบบวงจรไฟฟาที่เกี่ย วกับงานเครื่องทําความเย็น 1.3 มีความรูในการคํานวณเกี่ยวกับทฤษฎีไฟฟา 1.4 มี ค วามรู ค วามสามารถในการใช ง านเครื่ อ งมื อ วั ด และทดสอบงานไฟฟ า งานเครื่ อ งทํ า ความเย็ น และ เครื่องปรับอากาศที่กําหนดได 1.5 มีความรูความสามารถในการตอสายไฟฟาตามที่กําหนดได 1.6 มีความรูความสามารถในการตัด ปรับแตง ขยาย บาน ดัด และการเชื่อมทอ 1.7 มีความรูเกี่ยวกับหลักการทําความเย็นและสารทําความเย็น 1.8 มีความรูเกี่ยวกับสวนประกอบระบบทําความเย็นแบบแกสอัดไอ 1.9 มีความรูความสามารถในการตรวจสอบวงจรไฟฟาในเครื่องปรับอากาศ 1.10 มีความรูความสามารถในการติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับ การฝ กในภาคทฤษฎีแ ละภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝมื อแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 82 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝ ก จบการฝ กไมพ รอมกั น สามารถจบกอ นหรือ เกิ น ระยะเวลาที่ กํา หนดไวใ นหลักสูต รได

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใ หอยูใ นดุ ล ยพิ นิ จ ของผู อํา นวยการ สถาบั น พั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน หรื อ ผู อํา นวยการสํา นั ก งานพั ฒ นาฝ มื อ แรงงานที่ เ ป น หน ว ยฝ ก ตามความสามารถ จะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 10 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 10 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยข นาดเล็ก ระดับ 1

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 7 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920164170201 2. ชื่อโมดูลการฝก รหัสโมดูลการฝก 09217302 3. ระยะเวลาการฝก รวม 2 ชั่วโมง 15 นาที ทฤษฎี 2 ชั่วโมง 15 นาที ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหน ว ย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝก เพื่อใหมี การฝก ความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายหลักการทําความเย็นและสภาวะปรับอากาศได 2. อธิบายวัฏจักรระบบการทําความเย็นและระบบปรับอากาศได 3. อธิบายความหมายของหนวยวัดในระบบการทําความเย็นไดอยางถูกตอง 4. อธิบายคุณสมบัติของสารทําความเย็น การแบงประเภทสารทําความเย็น การเลือกใช สารทําความเย็น และถังบรรจุสารทําความเย็นไดอยางถูกตอง 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานเกี่ย วกับหลักการทําความเย็นและสภาวะปรับอากาศ หนวยวัดใน ผูรับการฝก ระบบการทําความเย็ น สารทําความเย็น หรือผานการฝกอบรมที่เกี่ย วขอ ง จาก หนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 6 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัว ขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายหลักการทําความเย็น หัวขอที่ 1 : ระบบทําความเย็นและปรับอากาศ 0:30 0:30 และสภาวะปรับอากาศได 2. อธิบ ายวัฏ จั กร ระบบการทํา ความเย็ น และ ระบบปรับ อากาศได 3. อธิบ ายความหมาย หัวขอที่ 2 : หนวยวัดในระบบทําความเย็น 0:45 0:45 ของหนวยวั ดในระบบ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 หลักการทําความเย็นและสารทําความเย็น

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 การทํา ความเย็ น ได อยา งถูก ต อง 4. อธิบายคุณสมบั ติ หัวขอที่ 3 : สารทําความเย็น ของสารทํา ความเย็ น การแบงประเภท สารทําความเย็น การเลือกใชสารทําความเย็น และถังบรรจุสารทําความเย็น ไดอยางถูกตอง รวมทั้งสิ้น

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

1:00

-

1:00

2:15

-

2:15


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1

0921730201 ระบบทําความเย็นและปรับอากาศ (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายหลักการทําความเย็นและสภาวะปรับอากาศได 2. อธิบายวัฏจักรระบบการทําความเย็นและระบบปรับอากาศได

2. หัวขอสําคัญ 1. หลักการทําความเย็นและสภาวะปรับอากาศ 2. วัฏจักรของระบบทําความเย็นและระบบปรับอากาศ

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ฉัตรชาญ ทองจับ. 2557. เครื่องทําความเย็นและปรับอากาศ. ปทุมธานี : สกายบุกส. สุธิกานต วงษเสถียร. 2549. ระบบไฟฟาควบคุม เครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศ. กรุงเทพฯ : สกายบูกส.

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ระบบทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศ 1. หลักการทําความเย็นและสภาวะปรับอากาศ หลักการเบื้องต นของการทํ าความเย็ น คือ การทําใหสารทํา ความเย็ น (Refrigerant) เกิดการเปลี่ย นแปลงสถานะ เพราะวาในการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารตองใชความรอนแฝง ดังนั้น การเปลี่ยนสถานะของสารทําความเย็นจากสถานะ ของเหลวเปนสถานะแกสจะเกิดการดูดความรอนจากบริเวณขางเคียงไป จึงทําใหบริเวณนั้นมีอุณหภูมิลดลง 2. วัฏจักรของเครื่องทําความเย็นและระบบปรับอากาศ การทําความเย็นระบบอัดไอ (Vapor Compression System) เปนระบบที่นิยมแพรหลายและใชกันทั่วไป ประกอบดวย อุปกรณหลัก ไดแก คอมเพรสเซอร คอนเดนเซอร แคปทิ้วป หรือ เอ็กซแพนชั่นวาลว และอีวาพอเรเตอร ซึ่งทํางานรวมกัน เปนวัฏจักร และทําใหเกิดความเย็นขึ้นมา

ภาพที่ 1.1 วัฏจักรเครื่องทําความเย็น วัฏจักรการทํางานของการทําความเย็นระบบอัดไอ เริ่ม จากคอมเพรสเซอรดูดน้ํายาสถานะแกสจากทอทางดู ด (Suction Line) ของคอมเพรสเซอร จากนั้น จะอัด ใหมีค วามดัน และอุณหภูม ิที่สูงขึ้น แลว สงออกไปยังทอทางอัด หรือทอดิสชารจ (Discharge Line) ไปยังคอนเดนเซอร น้ํายาที่มีความดันสูง อุณหภูมิสูงจะถูกระบายความรอนออกดวย น้ําหรือ อากาศ และควบแนน เปลี่ย นสถานะจากแกส เปน ของเหลว จากนั้น ถูก สง เขา ทอ ลิค วิด (Liquid Line) 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 ไปยัง ถังพักน้ํายาเหลว เขาไปยังเอ็กซแพนชั่ นวาลว ซึ่งมีหนาที่ควบคุมปริม าณน้ํายาโดยฉี ดน้ํายาใหเป นฝอยเข าไปใน อีวาพอเรเตอร สารทํา ความเย็ น สถานะของเหลวเมื่ อ ความดั น ลดลง ก็จ ะดึง ความร อ นในอีว าพอเรเตอรเ พื ่อ นํา มาใชใ นการเดือ ด ทําใหอุณหภูมิภายในลดลง ดังนั้น สารทําความเย็นที่ออกจากอีวาพอเรเตอร จะเปลี่ยนสถานะ กลายเปนแกสที่มีความดันต่ํา อุณหภูมิต่ํา ผานเขายังทอทางดูด และถูกดูดกลับเขาคอมเพรสเซอร หลังจากนั้นจะถูก คอมเพรสเซอรอัดใหมีความดันสูง อุณ หภูม ิสูง สง ออกไปยัง คอนเดนเซอร เพื่อ ควบแนน เป น วัฏ จัก รไปเรื ่อ ย ๆ โดยที่น้ํายาแอร จะไมสูญหาย ถาหากไมมีการรั่วซึมในระบบ

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. การทําความเย็นมีหลักการคือ การเปลี่ย นสถานะของสารทําความเย็ น จาก สถานะของเหลวเปนสถานะแกสจะเกิดการดูดความรอนจากบริเวณขางเคียงไป 2. คอมเพรสเซอรดูดน้ํายาสถานะแกสจากทอทางอัด 3. คอมเพรสเซอร เปนอุปกรณหลักในวัฎจักรทําความเย็น

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

กระดาษคําตอบ ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2

0921730202 หนวยวัดในระบบทําความเย็น (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - บอกความหมายของหนวยวัดในระบบการทําความเย็นไดอยางถูกตอง

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5.

อุณหภูมิ ขนาดเครื่องทําความเย็น สัมประสิทธิ์สมรรถนะ (COP) ประสิทธิภาพการใหความเย็น (EER) ความดันสัมบูรณ ความดันเกจ และความดันบรรยากาศ

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 4) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 5) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 6) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม นุกูล แกวมะหิงษ. 2558. เครื่องปรับอากาศ (ภาคทฤษฎี). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. สุธิกานต วงษเสถียร. 2549. ระบบไฟฟาควบคุม เครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศ. กรุงเทพฯ : สกายบูกส.

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 หนวยวัดในระบบทําความเย็น 1. อุณหภูมิ ความรอนเปนพลังงานชนิดหนึ่ง ซึ่งสามารถเปลี่ย นไปเปนพลังงานรูปอื่นได โดยพลังงานความรอนจะถายเทจากวัตถุ ที่มีอุณหภูมิสูงไปยังวัตถุที่มีอุณหภูมิต่ํากวา และจะหยุดการถายเทเมื่อวัตถุทั้งสองมีอุณหภูมิเทากัน 1.1 การวัดระดับพลังงานความรอน แบงได 2 ประเภท ไดแก 1) การวัด ความหนาแนน ของพลัง งานความรอ น หรือ อุณ หภูม ิ ซึ่ง ใชเ ทอรโ มมิเ ตอร (Thermometer) ในการวัดเทอรโมมิเตอรทํางานดวยหลักการขยายตัวและหดตัวของของเหลวในหลอดแกวเมื่อไดรับความรอน สวนใหญของเหลวที่ใชมักจะเปนแอลกอฮอลหรือปรอท หนวยของอุณหภูมิที่นิยมใชกันมีอยู 4 หนวย ดังนี้ - หนวยองศาเซลเซียส (Celsius, ºC) - หนวยองศาฟาเรนไฮต (Fahrenheit, ºF) - หนวยเคลวิน (Kelvin, K) - หนวยองศาแรงกิน (Rankine, ºR) โดยหนวยเคลวินและองศาแรงกินมีขอดี คือ สามารถวัดไดถึงจุดองศาสัมบูรณ (Absolute Temperature) ซึ่งเปนจุดที่ไมมีความรอนอยูเลย 2) การวัด คา ระดับ ปริม าณความรอ น ปริม าณความรอ น คือ จํา นวนความรอ นที่ม ีอ ยูใ นสสาร ซึ่งจะมี ปริม าณมากหรื อ น อยขึ้ น อยูกั บ น้ํา หนั กของสสาร อุณหภูมิ และความร อ นจํา เพาะของสสารชนิ ด นั้ น การวัด คา ระดับ ปริม าณความรอ นไมส ามารถวัด ไดโ ดยตรง แตส ามารถวัด ไดจ ากผลของความรอนที่ กระทําตอวัตถุอื่น เชน ทําใหอุณหภูมิเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือเกิดการเปลี่ย นสถานะ หนวยที่ใชวัดปริม าณ ความรอนมีอยู 2 หนวย คือ - หนวยบีทียู (British Thermal Unit, BTU) โดยปริมาณความรอน 1 บีทียู คือ ปริมาณความรอน ที่ทําใหน้ํา 1 ปอนด มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นหรือลดลง 1 ºF - หนวยแคลอรี่ (Calorie) โดยปริม าณความรอน 1 แคลอรี่ คือ ปริม าณความรอนที่ทําใหน้ํา 1 กรัม มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นหรือลดลง 1 ºC

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 2. ขนาดของเครื่องทําความเย็น ขนาดของเครื่องทําความเย็นสามารถระบุได ดังนี้ 2.1 ตันของการทําความเย็น (Ton of Refrigeration) คือ คาที่ใชแทนขนาดเครื่องทําความเย็นที่สามารถทําความเย็น เทียบไดกับปริมาณความรอนที่ใชในการละลายน้ําแข็งจํานวน 1 ตัน ในเวลา 24 ชั่วโมง 2.2 คิว ของการทํา ความเย็น เปน การคํา นวณหาคา ปริม าตรภายในหอ งทํา ความเย็น มีห นว ยเปน ลูก บาศก-ฟุต (Cubic - Feet) เชน ตูเย็นมีขนาด 6 คิว แสดงวาตูเย็นตูนั้นมีขนาดความจุภายใน เทากับ 6 ลูกบาศก – ฟุต เปนตน 3. สัมประสิทธิ์สมรรถนะ (COP) สัมประสิทธิ์สมรรถนะ (Coefficient of Performance หรือ COP) คือ คาที่บงบอกถึงประสิทธิภาพในการทําความเย็นของ Heat Pump ซึ่งการคํานวณหาคาไดโดยการเปรียบเทียบคาความรอนที่ปลอยออกมาจาก คอยลรอน (Condenser; คา Q) กับคาพลังงานที่ใชในการขับเครื่องคอมเพรสเซอร (Compressor; คา W) โดยแทนคาในสมการ ดังนี้

ตัวอยาง Heat Pump ที่มีคา COP เทากับ 3 หมายถึง พลังงานที่ใ ชใ นการขับเครื่อ งคอมเพรสเซอรทุก 1 กิโลวัต ต จะมีสมรรถนะในการทําความเย็นได 3 กิโลวัตต 4. ประสิทธิภาพการใหความเย็น (EER) คาประสิทธิภาพของเครื่องทําความเย็น (Energy Efficiency Ratio หรือ EER) เปนคาแสดงประสิทธิภาพ การใช พลั ง งานไฟฟา ของเครื่ องทํ าความเย็น และเครื่ อ งปรั บอากาศแบบทั่ ว ไป ชนิ ด Fixed Speed ซึ่ ง ระบบการทํ า งานของ คอมเพรสเซอรไมปรับความเร็วในการหมุนรอบ ทําใหเกิดการตัดตอการทํางานของมอเตอรคอมเพรสเซอรบอย ๆ เพื่อรักษา อุณหภูมิภายในหอง โดยทั่วไปนั้นมีคา EER เทากับ 10.6 หรื อ มากกว า ยิ่ ง ค า EER สู ง ยิ่ ง ช ว ยประหยั ด พลัง งานไฟฟา ซึ ่ ง ฉ ลาก ของเค รื ่อ งปรับ อากาศ จะบ อ ก ข อ ง ข น า ด เครื่ อ งปรั บ อากาศเป น BTU/hr และบอกค า กํ า ลั ง ไฟฟ า ที่ เครื่องปรับอากาศตองใชเปนวัตต โดยสมการคํานวณหาคา EER ดังนี้

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 ตัวอยาง เครื่องปรับอากาศขนาด 12,000 บีทียู มีคากําลังไฟฟาที่เครื่องปรับอากาศใชงาน 1,000 วัตต จงหาคา EER ของเครื่องปรับอากาศ EER =

ขนาดการทําความเย็น (BTU)

กําลังไฟฟาที่ใชทั้งหมด (Watt)

12,000

=

1,000

= 12

ตารางที่ 2.1 แสดงคาใชจายที่สามารถชวยประหยัดไฟไดของเครื่องปรับ อากาศ เบอร 3,4 และ 5 ฉลากประหยัดพลังงาน

เบอร 3

เบอร 4

เบอร 5

คา EER

10.60- 11.00

11.00-11.59

11.60++

ชวยประหยัดคาใชจายตอป

0 บาท

1,254 บาท

1,254 บาท

0 บาท

1,699 บาท

3,397 บาท

0 บาท

2,199 บาท

4,398 บาท

สําหรับแอร 12,000 BTU ชวยประหยัดคาใชจายตอป สําหรับแอร 18,000 BTU ชวยประหยัดคาใชจายตอป สําหรับแอร 24,000 BTU ในปจจุบันเครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศนิยมใชระบบ Inverter หรือ Variable Speed ซึ่งใชระบบเซ็นเซอร ตรวจจับอุณหภูมิ เมื่อถึงอุณหภูมิที่กําหนดคอมเพรสเซอรจะลดรอบลงเพื่อรักษาความเย็นไว โดยคอมเพรสเซอรจะยังคง ทํางานตอเนื่อง ทําใหสามารถประหยัดไฟมากกวาระบบปกติ ซึ่งใชการทดสอบแบบ SEER (Seasonal Energy Efficiency Ratio) วัดประสิทธิภาพในการใชพลังงานตามฤดูกาล ซึ่งมีรายละเอียดดังตารางตอไปนี้ ตารางที่ 2.2 เกณฑระดับประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศ ชนิด Variable Speed/Inverter เกณฑพลังงาน ป ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) ขนาดเครื่องปรับ อากาศ

ประสิทธิภาพพลังงานตามฤดูกาล : SEER (บีทียู/ชั่วโมง/วัตต) เบอร 1

ไมเกิน 8,000 วัตต

เบอร 2

เบอร 3

เบอร 4

เบอร 5

12.00 - 12.59

12.60 - 13.39 13.40 – 14.19 14.20 - 14.99

≥15.00

11.00 - 11.69

11.70 - 12.39

≥14.00

(≤27,296 บีทียู/ชั่วโมง) มากกวา 8,000 - 12,000 วัตต (>27,296 - 40,944 บีทียู/ชั่วโมง) 24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

12.40 - 13.19

13.20 - 13.99


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 5. ความดันสัมบูรณ ความดันเกจ และความดันบรรยากาศ ความดัน คือ น้ําหนักที่ตกลงบนพื้นที่ 1 ตารางหนวย โดยระบบอังกฤษจะมีหนวย ปอนด/ ตารางนิ้ว, lb/in2 หรือ psi โดยมีสมการดังนี้ เมื่อ

P เทากับ คาความดัน (lb/in2) F เทากับ แรง (lb) A เทากับ พื้นที่รับแรง (in2)

การวัดคาความดัน สามารถวัดได 2 แบบ คือ 5.1 วัด ในหนว ยความดัน สัม บูร ณ (Absolute Pressure) ความดัน สัม บูร ณ คือ ระดับ ความดัน ที่ม ีคา จริง ๆ หนวยจะเปน psia 5.2 วัดในหนวยความดันเกจ (Gauge Pressure) เราจะใชเครื่องมือที่เรียกวา เกจ (Gauge) เปนตัววัดคาความดัน ซึ่ง คาความดันที่อานจากเกจจะมีหนวยเปน psig โดยความดันเกจจะเริ่ม อานคาที่ความดันบรรยากาศ ดังนั้น คา ความดันเกจที่อานไดจะมีคานอยกวาความดันสัมบูรณอยูที่ 14.7 เสมอ

ภาพที่ 2.1 แสดงการเปรียบเทียบหนวย psiaและ psig

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 สมการเปรียบเทียบระหวางหนวย psia และ psig สมการ ความดันสัมบูรณ

=

(Absolute Pressure)

ความดันเกจ

+

(Gauge Pressure)

หรือ

psig

=

psia - 14.7

และ

psia

=

psig + 14.7

ความดันบรรยากาศ (Atmospheric Pressure)

คาความดันสัมบูรณ (Psia) จะใชวัดคาความดันตาง ๆ ตั้งแตคาความดันสูง ๆ จนกระทั่งความดันลดลงเปนสุญญากาศ โดยการวัด คา จะวัด เทีย บในหนว ยของความดั น เกจเสมอ สว นความดัน เกจ (Psig) จะใชวัด คา ความดัน สูง ๆ จนกระทั่งถึงความดันบรรยากาศนั้นเทานั้น ถาความดันต่ํากวาความดันบรรยากาศ จะตองไปวัดในหนวยของนิ้วปรอท (Inches of Mercury, Hg) เกจวัดสุญญากาศ (Vacuum Gauge of Barometer) การวัดความดันเหนื อบรรยากาศนั้นเราจะใชเกจวัดความดั นสูง (Pressure Gauge) สามารถวัดคาไดตั้งแต 0 psig ขึ้นไป ในกรณีที่ตองการวัดความดันที่ต่ํากวาบรรยากาศ คือ วัดใหถึง 0 psia หรือใหเปนสุญญากาศนั้น จะตองใชเครื่องมือวัดที่เรียกวาบารอมิเตอร (Barometer)

ภาพที่ 2.2 บารอมิเตอรแบบเบื้องตน

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. หนวยของอุณหภูมิที่นิยมใชกันมีอยู 4 หนวย คือ หนวยองศาเซลเซียส หนวยองศาฟาเรนไฮต หนวยเคลวิน และ หนวยองศาแรงกิน 2. หนวยองศาฟาเรนไฮต มีสัญลักษณ คือ ºF 3. K คือ หนวย เคอรี่ (Kerry) 4. การทดสอบแบบ SEER คือ การวัดประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศแบบ Fixed Speed ในการใชพลังงานแบบเหมารายป 5. ความรอน 1 บีทียู คือ ปริมาณความรอนที่ทําใหน้ํา 1 ปอนด มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น หรือลดลง 100 ºF

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

กระดาษคําตอบ ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3

0921730203 สารทําความเย็น (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - บอกคุณสมบัติของสารทําความเย็น การแบงประเภทสารทําความเย็น การเลือกใชสารทําความเย็น และถังบรรจุ สารทําความเย็นไดอยางถูกตอง

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4.

ชนิดและคุณสมบัติของสารทําความเย็น ประเภทของสารทําความเย็น การเลือกใชสารทําความเย็น ถังบรรจุสารทําความเย็น

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม นุกูล แกวมะหิงษ. 2558. เครื่องปรับอากาศ (ภาคทฤษฎี). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. มงคล พูนโตนด. 2557. เครื่องทําความเย็น. นนทบุรี : ศูนยหนังสือเมืองไทย. สุธิกานต วงษเสถียร. 2549. ระบบไฟฟาควบคุม เครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศ. กรุงเทพฯ : สกายบูกส.

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 สารทําความเย็น สารทําความเย็น หมายถึง สารที่ดูดความรอนจากบริเวณโดยรอบ เพื่อเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเปนแกส ทําใหอากาศ โดยรอบมีอุณหภูมิลดลง และเมื่อสารในสถานะแกสระบายความรอนออกไปก็จะเปลี่ยนสถานะเปนของเหลวอีกครั้ง 1. ชนิดและคุณสมบัติของสารทําความเย็น สารทําความเย็นเปนของเหลวที่มีคุณสมบัติใ นการทําความเย็น โดยการดูดความรอนจากวัตถุหรือสิ่งของที่ตองการ ทําความเย็น ดังนั้น สารทําความเย็นที่ดีจึงตองมีคุณสมบัติทางฟสิกส ทางเคมี มีความปลอดภัยในการใชงานและประหยัด ดังนี้ 1.1 คุณสมบัติทางฟสิกส (Physical Properties) ไดแก 1) ความร อนแฝงของการกลายเปนไอ สารทํ าความเย็นที่ ดี ต องมีค าความร อนแฝงของการกลายเปนไอสูง ทําใหใชสารทําความเย็นนอยลง และสามารถลดขนาดของมอเตอรคอมเพรสเซอรได 2) ปริม าตรจําเพาะของสารทําความเย็ นในสถานะไอ เมื่อความรอนแฝงของการกลายเปนไอมี ค า มาก จะทําใหปริม าตรจําเพาะมีคานอย การขยายตัวในสถานะแกสจะใชพื้นที่นอย ชวยเพิ่ม ประสิทธิภาพ แกคอมเพรสเซอร 3) อัตราการอัดของลูกสูบ ถาอัตราการอัดของลูกสูบต่ํากําลังของเครื่องก็ต่ํา แตประสิทธิภาพเชิงปริมาตรสูง ซึ่งเปนผลใหขนาดของคอมเพรสเซอรลดลงได 4) ความรอนจําเพาะของสารทําความเย็นในสถานะของเหลวตองมีคาต่ํา และเมื่ออยูในสถานะแกสคาความรอน จําเพาะตองมีคาสูง ทําใหประสิทธิภาพของระบบแลกเปลี่ยนความรอนดีขึ้น 1.2 คุณสมบัติทางเคมี (Chemical Properties) ไดแก 1) ถายเทความรอนไดดี เพื่อจะไดใชสารทําความเย็นปริมาณนอย 2) ไมเปนพิษ หากเกิดการรั่วซึมก็ไมกอใหเกิดอันตรายตอผูใช 3) ไมติดไฟ ไมระเบิด 4) ไมกัดโลหะที่เปนตัวเครื่องและทอ 5) หากเกิดการรั่วจะสามารถหารอยรั่วไดงาย สารทําความเย็นบางชนิดอาจผสมสีเขาไปดวย โดยเมื่อเวลารั่ว ก็จะมีสีออกมาตามรอยรั่วนั้น 6) ใชความดันไมสูง เพราะถาใชความดันสูงจะตองมีการสรางตัวเครื่องและระบบทอใหแข็งแรงขึ้น 7) ไมเปลี่ยนสภาพ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงคาความดันและความรอน 31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 8) ไมทําปฏิกิริยากับน้ํามันหลอลื่น เนื่องจากในคอมเพรสเซอรจะมีน้ํามันหลอลื่นที่ใชหลอลื่นลูกสูบ 9) ราคาไมแพง เครื่องทําความเย็นจะผลิตมาเพื่อใชกับสารทําความเย็นเฉพาะชนิดนั้น ๆ มักจะถูกสรางขึ้นมาใชกับสารทําความเย็ น ชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเฉพาะ เนื่องจากสารทําความเย็นแตละชนิดตองการความดันและขนาดของคอมเพรสเซอรแอรไมเท ากั น ดังนั้นเมื่อใชสารทําความเย็นที่ไมเหมาะสมจะทําใหไมเย็นและเครื่องอาจทํางานหนักเกินกําลัง 2. ประเภทของสารทําความเย็น การแบงประเภทของสารทําความเย็น แบงตามสวนประกอบ ดังนี้ 2.1 กลุมสาร CFCs (Chlorofluorocarbon) เปนกลุม สารทํา ความเย็ น ที่มี ค ลอรี น เป น ส ว นประกอบสารทําความ เย็นในกลุมนี้ ไดแก R-11, R-12, R-113 และ R-114 เปนตน 2.2 กลุมสาร HCCs (Hydrofluorocarbon) เปนสารทําความเย็ นที่ พั ฒ นาขึ้ นมาใช งานแทนสาร CFC สารในกลุม นี้ไดแก R-23, R-125, และ R-134a 2.3 กลุมสารผสม คือ การนําสารทํา ความเย็ น บางชนิ ดมาผสมกั น เพื่อใหไดคุณสมบัติ ต รงกับ การใช งานเฉพาะ บางอยาง เชน สารทําความเย็น R-400 ไดจากการนําสาร R-12 มาผสมกับสาร R-114 เปนตน 2.4 กลุมที่เปนพิษและติดไฟ ไดแก R-40, R-123 และ R-117 เปนตน 2.5 กลุมที่ติดไฟ ไดแก R-170 (Ethane), R-290 (Propane) และ R-600 (Butane) เปนตน 2.6 กลุมที่ใชกับ ระบบที่เย็นจัด (Cryogenic) คือ กลุม สารทําความเย็นที่มีจุดเดือดที่อุณหภูมิต่ํามากจนถึงสัมบูรณ ไดแก R-702 (Hydrogen), R-704 (Helium), R-732 (Oxygen) และ R-740 (Argon) เปนตน 3. การเลือกใชสารทําความเย็น ชนิดของสารทําความเย็นที่ใชงานในปจจุบันมีดังนี้ 1) สารทําความเย็น R-11 (Trichloromonofluoromethane) คือ สารทําความเย็นกลุม ฟลูออโรคารบอน ไมเปนพิษและไมติดไฟ สามารถทํางานไดที่ความดันต่ํามาก โดยสารชนิดนี้ใ ชใ นระบบเครื่องปรับอากาศ ขนาดใหญที่ใชคอมเพรสเซอรแ บบแรงเหวี่ยงหนีศูนย นอกจากนี้ยังสามารถใชใ นการลางระบบเครื่ อ งเย็ น ในกรณีที่มอเตอรคอมเพรสเซอรไหม หรือในการซอมแซมระบบใหม เชน เปลี่ยนทอใหม ยายสถานที่ติดตั้ง เปนตน

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 2) สารทําความเย็น R-12 (Dichlorodifluoromethane) คือ สารทําความเย็นกลุมฟลูออโรคารบอน โดยสารชนิ ดนี้ จะนําไปใชกับระบบตูเย็น ตูแช และเครื่องปรับอากาศติดรถยนต 3) สารทําความเย็น R-22 (Monochlorodifluoromethane) คือ สารทําความเย็นกลุมฟลูออโรคารบอน สารชนิดนี้ ทํ า งานที่ ค วามดั น สู ง กว า R-12 จะใช ใ นเครื่ อ งทํ า ความเย็ น เครื่ อ งปรั บ อากาศแบบติ ด หน า ต า ง และ เครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน 4) สารทํ า ความเย็ น R-32 (Difluoromethane) เป น สารทํ า ความเย็ น กลุ ม ฟลู อ อโรคาร บ อน ใช ใ น เครื่อ งปรับ อากาศแบบแยกสว น สํา หรับ อาคารบา นเรือ นออกแบบขึ้น มาใหเ ปน มิต รตอ สิ่ง แวดลอม ซึ่งตางจากสารทําความเย็น R-22 ที่มีสวนในการทําลายชั้นบรรยากาศของโลก เนื่องจากสารทําความเย็น R 32 จะมีปริมาณของฟลูออรีนต่ํา จึงชวยบรรเทาเรื่อง Global Warming Potential ไปได 5) สารทําความเย็น R-717 (Ammonia) สารทําความเย็นชนิดนี้เปนสารอนินทรียที่มีสวนผสมของไนโตรเจน และไฮโดรเจน เปนสารมีพิษและติดไฟได มีความสามารถในการทําความเย็นสูง มักใชงานกับเครื่องทําความเย็ น ขนาดใหญ เชน หองเย็น โรงน้ําแข็ง เปนตน 6) สารทําความเย็น R-134a (Tetrafluoroethane) คือ สารทําความเย็นกลุม ฟลูออโรคารบอน สารชนิดนี้ ถูกพัฒนาขึ้นมาใชงานแทน R-12 โดยนํามาใชงานในเครื่องปรับอากาศรถยนตและตูเย็นที่ผลิตใหม 7) สารทําความเย็น R-410A (Hydrofluorocarbon) เปนสารทําความเย็นกลุมซีโอโทรปกสารทําความเย็นที่ ได รับ การออกแบบมาเป น พิ เ ศษพั ฒ นาขึ้ น มาใช ง านแทนน้ํ า ยาแอร R22 จะนํ า มาใช ใ นเครื่ อ งทํ า ความเย็น เครื่องปรับอากาศแบบติดหนาตาง และเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน ตารางที่ 3.1 ขอแตกตางระหวางสารทําความเย็น R-410A และ R-32 R32 ความสามารถในการติดไฟ

R410A

สารติดไฟยาก

ไมติดไฟ

ไมติดไฟ

(A2L)

(A1)

(A1)

วิธีการเติม สารทําความเย็น เติมสภาวะแกส หรือ เขาระบบ

เติมสภาวะของเหลวเทานั้น เติมสภาวะแกส หรือ

ของเหลว

ของเหลว

เปรียบเทียบกับสารทําความ แรงดันเทากัน เย็น R410A

เครื่องมือบํารุงรักษาความสามารถใชรวมกัน

เปรียบเทียบกับสารทําความ แรงดันประมาณ 1.6 เทา เครื่องมือบํารุงรักษาไมสามารถใช เย็น R22

R22

รวมกันไดเนื่องจากคุณสมบัติดานความตานทานแรงดัน 33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 4. ถังบรรจุสารทําความเย็น รหัสสีของถังทําความเย็น ทําขึ้นเพื่อปองกันความผิดพลาดในการใชงาน จึงมีการกําหนดรหัสสีถังบรรจุสารทําความเย็น แตละชนิดไว ดังนี้ ตารางที่ 3.2 แสดงรหัสสีของถังสารทําความเย็น ชนิดของสารทําความเย็นที่นิยมใชในปจจุบัน

รหัสสีของถังสารทําความเย็น

R-11

สีสม

R-12

สีขาว

R-22

สีเขียว

R-717 (แอมโมเนีย)

สีเงิน

R-134a

สีฟาออน

R-410A

สีชมพูเขม

R-32

สีชมพูออน

ชนิดของถังสารทําความเย็น โดยทั่วไปถังของสารทําความเย็นจะทําจากเหล็ก หรืออะลูมิเนีย ม โดยจะติดตั้งอุปกรณ ระบายความดัน (Safety Plug) เมื่อความดันสูงผิดปกติ มีวาลวเปดปดและโครงปองกันอยูดานบน โดยถังบรรจุสารทําความเย็น สามารถแบงได 3 ชนิด ดังนี้ 1. ถังเก็บสํารอง (Storage Cylinder) 2. ถังที่นํากลับมาใชใหมได (Returnable Cylinder) 3. ถังที่ใ ชครั้งเดีย วทิ้ง (Disposable Cylinder) หรือ Throw - Away โดยจะมีขอความข างถั งว า Non-Rechargeable ถังบรรจุน้ํายาแอรชนิด Disposable (ใชแลวทิ้ง) โดยทั่วไปมีอยู 3 ชนิด 1) มีความหนา 1.0 มิลลิเมตร และมีน้ําหนักถังเหล็กรวมวาลวเปลาประมาณ 2.5 กิโลกรัม (น้ําหนักถังเปลา) ใชบรรจุสารความเย็น R134a , R12 , R22 โดยสามารถบรรจุไดสูงสุด 13.6 กิโลกรัม 2) มีความหนา 1.2 มิลลิเมตร และมีน้ําหนักถังเหล็กเปลารวมวาลวประมาณ 3.0 กิโลกรัม (น้ําหนักถังเปลา) ใชบรรจุสารทําความเย็น R404a , R407c โดยสามารถบรรจุไดปริมาณสูงสุด 10.9 หรือ 11.3 กิโลกรัม 3) มีความหนา 1.5 มิลลิเมตร และมีน้ําหนักถังเหล็กเปลารวมวาลวประมาณ 3.5 กิโลกรัม (น้ําหนักถังเปลา) ใชบรรจุสารทําความเย็น R410a , R32 โดยสามารถบรรจุไดปริมาณสูงสุด 10.9 หรือ 11.3 กิโลกรัม สวน R32 จะบรรจุเพียง 7 กิโลกรัมในถังประเภทนี้เทานั้น 34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 อันตรายจากการใชถังน้ํายาผิดวิธี 1) การขยายตัวของน้ํายาแอร R32 มากกวาน้ํายาแอร R134a คิดเปน 2.2 เทาที่ยานอุณหภูมิ 40–60 องศาเซลเซียส 2) ความดั น R32 ภายในรถป ค อั พ เป ด ประทุ น ไม เ ป ด แอร ห ากอุ ณ หภู มิ สู ง สะสมถึ ง 60 องศาเซลเซี ย ส จะทําให R32 มีแรงดันสูงที่ 554 ปอนดตอตารางนิ้ว 3) ถังเหล็ก One Way หรือ Dispisable รับแรงดันไดสูงสุดไมเกิน 400-450 ปอนดตอตารางนิ้ว 4) ถังเหล็ก R32 เติมน้ํายาแอร R32 ได 7 กิโลกรัม (Max Load)

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. สารทําความเย็น หมายถึง สารที่ดูดความรอนจากบริเวณโดยรอบ เพื่อเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเปนแกส ทําใหอากาศโดยรอบมีอุณหภูมิลดลง 2. สารทําความเย็นแบบ R 32 มีฟลูออรีนต่ํา จึงชวยบรรเทาภาวะโลกรอนได 3. ถังสีชมพูออน คือ ถัง R-410A 4. สาร R-40 R-123 และ R-117 เปนสารในกลุมที่เปนพิษและติดไฟงาย 5. ถังเหล็ก R32 เติมน้ํายาแอร R32 ไดไมจํากัด

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

กระดาษคําตอบ ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

คณะผูจ ดั ทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช 4. นายสุรพล

เบญจาทิกุล พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.