คู่มือผู้รับการฝึก ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 1 โมดูล 8

Page 1

หนาปก



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

คูมือผูรับการฝก 0920164170201 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 8 09217303 สวนประกอบระบบทําความเย็นแบบแกสอัดไอ

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

คํา นํา

คูมือผูรับการฝก สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยข นาดเล็ก ระดับ 1 โมดูล 8 สวนประกอบ ระบบทํา ความเย็น แบบแกส อัด ไอฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจั ดการฝกอบรมกับชุ ดการฝกตามความสามารถ โดยได ดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝ กตาม ความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูรับการฝกได ใชเปนเครื่องมือในการฝกอบรมใหเป นไปตามหลั กสูตร กลาวคือ หลังเรียนจบโมดูลการฝก ผูรับการฝกเขาใจ สามารถบอก อธิบาย หลักการทํางานของมอเตอรคอมเพรสเซอร อีวาพอเรเตอร ลิ้นลดแรงดัน หรือ อุปกรณควบคุมการไหลได ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรีย นรูไ ด ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแ ก ผูรับการฝกอบรม และตองการใหผู รับ การฝ กอบรมเกิ ดการเรีย นรูด วยตนเอง การฝกปฏิบัติ จะดํ าเนิ น การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปน รายการความสามารถหรื อสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจํา เป น ตอ งใชใ นการปฏิบั ติ ง าน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรีย นรูแ ละฝกฝน จนกวาจะสามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถ ดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรีย นรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับ การฝกสามารถเรีย นรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวกของตน หรื อ ตามแผนการฝ ก หรื อ ตามตารางการนั ด หมาย การฝ ก หรื อ ทดสอบประเมิ น ผลความรู ความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรีย ม และดํ า เนิ น การทดสอบ ประเมิ น ผลในลั ก ษณะต า ง ๆ อั น จะทํ า ให ส ามารถเพิ่ ม จํ า นวนผู รั บ การฝ ก ได ม ากยิ่ ง ขึ้ น ช ว ยประหยั ด เวลาในการเดิ น ทาง และประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือ แรงงานให แ ก กํ า ลัง แรงงาน ในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝกที่มีความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนํา ระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใชในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรีย น นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยาง ทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

เรื่อง

สารบัญ

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

1

โมดูลการฝกที่ 8 09217303 สวนประกอบระบบทําความเย็นแบบแกส อัดไอ หัวขอวิชาที่ 1 0921730301 คอมเพรสเซอร

14

หัวขอวิชาที่ 2 0921730302 คอนเดนเซอร อีวาพอเรเตอร และอุปกรณควบคุมการไหล

22

หัวขอวิชาที่ 3 0921730303 ถังพักสารทําความเย็น และอุปกรณกรองและแยกความชื้น

33

หัวขอวิชาที่ 4 0921730304 อุปกรณในระบบทําความเย็น

38

คณะผูจัดทําโครงการ

45

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูม ือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด วย หัวขอวิชาที่ผูรับการฝกตองเรีย นรูแ ละฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูลและรหัสหัวขอวิชาเป นตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรีย นรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนํา ความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑม าตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรีย นรูข องผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรีย นรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบีย น เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผา นอุป กรณอิเล็กทรอนิก สหรือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขา ใช ง านระบบ แบงสวนการใชง านตามความรั บผิ ด ชอบของผู มีส ว นได ส ว นเสีย ดั ง ภาพในหน า 2 ซึ่งรายละเอีย ดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ในคูมือผูรับการฝก จะเริ่ม ตนที่ ค. ผังการฝกอบรม เพื่อให สอดคลองกับการนําคูมือผูรับการฝกไปใช จึงละเวน ก. ผังการจัดเตรียมระบบ และ ข. ผังการเปดรับสมัครและคัด เลือก ผูรับการฝก ค. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8 คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิ บั ติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่อ อิเ ล็ก ทรอนิ กส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม 4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถั ดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผูรับการฝกดาวนโหลดแอปพลิเคชั น DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวนโหลดแอปพลิ เ คชั น สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใ ชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิ เ คชั น DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวน โ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิ เคชั น DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ 5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8 - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถั ดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด วยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการ ฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพือ่ ใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 6

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8 ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้ น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว 4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8 ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8 คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาทีต่ รวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถาไมครบ จะไมจบหลักสูตรแตได รับการรับ รองความสามารถบางโมดู ลในรายการโมดูล ที่สํา เร็ จเท า นั้ น ซึ่งสามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและ การพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164170201

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางเครื่องปรับอากาศในบา น และการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก เพื่ อ ให มี ค วามรู ค วามสามารถและทั ศ นคติ ต ามมาตรฐานฝ มื อ แรงงานแห ง ชาติ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูใ นการปฏิบัติงานเกี่ย วกับงานชางไฟฟา งานชางเครื่องทําความเย็น และชางเครื่องปรับอากาศ ไดอยางปลอดภัย 1.2 มีความรูเกี่ย วกับหนว ยวั ดของระบบต าง ๆ ที่ใ ชงานในเครื่ องทํา ความเย็ นและเครื่อ งปรั บอากาศ และ สามารถอานแบบเครื่องกล แบบทางไฟฟาเบื้องตน รวมทั้งแบบวงจรไฟฟาที่เกี่ย วกับงานเครื่องทําความเย็น 1.3 มีความรูเกี่ยวกับทฤษฎีไฟฟา 1.4 มีความรูความสามารถในการใชงานเครื่องมือวัดงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ 1.5 มีความรูความสามารถในการตอสายไฟฟาตามแบบที่กําหนด 1.6 มีความรูความสามารถในการตัด ปรับแตง ขยาย บาน ดัด และการเชื่อมทอทองแดง 1.7 มีความรูเกี่ยวกับหลักการทําความเย็นและสารทําความเย็น 1.8 มีความรูเกี่ยวกับสวนประกอบระบบทําความเย็นแบบแกสอัดไอ 1.9 มีความรูความสามารถในการตรวจสอบวงจรไฟฟาในเครื่องปรับอากาศ 1.10 มีความรูความสามารถในการติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับ การฝ กในภาคทฤษฎีแ ละภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝมื อแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 82 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝ ก จบการฝ กไมพ รอมกั น สามารถจบกอ นหรือ เกิ น ระยะเวลาที่ กํา หนดไวใ นหลักสูต รได 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8 หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใ หอยูใ นดุ ล ยพิ นิ จ ของผู อํา นวยการ สถาบั น พั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน หรื อ ผู อํา นวยการสํา นั ก งานพั ฒ นาฝ มื อ แรงงานที่ เ ป น หน ว ยฝ ก ตามความสามารถ จะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 10 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 10 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผา นการฝก ครบทุ กหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. ชางเครื่องปรับอากาศในบา นและการพาณิชยข นาดเล็ก ระดับ 1

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 8 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920164170201 2. ชื่อโมดูลการฝก รหัสโมดูลการฝก 09217303 3. ระยะเวลาการฝก รวม 2 ชั่วโมง 15 นาที ทฤษฎี 2 ชั่วโมง 15 นาที ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหน ว ย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุม ดา นความรู ทักษะ และเจตคติแ กผูรั บการฝ ก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายโครงสราง ชนิด หนาที่แ ละหลักการทํางานของมอเตอรคอมเพรสเซอรได 2. อธิบายหลักการทํางานของคอนเดนเซอร อีวาพอเรเตอร ลิ้นลดแรงดัน หรืออุปกรณ ควบคุมการไหลได 3. อธิบายหลักการทํางานของถังพักสารทําความเย็น อุปกรณกรองและแยกความชื้น 4. อธิบายหลักการทํางานของอุปกรณแ ยกน้ํามั นหล อลื่น อุปกรณแ ยกน้ํายาเหลว อุปกรณเก็บเสียง อุปกรณแลกเปลี่ยนความรอน และอุปกรณกรองดานความดันต่ํา 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับ ชนิด หลักการทํางาน ของคอมเพรสเซอร คอนเดนเซอร อี ผูรับการฝก วาพอเรเตอร ลิ้นลดแรงดัน หรืออุปกรณควบคุม การไหล หรือผานการฝกอบรมที่ เกี่ยวของ จากหนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 7 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัว ขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายโครงสราง ชนิด หนาที่ หัวขอที่ 1 : คอมเพรสเซอร 0:30 0:30 แ ล ะ ห ลั ก ก า ร ทํ า ง า น ข อ ง มอเตอรคอมเพรสเซอรได 2. อธิบายหลักการทํางานของ หัวขอที่ 2 : คอนเดนเซอร อีวาพอเรเตอร และ 0:45 0:45 คอนเดนเซอร อีวาพอเรเตอร อุปกรณควบคุมการไหล ลิ้นลดแรงดัน หรือ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 สวนประกอบระบบทําความเย็นแบบอัด

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8 อุปกรณควบคุมการไหลได 3. อธิบายหลักการทํางานของ หัวขอที่ 3 : ถังพักสารทําความเย็น และ ถังพักสารทําความเย็น อุปกรณกรองและแยกความชื้น อุปกรณกรองและแยกความชื้น 4. อธิบายหลักการทํางานของ หัวขอที่ 4 : อุปกรณในระบบทําความเย็น อุปกรณแยกน้ํามันหลอลื่น อุปกรณแยกน้ํายาเหลว อุปกรณเก็บเสียง อุปกรณ แลกเปลี่ยนความรอน และ อุปกรณกรองดานความดันต่ํา รวมทั้งสิ้น

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

0:30

-

0:30

0:30

-

0:30

2:15

-

2:15


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1

0921730301 คอมเพรสเซอร (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายโครงสราง ชนิด หนาที่ และหลักการทํางานของมอเตอรคอมเพรสเซอรได

2. หัวขอสําคัญ 1. หนาที่ของคอมเพรสเซอร 2. ชนิดของคอมเพรสเซอร 3. หลักการทํางานของคอมเพรสเซอร

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม มงคล พูนโตนด. 2557. เครื่องทําความเย็น. นนทบุรี : ศูนยหนังสือเมืองไทย. วีระศักดิ์ มะโนนอม และสมชาย วณารักษ. 2556. เครื่องทําความเย็นและปรับอากาศ. กรุงเทพฯ : เอมพันธ

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

ใบขอมูล หั ว ข อ วิ ช าที่ 1 คอมเพรสเซอร (Compressor) 1. หนาที่ของคอมเพรสเซอร คอมเพรสเซอร ทําหนาที่เพิ่ม ความดั น ใหแ ก สารทํา ความเย็ น เพื่อใหมีความดันและอุ ณหภูมิ ที่สูงขึ้ น แลวสงไปยั ง คอนเดนเซอรใหเปลี่ยนสถานะของสารทําความเย็น จากสถานะแกสเปนสถานะของเหลว 2. ชนิดของมอเตอรคอมเพรสเซอร มีเกณฑในการแบงชนิดของมอเตอรคอมเพรสเซอร ดังนี้ 1.1 จําแนกตามลักษณะโครงสราง (Types of Structure) แบงไดเปน 3 แบบ ไดแก 1) คอมเพรสเซอร แ บบเป ด (Open Type Compressor) ตั ว คอมเพรสเซอร จ ะแยกอิ ส ระต อ กั น โดยใชสายพานสงกําลังขับ

ภาพที่ 1.1 คอมเพรสเซอรแบบเปด 2) คอมเพรสเซอรกึ่งปด (Semi-Hermetic Compressor) เปนแบบที่ตัวขับจะประกอบรวมอยูในโครงสราง เดียวกันโดยใชสลักเกลียว

ภาพที่ 1.2 คอมเพรสเซอรกึ่งปด 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8 3) คอมเพรสเซอร แ บบหุ ม ป ด (Hermetic Compressor) เป น แบบที่ ตั ว ขั บ จะถู ก ประกอบรวมอยู ใ น โครงสรางเดียวกัน

ภาพที่ 1.3 คอมเพรสเซอรแบบหุมปด 1.2 จําแนกตามวิธีการอัด (Compression Method) ไดแก 1) คอมเพรสเซอรแ บบลูก สูบ (Reciprocating Type) อาศัย การทํา งานของเพลาขอ เหวี่ย ง (Crank Shaft) ขับลูกสูบใหเกิดการดูดอัด

ภาพที่ 1.4 คอมเพรสเซอรแบบลูกสูบ 2) คอมเพรสเซอร แ บบโรทารี่ (Rotary Type) อาศั ย การทํ างานของลู กสู บหมุน (Rotor) เพื่ อ ดู ด น้ํายา และใชเพลาขับ (Rotor Shaft) แทนเพลาขอเหวี่ยง

ภาพที่ 1.5 คอมเพรสเซอรแบบโรทารี่ 17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8 3) คอมเพรสเซอร แ บบก น หอย (Scroll Type) โดยส ว นที่ เ ป น ก น หอยจะอยู กั บ ที่ ส ว นที่ เ คลื่ อ นที่ จะ เคลื่อนที่ในลักษณะเยื้องศูนย

ภาพที่ 1.6 คอมเพรสเซอรแบบกนหอย 4) คอมเพรสเซอรแ บบสกรู (Screw Type) เปนการทํางานของสกรูตัวเมีย ซึ่งมีเกลีย วสําหรับเก็บน้ํายา และสกรูตัวผูที่ใชสันเกลียวในการรีดน้ํายาออก

ภาพที่ 1.7 คอมเพรสเซอรแบบสกรู 5) คอมเพรสเซอรแ บบแรงเหวี่ย งหนีศูนยกลาง (Centrifugal Type) ทํางานโดยอาศัย ใบพัดที่หมุนดวย ความเร็วรอบสูงประมาณ 3,000 ถึง 18,000 รอบ/นาที

ภาพที่ 1.8 คอมเพรสเซอรแบบแรงเหวี่ยงหนีศูนยกลาง 18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8 6) คอมเพรสเซอรแ บบสวอชเพลต (Swash Plate Compressor) เปนคอมเพรสเซอรที่มีกระบอกลูกสูบ หลายชุด โดยเรียงตัวในแนวนอนและลูกสูบจะเคลื่อนที่ใ นกระบอกสูบ ดวยการหมุนของแนวเพลตเอีย ง ขอดี คือ มีรูปรางกะทัดรัดแตมีพิกัดทําความเย็นสูงจึงนิยมใชกับเครื่องปรับอากาศรถยนต

ภาพที่ 1.9 คอมเพรสเซอรแบบสวอชเพลต 3. หลักการทํางานของคอมเพรสเซอร คอมเพรสเซอรจะดูดสารทํา ความเย็ นในสถานะแกสที่มี ความดัน ต่ํา และอุณหภูมิต่ําจากอีวาพอเรเตอร โดยสารทํา ความเย็นผานทางทอซักชันไปยังทางดูดของคอมเพรสเซอร และอัดแกสใหมีความดันและอุณหภูมิที่สูงขึ้น แลวสงตอไปยัง คอนเดนเซอร เพื่อสงไปกลั่นตัวเปนของเหลวในคอนเดนเซอร โดยอาศัยการระบายความรอน ดังภาพที่ 1.10

ภาพที่ 1.10 การระบายความรอน 19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. คอมเพรสเซอร ทําหนาที่เพิ่มความดันใหแกสารความเย็นเพื่อใหมีความดันและ อุณหภูมิที่สูงขึ้น แลวสงไปยังคอนเดนเซอรใหกลั่นตัว 2. คอมเพรสเซอรแบบลูกสูบอาศัยการทํางานของเพลาขอเหวี่ยงขับลูกสูบใหเ กิด การกลั่น 3. คอมเพรสเซอรที่ใชในเครื่องปรับอากาศรถยนต คือ คอมเพรสเซอรแบบ Scroll

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

กระดาษคําตอบ ขอ 1 2 3

ถูก

ผิด

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2

0921730302 คอนเดนเซอร อีวาพอเรเตอร และอุปกรณควบคุมการไหล (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายหลักการทํางานของคอนเดนเซอร อีวาพอเรเตอร ลิ้นลดแรงดัน หรืออุปกรณควบคุมการไหลได

2. หัวขอสําคัญ 1. คอนเดนเซอร 2. อีวาพอเรเตอร 3. อุปกรณควบคุมการไหล

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม นุกูล แกวมะหิงษ. 2558. เครื่องปรับอากาศ (ภาคทฤษฎี). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. สนอง อิ่มเอม. 2547. เครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศรถยนต. กรุงเทพฯ : อมรินทรพ ริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

ใบขอมูล หั ว ข อ วิ ช าที่ 2 คอนเดนเซอร อี ว าพอเรเตอร และอุ ป กรณ ค วบคุ ม การไหล 1. คอนเดนเซอร 1.1 หนาที่ของคอนเดนเซอร คอนเดนเซอร หรือ อุปกรณควบแนน ทําหนาที่ระบายความรอนของสารทําความเย็นที่สงมาจากคอมเพรสเซอร เพื่อใหกลั่นตัวเปนของเหลว 1.2 หลักการทํางานของคอนเดนเซอร สามารถจําแนกวิธีการระบายความรอนของคอนเดนเซอรได ดังนี้ 1) การระบายความรอนดวยอากาศ (Air Cooled) คอนเดนเซอรรูปแบบนี้ใชอากาศเปนตัวกลางในการระบาย ความรอนออกจากสารทําความเย็น โดยคอนเดนเซอรประเภทนี้จะทําจากทอทองแดง หรือทอเหล็กมีครีบ เปนตัวชวยเพิ่มพื้นที่ผิวในการระบายความรอน โดยแบงเปน - แบบใชอากาศหมุนเวีย น เนื่องจากอากาศโดยรอบคอนเดนเซอรมีอุณหภูมิสูงกวา อากาศปกติ จึงลอยตัวสูง สวนอากาศที่เย็นกวาจะไหลเขามาแทนที่ - แบบมีพัดลม หรือโบลเวอรชวยเพิ่ม ลมที่ผ า นผิวของคอนเดนเซอร ทําใหตัวคอนเดนเซอร มีขนาดเล็กลง 2) การระบาย ความ รอ นดว ย น้ํ า (Water Cooled) คอนเดนเซอรแ บบนี ้จ ะใช น้ํ า เป น ตัว ก ล า ง ในการระบายความรอนออกจากสารทําความเย็น ทําใหน้ําที่เปนตัวกลางมีอุณหภูมิที่สูงขึ้น 3) การระบายความรอนดวยน้ําและอากาศ (Evaporative) โดยฉีดน้ําเย็นผานลงบนคอนเดนเซอร พรอมกับใช พัดลมดูด หรือเปาอากาศผานคอนเดนเซอร อากาศจะสวนทางกับละอองน้ําที่ตกลงมาผานอิลิมิเนเตอร เพื่อ ปองกันไมใหละอองน้ําติดไปกับอากาศ และสามารถหมุนเวียนกลับมาใชไดอีก 1.3 ชนิดของคอนเดนเซอร สามารถจําแนกตามลักษณะโครงสรางของคอนเดนเซอร แบงออกเปน 3 ชนิด 1) คอนเดนเซอร ช นิ ดท อแ ละค รี บ (Fin- Tube Condenser) ทํ า จากท อ ทองแ ดงรู ป ตั ว ยู แ ละมี แผนอะลูมิเนียมบางอัดเปนครีบ ชวยเพิ่มพื้นที่ในการระบายความรอน

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

ภาพที่ 2.1 คอนเดนเซอรชนิดทอและครีบ 2) คอนเดนเซอรชนิดทอสองชั้น (Double Tube Condenser) ซึ่งจะมีทอเล็กอยูภายในทอใหญ โดยที่น้ําและ น้ํายาจะเคลื่อนที่สวนทางกัน เพื่อชวยระบายความรอน

ภาพที่ 2.2 คอนเดนเซอรชนิดทอสองชั้น 3) คอนเดนเซอร ช นิ ด เปลื อ ก แ ละท อ (Shell and Tube Condenser) ประกอบด ว ย เปลื อ กนอก และทอเล็กสอดอยูภายใน

ภาพที่ 2.3 คอนเดนเซอรชนิดเปลือกและทอ 25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8 2. อีวาพอเรเตอร (Evaporator) 2.1 หนาที่ของอีวาพอเรเตอร อีวาพอเรเตอร ทําหนาที่ดูดรับความรอนจากบริเวณที่ตองการทําความเย็น ทําใหสารทําความเย็นที่รับความร อน เปลี่ยนไปอยูในสถานะแกส 2.2 หลักการของอีวาพอเรเตอร สามารถจําแนกหลักการทํางานของอีวาพอเรเตอร ไดดังนี้ 1) อีวาพอเรเตอรแ บบแหง (Dry Expansion Evaporator) สารทําความเย็นสถานะแกส 10% ผสมกับ สถานะของเหลว 90% จากนั้นไหลผานอีวาพอเรเตอร สารทําความเย็นจะดูดรับความรอนจากอากาศ หรือน้ําที่ตองการทําความเย็น ทําใหสารทําความเย็นเปลี่ยนเปนสถานะแกส

ภาพที่ 2.4 อีวาพอเรเตอรแบบแหง อีวาพอเรเตอรแบบเปยก (Flooded Evaporator) สารทําความเย็นจะบรรจุภายในถังในระดับปริม าณคงที่ ตลอดเวลา และจะไหลเวีย นผานขดทอโดยอาศัย แรงโนม ถวงของโลก จากนั้น เมื่อรับความรอนเพิ่มขึ้นก็เปลี่ยน สถานะเปนแกส

ภาพที่ 2.5 อีวาพอเรเตอรแบบเปยก 26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8 2.3 ชนิดของอีวาพอเรเตอร สามารถจําแนกอีวาพอเรเตอรตามลักษณะโครงสราง ไดดังนี้ 1) อีวาพอเรเตอรแบบแผน อีวาพอเรเตอรแบบนี้สามารถแบงยอยไดอีกหลายแบบ บางอยางใชโลหะ 2แผน แผนหนึ่งกดขึ้นรูปเปนลอนนูน อีกแผนหนึ่งเรียบแลวทําการเชื่อมติดกัน โดยชองที่เปนลอนนูนจะทําเปน ทอทางสารทําความเย็น สําหรับอีวาเรเตอรแบบนี้ใชกันอยางกวางขวางภายในตูเย็นภายในบาน 2) อี ว าพอเรเตอร ช นิ ด ขดท อ และครี บ (Fin-Tube Evaporator) มี ข ดท อ และครี บ อะลู มิ เ นี ย ม บาง เปนอุปกรณแลกเปลี่ยนความรอน

ภาพที่ 2.6 อีวาพอเรเตอรชนิดขดทอและครีบ 3) อีวาพอเรเตอรชนิดเปลือก และทอ (Shell and Tube Evaporator) ใชกับระบบปรับอากาศแบบใช น้ําเย็น ซึ่งเรียกวา ชิลเลอร

ภาพที่ 2.7 อีวาพอเรเตอรชนิดเปลือกและทอ

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8 3. อุปกรณควบคุมอัตราการไหล อุปกรณควบคุมอัตราการไหล มีหลากหลายชนิด ดังนี้ 3.1 เอ็กซแพนชั่นวาลวชนิดปรั บดวยมือ (Hand Expansion Valve) เพื่อปรับเปด หรือปดวาลวใหน้ํายาไหลผาน เมื่อ ความรอนของอีวาพอเรเตอรเพิ่มขึ้น จะตองปรับเปดวาลวใหกวางขึ้น เพื่อใหน้ํายาไหลผานไดมากขึ้น โดยตองเปดปดทุกครั้งที่ใชงาน จึงไมเปนที่นิยม

ภาพที่ 2.8 เอ็กซแพนชั่นวาลวชนิดปรับดวยมือ 3.2 ออโตเมติกเอ็กซแ พนชั่นวาลว (Automatic Expansion Valve : AEV) มีการเปดปดวาลวอัตโนมัติ โดยอาศัย ความดันในอีวาพอเรเตอร และความดันสปริงเปนตัวควบคุม เมื่อความดันในอีวาพอเรเตอรเพิ่มขึ้น ลิ้นจะเปดให น้ํายาเขามาในระบบนอยลง แตเมื่อแรงดันในอีวาพอเรเตอรลดลง ลิ้นจะเปดใหน้ํายาไหลเขามาในระบบมากขึ้น

ภาพที่ 2.9 ออโตเมติกเอ็กซแพนชั่นวาลว

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8 3.3 เทอรม อสแตติกเอ็กซแพนชั่นวาลว (Thermostatic Expansion Valve : TEV) ใชหลักการควบคุม อุณหภูมิของ อีวาพอเรเตอรใหคงที่เสมอ แบงเปน - แบบสมดุลภายใน เมื่อสารทําความเย็นมีปริมาณลดลง สารทําความเย็นจะเปลี่ยนสถานะเป นแกสไดเร็ วขึ้ น กําลังดันที่สูงขึ้น ทําให TEV เปดมากขึ้น สารทําความเย็นจึงไหลเขาไปในอีวาพอเรเตอรมากขึ้น - แบบสมดุลภายนอก คือ เมื่อแรงดันจากการขยายตัว ของแก สในกระเปาะดั นใหแ ผ นไดอะเฟรมกดลง วาลวจะเปด และเมื่อแรงดันจากสารทําความเย็นในอีวาพอเรเตอรดันใหแผนไดอะเฟรมยกขึ้นวาลวจะปด เชนเดีย วกับแรงดันสปริงที่จะดั นวาลวยกขึ้น เมื่ออุณหภูมิโดยรอบของอีวาพอเรเตอร คงที่อุ ณหภูมิ แ ละ แรงดันภายในอีวาพอเรเตอรเทากับอุณหภูมิ และแรงดันของแกสในกระเปาะ แรงดันสปริงจะทําใหวาลวปด

ภาพที่ 2.10 เทอรมอสแตติกเอ็กซแพนชั่นวาลว 3.4 ทอ แคปปล ลารี่ (Capillary Tube) เปน ทอ ขนาดเล็ก มาก ซึ่ง จะจํา กัด การไหลของสารทํา ความเย็ น จาก คอนเดนเซอรไปยังอีวาพอเรเตอร

ภาพที่ 2.11 ทอแคปปลลารี่ 3.5 ลูก ลอยดา นความดัน ต่ํ า (Low Side Float Valve) ใชล ูก ลอยรัก ษาระดับ ของสารทํ า ความเย็น เหลว เมื่อระดับสารทําความเย็นเหลวลดต่ําลง ลิ้นลูกลอยจะเปดกวางใหสารทําความเย็นไหลเขามา 29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

ภาพที่ 2.12 ลูกลอยดานความดันต่ํา ลูกลอยดานความดันสูง (High Side Float Valve) สารทําความเย็นเหลวจะดันลูกลอย ทําใหล้ินเปด สงสารทําความเย็นเหลวที่มีความดันสูงจะไหลไปยังลิ้นลดแรงดัน ทําใหมีความดันลดลง

ภาพที่ 2.13 ลูกลอยดานความดันสูง

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. คอนเดนเซอร หรือ อุปกรณควบแนน ทําหนาที่ระบายความรอนของสารทํา ความเย็นที่สงมาจากคอมเพรสเซอรเพื่อใหกลั่นตัวเปนของเหลว 2. อีวาพอเรเตอร ทําหนาที่ดูดรับความรอนจากบริเวณที่ตองการทําความเย็น ทําใหสารทําความเย็นที่รับความรอนเปลี่ยนไปอยูในสถานะแกส 3. ทอแคปปลลารี่เปนทอขนาดเล็ก ทําหนาที่ดูดอัดการไหลของสารทําความเย็น จากคอนเดนเซอรไปยังอีวาพอเรเตอร

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

กระดาษคําตอบ ขอ 1 2 3

ถูก

ผิด

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3

0921730303 ถังพักสารทําความเย็น และอุปกรณกรองและแยกความชื้น (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายหลักการทํางานของถังพักสารทําความเย็น อุปกรณกรองและแยกความชื้น

2. หัวขอสําคัญ 1. ถังพักสารทําความเย็น 2. อุปกรณกรองและแยกความชื้น

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบตั ิ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม มงคล พูนโตนด. 2557. เครื่องทําความเย็น. นนทบุรี : ศูนยหนังสือเมืองไทย. สนอง อิ่มเอม. 2547. เครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศรถยนต. กรุงเทพฯ : อมรินทรพ ริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

ใบขอมูล หั ว ข อ วิ ช าที่ 3 ถั ง พั ก สารทํา ความเย็ น และอุ ป กรณ ก รอง และแยกความชื้ น 1. ถังพักสารทําความเย็น (Receiver Tank) ติดตั้งอยูที่ทางออกของคอนเดนเซอร ทําหนาที่รับน้ํายาเหลวที่ควบแนนจากคอนเดนเซอรเพื่อสงไปทําความเย็นที่อีวาพอเร เตอร ไดตอเนื่องสม่ําเสมอ

ภาพที่ 3.1 ถังพักสารทําความเย็นและโครงสรางภายใน 2. อุปกรณกรองและแยกความชื้น ฟลเตอร-ดรายเออร (Filter Dryer) เปนตัวดูดความชื้น และกรองฝุนผง หรือสิ่งสกปรกอื่น ๆ ที่ปนมากับสารทําความเย็น เพื่อ ไมใ หไปอุดตันที่เอ็กซแ พนชั่นวาลว ฟลเตอร- ดรายเออรทํามาจากสารดูด ความชื้ นที่ย อมใหสารทํา ความเย็ นผา นไดที่ใ ช ทั่วไป ไดแก ซิลิกาเจล แคลเซียมซัลเฟต และอะลูมินาเจล

ภาพที่ 3.2 ฟลเตอรดรายเออรและโครงสรางภายใน

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดตรงกับความหมายของถังพักสารทําความเย็น ก. ติดตั้งอยูที่ทางออกของคอนเดนเซอร ทําหนาที่รับน้ํายาเหลวที่ควบแนนจากคอนเดนเซอร ข. ติดตั้งอยูที่ทางเขาของคอนเดนเซอร ทําหนาที่รับฝุนละอองเพื่อกรองอากาศ ค. ติดตั้งอยูที่ทางเขาของคอนเดนเซอร ทําหนาทีเ่ พิ่มลดสารทําความเย็น ง. ติดตั้งอยูที่ทางออกของคอนเดนเซอร ทําหนาที่ดูดความชื้น และกรองฝุนผง 2. ขอใดเปนความเกี่ยวของของถังพักสารทําความเย็นและอีวาพอเรเตอร ก. ข. ค. ง.

ถังพักทําหนาที่สงถายน้ํายาที่ควบแนนไปอีวาพอเรเตอร ถังพักทําหนาที่กรองถายน้ํายาที่ควบแนนไปอีวาพอเรเตอร ถังพักทําหนาที่ชวยตกตะกอนของเสียจากอีวาพอเรเตอร ถังพักทําหนาที่อัดไอน้ํารอนไปอีวาพอเรเตอร

3. ขอใดเปนคุณสมบัติของฟลเตอร-ดรายเออร ก. ข. ค. ง.

ดูดความชื้น และกรองฝุนผง เปลี่ยนน้ํารอนใหเปนน้ําเย็น ชวยปรับอุณหภูมิภายในหอง ชวยกรองกลิ่นอับชื้น

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

กระดาษคําตอบ ขอ 1 2 3

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 4

0921730304 อุปกรณในระบบทําความเย็น (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายหลักการทํางานของอุปกรณแยกน้ํามันหลอลื่น อุปกรณแยกน้ํายาเหลว อุปกรณเก็บเสียง อุปกรณแลกเปลี่ยน ความรอน และอุปกรณกรองดานความดันต่ํา

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5.

อุปกรณแยกน้ํามันหลอลื่น อุปกรณแยกน้ํายาเหลว อุปกรณเก็บเสียง อุปกรณแลกเปลี่ยนความรอน อุปกรณกรองดานความดันต่ํา

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม นุกูล แกวมะหิงษ. 2558. เครื่องปรับอากาศ (ภาคทฤษฎี). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. มงคล พูนโตนด. 2557. เครื่องทําความเย็น. นนทบุรี : ศูนยหนังสือเมืองไทย. สนอง อิ่มเอม. 2547. เครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศรถยนต. กรุงเทพฯ : อมรินทรพ ริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

ใบขอมูล หั ว ข อ วิ ช าที่ 4 อุ ป กรณ ใ นระบบทําความเย็ น 1. อุปกรณแยกน้ํามันหลอลื่น (Oil Separator) เปนอุปกรณชวยแยกน้ํามันคอมเพรสเซอรออกจากน้ํายา แลวสงน้ํามันกลับเขาคอมเพรสเซอรโดยตรง โดยหลักการ คือ การลดความเร็วของน้ํายาในสถานะแกส ซึ่งจะทําใหน้ํามันที่ปนมาตกลงสูกนถัง และดันลูกลอยเปดออกเพื่อสงตอไปหองเพลา ขอเหวี่ยงของคอมเพรสเซอร

ภาพที่ 4.1 อุปกรณแยกน้ํามัน 2. อุปกรณแยกน้ํายาเหลว แอกคิวมูเลเตอร (Accumulator) เปนอุปกรณปองกันไมใหน้ํายาเหลวจากอีวาพอเรเตอรดูดกลับเขาสูคอมเพรสเซอร โดยตรง ซึ่งแอกคิวมูเลเตอรจ ะกัก น้ํายาเหลวไว เพื่อใหเปลี่ยนสถานะใหเปนแกสทั้งหมดกอน โดยน้ํายาเหลวจะตกลงกนทอของแอกคิวมูเลเตอร สวนที่เปนแกส จะถูกดูดกลับเขาคอมเพรสเซอร สวนน้ํามันที่ติดมาจะถูกแยกออกดวย

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

ภาพที่ 4.2 แอกคิวมูเลเตอร 3. อุปกรณเก็บเสียง (Muffler) ทําหนาที่ลดเสียงฉีดของน้ํายาที่ออกจากคอมเพรสเซอร และลดความสั่นของทอน้ํายา โดยจะติดตั้งอยูใ นตําแหนงใกลกับ คอมเพรสเซอร

ภาพที่ 4.3 อุปกรณเก็บเสียงและโครงสรางภายใน 4. อุปกรณแลกเปลี่ยนความรอน (Heat Exchange) ความรอนของน้ํายาเหลวในทอลิควิดที่มีอุณหภูมิสูงจะทําใหแ กส ในทอ ซัก ชัน มีอุณ หภูม ิเ ปน ซูเ ปอร ฮีต สว นน้ํา ยา สถานะแกส ในทอ ซัก ชัน มีอ ุณ หภูม ิต่ํ า จะทํ า ใหน้ํ า ยาเหลวในทอลิควิดมีอุณหภูมิลดลงเปนของเหลวซับคูลสงผลให ประสิทธิภาพของระบบการทําความเย็นดีขึ้น

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

ภาพที่ 4.4 อุปกรณแลกเปลี่ยนความรอน 5. อุปกรณกรองดานความดันต่ํา (Suction Line Filter) กรองดานความดันต่ําทําหนาที่กรองสิ่งสกปรก ความชื้น และกรดที่เกิดขึ้นจากการไหมของคอมเพรสเซอรที่ปนมากับ น้ํายา ปกติจะใชติดตั้งในระบบเมื่อเปลื่ยนคอมเพรสเซอรใหม หลังจากคอมเพรสเซอรไหม

ภาพที่ 4.5 อุปกรณกรองดานความดันต่ํา

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. คอมเพรสเซอรเปนอุปกรณชวยแยกน้ํามันคอมเพรสเซอรออกจากน้ํายา แลวสง น้ํามันกลับเขาคอมเพรสเซอรโดยตรง

2. จากภาพคืออุปกรณเก็บเสียง 3. แอกคิวมูเลเตอร ชวยปองกันไมใหน้ํายาเหลวจากอีวาพอเรเตอรดูดกลับเขาสู คอมเพรสเซอรโดยตรง 4 . ค ว า ม ร อ น ข อ ง น้ํ า ย า เ ห ล ว ใ น ท อ ลิ ค วิ ด ที่ มี อุ ณ ห ภู มิ สู ง จ ะ ทํ า ใ ห แกสในทอซักชันมีอุณหภูมิเปนซูเปอรฮีต 5. กรองดานความดันต่ําทําหนาที่กรองน้ํามัน

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

กระดาษคําตอบ ขอ 1 2 3 4 5

ถูก

ผิด

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8

คณะผูจ ดั ทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

สุนทรกนกพงศ

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดูลการฝกที่ 8 11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.