คู่มือผู้รับการฝึก ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 1 โมดูล 9

Page 1

หนาปก



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

คูมือผูรับการฝก 0920164170201 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 9 09217304 วงจรไฟฟาในเครื่องปรับอากาศ

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

คํานํา

คูมือผูรับการฝก สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 โมดูล 9 วงจรไฟฟาใน เครื่องปรับ อากาศฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใต โครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่ อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูรับการฝกไดใชเปนเครื่องมือ ในการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ หลังเรียนจบโมดูลการฝก ผูรับการฝกสามารถตรวจสอบ วัด วงจรไฟฟาใน เครื่องปรับอากาศ อุปกรณปองกันเครื่องปรับอากาศ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

เรื่อง

สารบั ญ

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับครูฝก

1

โมดูลการฝกที่ 9 09217304 วงจรไฟฟาในเครื่องปรับอากาศ หัวขอวิชาที่ 1 0921730401 วงจรไฟฟาของเครื่องปรับอากาศ

14

หัวขอวิชาที่ 2 0921730402 การตรวจสอบอุปกรณและวงจรไฟฟาของเครื่องปรับอากาศ

33

หัวขอวิชาที่ 3 0921730403 การตรวจสอบการลัดวงจร และการรั่วลงดิน

75

คณะผูจัดทําโครงการ

80

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขอแนะนําสําหรับผูร ับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝ กฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข อวิ ชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเข า ใช ง านระบบ แบงสว นการใชง านตามความรับ ผิด ชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดัง ภาพในหนา 2 ซึ่งรายละเอียดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

.

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถั ด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผูรับการฝกดาวนโหลดแอปพลิ เคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวนโหลดแอปพลิ เ คชั น สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิ เ คชั น DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวน โ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด 7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

- หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 8

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและ การพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164170201

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางเครื่องปรับอากาศในบาน และการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก เพื่ อ ให มี ค วามรู ค วามสามารถและทั ศ นคติ ต ามมาตรฐานฝ มื อ แรงงานแห ง ชาติ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูในการปฏิบัติงานเกี่ยวกั บงานชางไฟฟา งานชางเครื่องทําความเย็น และชางเครื่องปรั บ อากาศ ไดอยางปลอดภัย 1.2 มี ความรู เ กี่ ย วกั บ หน ว ยวั ดของระบบต า ง ๆ ที่ใชงานในเครื่องทํา ความเย็น และเครื่ องปรั บ อากาศ และ สามารถอานแบบเครื่องกล แบบทางไฟฟาเบื้องตน รวมทั้งแบบวงจรไฟฟาที่เกี่ยวกับงานเครื่องทําความเย็น 1.3 มีความรูเกี่ยวกับทฤษฎีไฟฟา 1.4 มีความรูความสามารถในการใชงานเครื่องมือวัดงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ 1.5 มีความรูความสามารถในการตอสายไฟฟาตามแบบที่กําหนด 1.6 มีความรูความสามารถในการตัด ปรับแตง ขยาย บาน ดัด และการเชื่อมทอทองแดง 1.7 มีความรูเกี่ยวกับหลักการทําความเย็นและสารทําความเย็น 1.8 มีความรูเกี่ยวกับสวนประกอบระบบทําความเย็นแบบแกสอัดไอ 1.9 มีความรูความสามารถในการตรวจสอบวงจรไฟฟาในเครื่องปรับอากาศ 1.10 มีความรูความสามารถในการติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ 2. ระยะเวลาการฝก ผู รั บ การฝ กจะได รั บ การฝ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบัน พัฒ นาฝมือแรงงาน หรื อสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 82 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แต ล ะคน มี ผ ลให ผู รั บ การฝ กจบการฝ ก ไม พร อ มกัน สามารถจบกอ นหรื อ เกิน ระยะเวลาที่ กําหนดไว ในหลักสูตรได 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใหอยูในดุ ล ยพิ นิ จ ของผู อํา นวยการ สถาบั น พั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน หรื อ ผู อํา นวยการสํา นั ก งานพั ฒ นาฝ มื อ แรงงานที่ เ ป น หน ว ยฝ ก ตามความสามารถ จะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 10 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 10 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผ านการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 9 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920164170201 2. ชื่อโมดูลการฝก รหัสโมดูลการฝก 09217304 3. ระยะเวลาการฝก รวม 9 ชั่วโมง 30 นาที ทฤษฎี 2 ชั่วโมง 30 นาที ปฏิบัติ 7 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหน วย หน ว ยการฝ กนี้ พั ฒ นาขึ้น ใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับ การฝ ก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายหลักการทํางานของวงจร และอุปกรณไฟฟาในเครื่องปรับอากาศได 2. อธิบายขั้นตอนการตรวจสอบอุปกรณวัดวงจรไฟฟา และอุปกรณปองกันของ เครื่องปรับอากาศได 3. ตรวจสอบอุปกรณวัดวงจรไฟฟา และอุปกรณปองกันของเครื่องปรับอากาศได 4. อธิบายขั้นตอนการตรวจสอบการลัดวงจร และการรั่วลงดินได ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 5. พื้นฐาน ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟา หลักการทํางานของอุปกรณ และการตรวจสอบ ผูรับการฝก อุปกรณ จากหนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานการฝกโมดูลที่ 8 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายหลักการทํางานของ หัวขอที่ 1 : วงจรไฟฟาของเครื่องปรับอากาศ 1:00 3:00 4:00 วงจร และอุปกรณไฟฟา ในเครื่องปรับอากาศได 2. อธิบายขั้นตอนการตรวจสอบ หัวขอที่ 2 : การตรวจสอบอุปกรณและวงจรไฟฟา 1:00 4:00 5:00 อุปกรณวัดวงจรไฟฟา และ ของเครื่องปรับอากาศ อุปกรณปองกันของ เครื่องปรับอากาศได สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 วงจรไฟฟาในเครื่องปรับอากาศ

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

3. ตรวจสอบอุปกรณวดั วงจรไฟฟา และอุปกรณ ปองกันของเครื่องปรับอากาศ ได 4. อธิบายขั้นตอนการตรวจสอบ หัวขอที่ 3 : การตรวจสอบการลัดวงจร และ การลัดวงจร และการรั่วลงดิน การรั่วลงดิน ได รวมทั้งสิ้น

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

0:30

-

0:30

2:30

7:00

9:30


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921730401 วงจรไฟฟาของเครื่องปรับอากาศ (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายหลักการทํางานของวงจร และอุปกรณไฟฟาในเครื่องปรับอากาศได

2. หัวขอสําคัญ 1. วงจรไฟฟาเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน 2. อุปกรณไฟฟาในเครื่องปรับอากาศ

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรา งหลั กสู ตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับ การฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารั บ การฝ กในโมดู ล ที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม นุกูล แกวมะหิงษ. 2558. เครื่องปรับอากาศ (ภาคทฤษฎี). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. มงคล พูนโตนด. 2557. เครื่องทําความเย็น. นนทบุรี : ศูนยหนังสือเมืองไทย 15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 วงจรไฟฟาของเครื่องปรับอากาศ 1. วงจรไฟฟาเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน วงจรจะแยกออกเปน 2 สว น คือ วงจรไฟฟา ของชุด คอยลเ ย็น และวงจรไฟฟา ของคอนเดนซิ ่ง ยูน ิต วงจรไฟฟา ชุดคอยล เย็ นจะประกอบไปด วยขั้ วพั กสาย และสวิ ตชซึ่งตอเขากับมอเตอรพัดลมที่ทําหนาที่ดูดเปาอากาศจากภายในหอ ง ผานคอยลเย็น โดยมีเทอรโมสตัทคอยควบคุมการทํางานของชุดคอนเดนซิ่งยู นิต สวนวงจรไฟฟาของชุดคอนเดนซิ่ งยู นิ ต วงจรไฟฟาควบคุมจากเทอรโมสตัทจะผานเขาสูคอยลของหนาสัมผัสแมเหล็กทําใหมอเตอรคอมเพรสเซอรและมอเตอรพัดลม ระบายคอนเดนเซอรทํางานพรอมกัน และเมื่ออุณหภูมิในหองลดลงถึงจุดที่ปรับตั้งไว เทอรโมสตัทจะแยกหนาสัมผัสจาก ออก หยุดการทํางานของอุปกรณชุดคอนเดนซิ่งยูนิตทั้งหมดแตมอเตอรพัดลมของชุดคอยลเย็นจะยังทํางานอยู

ภาพที่ 1.1 วงจรไฟฟาเครื่องปรับอากาศ

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2. อุปกรณไฟฟาในเครื่องปรับอากาศ 2.1 มอเตอรคอมเพรสเซอร การทํางานของมอเตอร คอมเพรสเซอรจะดูดสารทํ าความเย็นโดยมีสถานะเป นแกส ที่มีแรงดันและอุณหภู มิต่ํ า และอัดสารทําความเย็นที่มีสถานะแกสใหมีแรงดันและอุณหภูมิที่สูง เพื่อสงไปยังคอยลรอนตอไป

ภาพที่ 1.2 มอเตอรคอมเพรสเซอร

ภาพที่ 1.3 สัญลักษณทางไฟฟาของมอเตอรคอมเพรสเซอร

2.2 มอเตอรพัดลม สามารถแบงออกเปน 2 ชนิด คือ 1) มอเตอร พั ด ลมคอยล ร อ น ทํ า หน า ที่ ร ะบายความร อ นให กั บ สารทํ า ความเย็ น ที่ มี ส ถานะเป น แก ส เปลี่ยนเปนสถานะของเหลว เพื่อสงผานเขาสูอุปกรณควบคุมแรงดันสารทําความเย็นตอไป

ภาพที่ 1.4 มอเตอรพัดลมคอยลรอน

ภาพที่ 1.5 สัญลักษณทางไฟฟาของมอเตอรพัดลมคอยลรอน

2) มอเตอรพัดลมคอยลเย็น ทําหนาที่กระจายลมเย็นในบริเวณที่ตองการปรับอากาศ ซึ่งมีใบพัดลม คอยลเย็นเปนตัวขับเคลื่อนทําใหเกิดการเคลื่อนที่ของลม

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ภาพที่ 1.6 มอเตอรพัดลมคอยลเย็น

ภาพที่ 1.7 สัญลักษณทางไฟฟาของมอเตอรพัดลมคอยลเย็น

2.3 สวิตชควบคุมความดัน สวิตชควบคุมความดันทําหนาที่เปนอุปกรณปองกันในระบบ สามารถหยุดการทํางานของคอมเพรสเซอรเมื่อเกิด ความผิดปกติของความดันภายในระบบได โดยสวิตชควบคุมแรงดันมี 2 แบบ คือ แบบตรวจจับความดันสารทําความเย็น และแบบตรวจจับแรงดันน้ํามันหลอลื่น

ภาพที่ 1.8 สวิตชควบคุมความดัน

ภาพที่ 1.9 สัญลักษณทางไฟฟาสวิตชของควบคุมความดัน

2.4 เทอรโมสตัท เทอรโมสตัทมีหนาที่ในการควบคุมอุณหภูมิของหองใหเปนไปตามคาอุณหภูมิที่ตั้งคาไว โดยเทอรโมสตัทจะหยุด การทํางานของคอนเดนซิ่งยูนิต เมื่ออุณหภูมิลดต่ําลงถึงอุณหภูมิที่ตั้งไวและเทอรโมสตัทจะสั่งใหคอนเดนซิ่งยูนิตทํางาน ตอไปเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น

ภาพที่ 1.10เทอรโมสตัท

ภาพที่ 1.11 สัญลักษณทางไฟฟาของเทอรโมสตัท 18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2.5 โอเวอรโหลดรีเลย หลักการทํางานของโอเวอรโหลด เมื่อมอเตอรคอมเพรสเซอรทํางาน หนาสัมผัสของโอเวอรโหลดจะมีกระแสไฟฟา เขามาที่ขดลวดของมอเตอรคอมเพรสเซอรตลอดเวลา หากมอเตอรคอมเพรสเซอรใชกระแสไฟมากเกินไป ทําใหเกิดความรอน โลหะที่อยูภายในโอเวอรโหลดรีเลยขยายตัวไมเทากัน และเกิดการงอของโลหะขึ้น สงผลใหหนาสัมผัสถูกดันออกเพื่อตัด วงจรไฟที่เขาสูขดลวดของมอเตอรคอมเพรสเซอร ซึ่งชวยปองกันขดลวดของมอเตอรคอมเพรสเซอรซึ่งเครื่องปรับอากาศ สวนใหญจะมีโอเวอรโหลดตออยูภายในตัวคอมเพรสเซอรแลว

ภาพที่ 1.12 โอเวอรโหลด

ภาพที่ 1.13 สัญลักษณทางไฟฟาของโอเวอรโหลด

2.6 โพเทนเชียลรีเลย โพเทนเชียลรีเลยเปนรีเลยที่ใชแรงดันไฟฟาควบคุมการทํางาน ทําหนาที่ตัดคาปาซิเตอรสตารทออกจากวงจรหลังจากที่ มอเตอรคอมเพรสเซอรสตารทแลวประมาณ 75 เปอรเซ็นตของความเร็วสูงสุด

ภาพที่ 1.14 โพเทนเชียลรีเลย

ภาพที่ 1.15 สัญลักษณทางไฟฟาของโพเทนเชียลรีเลย

2.7 คาปาซิเตอร คาปาซิเตอร เปนอุปกรณที่ประกอบไปดวยแผนตัวนําเรียงตัวสลับกับฉนวนไฟฟา ซึ่งคาปาซิเตอรจะชารจประจุเขา แผนหนึ่ง และผลักออกจากอีกแผนสลับไปมา ทําใหเกิดการเพิ่มคาโวลตในระบบ คาปาซิเตอรในเครื่องทําความเย็นแบง ออกเปน

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

- คาปาซิเตอรสตารท มีหนาที่ชวยในการเริ่มออกตัวของมอเตอร ซึ่งจะทําใหคาโวลตสูงขึ้นในระยะสั้น ประมาณ 2-3 วินาทีแรกของการสตารท หลังจากนั้นจะถูกตัดการทํางานออกจากวงจร

ภาพที่ 1.16 คาปาซิเตอรสตารท - คาปาซิเตอรรัน มีหนาที่ชวยแกคาเพาเวอรแฟคเตอรของมอเตอรซึ่งทํางานคูกับวงจรตลอดเวลา

ภาพที่ 1.17 คาปาซิเตอรรัน

ภาพที่ 1.18 สัญลักษณทางไฟฟาของคาปาซิเตอร

2.8 เฟสโปรเทคชั่น

ภาพที่ 1.19 เฟสโปรเทคชั่น อุปกรณชนิดนี้เมื่อจายไฟเขา ไฟเปด (On) จะติด นั่นแสดงใหเห็นวาแผงอิเล็กทรอนิกสกําลังทํางานควบคุม และ เมื่อรีเลยชนิดนี้ตรวจจับไดถึงความผิดปกติ ก็จะเริ่มการทํางาน โดยทําใหหนาสัมผัสที่ปดจะเปดออก สงผลใหระบบตัด การทํางานเพื่อปองกันอุป กรณนั้น ๆ และ เมื่อสภาวะของระบบไฟกลับมาสูสภาวะปกติ Protection Relay จะเริ่ม ทํางานใหหนาสัมผัสจากที่เปดเปนปดหนาสัมผัส ใหระบบไฟฟาสามารถทํางานไดตามปกติอีกครั้ง โดยปกติแลว Protection Relay จะทํางานเมื่อมีความผิดปกติของการใชงานไฟฟา ไมวาจะเกิ ดจากการจ าย กระแสไฟเกินของการไฟฟา หรือจากผูใชงานที่ทําใหกระแสไฟฟาทํางานผิดปกติ โดยรีเลยชนิดนี้จะใชเงื่อนไขในการ ตรวจสอบความผิดปกติ ดังตอไปนี้ 1. Over Current คือ กระแสในขณะใชงานมีคาเกินที่กําหนด Protection Relay จะทําการตัดระบบ 2. Max/Min Voltage คือ แรงดันในขณะใชงานมีคาเกินหรือต่ํากวาที่กําหนด 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

3. Phase Sequence คือ การเรียงลําดับเฟสไมถูกตอง 4. Phase Loss คือ แรงดันของเฟสใดเฟสหนึ่งหายไป 5. Min/Max Frequency คือ ความถี่ในขณะใชงานมีคาเกินหรือต่ํากวาที่กําหนด

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. มอเตอรคอมเพรสเซอรจะดูดสารทําความเย็นโดยมีสถานะเปนแกสที่มีความดัน และอุณหภูมิต่ําและอัดสารทําความเย็นที่มีสถานะแกสใหมีความดันและอุณหภูมิ ที่สูง 2. เทอรโมสตัทมีหนาที่ในการควบคุมอุณหภูมิของหองใหเปนไปตามคาอุณหภูมิ ที่ตั้งคาไว 3. หากมอเตอรคอมเพรสเซอรใชกระแสไฟมากเกินไป จะเกิดความรอน สงผลให ไบเมททอลที่อยูภายในโอเวอรโหลดรีเลยขยายตัวไมเทากัน ทําใหหนาสัมผัส สัมผัสกันเพื่อจายกระแสไฟฟาเขาสูขดลวดของมอเตอรคอมเพรสเซอร 4. เมื่อเกิดความผิดปกติขึ้นกับระบบไฟฟาเฟสโปรเทคชั่นจะเริ่มทํางาน 5. สวิตชควบคุมความดันทําหนาที่เปนอุปกรณปองกันในระบบ สามารถหยุดการ ทํางานของคอมเพรสเซอรเมื่อเกิดความผิดปกติของน้ํามันหลอลื่นภายนอกระบบ ได

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

กระดาษคําตอบ ขอ 1 2 3 4 5

ถูก

ผิด

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 วงจรไฟฟาของเครื่องปรับอากาศ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - อธิบายหลักการทํางานของวงจร และอุปกรณไฟฟาในเครื่องปรับอากาศได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเขียนวงจรไฟฟาของเครื่องปรับอากาศที่กําหนดใหสมบูรณ

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 วงจรไฟฟาของเครือ่ งปรับอากาศ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - แบบทดสอบ

จํานวน 1 แผน

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ดินสอสําหรับเขียนวงจรไฟฟา 2. ยางลบ 3. ไมบรรทัด

จํานวน 1 แทง จํานวน 1 กอน จํานวน 1 อัน

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2. ลําดับการปฏิบัติงาน 2.1 วงจรไฟฟาของเครื่องปรับอากาศ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เขียนวงจรคอยลรอน

คําอธิบาย เขียนวงจรในสวนของคอยลรอน กอน

2. เขียนวงจรจากเซอรกิตเบรกเกอรไปยังเทอรมินอล เ ขี ย น ว ง จ ร จ า ก เ ซ อ ร กิ ต แมคเนติกคอนแทคเตอร และโพเทนเชียลรีเลย เบรกเกอร ฝ ง คอยล เ ย็ น ไปยั ง เทอรมินอลและ แมคเนติกคอน แทคเตอร จากนั้นเขียนวงจรจาก แมคเนติกคอนแทคเตอรตอเนื่อง ไปยังขั้ว 5 ของโพเทนเชียลรีเลย

3. เขียนวงจรจากแมกเนติกคอนแทกเตอร เขาสู มอเตอรคอมเพรสเซอร และวงจรมอเตอรพัดลม คอยลรอน

เขียนวงจรจาก แมคเนติ กคอนแทคเตอร เขาสู มอเตอรคอมเพรสเซอร ผานขั้ว C S และ R และวงจรมอเตอร พัดลมคอยลรอน

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

4. เขียนวงจรโดยเชื่อมสายจากมอเตอร เขียนวงจรมอเตอร คอมเพรสเซอรตอเขากับคาปาซิเตอรคอมเพรสเซอร คอมเพรสเซอรใหเชื่อมตอกับ คาปาซิเตอรคอมเพรสเซอร

5 . เ ขี ย น ว ง จ ร จ าก ม อ เ ต อ ร ค อ ม เ พ ร ส เซอร เขียนวงจรตอเนื่องจากมอเตอร ไปโพเทนเชี ยลรีเ ลยเ พื่ อต อวงจรไปยั งคาปาซิ เ ตอร คอมเพรสเซอรไปยังขั้ว 2 แบบสตารท โพเทนเชียลรีเลยเพื่อตอวงจร ไปยังคาปาซิเตอรแบบสตารท

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คําอธิบาย 6. เขียนวงจรจากคาปาซิเตอรแบบสตารทไปยังจุดตอ เขียนวงจรจากคาปาซิเตอรแบบ เพื่อเชื่อมตอคาปาซิเตอรรัน แลวตอไปยังนิวทรอล สตารทไปยังคาปาซิเตอรรัน แลวตอไปยังนิวทรอล

7. ตรวจสอบวงจรในสวนของคอยลรอน

ตรวจความครบถวนของวงจร ในสวนของคอยลรอนอีกครั้ง กอนเริ่มเขียนวงจรคอยลเย็น

8. เขียนวงจรคอยลเย็น

เขียนวงจรคอยลเย็นตอจาก วงจรคอยลรอน

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 9. เขียนวงจรจากสาย L และ N จาก เซอรกิตเบรกเกอร ไปยังกลองควบคุม

คําอธิบาย เขี ย นวงจรจากสาย L และ N จากเซอร กิ ต เบรกเกอร ไปยั ง กล อ งควบคุ ม (ซึ่ ง ภายในจะมี หนาสัมผัส ของเทอรโ มสตั ท อยู โดยตอที่ขั้ว C ทําหนาที่ควบคุม อุณหภูมิภายในหอง)

10. เขียนวงจร HI ME และ LO ตอไปยังมอเตอรพัด เขี ย นว งจร HI ME แล ะ LO ลมคอยลเย็น และคาปาซิเตอร และตอวงจรที่เหลือ ตอไปยังมอเตอรพัดลมคอยลเย็น จากคาปาซิเตอรไปยังเซอรกิตเบรกเกอร และคาปาซิเตอรแบบรัน และ ตอวงจรที่เหลือจากคาปาซิเตอร แบบรันไปยังเซอรกติ เบรกเกอร

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 11. เขียนวงจรขั้ว C จากกลองควบคุมไปฝงคอยล เย็น

คําอธิบาย เขียนวงจรขั้ว C จากกลอง ควบคุมไปยัง แมคเนติกคอน แทคเตอรที่คอนเดนซิ่งยูนิต

12. ตรวจความเรียบรอยของวงจร

ตรวจความเรียบรอยของวงจรที่ เขียนอีกครั้ง จากนั้นสงใบงานให ครูฝกประเมิน

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ รายการตรวจสอบ 1 การเขียนไดอะแกรม วงจรไฟฟาเครื่องปรับอากาศ 1.1 ความถูกตองในการเขียนวงจรไดอะแกรม 2 กิจนิสัย 2.1 บันทึกผลลงในแบบบันทึกผล 2.2 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณเขาที่เรียบรอย 2.3 การทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เกณฑการพิจารณา ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 วงจรของคอยลรอน 1.2 วงจรของคอยลเย็น 2

กิจนิสัย 2.1 บันทึกผลลงในแบบบันทึกผล 2.2 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณเขาที่ เรียบรอย 2.3 การทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน

เกณฑการใหคะแนน - เขียนวงจรไดถูกตองทุกสวน ใหคะแนน 5 คะแนน - เขียนวงจรผิด ตัดคะแนนจุดละ 1 คะแนน - เขียนวงจรไดถูกตองทุกสวน ใหคะแนน 5 คะแนน - เขียนวงจรผิด ตัดคะแนนจุดละ 1 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

คะแนนเต็ม 10 5

คะแนนที่ได

5 3 1 1 1 13

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 10 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝกขอ เขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921730402 การตรวจสอบอุปกรณและวงจรไฟฟาของเครื่องปรับอากาศ (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายขั้นตอนการตรวจสอบอุปกรณวัดวงจรไฟฟา และอุปกรณปองกันของเครื่องปรับอากาศได 2. ตรวจสอบอุปกรณวัดวงจรไฟฟา และอุปกรณปองกันของเครื่องปรับอากาศได

2. หัวขอสําคัญ 1. การวัดหาขั้วมอเตอรคอมเพรสเซอร 2. การวัดหาขั้วมอเตอรพัดลม 3. การตรวจสอบสวิตซควบคุม 4. การตรวจสอบรีเลยชวยสตารท 5. การตรวจสอบเทอรโมสตัท 6. การตวจสอบโอเวอรโหลดรีเลย 7. การตรวจสอบโพเทนเชียลรีเลย 8. การตรวจสอบสตารทติ้งรีเลย 9. การตรวจสอบคาปาซิเตอร 10. การตรวจสอบอุปกรณปองกันแรงดันไฟฟา

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรา งหลั กสู ตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับ การฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารั บ การฝ กในโมดู ล ที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม ฉัตรชาญ ทองจับ. 2557. เครื่องทําความเย็น. ปทุมธานี : สกายบุกส นุกูล แกวมะหิงษ. 2558. เครื่องปรับอากาศ (ภาคทฤษฎี). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. มงคล พูนโตนด. 2557. เครื่องทําความเย็น. นนทบุรี : ศูนยหนังสือเมืองไทย.

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ใบขอมูล หั ว ข อ วิ ช าที่ 2 การตรวจสอบอุ ป กรณ แ ละวงจรไฟฟ า ของเครื่ อ งปรั บ อากาศ 1. การวัดหาขั้วมอเตอรคอมเพรสเซอร จะใชมัลติมิเตอรในการตรวจสอบ ซึ่งสวนใหญจะเปนมอเตอรคอมเพรสเซอรแบบเฮอรเมติคเพราะเปนแบบที่ใชใน เครื่องปรับอากาศ โดยขั้วหลักของคอมเพรสเซอรมี 3 ขั้ว ไดแก 1) ขั้ว S คือ ขั้วที่ตอจากขดลวดสตารท (Starting Winding) โดยขดลวดสตารทนั้น มีคุณสมบัติคือจะพันดวย ขดลวดเสนเล็กจํานวนรอบมาก คาความตานทานมีคาสูง 2) ขั้ว R คือ ขั้วที่ตอจากขดลวดรัน (Running Winding) โดยขดลวดรันมีคุณสมบัติคือจะพันดวยขดลวดเสน ใหญจํานวนรอบนอย คาความตานทานมีคาต่ํา 3) ขั้ว C คือ ขั้วที่เกิดจากจุดรวมระหวางขั้ว S และขั้ว R หรือที่เรียกวา ขั้ว (Common) ซึ่งเปนจุดที่ขดลวดรัน และขดลวดสตารทมาตอกัน การวัดหาขั้วคอมเพรสเซอร 1) ใชโอหมมิเตอร หรือมัลติมิเตอรที่ปรับสเกลคาโอหมในการวัด ทดลองวัดที่ขั้วคอมเพรสเซอรทีละคูแลวบันทึก คาความตานทานที่วัดได คูข องขั้วใดที่คาความตานทานสูง ขั้วที่เหลือจะเปนขั้ว C 2) หลังจากไดขั้ว C ใหลองวัดคาความตานทานโดยจับคูขั้ว C กับขั้วที่เหลือ ถาคูใดอานคาความตานทานได สูงสุด แสดงวา ขั้วที่จับคูกับขั้ว C คือ ขั้ว S และขั้วที่เหลือสุดทายคือ ขั้ว R

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ภาพที่ 2.1 วิธีการกําหนดขั้วคอมเพรสเซอร

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2. การวัดหาขั้วมอเตอรพัดลม (Fan Motor) 1) การวัดหาขั้วมอเตอรพัดลมจากชุดคอนเดนซิ่งยูนิต

ภาพที่ 2.2 การวัดหาขั้วมอเตอรพัดลมคอยลรอน ทําไดโดยวัดคาความตานทานทีละคู ขั้ว 1 - 2 ขั้ว 1 - 3 ขั้ว 2 - 3 การตรวจวัดขั้วมอเตอรพัดลมคอยลรอน ใชหลักการเดียวกันกับการตรวจหาขั้วคอมเพรสเซอร โดยคูใดที่ มีคาความตานทานสูงสุด ขั้วที่เหลือจะเปนขั้ว C จากนั้นใหขั้ว C เปนขั้วหลัก แลวทดลองวัดโดยจับคูขั้ว C กับขั้วที่เหลือ ถาคูใดอานคาความตานทานไดสูงสุด แสดงวา ขั้วที่จับคูกับขั้ว C คือ ขั้ว S และขั้วที่เหลือคือ ขั้ว R 2) การวัดหาขั้วมอเตอรพัดลมคอยลเย็น สามารถทําไดโดยวัดสายของมอเตอรทีละคู จะตองอานคาความตานทานภายในขดลวดมอเตอรไดทุกคู ถาคูใดคูหนึ่งขาด (มิเตอรชี้ไปที่ Infinity ∞) แสดงวาขดลวดมอเตอรพัดลมคอยลเย็นขาด

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ภาพที่ 2.3 การตรวจขั้วพัดลมคอยลเย็น เพื่อหาคาความตานทาน 3. การตรวจสอบสวิตชควบคุม (Control Switch) ใชสายของโอหมมิเตอรดานหนี่งแตะที่ทางเขาสวิตชควบคุม และปลายสายอีกดานหนึ่งแตะที่ขั้วตอเขาเทอรโมสตัท จากนั้นกดสวิตชตําแหนง HI COOL, MED COOL หรือ LO COOL ทีละตําแหนงเพื่อตรวจสอบ โดยโอหมมิเตอรจะต อง แสดงคา 0 โอหมเสมอ 4. การตรวจสอบรีเลยชวยสตารท ถอดรีเลยชวยสตารทออกจากวงจร ใชโอหมมิเตอรที่ปรับ ยานวัด ที่ R x 10 จากนั้นนําสายโอหมมิเ ตอรวั ด คา ความ ตานทานจากขั้วทั้งสองของรีเลย ถาไดคาความตานทานเต็มสเกล แสดงวารีเลยใชงานไดปกติ 5. การตรวจสอบเทอรโมสตัท (Thermostat) เปนตัวควบคุมอุณหภูมิ สําหรับควบคุมอุณหภูมิภายในหองเย็น ตูเย็น หรือหองปรับอากาศใหมีคาคงที่อยูเสมอชนิดของ ตัวควบคุมอุณหภูมิแบงออกได 3 แบบคือ 1) แบบกระเปาะ (Bulb Bellow Type) มีหลักการทํางานโดยอาศัยการขยายตัวและหดตัวของของเหลวไป กระทํากับหีบที่สามารถยืดหรือหดตัวได ทําใหหนาคอนแทคที่ติดกับเบลโล เคลื่อนที่ตัด-ตอ วงจรไฟฟา 2) แบบการขยายตัวของโลหะ 2 ชนิด (Bimental Type) มีหลักการทํางานโดยโลหะ 2 ชนิดที่ตั้งประสิทธิภาพ การขยายตัวไมเทากันมายึดติดกันใหแนน เมื่อไดรับความรอนหรือเย็น จะเกิดการยืดและหดตัวทําใหโลหะ เกิดการงอตัวไปตัดหนาคอนแทคได 3) ตัวควบคุมอุณหภูมิแบบอิเล็กทรอนิกสหรือเทอรมิสเตอร เปนตัวควบคุมอุณหภูมิแบบใหมที่ประยุกตเอา อุปกรณอิเล็กทรอนิกสมาควบคุมอุณหภูมิ โดยใชตัวตรวจสอบอุณหภูมิที่เปนเทอรมิสเตอร ซึ่งเปนคาความ ตานทานที่ปรับคาไปตามอุณหภูมิ สามารถควบคุมอุณหภูมิไดอยางแมนยํา 39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

การตรวจสอบตัวควบคุมอุณหภูมิ สามารถทําได 2 วิธีคือ 1) วัดคาความตานทานหนาสัมผัส โดยใชโอหมมิเตอรวัดสัมผัสหนาคอนแทค 2) วิธีวัดจุด Cut In และ Cut Out โดยใชความเย็นทดสอบ แลวใชโอหมมิเตอรวัดที่หนาคอนแทค โดยเมื่อ อุณหภูมิต่ําลงตัวควบคุมจะตัด (ต่ํากวาจุด Cut Out) และเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นตัวควบคุมจะตอ (สูงกวาจุด Cut In) 6. การตรวจสอบโอเวอรโหลดรีเลย (Overload Relay) ในกรณีที่มอเตอรคอมเพรสเซอรกินกระแสสูงเกินที่กําหนดจนเกิดความรอนจนทําใหหนาสัมผัสโลหะ Bimetal ในตัว โอเวอรโหลดแยกจากกัน จากหนาสัมผัสปกติปด เปลี่ยนเปนหนาสัมผัสปกติเปด เกิดการตัดวงจรสายไฟเมนที่จายเขามอเตอร คอมเพรสเซอรทันที เพื่อปองกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นกับตัวมอเตอรคอมเพรสเซอร การตรวจเช็คโอเวอรโหลดรีเลย การตรวจเช็คโอเวอรโหลดรีเลยทําไดงาย ๆ โดยการนํามัลติมิเตอร ปรับเลือกการวัดความตานทาน Rx10 แลวทําการวัดที่ขั้ว สําหรับตอใชงาน กับขั้วของหนาสัมผัส (จุดตรงกลาง) หากวัดแลวเข็มมิเตอรไมขึ้นแสดงวาตัวโอเวอรโหลดขาด 7. การตรวจสอบโพเทนเชียลรีเลย โพเทนเชียลรีเลยมีตําแหนงขั้วภายในดังนี้

ภาพที่ 2.4 ตัวอยางการตรวจสอบโพเทนเชียลรีเลย โดย ขั้ ว 5 ไปขั้ ว 2 เป น ส ว นของขดลวดหรื อ คอยล และขั้ ว 2 ไปขั้ ว 1 คื อ หน า สั ม ผั ส ปกติ ป ด วิ ธี ก ารตรวจสอบ ใชมัลติมิเตอรที่เลือกตั้งคายานโอหมหนีบไวที่ตําแหนงที่ 2 จากนั้นหนีบปลายสายวัดที่ตําแหนงที่ 5 จะเห็นไดวาในตําแหนง จาก 5 ไป มัลติมิเตอรจะตองอานคาความตานทานของขดลวดแรงดันได (ประมาณ 10.98 KΩ) จากนั้นเปลี่ยนตําแหนงวัด โดยเอาปลายสายออกจากตําแหน งที่ 5 และไปหนีบในตํ าแหนงที่ 1 แทนเปนการวัดจากขั้ว 2 ไปขั้ว 1 นั่นคือตําแหนง หนาสัมผัสปกติปดซึ่งมัลติมิเตอรจะอานคาที่วัดได เทากับ 0 40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

8. สตารทติ้งรีเลย หรือ รีเลยเริ่มหมุน (Starting Relay) สตารทรีเลยที่ใชในระบบเครื่องทําความเย็นนั้นทําหนาที่คลายเซ็นติฟูกอลสวิตชในมอเตอรแบบสปลิทเฟส ดังที่ทราบกันดีวา มอเตอรคอมเพรสเซอรในเครื่องทําความเย็นโดยสวนใหญจะเปนมอเตอรแบบสปทเฟส ซึ่งไมสามารถใสเซ็นติฟูกอลสวิตช เพื่อใหตัดวงจรของขดลวดสตารทออกหลังจากมอเตอรคอมเพรสเซอรเดิน จึงตองมีรีเลยตอขดสตารทภายนอก เพื่อใหรีเลย ทําหนาที่ตอวงจรขดสตารทใหครบตอนเริ่มหมุนครั้งแรก และใหรีเลยทําหนาที่ตัดวงจรของขดสตารทออกหลังจากที่มอเตอร คอมเพรสเซอรเดินเปนที่เรียบรอยแลว รีเลยตองออกแบบมาใหพอดีกับขนาดของมอเตอรคอมเพรสเซอร และตองออกแบบมาใหตอวงจรของขดสตารทเพียงชั่ว ระยะที่มอเตอรคอมเพรสเซอรหมุนไดความเร็วประมาณ 2/3 ของความเร็วสูงสุดจึงทําใหตัดวงจรสตารทออกได หรือตอง ออกแบบมาใหตัดขดสตารทออกจากวงจรภายใน 3-4 วินาที หลังจากตอเมนเขาแลวเทานั้น เพราะหากรีเลยตัดชากินไป จะทําใหมอเตอรคอมเพรสเซอรรอนจัด และเปนอันตรายกับขดสตารทที่พันไวได 9. รีเลยลวดรอนหรือ ฮอทไวรรีเลย ฮอทไวรรีเลยมีชื่ออีกอยางวา Thermal Relay เปนรีเลยที่ทํางานโดยอาศัยการขยายตัวของโลหะ ในที่นี้คือลวดรอนซึ่งมี 2 จุดสัมผัส คือ จุดสัมผัสของขดสตารท และจุดสัมผัสของขดรัน ซึ่งสองจุดสัมผัสนี้จะทําหนาที่เปนโอเวอรโหลดดวย 10. การตรวจสอบคาปาซิเตอร (Capacitor)

ภาพที่ 2.5 คาปาซิเตอร ตั้งคาโอหมมิเตอรที่สเกล R x 1K หรือมากกวา เมื่อแตะที่ขั้วทั้งสองของคาปาซิเตอร เข็มจะชี้เขาใกลคา 0 โอหม ในชวง แรกและเข็มจะชี้คาความตานทานที่คอย ๆ เพิ่มขึ้นจนสูงสุดแสดงวาปกติ ถาเข็มชี้ที่ 0 โอหม แสดงวาคาปาซิเตอรลัดวงจร ระหว างขั้ ว ทั้ งสอง ถ า เข็ มชี้ คา งที่ คา อนั น ต (Infinity ∞) หมายถึงวงจรภายในคาปาซิ เตอรข าด ทั้ง 2 กรณีนี้แสดงว า คาปาซิเตอรเสีย อยางไรก็ตามกอนทําการตรวจวัดคาปาซิเตอรดวยโอหมมิเตอรทุกครั้ง จะตองตอลัดวงจรระหวางขั้วทั้งสอง เพื่อใหคาปาซิเตอรคายประจุใหหมดกอน 41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

11. การตรวจสอบตัวควบคุมความดัน

ภาพที่ 2.6 ตัวควบคุมความดัน การตรวจสอบตัวควบคุมความดันทําไดโดยตรวจดูการทํางานหนาคอนแทคดวยโอหมมิเตอร กลาวคือ เมื่อทําการจาย ความดันตาง ๆ ใหแกตัวควบคุมความดันตามจุด Cut In และ Cut Out ที่ไดปรับตั้งไว ถาหนาคอนแทคเกิดการตัด - ตอ ตามที่ไดตั้งคาไวแสดงวาตัวควบคุมดังกลาวยังทํางานปกติ

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. การตรวจสอบมอเตอรพัดลม หากใชโอหมมิเตอรวัดที่ลวดมอเตอรแลวเข็มของ มิเตอรชี้ไปที่คาอนันตหมายถึง ขดลวดมอเตอรพัดลมปกติ 2. โลหะ 2 ชนิดที่ตั้งสัมประสิทธิ์การขยายตัวไมเทากันมายึดติดกันใหแนนเมื่อ ไดรับความรอนหรือเย็น จะเกิดการยืดและหดตัวทําใหโลหะเกิดการงอตัว 3. ในการตรวจโอเวอรโหลดรีเลย เมื่อใชโอหมมิเตอรวัดที่หนาสัมผัส โอเวอรโหลด แลวเข็มมิเตอรชี้ไปที่คาอนันตแสดงวาโอเวอรโหลดปกติ 4. ขั้ว S คือ ขั้วที่ตอจากขดลวดสตารทของคอมเพรสเซอร 5. ถาใชโอหมมิเตอรตรวจสอบคาปาซิเตอรแลวพบวาเข็มชี้ที่คาอนันต นั่นหมายถึงวงจรภายในขาด

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

กระดาษคําตอบ ขอ 1 2 3 4 5

ถูก

ผิด

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ใบงาน ใบงานที่ 2.1 การตรวจสอบอุปกรณและวงจรไฟฟาของเครื่องปรับอากาศ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ตรวจสอบอุปกรณวัดวงจรไฟฟา และอุปกรณปองกันของเครื่องปรับอากาศได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน

- ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบการทํางานของเครื่องปรับอากาศพรอมบันทึกผลการทดลอง 1. ตรวจสอบขั้วคอมเพรสเซอร 2. ตรวจสอบโพเทนเชียลรีเลย 3. ตรวจสอบแมคเนติกคอนแทคเตอร 4. ตรวจสอบมอเตอรพัดลมคอยลรอน 5. ตรวจสอบมอเตอรพัดลมคอยลเย็น 6. ตรวจสอบตัวควบคุมอุณหภูมิ (เทอรโมสตัท) 7. ตรวจสอบคาปาซิเตอร 8. ทดสอบสวิตชเลือก หรือ ชุดควบคุมทางไฟฟา

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

1. ตารางบันทึกผลการตรวจขั้วคอมเพรสเซอร ขั้วคอมเพรสเซอรคูที่ 1 กับ 2 1 กับ 3 2 กับ 3

คาความตานทานที่วัดได

สรุปขั้ว

2. ตารางบันทึกผลการตรวจสอบโพเทนเชียลรีเลย ขั้วที่ตรวจสอบ

สรุป

คาความตานทาน

ดี

เสีย

1-2 2-5 3. ตารางบันทึกผลการตรวจสอบแมคเนติกคอนแทคเตอร ขั้วที่ตรวจสอบ

สรุป

คาความตานทาน

ดี

เสีย

A1-A2 1-2 3-4 4. ตารางบันทึกผลการตรวจสอบมอเตอรพัดลมคอยลรอน ขั้วที่ตรวจสอบ

สรุป

คาความตานทาน

ดี

1-2 1-3 2-3

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เสีย


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

5. ตารางบันทึกผลการตรวจสอบมอเตอรพัดลมคอยลเย็น ขั้วที่ตรวจสอบ

สรุป

คาความตานทาน

ดี

เสีย

1-2 1-3 1-4 1-5 2-3 2-4 2-5 3-4 3-5 4-5 6. ตารางบันทึกผลการตรวจสอบเทอรโมสตัท ตัวควบคุมอุณหภูมิ ตัวที่

ชื่อ/รุน Cut In/Cut Out

ตําแหนง ปรับตัว

คาความ คาจากการทดลอง ตานทาน ขึ้น ไมขึ้น Cut In Cut (°F) Out (°F)

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

หลอดไฟ ติด

ดับ

สรุปผล การตรวจสอบ ดี เสีย


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

7. ตารางบันทึกผลการตรวจคาปาซิเตอร คาปาซิเตอร

ตัวที่ 1 2

ชื่อ

ลักษณะโครงสราง

สี

รูปทรง

ความ พิกัด ผลจากการวัด จุ แรงดัน ดวยโอหมมิเตอร (MF.) (V)

ชนิด

สรุปผลการ ตรวจสอบ ดี

เสีย

8. ตารางบันทึกผลการตรวจชุดควบคุมทางไฟฟา การปรับรีโมท

การแสดงผล

สรุป ดี

เสีย

Off On Low On Medium On High Cool บันทึกผลการตรวจสอบ ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... สรุปผลการตรวจสอบ ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... 48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 การตรวจสอบอุปกรณและวงจรไฟฟาของเครื่องปรับอากาศ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวาง กีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คีม

จํานวน 1 อัน

2. ไขควง

จํานวน 1 อัน

3. มัลติมิเตอร

จํานวน 1 เครื่อง

4. น้ําแข็ง

จํานวน 100 กรัม

5. เกลือ

จํานวน 30 กรัม

6. บีกเกอร

จํานวน 1 บีกเกอร

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. คอมเพรสเซอร

จํานวน 1 ตัว

2. คาปาซิเตอร

จํานวน 1 ตัว

3. โพเทนเชียลรีเลย

จํานวน 1 ตัว

4. แมคเนติกคอนแทคเตอร

จํานวน 1 ตัว

5. มอเตอรพัดลมคอยลรอน

จํานวน 1 ตัว

6. มอเตอรพัดลมคอยลเย็น

จํานวน 1 ตัว

7. ตัวควบคุมอุณหภูมิ (เทอรโมสตัท)

จํานวน 1 ตัว

8. สวิตชเลือก หรือ ชุดควบคุมทางไฟฟา

จํานวน 1 ตัว

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2. ลําดับการปฏิบัติงาน 2.1 การตรวจสอบขั้วคอมเพรสเซอร ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ปรับยานวัดของมัลติมิเตอรไปที่ Range R × 1 หรือ 10 หรือ 200 โอหม

คําอธิบาย ขอควรระวัง ทําการตรวจขั้วคอมเพรสเซอรโดย กรณีที่ใชมัลติมิเตอรแบบเข็มให ปรั บ ย า นวั ด ของมั ล ติ มิ เ ตอร ไ ปที่ ทดสอบ Zero โดยใหเข็มชี้ตรงเลข Range R × 1 หรื อ 10 หรื อ 200 0 โอหม

2. กําหนดจุด 3 จุด แทนตําแหนงขั้ว คอมเพรสเซอร

กํ า หนดจุ ด เป น สามเหลี่ ย มบน กระดาษ โดยแบงเปนขั้วที่ 1 2 และ 3

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. ตรวจขั้ว 1 กับ 2 แลวบันทึกผล

คําอธิบาย ขอควรระวัง ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน ไมควรใหรางกายสัมผัส กับ เข็มวัด ระหวางขั้ว 1 กับ 2 บันทึกผล และอุปกรณที่กําลังจะวัด เนื่องจาก ค า ความต า นทานภายในร า งกาย อาจทําใหคาความตานทานที่วัด ได คลาดเคลื่อน

4. ตรวจขั้ว 1 กับ 3 แลวบันทึกผล

ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน ระหวางขั้ว 1 กับ 3 บันทึกผล

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ตรวจขั้ว 2 กับ 3 แลวบันทึกผล

คําอธิบาย ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน ระหวางขั้ว 2 กับ 3 บันทึกผล

6. กําหนดขั้ว C ขั้ว S และขั้ว R แทน ตําแหนงขั้ว 1 ขั้ว 2 และ ขั้ว 3

กําหนดขั้ว C ขั้ว S และขั้ว R จากคู ที่วัดคาความตานทานไดสูงสุด ขั้วที่ อยูตรงขามจะเปนขั้ว C จากนั้นโดย ทางเทคนิค ขั้ว S จะมีคารองลงมา และขั้ว R จะมีคานอยที่สุด

7. บันทึกผล และสงครูฝก

บันทึกผลลงในใบงาน และสงครูฝก เพื่อรับการประเมิน

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2.2 การตรวจสอบโพเทนเชียลรีเลย ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ปรับยานวัดของมัลติมิเตอรไปที่ Range Rx10 โอหม

คําอธิบาย ปรับยานมัลติมิเตอรไปที่ R x10

2. วัดขั้วที่ 2 กับขั้วที่ 5 ซึ่งเปนคอยล แลว บันทึกผล

ใช มั ล ติ มิ เ ตอร วั ด ขั้ ว 2 กั บ ขั้ ว 5 ไมควรใหรางกายสัมผัสกับเข็มวัด จากนั้ น บั น ทึ ก ผลลงในตารางที่ และอุปกรณที่กําลังจะวัด เนื่องจาก กําหนดให คาความตานทานภายในรางกาย อาจทําใหคาความตานทานที่วัดได คลาดเคลื่อน

3. ปรับยานวัดของมัลติมิเตอรไปที่ Range Rx1 โอหม วัดขั้วที่ 1 กับขั้วที่ 2 แลวบันทึก ผล

ปรั บ ย า นวั ด ของมั ล ติ มิ เ ตอร ไ ปที่ Range Rx1 โอหม ใชมัลติมิเตอรวัด ขั้ว 1 กับ 2 จากนั้นบันทึกผลลงใน ตารางที่กําหนดให

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. สรุปผลการตรวจสอบ

คําอธิบาย สรุ ป ผลการตรวจสอบว า โพเทน เชียลรีเลยดีหรือไม

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2.3 การตรวจสอบแมคเนติกคอนแทคเตอร ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ปรับยานวัดของมัลติมิเตอรไปที่ Range Rx10 โอหม

คําอธิบาย ปรับยานมัลติมิเตอรไปที่ Rx1 หรือ 10

2. วัดขั้ว A1 กับขั้ว A2

ใช มัล ติมิเตอรวัดขั้ว A1 กับ ขั้ ว A2 ไมควรใหรางกายสัมผัสกับเข็มวัด จากนั้ น บั น ทึ ก ผลลงในตารางที่ และอุปกรณที่กําลังจะวัด เนื่องจาก กําหนดให คาความตานทานภายในรางกาย อาจทําใหคาความตานทานที่วัดได คลาดเคลื่อน

3. วัดขั้วที่ 1 กับขั้วที่ 2

ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 1 กับ 2 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. วัดขั้วที่ 3 กับขั้วที่ 4

คําอธิบาย ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 3 กับ 4 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

5. กดปุมสีดําเพื่อตอหนาสัมผัส จากนั้นวัดขั้ว กดปุมสีดําบนตัว ที่ 1 กับขั้วที่ 2 แมคเนติกคอนแทคเตอร เพื่ อ ให ห น า สั ม ผั ส เปลี่ ย นสถานะ และใช มั ล ติ มิ เ ตอร วั ด ขั้ ว 1 กั บ 2 จากนั้ น บั น ทึ ก ผลลงในตารางที่ กําหนดให

6. กดปุมสีดําเพื่อตอหนาสัมผัส จากนั้นวัดขั้ว กดปุมสีดําบน ที่ 3 กับขั้วที่ 4 ตัวแมคเนติกคอนแทคเตอร เพื่อให หนาสัมผัสเปลี่ยนสถานะ และใชมัล ติ มิ เ ตอร วั ด ขั้ ว 3 กั บ 4 จากนั้ น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 7. สรุปผลการตรวจสอบ

คําอธิบาย สรุปผลการตรวจสอบวาแมคเนติก คอนแทคเตอรดีหรือไม

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2.4 การตรวจสอบมอเตอรพัดลมคอยลรอน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ปรับยานวัดของมัลติมิเตอรไปที่ Range Rx10 โอหม

คําอธิบาย ปรับยานมัลติมิเตอรไปที่ Rx1 หรือ 10

2. วัดขั้วที่ 1 กับขั้วที่ 2

ใช มั ล ติ มิ เ ตอร วั ด ขั้ ว 1 กั บ ขั้ ว 2 ไมควรใหรางกายสัมผัสกับเข็มวัด จากนั้ น บั น ทึ ก ผลลงในตารางที่ และอุปกรณที่กําลังจะวัด เนื่องจาก กําหนดให คาความตานทานภายในรางกาย อาจทําใหคาความตานทานที่วัดได คลาดเคลื่อน

4. วัดขั้วที่ 1 กับขั้วที่ 3

ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 1 กับ 3 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

6. วัดขั้วที่ 2 กับขั้วที่ 3

ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 2 กับ 3 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. สรุปผลการตรวจสอบ

คําอธิบาย สรุปผลการตรวจวามอเตอรพัดลม คอยลรอนดีหรือไม

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2.5 การตรวจสอบมอเตอรพัดลมคอยลเย็น ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ปรับยานวัดของมัลติมิเตอรไปที่ Range Rx10 โอหม

คําอธิบาย ปรับยานมัลติมิเตอรไปที่ Rx1 หรือ 10

2. วัดขั้วที่ 1 กับขั้วที่ 2

ใช มั ล ติ มิ เ ตอร วั ด ขั้ ว 1 กั บ ขั้ ว 2 ไมควรใหรางกายสัมผัสกับเข็มวัด จากนั้ น บั น ทึ ก ผลลงในตารางที่ และอุปกรณที่กําลังจะวัด เนื่องจาก กําหนดให คาความตานทานภายในรางกาย อาจทําใหคาความตานทานที่วัดได คลาดเคลื่อน

3. วัดขั้วที่ 1 กับขั้วที่ 3

ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 1 กับ 3 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. วัดขั้วที่ 1 กับขั้วที่ 4

คําอธิบาย ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 1 กับ 4 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

5. วัดขั้วที่ 1 กับขั้วที่ 5

ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 1 กับ 5 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

6. วัดขั้วที่ 2 กับขั้วที่ 3

ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 2 กับ 3 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

7. วัดขั้วที่ 2 กับขั้วที่ 4

ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 2 กับ 4 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. วัดขั้วที่ 2 กับขั้วที่ 5

คําอธิบาย ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 2 กับ 5 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

9. วัดขั้วที่ 3 กับขั้วที่ 4

ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 3 กับ 4 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

10. วัดขั้วที่ 3 กับขั้วที่ 5

ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 3 กับ 5 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

11. วัดขั้วที่ 4 กับขั้วที่ 5

ใชมัลติมิเตอรวัดขั้ว 4 กับ 5 จากนั้น บันทึกผลลงในตารางที่กําหนดให

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 12. สรุปผลการตรวจสอบ

คําอธิบาย สรุปผลการตรวจวามอเตอรพัด ลม คอยลเย็นดีหรือไม

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2.6 การตรวจสอบตัวควบคุมอุณหภูมิ (เทอรโมสตัท) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. บันทึกคาแผนปายจากกลองควบคุม

คําอธิบาย นําตัวควบคุมอุณหภูมิหรือ เทอรโมสตัท มาศึกษา สวนประกอบและบันทึกคา แผนปาย

2. ปรับตัวควบคุมไปตําแหนงสูงสุด แลววัดคา ความตานทาน พรอมบันทึกผล

ปรั บ ตั ว ควบคุ ม อุ ณ หภู มิ ไ ปที่ ตํ า แหน ง สู ง สุ ด (หมุ น ตามเข็ ม นาฬิกา) แลวใชโอหมมิเตอรวัดคา ความตานทานที่ขั้วไฟฟาของตั ว ควบคุ ม อุ ณ หภู มิ จากนั้ น บั น ทึ ก ผลการทดลอง (ขณะนี้ยังไมจาย แรงดันไฟฟาเขากลองควบคุม)

3. ตอวงจรไปยังหลอดไฟและแหลงจายไฟ

ทํ า การต อ วงจรจากตั ว ควบคุ ม อุ ณ หภู มิ ไ ปยั ง หลอดไฟฟ า และ แหลงจายไฟ 220 V

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. ใหครูฝกตรวจความพรอมเพื่อปองกันอันตราย

คําอธิบาย ขอควรระวัง ใหครูฝกตรวจความพรอมในการ อันตรายจากไฟฟาอาจทําให จ า ยไฟฟ า เพื่ อ ให ว งจรไฟฟ า เสียชีวิตได ควรตรวจสอบความ ทํางาน ปลอดภัยในการทดลอง และมี ครูฝกดูแลอยางใกลชิด

5. จายไฟใหวงจร หลอดไฟจะติด ตัวควบคุม อุณหภูมิอยูในชวง Cut In

จ า ยไฟให แ ก ว งจรไฟฟ า โดย ห ล อ ด ไ ฟ จ ะ ติ ด ตั ว ค ว บ คุ ม อุณหภูมิอยูในชวง Cut In

6. นําสวนปลายของตัวควบคุมอุณหภูมิแชลงใน บีกเกอรที่ใสน้ําแข็งและเกลือ

นํ า ส ว นปลายของตั ว ควบคุ ม อุ ณ หภู มิ แ ช ล งในบี ก เกอร ที่ ใ ส น้ําแข็งและเกลือไว

7. บันทึกคาอุณหภูมิ ที่จุด Cut Out

บั น ทึ ก ค า อุ ณหภู มิ ข ณ ะ ที่ ตั ว ควบคุ ม อุ ณ หภู มิ ทํ า งานที่ จุ ด Cut Out โดยวงจรจะตั ด และ หลอดไฟดับ

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คําอธิบาย 8. นําสวนปลายที่แชในบีกเกอรออก เมื่ออุณหภูมิ นํ า ส ว นปลายของตั ว ควบคุ ม สูงขึ้นใหบันทึกคาที่จุด Cut In เมื่อหลอดไฟติด อุณหภูมิออกจากน้ําแข็ง ปลอย ทิ้งไวใหอุณหภูมิสูงขึ้น บันทึกคา อุ ณ ห ภู มิ ข ณ ะ ที่ ตั ว ค ว บ คุ ม อุ ณ ห ภู มิ ทํ า ง า น ที่ จุ ด Cut In วงจรไฟฟาตอ และหลอดไฟติด

9. ปรับตัวอุณหภูมิไฟที่ตําแหนงกึ่งกลาง ทดลอง ปรั บ ตั ว อุ ณ หภู มิ ไ ฟที่ ตํ า แหน ง ทําใหมอีกครั้ง กึ่ ง กลาง ทดลองทํ า ใหม อี ก ครั้ ง ตั้งแตขั้นตอนที่ 2-7

10. สรุปผลการตรวจสอบ

สรุปผลการตรวจสอบ

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2.7 การตรวจสอบคาปาซิเตอร ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ดิสชารจประจุ

คําอธิบาย นําคาปาซิเตอรมาดิส ชารจประจุ โดยใหสายไฟแตะกับขั้วทั้ง 2 ขั้ว

2. ปรับยานมัลติมิเตอรไปที่ Rx10 แลววัดที่ขั้ว ของคาปาซิเตอร

นํามัลติมิเตอรมาตั้ง Range Rx10 แลววัดที่ขั้วทั้งสองขางของ คาปาซิเตอร สังเกตผลและ บันทึกผล

3. ในกรณีที่ใชมัลติมิเตอรแบบเข็ม หากเข็มไม ถาเข็มของมัล ติมิเตอรไ มขึ้ น หรื อ ขึ้นหรือขึ้นนอยใหปรับยาน Range เปน Rx100 ขึ้ น น อ ยไปให ป รั บ Range เป น หรือ Rx10K Rx100 หรือ Rx10K

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. ดิสชารจประจุอีกครั้ง

คําอธิบาย ทําการดิสชาจนประจุอีกครั้ง

5. วัดที่ขั้วของคาปาซิเตอรทั้งสองขาง

ทําการวัดขั้วทั้งสองขาง

6. สรุปผลการตรวจสอบ

จากนั้นบันทึกผล และสรุปผลที่ได วาคาปาซิเตอรดีหรือไม

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2.8 การทดสอบสวิตชเลือก หรือ ชุดควบคุมทางไฟฟา ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตอวงจรตามแบบที่กําหนดให

คําอธิบาย ตอวงจรตามรูป

2. On เซอรกิตเบรกเกอร แลวปรับรีโมท คอนโทรล

On เซอร กิ ต เบรกเกอร แล ว ปรั บ รีโมทคอนโทลควบคุมความเร็วพัด ลมจากนั้นบันทึกผล

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คําอธิบาย 3. ปรับอุณหภูมิที่ 25 องศา และปรับโหมด ปรับอุณหภูมิที่ 25 องศา และปรับ เปน Cool โหมดเป น Cool รอประมาณ 5 นาทีแลวบันทึกผล

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ รายการตรวจสอบ 1 ตรวจสอบอุปกรณและวงจรไฟฟาของเครื่องปรับอากาศ 1.1 ตรวจสอบขั้วคอมเพรสเซอร 1.2 ตรวจสอบโพเทนเชียลรีเลย 1.3 ตรวจสอบแมคเนติกคอนแทคเตอร 1.4 ตรวจสอบมอเตอรพัดลมคอยลรอน 1.5 ตรวจสอบมอเตอรพัดลมคอยลเย็น 1.6 ตรวจสอบตัวควบคุมอุณหภูมิ (เทอรโมสตัท) 1.7 ตรวจสอบคาปาซิเตอร 1.8 ทดสอบสวิตชเลือก หรือ ชุดควบคุมทางไฟฟา 2 กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตองและ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เกณฑการพิจารณา ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 ตรวจสอบขั้วคอมเพรสเซอร

เกณฑการใหคะแนน

- ตรวจสอบไดถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลไดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อน 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อนตั้งแต 3 หนวยขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน 1.2 ตรวจสอบโพเทนเชียลรีเลย - ตรวจสอบไดถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลไดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อน 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อนตั้งแต 3 หนวยขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน 1.3 ตรวจสอบแมคเนติกคอนแทคเตอร - ตรวจสอบไดถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลไดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อน 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อนตั้งแต 3 หนวยขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน 1.4 ตรวจสอบมอเตอรพัดลมคอยลรอน - ตรวจสอบไดถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลไดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อน 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อนตั้งแต 3 หนวยขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน 1.5 ตรวจสอบมอเตอรพัดลมคอยลเย็น - ตรวจสอบไดถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลไดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อน 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อนตั้งแต 3 หนวยขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน 1.6 ตรวจสอบตัวควบคุมอุณหภูมิ (เทอรโมสตัท) - ตรวจสอบไดถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลไดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อน 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อนตั้งแต 3 หนวยขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน 1.7 ตรวจสอบคาปาซิเตอร - ตรวจสอบไดถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลไดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนเต็ม 40 5

5

5

5

5

5

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ลําดับที่

2

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อน 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อนตั้งแต 3 หนวยขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน 1.8 ทดสอบสวิตชเลือกหรือ ชุดควบคุมทางไฟฟา - ตรวจสอบไดถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลไดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อน 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตรวจสอบไดไมถูกตองตามขั้นตอน บันทึกผลคลาดเคลื่อนตั้งแต 3 หนวยขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน ครบถวน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบตั ิงาน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํา - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

5

5 1 1 1 1 1 45

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 32 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3 0921730403 การตรวจสอบการลัดวงจรและการรั่วลงดิน (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายขั้นตอนการตรวจสอบการลัดวงจร และการรั่วลงดิน

2. หัวขอสําคัญ - การตรวจสอบการลัดวงจร และการรั่วลงดิน

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรา งหลั กสู ตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับ การฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารั บ การฝ กในโมดู ล ที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม มงคล พูนโตนด. 2557. เครื่องทําความเย็น. นนทบุรี : ศูนยหนังสือเมืองไทย. สุขสันติ์ หวังสถิตยวงษ และศักรินทร เทิดกตัญูพงศ. 2556. กฎและมาตรฐานทางไฟฟา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมวิชาการ.

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ใบขอมูล หั ว ข อ วิ ช าที่ 3 การตรวจสอบการลั ด วงจรและการรั่ ว ลงดิ น ในหลายอาคารจะมีการติดตั้งระบบสายดินเพื่อความปลอดภัยในการใชไฟฟา แตการตรวจสอบการรั่วของกระแสไฟ ยังเปนสิ่งจําเปน เนื่องจากกระแสไฟที่รั่วไหลอาจะกอใหเกิดอันตราย และยังทําใหเกิดความสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟาอีกดวย 1. ขั้นตอนการตรวจสอบการลัดวงจร และการรั่วลงดิน 1) วัด ความตานทานระหวางสายไฟทุกเสน และระหวางสายไฟกับ ดิน หรือจุด ที่มีก ารตอลงดิน โดยการใช เครื ่อ งวัด คา ฉนวนของสาย (Insulation Tester) โดยจะตอ งปลดสายไฟทั ้ง ทางดา นแหลง จา ยและ ทางดานโหลดออกกอนคาความตานทานที่วัดไดตองไมนอยกวา 500 กิโลโอหม ถาหากต่ํากวานี้แสดงวา ฉนวนหรือจุดตอสายไมสมบูรณอาจทําใหเกิดกระแสไฟรั่ว ได หากตรวจพบวาสาเหตุเกิดจากฉนวนของ สายไฟฟาเสียหายใหทําการซอมแซม แตหากเกิดจากการเสื่อมสภาพหรือหมดอายุใหทําการเปลี่ยนใหม 2) ใชไขควงวัดไฟแตะสวนที่เปนโลหะ หากไฟของไขควงสองสวาง แสดงวาเกิดไฟรั่วที่บริเวณนั้น ใหทําการ ตรวจสอบสายไฟวาฉนวนเกิดความเสียหายหรือไม โดยเฉพาะจุดที่มีการตอสาย สําหรับเครื่องใชไฟฟาตอง ทดสอบขณะที่เปดเครื่องใชงาน

ภาพที่ 3.1 นําไขควงแตะสวนที่เปนโลหะ 3) เมื่อปดเครื่องใชไฟฟาทุกเครื่อง สังเกตการทํางานของมิเตอรไฟฟาวายังคงหมุนหรือไม ถาหากยังคงหมุน อยูแสดงวามีกระแสไหลผานหรือเกิดไฟรั่ว 4) ในกรณีที่ติดตั้งเครื่องตัดไฟ หรือเซอรกิตเบรกเกอรรวมดวย หากเกิดไฟรั่ว เครื่องตัดไฟจะทําการปลดวงจร (ตัดไฟ) ใหทําการตรวจสอบหาสาเหตุและทําการแกไขใหถูกตอง

ภาพที่ 3.2 เครื่องตัดไฟรั่ว (เซอรกิตเบรกเกอร) 77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. ไขควงวัดไฟใชตรวจไฟรั่วได 2. ใชไขควงวัดไฟแตะสวนที่เปนฉนวนเพื่อตรวจหาไฟรั่ว 3. เมื่อปดเครื่องใชไฟฟาทุกเครื่อง และมิเตอรไฟฟายังคงหมุนอยู แสดงวาเกิด ไฟรั่ว 4. เซอรกิตเบรกเกอรตัดเมื่อเกิดไฟลัดวงจร ไมเกี่ยวกับไฟรั่ว 5. เครื่ องวั ดค า ฉนวนของสายเปน เครื่ องมื อในการตรวจสอบไฟรั่ว ซึ่ งเกิ ด จาก สายไฟชํารุด

78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

กระดาษคําตอบ ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5

79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ปกหลัง

81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.