คู่มือผู้รับการฝึก ช่างเชื่อมแม็ก ระดับ 2 โมดูล 10

Page 1



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

คูมือผูรับการฝก 0920162070802 สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา)

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 10 09207402 ทัศนคติในการประกอบอาชีพ ชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

คํา นํา

คูมือผูรับการฝก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) โมดูล 10 ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 ฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัด การฝ กอบรมกับชุ ดการฝก ตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใต โครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูรับการฝ กไดใ ช เ ป น เครื่องมือในการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ หลังเรีย นจบโมดูลการฝก ผูรับการฝกสามารถอธิบายเกี่ยวกับ ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 ไดอยางถูกตอง ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริม ใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรีย นรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรีย นรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธก ารฝก อบรมในการที่ทําใหผูรั บการฝก อบรมมีค วามสามารถในการปฏิบัติ ง าน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูกกําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชใ นการปฏิบั ติง าน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรีย นรูแ ละฝกฝน จนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส ง มอบการฝ ก สามารถดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพร อม ตามความสะดวกของตน หรื อ ตามแผนการฝ ก หรื อ ตามตารางการนั ด หมาย การฝ ก หรื อ ทดสอบประเมิ น ผลความรู ความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรีย ม และดํา เนิ น การทดสอบ ประเมิ น ผลในลั ก ษณะต า ง ๆ อั น จะทํา ให ส ามารถเพิ่ ม จํา นวนผู รั บ การฝ ก ได ม ากยิ่ ง ขึ้ น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝกที่มี ความสํา คัญ ต อการพั ฒ นาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบั นและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบ การฝกอบรมตามความสามารถมาใชใ นการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใ ชแ รงงานผูวางงาน นักเรีย น นักศึกษา และผูประกอบอาชีพ อิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชน อยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

1

โมดูลการฝกที่ 10 09207402 ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 หัวขอวิชาที่ 1 0920740201 ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก คณะผูจัดทําโครงการ

12 22

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูม ือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด วย หัวขอวิชาที่ผูรับการฝกตองเรีย นรูแ ละฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูลและรหัสหัวขอวิชาเป นตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรีย นรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนํา ความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑม าตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรีย นรูข องผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรีย นรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบีย น เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผา นอุป กรณอิเล็กทรอนิก สหรือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขา ใช ง านระบบ แบงสวนการใชง านตามความรั บผิ ด ชอบของผู มีส ว นได ส ว นเสีย ดั ง ภาพในหน า 2 ซึ่งรายละเอีย ดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิ บั ติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่อ อิเ ล็ก ทรอนิ กส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถั ดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผูรับการฝกดาวนโหลดแอปพลิเคชั น DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวนโหลดแอปพลิ เ คชั น สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใ ชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิ เ คชั น DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวน โ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิ เคชั น DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10 - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถั ดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด วยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 6

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10 ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้ น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920162070802

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุม ดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางเชื่อมแม็กเพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด 1.2 มีความรูและสามารถใชเครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกล 1.3 มีความรูเกี่ยวกับการใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิคการเชื่อม 1.4 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติและความสามารถเชื่อมไดของโลหะ 1.5 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกใชลวดเชื่อมและแกสปกปอง 1.6 มีความรูเกี่ยวกับขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม 1.7 มีความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกับงานเชื่อม 1.8 มีความรูและสามารถตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม 1.9 มีความรูเกี่ยวกับทอ และอุปกรณประกอบทอ 1.10 มีความรูเกี่ยวกับทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) 1.11 สามารถปฏิบัติการเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนแผนหนารอยเชื่อมตอชน ตําแหนงทาเชื่อม PA PC PF และ PE 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับ การฝ กในภาคทฤษฎีแ ละภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝมื อแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 70 ชั่วโมง เนื ่อ งจากเปน การฝก ที ่ขึ ้น อยู ก ับ พื ้น ฐานความรู  ทัก ษะ ความสามารถและความพรอ มของผู ร ับ การฝก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพ รอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวใ นหลักสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบัน พัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. สาขา ชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา)

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 10 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920162070802 2. ชื่อโมดูลการฝก ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 รหัสโมดูลการฝก 09207402 3. ระยะเวลาการฝก รวม 1 ชั่วโมง ทฤษฎี 1 ชั่วโมง ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็กไดอยางถูกตอง 2. อธิบายแนวความคิดเห็นในเรื่องการพัฒนาความรูไดอยางถูกตอง 3. อธิบายหลักการวิเคราะหงานไดอยางถูกตอง 4. อธิบายการตัดสินใจแกไขปญหาในการปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง 5. อธิบายการใหคําแนะนําแกผูใตบังคับบัญชาไดอยางถูกตอง 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานในสาขาชางเชื่อมแม็ก ผูรับการฝก 2. ผูรับการฝกผานระดับ 1 มาแลว 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 9 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัว ขอวิชา (ชั่วโมง : นาที) ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายจรรยาบรรณในการ หัวขอที่ 1 : ทัศนคติใ นการประกอบอาชีพ 1:00 1:00 ประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ชางเชื่อมแม็ก ไดอยางถูกตอง 2. อธิบายแนวความคิดเห็น ในเรื่องการพัฒนาความรู ไดอยางถูกตอง 3. อธิบายหลักการวิเคราะหงาน ไดอยางถูกตอง สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา)

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10 4. อธิบายการตัดสินใจแกไข ปญหาในการปฏิบัติงาน ไดอยางถูกตอง 5. อธิบายการใหคําแนะนํา แกผูใตบังคับบัญชา ไดอยางถูกตอง รวมทั้งสิ้น

1:00

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

-

1:00


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0920740201 ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. 2. 3. 4. 5.

อธิบายจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็กไดอยางถูกตอง อธิบายแนวความคิดเห็นในเรื่องการพัฒนาความรูไดอยางถูกตอง อธิบายหลักการวิเคราะหงานไดอยางถูกตอง อธิบายการตัดสินใจแกไขปญหาในการปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง อธิบายการใหคําแนะนําแกผูใตบังคับบัญชาไดอยางถูกตอง

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5.

จรรยาบรรณในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก แนวความคิดเห็นในเรื่องการพัฒนาความรู หลักการวิเคราะหงาน การตัดสินใจแกไขปญหาในการปฏิบัติงาน การใหคําแนะนําแกผูใตบังคับบัญชา

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม สภาวิศวกร. 2560. กรณีศึกษาจรรยาบรรณแหงวิชาชีพวิศวกรรม. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.coe.or.th/coe-2/mail/coeHome.php?aMenu=401 สุเมธ ดีชัยชนะ. 2560. การวิเคราะหงาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.gotoknow.org/posts/271752

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก การประกอบอาชีพ ใด ๆ ก็ต ามผูที่ประกอบอาชีพ นั้นตองมีค วามเขาใจและมีจิต สํานึกในการประกอบอาชีพ ดังนั้น การประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ผูปฏิบัติงานควรที่จะเรีย นรูสิ่งที่เกี่ยวของกับการทํางานเพื่อใหเปนชางเชื่ อมที่ มีคุ ณ ภาพ ซึ่งสิ่งที่ควรทราบมีดังตอไปนี้ 1. จรรยาบรรณในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ชางเชื่อมแม็กเปนงานชางที่มีงานเชื่อมอยูหลายประเภทและหลายระดับ ถาเปนงานวิศวกรรมควบคุม ตามกฏหมาย ผูป ระกอบวิชาชีพ วิศวกรรมตอ งมีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ของผูป ระกอบวิชาชีพ วิศวกรรมควบคุม ทั้ง นี้จ รรยาบรรณ ของชางเชื่อมแม็ก มีดังตอไปนี้ 1) ไมกระทําการที่อาจนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ 2) ปฏิบัติงานที่ไดรับอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ 3) ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมดวยความซื่อสัตยสุจริต 4) ไมใชอํานาจโดยที่ไมชอบธรรม หรือใชอิทธิพล หรือใหผลประโยชนแกบุคคลใด เพื่อใหตนเองหรือผูอื่นไดรับ หรือไมไดรับงาน 5) ไมเรียก รับ หรือยอมรับทรัพยสิน หรือผลประโยชนอยางใดสําหรับตนเองหรือผูอื่นโดยมิชอบ จากผูรับเหมา หรือบุคคลใดซึ่งเกี่ยวของในงานที่ทําอยูกับผูวาจาง 6) ไมโฆษณา หรือยอมใหผูอื่นโฆษณาเกินกวาความเปนจริง 7) ไมประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเกินความสามารถที่ตนเองจะกระทําได 8) ไมละทิ้งงานที่ไดรับโดยไมมีเหตุอันสมควร 9) ไมลงลายมือชื่อเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมในงานที่ตนเองไมไดรับทํา ตรวจสอบ หรือควบคุม ดวยตนเอง 10) ไมเปดเผยความลับของงานที่ตนไดรับทํา เวนแตไดรับอนุญาตจากผูวาจาง 11) ไมแยงงานจากผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น 12) ไมรับทํางาน หรือตรวจสอบงานชิ้นเดียวกันกับที่ผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่นทําอยู เวนแตเปนการทํางาน หรือตรวจสอบตามหนาที่ หรือแจงใหผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่นนั้นทราบลวงหนาแลว

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10 13) ไมรับดําเนินงานชิ้นเดีย วกันใหแ กผูวาจางรายอื่น เพื่อการแขงขันราคาเวนแตไดแ จงใหผูวาจางรายแรก ทราบลว งหนา เปน ลายลัก ษณอัก ษร หรือ ไดรับ การยิน ยอมเปน ลายลัก ษณอัก ษรจากผูวา จางรายแรก และไดแจงใหผูวาจางรายอื่นนั้นทราบลวงหนาแลว 14) ไมใ ชหรือคัดลอกแบบ รูป แผนผัง หรือเอกสาร ที่เกี่ย วกับงานของผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น เวนแตจะไดรับอนุญาตจากผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่นนั้น 15) ไมกระทําการใด ๆ โดยจงใจใหเปนที่เสื่อมเสียแกชื่อเสียง หรืองานของผูประกอบวิชาชีมวิศวกรรมควบคุม อื่น 2. การพัฒนาความรู ในโลกที่มีการเปลี่ย นแปลงอยางตอเนื่อง ไมวาจะเปนในเรื่องของเทคโนโลยี การสื่อสาร สภาพเศรษฐกิจ และขอมูล ขาวสารตาง ๆ ที่มีการสงถายถึงกันและกันเร็วขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วนี้เปนแรงผลักดั น ใหทุก คนต อง ตระหนักถึงความสําคัญของการเปลี่ยนแปลง ทําใหเกิดการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องอยูเสมอ เพื่อใหตนมีความพรอมรับมือ กับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ผูที่พัฒนาตนเองยอมเปนบุคคลที่ประสบความสําเร็จในหนาที่การงาน ไดรับความกาวหนาในสายอาชีพ ไดรับคํายกยอง สรรเสริ ญ มากกว า ผู ที่ ช อบทํ า งานตามคํ า สั่ ง ที่ ไ ด รั บ มอบหมายจากหั ว หน า งานเท า นั้ น ไม ส นใจที่ จ ะพั ฒ นาความรู และความสามารถของตนเอง โดยช างเชื่ อมนั้ นสามารถที่ จะพั ฒนาความรู ได โ ดยหลายวิ ธี ไม ว าจะเป นการถามจากผู รู หรื อการค นคว าหาข อ มู ล ในอินเทอรเน็ตเพิ่มเติม เพื่อพัฒนาความรูตัวเองอยูเสมอ หรือจะเปนการลงมือปฎิบัติเปนจํานวนหลายครั้งจนเกิดความชํ านาญ และเพิ่มประสบการณ ก็จะเปนการพัฒนาทางดานทักษะดานการปฎิบัติเพิ่มขึ้นได 3. หลักการวิเคราะหงาน การวิเคราะหงาน คือ กระบวนการที่ทําขึ้นเพื่อหาขอมูลเกี่ย วกับลักษณะงาน โดยทําใหรูวางานนั้นจะตองใชความรู ความสามารถ ความชํานาญ และความรับผิดชอบอยางไรจึงจะทํางานนั้นใหสําเร็จ นอกจากนั้นการวิเคราะหงาน ยังมีรวมไปถึง การวิเคราะหเชิงปริมาณ การศึกษารายละเอียดลักษณะงาน การศึกษาเวลา วิธีการปรับปรุงงานใหดีขึ้น และการประเมินผล ของงาน ประโยชนของการวิเคราะหงาน การวิ เคราะห งานเป นเครื่ องมื อที่ สํ าคั ญของการบริ หารงาน ซึ่ งทํ าให รู ถึ งหน าที่ แ ละความรั บผิ ดชอบของงาน ความสัม พันธกับ งานอื่ น ความรูความสามารถของผู ปฏิบั ติง านและสภาพของการทํ างาน โดยการวิเ คราะห ง าน มีวัตถุประสงคที่สําคัญดังตอไปนี้ 15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10 1) การจะทํางานนั้นสําเร็จลงไดตองใชแรงงานเทาไร 2) งานนั้นจะทําเสร็จลงเมื่อไร 3) งานนั้นจะทําสําเร็จในขั้นไหน 4) ผูปฏิบัติงานนั้นจะตองทํางานอยางไร 5) ทําไมจึงตองทํางานนั้น 6) คนที่ทํางานนั้นจะตองมีคุณสมบัติ อยางไร โดยชางเชื่อมควรจะวิเคราะหงานกอนที่จะลงมือปฎิบัติงานนั้น เพื่อที่จะไดทํางานอยางมีแบบแผน เปนขั้นเป น ตอน ไดรูวา จะตอ งใชเ ครื่อ งมือ ใดในการทํา งาน และควรลงมือ ปฏิบัติสิ่ง ใดเปน อัน ดับ แรก โดยเมื่อ เราไดวางแผนงาน ไวอยางดีแลว ก็จะทําใหสามารถปฎิบัติงานนั้นไดอยางรวดเร็วและตรงตามเปาหมาย 4. การแกไขปญหาในการปฎิบัติงาน 4.1 การวิเคราะหและกําหนดรายละเอียดของปญหา 60

60

ในการที่จ ะแกปญหาใดปญ หาหนึ่งไดนั้น สิ่ง แรกที่ตองทํา คือ ทําความเขาใจในปญหา แลว แยกปญหาใหออก วาอะไรเปนสิ่งที่ตองหา แลวมีอะไรเปนขอมูลที่กําหนด และมีเงื่อนไขใดบาง หลังจากนั้นจึงพิจารณาวาขอมูล และเงื่อนไข ที่กําหนดใหนั้นเพีย งพอที่จะหาคําตอบของปญหาไดหรือไม ถาไมเพีย งพอ ใหหาขอมูลเพิ่มเติมเพื่อที่จะสามารถแกไข ปญหาได ดังนี้ 1) การระบุขอมูลเขา ไดแก การพิจารณาขอมูลและเงื่อนไขที่กําหนดมากับปญหา 2) การระบุขอมูลออก ไดแก การพิจารณาเปาหมายหรือสิ่งที่ตองหาคําตอบหรือผลลัพธ 3) การกําหนดวิธีประมวลผล ไดแก การพิจารณาวิธีหาคําตอบหรือผลลัพธ 4.2 วางแผนในการแกปญหา การทําความเขาใจกับปญหาจะชวยให เกิ ดการคาดคะเนวาจะใชวิ ธีการใดในการแกปญหา ซึ่งประสบการณของผู 60

แกปญหามีสวนชวยอยางมาก ดังนั้น ในกรณีที่มีประสบการณมากอนควรจะใชประสบการณเปนแนวทางในการแกปญหา โดย พิจารณาวาวิธีก ารแกปญ หาเดิม นั้ น มี ค วามเหมาะสมกั บ ป ญ หาหรื อ ไม หรือ ตอ งมีการปรับปรุงเพื่ อใหไ ดวิธี ก าร แกปญหาที่ดีขึ้น ในกรณีที่ไมเคยมีประสบการณใ นการแกปญหาทํานองเดียวกันมากอน ควรเริ่มจากการมองที่ปญหา แลวพยายาม หาวิธีการเพื่อใหไดความสัม พั นธระหวา งสิ่งที่ ต องการหากับข อมูล ที่มีอยู เมื่อไดความสัม พันธแ ลวต องพิ จารณาว า

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10 ความสัม พันธน้ันสามารถหาคําตอบไดหรือไม ถาไมไดก็แ สดงวาตองหาขอมูลเพิ่มเติมหรืออาจจะตองหาความสัมพันธ ในรูปแบบอื่นตอไป เมื่อไดแนวทางในการแกปญหาแลวจึงวางแผนในการแกปญหาเปนขั้นตอน 4.3 ดําเนินการแกปญหาตามแนวทางที่วางไว 60

60

เมื่อไดวางแผนแลวก็ดําเนินการแกปญหา ระหวางการดําเนินการแกปญหาอาจทําใหเห็นแนวทางที่ดีกวาวิธีที่ คิดไว ก็สามารถนํามาปรับเปลี่ยนได 4.4 การตรวจสอบ 60

60

เมื่อไดวิธีการแกปญหาแลวจําเปนตองตรวจสอบวา วิธีการแกปญหาไดผลลัพธถูกตองหรือไม โดยปญหาที่เกิดขึ้น สวนมากจะเปนปญหาหนางานซึ่งก็คื อ การลงมือปฏิบัติ เมื่อเราเจอปญหาแลวก็ใ หตั้งสติคิดหาทางแกไขปญหานั้ น วาในอดีตเคยเจอปญหาแบบนี้ไมแลวหรือยัง ถาเปนปญหาแบบเดิมที่เคยเจอมาก็ใชวิธีแ กแบบเดิม แตถาเปนปญหาใหม ที่เราไมเคยเจอก็อาจจะตองไปถามผูอื่นที่รูวิธีแกไขในปญหานี้ 5. การใหคําแนะนําแกผูใตบังคับบัญชา ผูที่ไดรับตําแหนงเปนหัวหนางานและมีลูกนองที่จะตองรับผิดชอบ ผูที่เปนหัวหนามีหนาที่ตองใหความชวยเหลือลูก น อง เมื่อเขาประสบปญหาตาง ๆ ที่ไมอาจจะแกไขไดดวยตนเอง เมื่อมีปญหาเกิดขึ้นแลวแกไขไมไดอาจเปนตนเหตุของสาเหตุอันรุนแรงที่ทําใหการทํางานมีปญหา เชน ขาดงาน มาสาย ทํางานไมสําเร็จ ทํางานผิดพลาด ซึ่งลวนแตเปนอั น ตรายต อ ความสําเร็จ ของงาน ดังนั้น หัวหนางานจําเป น ตองเขา ใจ และใหค วามชวยเหลืออยางใหดีที่สุด เพื่อ เปน การแกไขปญ หาของการทํางานไปดวย โดยมีหลัก 10 ประการเพื่อเปน แนวทางในการใหคําปรึกษาแกลูกนอง ดังตอไปนี้ หลัก 10 ประการในการใหคําปรึกษา 1) หัวหนางานจะตองเปนผูที่ “รับฟง” ลูกนองเสมอ 2) พูดนอย ๆ ปลอยใหลูกนองพูดมาก ๆ 3) สังเกตพฤติกรรมของลูกนองตลอดเวลา ทั้งการพูด และทาทาง 4) พยายามเขาใจปญหา และสาเหตุอยางชัดเจน 5) พยายามเก็บความลับของลูกนองทุกคน 6) มีความเห็นอกเห็นใจลูกนอง และมุงมั่นที่จะชวยเหลือ 7) มีความมั่นคงทางอารมณ ไมปลอยอารมณใหออนไหวตาม 8) ตระหนักเสมอวาปญหาที่เกิดขึ้นอาจจะแกไขไดหรือไมได 17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10 9) ถาไมสามารถชวยลูกนองได ตองแสวงหาขอมูลหรือบุคคลที่จะชวยเหลือได 10) ใหลูกนองจากไปดวยความรูสึกที่ดีตอเรา และอยากกลับมาเมื่อจําเปน โดยเมื่อเราเปนชางเชื่อมแลว อาจจะตองมีลูกนองเขามาชวยในการทํางานเมื่อเกิดปญหาขึ้นและไมมีทางออก เมื่อลูกนอง นําปญหามาปรึกษา ผูที่เปนหัวหนาจําเปนอยางยิ่งที่ควรจะประพฤติตัวเปนหัวหนาที่ดี ใหคําปรึกษาที่เหมาะสมแกลู กน อ ง ไมดุดาวา หรือใชอารมณ โดยทําตามหลัก 10 ประการที่กลาวไวขางตน

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดไมใชจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพที่ดี ก. ไมกระทําการใด ๆ อันอาจนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ ข. ตองปฏิบัติงานที่ไดรับทําอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ ค. ตองประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ดวยความซื่อสัตยสุจริต ง. ใชอํานาจหนาที่ หรือใชอิทธิพล หรือใหผลประโยชนแกบุคคลใดเพื่อใหตนเองหรือผูอื่นไดรับหรือไมไดรับงาน 2. ขอใดกลาวถูกตอง ก. การทํางานตองคํานึงถึงผลกําไรมาเปนอันดับแรก ข. ในการเชื่อมตองยอมรับวาเปนงานที่มีอันตราย ดังนั้น เรื่องความปลอดภัยจึงเปนเรื่องที่มีความสําคัญ ค. ชางเชื่อมจะใหดีจะตองมีการฝกฝนฝมืออยูตลอดเวลาเพื่อใหเชื่อมดีอยูเสมอ ง. เราควรเลือกเครื่องที่มียี่หอเพราะเครื่องมือเหลานั้นมีมาตรฐาน 3. บุคคลใดมีความซื่อสัตย ก. นิกรพูดโกหกเปนประจํา ข. พงศักดิ์เก็บของไดแลวไมคืน ค. สุเมธหยิบของเพื่อนมาใชแลวไมคืน ง. มาลียอมรับวาตัวเองไดทําความผิด 4. ขอใดไมใชวิธีการพัฒนาตนเองของชางเชื่อม ก. สอบถามจากผูรู ข. คนควาหาขอมูลเพิ่มเติมในอินเทอรเน็ต ค. ปฏิบัติงานหลายครั้งเพื่อใหเกิดความชํานาญ ง. ทํางานตามคําสั่งของหัวหนางานอยางเครงครัด

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10 5. นพดลพิจารณาขอมูลและรายละเอีย ดของงานที่ตองปฏิบัติ เพื่อใหเสร็จตามระยะเวลาที่นายจางกําหนด เปนวิธีการใด ในการแกไขปญหา ก. การวิเคราะหและกําหนดรายละเอียดของปญหา ข. ดําเนินการแกปญหาตามแนวทางที่วางไว ค. วางแผนในการแกปญหา ง. การตรวจสอบ 6. ขอใดไมใชสิ่งที่หัวหนางานควรปฏิบัติตอลูกนอง ก. ไมเปดเผยความลับของลูกนอง ข. ทําใหลูกนองเห็นวาปญหาทุกอยางสามารถแกไขได ค. รับฟงปญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานของลูกนอง ง. สังเกตพฤติกรรมของลูกนอง ทั้งการพูด และทาทาง 7. บุคคลใด ไมไดปฏิบัติงานเชื่อมตามหลักการวิเคราะหงาน ก. สมชายอธิบายขั้นตอนการทํางานแกผูรวมงาน ข. สมหมายแจงนายจางวางานจะเสร็จภายใน 1 เดือน ค. สมานแบงงานใหลูกนอง ตามความสมัครใจของแตละคน ง. สมปองประเมินงานและบอกจํานวนแรงงานที่ตองใชในการปฏิบัติงาน

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4 5 6 7

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

คณะผูจ ดั ทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช 4. นายสุรพล

เบญจาทิกุล พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.