คู่มือผู้รับการฝึก ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 2 โมดูล 11

Page 1

หน้าปก



คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

คู่มือผู้รับการฝึก 0920164170202 สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2

ชุดการฝึกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝึกที่ 11 09217313 การวิเคราะห์และแก้ไขข้อขัดข้องของเครื่องปรับอากาศ

กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

คานา คู่มือผู้รับการฝึก สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 โมดูล 11 การวิเคราะห์ และแก้ไ ขข้อ ขัด ข้อ งของเครื ่อ งปรับ อากาศฉบั บนี้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของหลั กสู ตรฝึ กอบรมฝี มื อแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่ งพั ฒ นาขึ้ นเพื่ อ ใช้ เ ป็ น เอกสารประกอบการจั ด การฝึ ก อบรมกั บชุ ด การฝึ ก ตาม ความสามารถ โดยได้ดาเนินการภายใต้โครงการพัฒนาระบบฝึกและชุดการฝึกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้วย ระบบการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้รับการฝึกได้ใช้เป็นเครื่องมือในการฝึกอบรมให้เป็นไปตามหลักสูตร กล่าวคือ หลังเรียนจบโมดูลการฝึก ผู้รับการฝึก สามารถอธิบายวิธีการแก้ไข และปฏิบัติงานเพื่อแก้ไข ปรับตั้ง ระบบไฟฟ้า ระบบสารทาความเย็น และแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิด จากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วและแคปปิลลารี่ทิ้วป์ได้อย่างถูกต้อง ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่งเสริมให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถฝึกฝนเรียนรู้ได้ ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลายไปให้แก่ ผู้ รับการฝึ กอบรม และต้องการให้ ผู้ รั บ การฝึ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู้ ด้ว ยตนเอง การฝึ กปฏิบัติจะด าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเน้นผลลัพธ์การฝึกอบรมในการที่ทาให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต้องการ โดยยึดความสามารถของผู้รับ การฝึกเป็นหลัก การฝึกอบรมในระบบดังกล่าว จึงเป็นรูปแบบการ ฝึกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ละสาขาอาชีพ จะถูก กาหนดเป็นรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับการฝึกอบรมจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึกจะต้องเรียนรู้และฝึกฝนจนกว่าจะ สามารถปฏิบัติเองได้ ตามมาตรฐานที่กาหนดในแต่ละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การส่งมอบการฝึก สามารถดาเนินการได้ ทัง้ รูปแบบการเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Paper Based) และผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ (Computer Based) โดยผู้รับการฝึกสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Learning) ที่บ้านหรือที่ทางาน และเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติตามความพร้อม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถกับหน่วยฝึก โดยมีครูฝึกหรือผู้สอนคอยให้คาปรึกษา แนะนาและจัดเตรียมการฝึกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดาเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่าง ๆ อันจะทาให้สามารถเพิ่มจานวนผู้รับการฝึกได้มากยิ่งขึ้น ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ดงบประมาณค่าใช้จ่ ายในการพัฒ นาฝี มือแรงงานให้ แก่กาลั งแรงงานในระยะยาว จึงถือเป็นรูปแบบการฝึ กที่มี ความสาคัญต่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนาระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยทาให้ประชาชน ผู้ใช้แรงงานผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และผู้ประกอบอาชีพอิสระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

สารบัญ เรื่อง

หน้า

คานา

สารบัญ

ข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

1

โมดูลการฝึกที่ 11 09217313 การวิเคราะห์และแก้ไขข้อขัดข้องของเครื่องปรับอากาศ หัวข้อวิชาที่ 1 0921731301 การแก้ไขระบบสารทาความเย็น หัวข้อวิชาที่ 2 0921731302 การแก้ไขระบบไฟฟ้าภายในเครื่องปรับอากาศ หัวข้อวิชาที่ 3 0921731303 วิธีการปรับและติดตั้งความแตกต่างของช่วงการทางาน อุปกรณ์ควบคุมความดัน หัวข้อวิชาที่ 4 0921731304 ข้อบกพร่องที่เกิดจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว และแคปปิลลาลี่ทิ้วป์ได้ คณะผู้จัดทาโครงการ

ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

14 22 31 50 70



คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ข้อแนะนาสาหรับผูร้ ับการฝึก ข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก คือ คาอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคู่มือ และขั้นตอนการเข้ารับการฝึก ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 6 ข้อ ดังนี้

1. รายละเอียดของคู่มือ 1.1 โมดูลการฝึก / หัวข้อวิชา หมายถึง โมดูลการฝึกที่ครูฝึกต้องจัดการฝึกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด้วย หัวข้อวิชาที่ผู้รับ การฝึ กต้องเรี ย นรู้ และฝึกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข้อวิชาเป็นตัว กาหนดความสามารถ ที่ต้องเรียนรู้ 1.2 ระยะเวลาการฝึก หมายถึง จานวนชั่วโมงในการฝึกอบรม เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของแต่ละโมดูล 1.3 ระบบการฝึกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝึกที่เกิดจากการนาความรู้ ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จาเป็นสาหรับการทางานมาเป็นฐาน (Based) ของการจัดฝึกอบรม หรือนามากาหนดเป็นเนื้อหา (Content) และเกณฑ์ก ารประเมิน การฝึก อบรม ทาให้ผู้รับ การฝึก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด และตามความสามารถในการเรียนรู้ของผู้รับการฝึกเป็นหลัก 1.4 ชุดการฝึก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้สาหรับเป็นอุปกรณ์ช่วยฝึก โดยแต่ละโมดูลประกอบด้วย คู่มือครูฝึก คู่มือผู้รับการฝึก คู่มือประเมิน สื่อวีดิทัศน์ 1.5 ระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนาระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใช้ในการจัดการเรียนรู้และฝึกอบรม เช่น ระบบรับสมัครออนไลน์ ระบบลงทะเบียน เข้า รับ การฝึก อบรมออนไลน์ ระบบการฝึก อบรมภาคทฤษฎีผ่านอุปกรณ์อิเล็ก ทรอนิก ส์ห รือ อุปกรณ์สื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน์ การบันทึกผลการฝึกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น โดยการเข้า ใช้ง านระบบ แบ่งส่ว นการใช้ง านตามความรับผิด ชอบของผู้มีส่ว นได้ส่ว นเสีย ดัง ภาพในห น้า 2 ซึ่งรายละเอียดการใช้งานของผู้เข้ารับการฝึกสามารถดูได้จากลิงค์ mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

2. ผังการฝึกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

3. วิธีการฝึกอบรม 3.1 ผู้รับการฝึก ทาความเข้าใจการฝึกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝึกอบรมได้ 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) โดยในแต่ละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกต่างกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) คือ การฝึก อบรมที่ผู้รับ การฝึกเรียนรู้ ภ าคทฤษฎี (ด้า นความรู้) ด้ว ยตนเอง โดยครูฝึก เป็นผู้ส่งมอบ คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) แก่ผู้รับการฝึก และฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ครูฝึกส่งมอบให้ การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเข้า รับ การฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้า มี) หรือ เข้า รับ การฝึก ในโมดูล ถัด ไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึกมา ฝึกภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก

4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

2) ผู้รับการฝึกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานก่อนเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝึก แล้วฝึก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูผู้ฝึกประเมินผล และวิเคราะห์ผลงานร่วมกับครูฝึกเพื่อให้มาตรฐาน เป็นไปตามเกณฑ์การประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึก มาสอบภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงจากครูฝึก แล้วสอบปฏิบัติงานตามคาชี้แจง 3) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 4) ผู้รับการฝึกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝึก 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึก และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึกโดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึกมา ฝึกภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผู้รับการฝึกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานก่อนเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝึก แล้วฝึก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูผู้ฝึกประเมินผล และวิเคราะห์ผลงานร่วมกับครูฝึกเพื่อให้มาตรฐาน เป็นไปตามเกณฑ์การประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึก มาสอบภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงจากครูฝึก แล้วสอบปฏิบัติงานตามคาชี้แจง 3) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 4) ผู้รับการฝึกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝึก 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเองผ่านระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่เป็นสื่อออนไลน์ในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม วิธีดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning - ผู้รับการฝึกดาวน์โหลดแอปพลิ เคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวน์โหลดแอปพลิ เ คชัน สามารถแบ่งออกเป็น 2 ช่องทางตามแต่ละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ iOS ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้

6 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

2) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ Android ค้นหา แอปพลิ เ คชั น DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวน์ โ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง จากคู่มือผู้รับการฝึก ซึ่งเป็นสื่อออนไลน์บนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจแล้วจึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันฝึกภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึกมา ฝึกภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผู้รับการฝึกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานก่อนเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝึก แล้วฝึก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูผู้ฝึกประเมินผล และวิเคราะห์ผลงานร่วมกับครูฝึกเพื่อให้มาตรฐาน เป็นไปตามเกณฑ์การประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึก มาสอบภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด

7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

- หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงจากครูฝึก แล้วสอบปฏิบัติงานตามคาชี้แจง 3) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 4) ผู้รับการฝึกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน 3.2 ครูฝึกชี้แจงรูปแบบการฝึกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแก่ผู้รับการฝึก เพื่อทาการตกลงรูปแบบการฝึกอบรมร่วมกับผู้รับการฝึก โดยให้ผู้รับการฝึกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝึกวางแผนการฝึกตลอดหลักสูตรร่วมกันกับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึกและช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึก ผู้รับการฝึกสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ช่วยฝึกได้ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝึก ด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) โดยมีช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึกแต่ละรูปแบบแตกต่างกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และการระบุความสามารถด้านความรู้ ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ต่ากว่าร้อยละ 70

เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC) 8

กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และการระบุความสามารถด้านทักษะ ดังนี้ เกณฑ์การประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป หรือทา ได้ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน ต่ากว่าร้อยละ 70 หรือ ไม่ สามารถทาได้ ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน

เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)

ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูลนั้น ๆ ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนั้น และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการฝึกนั้น ๆ แล้ว

6. เงื่อนไขการผ่านการฝึก ผู้รับการฝึกที่จะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบหลังฝึก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนามาคิดแบ่งเป็นสัดส่วน ภาคทฤษฏี คิดเป็นร้อยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเป็นร้อยละ 80 เมื่อนาคะแนนมารวมกัน ผู้รับการฝึกจะต้องได้ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านเกณฑ์ ทั้งนี้ ผู้รับการฝึกจะต้องทาคะแนนผ่านเกณฑ์ทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผ่านโมดูลการฝึก

9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้าน และการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164170202

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒ นาขึ้น ให้ครอบคลุมด้านความรู้ ทั กษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึกในสาขาช่างเครื่องปรับอากาศ ในบ้า นและการพาณิช ย์ข นาดเล็ก เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า การอ่านแบบ และวงจรทางไฟฟ้า 1.2 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศระบบ 3 เฟส อุปกรณ์และหลักการทางานของ ระบบควบคุมต่าง ๆ ที่อยู่ในเครื่องปรับอากาศ 1.3 มีความรู้ความสามารถในการตัด ปรับแต่ง ขยาย บาน ดัด และเชื่อมท่อ 1.4 มีความรู้ ความสามารถเกี่ยวกับหลักการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส 3 เฟส และการต่อมอเตอร์ หลายความเร็ว 1.5 มีความรู้เกี่ยวกับการเลือกใช้ชนิดและขนาดของคอมเพรสเซอร์ได้อย่างเหมาะสม 1.6 มีความรู้ความสามารถในการประกอบติดตั้งระบบท่อสารทาความเย็นที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ 1.7 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับหลักการและวิธีการหล่อลื่นอุปกรณ์ในระบบเครื่องปรับอากาศ 1.8 มีความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บสารทาเย็น เพื่อการเคลื่อนย้ายหรือการซ่อมบารุงโดยการปั๊มดาวน์ หรือ ใช้เครื่องเก็บสารทาความเย็นอย่างถูกต้อง และการจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็นเพื่อป้องกันความชื้น 1.9 มีความรู้ความสามารถในการทาความสะอาดระบบ เมื่อภายในระบบมีความชื้น 1.10 มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ และการวัดค่าต่าง ๆ 1.11 มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และแก้ไขข้อขัดข้องของเครื่องปรับอากาศ 2. ระยะเวลาการฝึก ผู้ รั บ การฝึ กจะได้รั บ การฝึ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบั ติ โดยสถาบันพัฒ นาฝี มือแรงงาน หรือสานักงานพัฒนา ฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถใช้ระยะเวลาในการฝึก 72 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป็ น การฝึ ก ที่ ขึ้ น อยู่ กั บ พื้ น ฐานความรู้ ทั ก ษะ ความสามารถและความพร้ อ มของผู้ รั บ การฝึ ก แต่ละคน มีผลให้ผู้รับการฝึกจบการฝึกไม่พร้ อมกัน สามารถจบก่อนหรือเกินระยะเวลาที่กาหนดไว้ในหลั กสูตรได้ หน่วยฝึกจึงต้องบริหารระยะเวลาในการฝึกให้เหมาะสมตามความจาเป็น ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการ 10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือผู้อานวยการสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หน่วยความสามารถและโมดูลการฝึก จานวนหน่วยความสามารถ 11 หน่วย จานวนโมดูลการฝึก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 4.2 ชื่อย่อ : วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 4.3 ผู้ รั บ การฝึ ก ที่ ผ่ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ่ า นการฝึ ก ครบทุ ก หน่ ว ยความสามารถ จะได้ รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2

11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

รายละเอียดโมดูลการฝึกที่ 11 1. ชื่อหลักสูตร

สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 การวิเคราะห์และแก้ไขข้อขัดข้องของเครื่องปรับอากาศ

รหัสหลักสูตร 0920164170202 2. ชื่อโมดูลการฝึก รหัสโมดูลการฝึก 09217313 3. ระยะเวลาการฝึก รวม 10 ชั่วโมง 15 นาที ทฤษฎี 2 ชั่วโมง 15 นาที ปฏิบัติ 8 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหน่ว ย หน่ ว ยการฝึ กนี้ พัฒ นาขึ้นให้ ครอบคลุ มด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้ รับการฝึ ก การฝึก เพื่อให้มีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายวิธีการแก้ไขระบบสารทาความเย็นได้ 2. อธิบายวิธีการแก้ไขระบบไฟฟ้าภายในเครื่องปรับอากาศได้ 3. อธิบายวิธีการปรับและติดตั้งความแตกต่างของช่วงการทางานอุปกรณ์ควบคุม ความดันได้ 4. ปรับและติดตั้งความแตกต่างของช่วงการทางานอุปกรณ์ควบคุมความดันได้ 5. อธิบายวิธีการแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วและแคปปิลลารี่ทิ้วป์ได้ 6. วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วและแคปปิลลารี่ทิ้วป์ได้ 5. พื้นฐาน ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวิธีการแก้ไข และปฏิบัติงานเพื่อแก้ไข ปรับตั้ง ระบบไฟฟ้า ผู้รับการฝึก ระบบสารท าความเย็ น และแก้ ไ ขข้ อ บกพร่ อ งที่ เ กิ ด จากเอ็ ก ซ์ แ พนชั่ น วาล์ ว และแคปปิลลารี่ทิ้วป์ หรือผ่านการฝึกอบรมที่เกี่ยวข้องจากหน่วยงานหรือสถาบันที่ เชื่อถือได้ 2. ผู้รับการฝึกผ่านระดับ 1 มาแล้ว 3. ผู้รับการฝึกผ่านโมดูลที่ 10 มาแล้ว 6. ผลลัพธ์การเรียนรู้ : เมื่อสาเร็จการฝึกในโมดูลนี้แล้วผู้รับการฝึกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรู้ความสามารถและใช้ ระยะเวลาฝึก ดังนี้ ระยะเวลาฝึก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธ์การเรียนรู้ ชื่อหัวข้อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายวิธีการแก้ไขระบบ หัวข้อที่ 1 : การแก้ไขระบบสารทาความเย็น 0:30 0:30 สารทาความเย็นได้

12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

2. อธิบายวิธีการแก้ไขระบบไฟฟ้า หัวข้อที่ 2 : การแก้ไขระบบไฟฟ้าภายใน ภายในเครื่องปรับอากาศได้ เครื่องปรับอากาศ 3. อธิบายวิธีการปรับและติดตั้ง หัวข้อที่ 3 : วิธีการปรับและติดตั้งความแตกต่าง ความแตกต่างของ ของช่วงการทางานอุปกรณ์ควบคุม ช่วงการทางานอุปกรณ์ควบคุม ความดัน ความดันได้ 4. ปรับและติดตั้งความแตกต่าง ของช่วงการทางานอุปกรณ์ ควบคุมความดันได้ 5. อธิบายการแก้ไขข้อบกพร่องที่ หัวข้อที่ 4 : ข้อบกพร่องที่เกิดจาก เกิดจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วและ เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว และ แคปปิลลารี่ทิ้วป์ได้ แคปปิลลารี่ทิ้วป์ได้ 6. วิเคราะห์ และแก้ไข ข้อบกพร่องที่เกิดจาก เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว และ แคปปิลลารี่ทิ้วป์ได้ รวมทั้งสิ้น

13 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

0:30

-

0:30

0:30

4:00

4:30

0:45

4:00

4:45

2:15

8:00

10:15


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 1 0921731301 การแก้ไขระบบสารทาความเย็น (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ - อธิบ ายวิธีการแก้ไขระบบสารทาความเย็น ได้

2. หัวข้อสาคัญ - การแก้ไขระบบสารทาความเย็น

3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก

6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจน เข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการ ประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก

7. บรรณานุกรม เชียงใหม่แอร์แคร์เอ็นจิเนียริ่ง. 2560. การตรวจเช็คเครื่องปรับอากาศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.chiangmaiaircare.com/การตรวจเช็ค-และแก้ไขข้อขัดข้อง-ของเครื่องปรับอากาศ/ เชียงใหม่แอร์แคร์เอ็นจิเนียริ่ง. 2560. ท่อแคปปิลลารี่. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.chiangmaiaircare.com/ท่อแคปปิลลารี่-capillary-tube/ เวลล์ฟรอซ เอ็นจิเนียริ่ง. 2556. วิธีแก้ไขข้อขัดข้อง เครื่องปรับอากาศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://wellfroze.com/index.php?route=information/news&news_id=10

15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 1 การแก้ไขระบบสารทาความเย็น 1. การแก้ไขระบบสารทาความเย็น การแก้ไขความผิดปกติของระบบสารทาความเย็น ทาได้หลายวิธีทั้งแบบที่ผู้ใช้สามารถทาได้ด้วยตนเอง หรืออาจต้องใช้ บริการช่างแอร์ที่มีความชานาญมาทาการแก้ไขให้ ความผิดปกติของระบบสารทาความเย็นนั้ นมีด้วยกันหลายรูปแบบ เช่น น้ายาในระบบมีน้อยหรือมากเกินไป การอุดตันของท่อและระบบต่าง ๆ ในแอร์ รวมถึงความผิดปกติที่อาจเกิดจากคอมเพรสเซอร์ เป็นต้น ปัญหาที่ได้กล่าวข้างต้นนั้นสามารถวิเคราะห์ตรวจหาสาเหตุได้จากการทดสอบระบบขั้นพื้นฐาน ซึ่งโดยปกติ ช่างจะ ทาการตรวจสอบความดั นของน้ ายาในระบบโดยใช้เกจวัดความดัน เพื่อตรวจหาค่า Low และ High ทั้งนี้อาจมีการตรวจ กระแสไฟเพื่อดูความผิ ดปกติในระบบจ่ ายไฟ การตรวจหาค่าอุณหภูมิภายในห้อง นอกห้อง รวมถึงที่ FCU ทั้งด้านดูด และ ด้านเป่า ซึ่งมีข้อสังเกตที่เป็นไปได้ดังนี้ - ความดันของน้ายาทางท่อซัคชั่นสูงกว่าปกติ หรืออุณหภูมิทางอีวาพอเรเตอร์สูงกว่าปกติ สาเหตุอาจเกิดจาก มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ชารุด - ความดันของน้ายาทางท่อซัคชั่นสูงกว่าปกติ หรืออุณหภูมิทางอีวาพอเรเตอร์ต่ากว่าปกติ สาเหตุอาจเกิดจาก มีน้ายาในระบบมากเกินไป - ความดันของน้ายาทางท่อซัคชั่นต่ากว่าปกติ หรืออุณหภูมิทางอีวาพอเรเตอร์สูงกว่าปกติ สาเหตุอาจเกิดจาก มีน้ายาในระบบน้อยหรือมีการอุดตันภายในระบบ จากข้อสันนิษฐานเบื้องต้นมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1.1 น้ายาในระบบมีน้อย ปัญหาน้ายาในระบบมีน้อยเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น น้ายาแอร์รั่วหรือน้ายาแอร์ซึม เป็นต้น สาหรับกรณี น้ายาแอร์รั่ว อาจเกิดจากความไม่ประณีตในการติดตั้งระบบ กล่าวคือช่างไม่มีความรู้ในการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ การใช้ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ที่ ไ ม่ ไ ด้ ม าตรฐานไม่ เ หมาะสมกั บ ชิ้ น งาน อาจเกิ ด ความผิ ด ปกติ เ บื้ อ งต้ น คื อ ต้ อ งเติ ม น้ ายาแอร์ ประมาณ 3 เดือน ต่อครั้ง หรือเมื่อทาการตรวจสอบท่อ ขั้วต่อต่าง ๆ อาจพบเห็นรูรั่ว หรือจุดที่รั่วได้อย่างชั ดเจน เช่น คราบน้ามันรอบ ๆ บริเวณที่รั่ว เป็นต้น สาหรับกรณีน้ายาแอร์ซึม อาจเกิดจากได้จากหลายสาเหตุเช่นกันแต่โดยปกตินั้น จะเกิดจากความเสื่อมสภาพเนื่องจากมีอายุการใช้งานที่ยาวนาน เช่น ความเสื่อมของซีล ยาง หรือท่อ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม โดยส่วนใหญ่จะพบว่าอุณหภูมิลมเย็นด้านส่งจะไม่แตกต่างกับอุณหภูมิลมกลับ การใช้กระแสไฟฟ้าขณะเครื่องทางานและ ความดันในระบบที่ท่อซัคชั่นต่ากว่าปกติ ดังตัวอย่างกรณีศึกษาดังนี้

16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

- ปัญหาแอร์ไม่ค่อยเย็น แอร์ขนาด 18000 btu ช่างทาการตรวจหาค่าต่าง ๆ ได้คือ แรงดันน้ายาด้าน High 220 psig Low 40 psig อุณหภูมิ นอกอาคาร 35 องศาเซลเซียส ที่ CDU ด้านดูด 35 องศาเซลเซียส ด้านเป่า 39 องศาเซลเซียส อุณหภูมิในห้อง 28 องศาเซลเซียส ที่ FCU ด้านดูด 28 องศาเซลเซียส ด้านเป่า 18 องศาเซลเซียส อุณหภูมิท่อน้ายาด้านส่ง 40 องศาเซลเซียส Suction 12 องศาเซลเซียส กระแสคอมพ์ 6 แอมป์ แรงดันไฟฟ้า 220 โวลต์ จากกรณีศึกษาข้างต้นสรุปได้ว่าน้ายาแอร์มากเกินไป ในการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นสามารถทาได้ด้วยวิธีการดังต่อไปนี้ - การตรวจรอยรั่วของระบบ หากไม่พบรอยรั่วให้บรรจุน้ายาเข้าในระบบให้ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด - ถ้าพบรอยรั่ว ให้ปล่อยน้ายาจากในระบบออกให้หมด แล้วทาการซ่อมรอยรั่ว - ทาสุญญากาศระบบจากนั้นบรรจุน้ายาเข้าในระบบให้ได้ตามเกณฑ์ - ทาการตรวจรอยรั่วอีกครั้ง 1.2 น้ายาในระบบมีมากเกินไป น้ายาในระบบมีมากเกินไป เป็น สาเหตุทาให้อุณหภูมิลมเย็นที่ส่งออกแตกต่างกับอุณหภูมิลมกลับประมาณ 8 องศาเซลเซียส ขณะเครื่องทางานจะใช้กระแสไฟฟ้าสูงกว่าปกติ ความดันของน้ายาทั้งด้านความดันต่าและความดันสูง มีปริมาณมากกว่าปกติและอาจมีน้าแข็งจับที่ท่อซัคชั่น ซึ่งมีกรณีตัวอย่างให้ศึกษาดังนี้ - อาการแอร์ไม่ค่อยเย็น แอร์ขนาด 12000 btu. วัดค่าต่าง ๆ ได้ดังนี้ แรงดันน้ายา High 320 psig Low 90 psig อุณหภูมินอกอาคาร 35 องศาเซลเซียส ที่ CDU ด้านดูด 35 องศาเซลเซียส ด้านเป่า40 องศาเซลเซียส อุณหภูมิในห้อง 28 องศาเซลเซียส ที่ FCU ด้านดูด 28 องศาเซลเซียส ด้านเป่า 18 องศาเซลเซียส อุณหภูมิท่อน้ายาด้านส่ง 43 องศาเซลเซียส Suction 12 องศาเซลเซียส กระแสคอมพ์ 6.5 แอมป์ แรงดันไฟฟ้า 220 โวลต์ จากกรณีศึกษาข้างต้นสรุปได้ว่าน้ายาแอร์ในระบบมีมากเกินไป ในการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นสามารถทาได้ดังต่อไปนี้ - ปล่อยน้ายาในระบบออกจนความดันของน้ายาอยู่ในเกณฑ์ปกติ 17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

- ตรวจหารอยรั่วของระบบใหม่ 1.3 การอุดตันของน้ายาในระบบ การอุดตันของน้ายาในระบบเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ โดยมากจะเกิดจากสิ่งสกปรกเข้าไปอุดตันแผ่นกรอง อากาศ นอกจากนั้นอาจพบได้ว่ามีการอุดตันของน้ายาในท่อทาให้น้ายาไม่สามารถเดินในระบบได้ อาจก่อให้เกิดปัญหา เป็นก้อนน้าแข็งอุดตันหรือน้าแข็งติดในแผงคอยล์เย็น ในบางกรณี เ กิด น้าแข็ง จับ ที่อีว าพอเรเตอร์ห รือ ท่อ ซั ค ชั่น ขณะที่เครื่องทางานจะใช้กระแสไฟฟ้าต่ากว่าปกติ ความดันของน้ายาที่ท่อซัคชั่นจะต่ามาก สาเหตุอาจเกิดจากการ อุดตันที่ตะแกรงกรองหรือท่อแคปปิลลารี่ เช่นเดียวกัน โดยมากมักพบอาการเบื้องต้นคือ มีน้าแข็งเกาะตัวที่อุปกรณ์ มีฝุ่นจานวนมากติดที่แผ่นกรอง หรือมีน้าหยดจากระบบ อย่างไรก็ตามการวิเคราะห์หาสาเหตุด้วยการตรวจสอบระบบ พื้นฐานสามารถช่วยค้นหาสาเหตุได้ง่ายขึ้น ดังกรณีตัวอย่างต่อไปนี้ที่แสดงให้เห็นถึงความผิดปกติจากการตรวจ ความดันของน้ายา กระแสไฟในระบบ รวมถึงการตรวจอุณหภูมิ ดังนี้ - อาการแอร์ไม่ค่อยเย็น แอร์ขนาด 12000 btu. วัดค่าต่าง ๆ ได้ดังนี้ แรงดันน้ายา High 320 psig Low 30 psig อุณหภูมินอกอาคาร 35 องศาเซลเซียส ที่ CDU ด้านดูด 35 องศาเซลเซียส ด้านเป่า 40 องศาเซลเซียส อุณหภูมิในห้อง 28 องศาเซลเซียส ที่ FCU ด้านดูด 28 องศาเซลเซียส ด้านเป่า 18 องศาเซลเซียส อุณหภูมิท่อน้ายาด้านส่ง 40 องศาเซลเซียส Suction 12 องศาเซลเซียส กระแสคอมพ์ 6 แอมป์ แรงดันไฟฟ้า 220 โวลต์ จากกรณีศึกษาข้างต้นสรุปได้ว่าระบบน้ายาอุดตัน การแก้ไขทาได้ ดังนี้ - ตรวจหาจุดที่เกิดการอุดตัน - ทาความสะอาดแผงกรอง ถาดรอง รวมถึงส่วนต่าง ๆ ที่พบการอุดตัน หรือ - ถอดเปลี่ยนอุปกรณ์ที่ขัดข้อง - ทาการทดสอบระบบอีกครั้งหนึ่ง 1.4 กาลังอัดมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ต่า กาลังอัดมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ต่า สาเหตุเกิดจากอุณหภูมิที่อีวาพอเรเตอร์ไม่ต่าพอ อุณหภูมิลมเย็นที่ส่งออก และลมกลับแตกต่างกันน้อยกว่า 8 องศาเซลเซียส การใช้กระแสไฟฟ้าของเครื่องขณะทางานจะน้อยกว่าปกติ น้ายาใน ระบบทางด้านความดันสูงมีความดันต่ากว่าปกติ ส่วนด้านความดันต่ามีสูงกว่าปกติ การแก้ไขทาได้ดังนี้ 18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

- อาการแอร์ไม่ค่อยเย็น แอร์ขนาด 12000 btu. วัดค่าต่าง ๆ ได้ดังนี้ แรงดันน้ายา High 200 psig Low 100 psig อุณหภูมินอกอาคาร 35 องศาเซลเซียส ที่ CDU ด้านดูด 35 องศาเซลเซียส ด้านเป่า 39 องศาเซลเซียส อุณหภูมิในห้อง 28 องศาเซลเซียส ที่ FCU ด้านดูด 28 องศาเซลเซียส ด้านเป่า 18 องศาเซลเซียส อุณหภูมิท่อน้ายาด้านส่ง 42 องศาเซลเซียส Suction 12 องศาเซลเซียส กระแสคอมพ์ 3.5 แอมป์ แรงดันไฟฟ้า 220 โวลต์ จากกรณีศึกษาข้างต้นสรุปได้ว่าคอมพ์ไม่มีแรงดูดอัด การแก้ไขทาได้ ดังนี้ - ตรวจเช็คกาลังอัดของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ - ตรวจสอบสายไฟและขั้วต่อสายไฟต่าง ๆ เช่น ที่สวิตช์และที่ขั้วสายไฟของคอมเพรสเซอร์ - ตรวจดูว่าความร้อนที่คอมเพรสเซอร์สูงเกินไป หรือโอเวอร์โหลดผิดปกติหรือไม่

19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดไม่ใช่วิธีการแก้ไขระบบน้ายาอุดตัน ก. ตรวจหาจุดที่เกิดการอุดตัน ข. ทาความสะอาดแผงกรอง ค. ถอดเปลี่ยนอุปกรณ์ที่ขัดข้อง ง. ผ่าท่อเพื่อตรวจหาสนิม 2. เครื่องปรับอากาศขนาด 12,000 Btu เครื่องหนึ่งมีอาการดังนี้ แอร์ไม่ค่อยเย็น วัดค่าต่าง ๆ ได้ดังนี้ แรงดันน้ายา High 320 psig Low 90 psig อุณหภูมินอกอาคาร 35 องศาเซลเซียส ที่ CDU ด้านดูด 35 องศาเซลเซียส ด้านเป่า 40 องศาเซลเซียส อุณหภูมิในห้อง 28 องศาเซลเซียส ที่ FCU ด้านดูด 28 องศาเซลเซียส ด้านเป่า 18 องศาเซลเซียส อุณหภูมิท่อน้ายาด้านส่ง 43 องศาเซลเซียส Suction 12 องศาเซลเซียส กระแสคอมพ์ 6.5 แอมป์ แรงดันไฟฟ้า 220 โวลต์ จะสรุปว่าอย่างไรจึงจะเหมาะสม ก. มีน้ายาในระบบมากเกินไป ข. มีน้ายาในระบบน้อยเกินไป ค. เติมน้ายาในระบบผิดชนิด ง. กระแสไฟไม่เพียงพอ 3. การกระทาใดไม่ใช่วิธีแก้ปัญหาคอมพ์ไม่มีแรงดูดอัด ก. ตรวจเช็คกาลังอัดของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ ข. ตรวจดูแผงกรองว่ามีฝุ่นเกาะหนาหรือไม่ ค. ตรวจดูว่าความร้อนที่คอมเพรสเซอร์สูงเกินไป ง. ตรวจสอบสายไฟและขั้วต่อสายไฟต่าง ๆ 20 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

กระดาษคาตอบ ข้อ

1 2 3

21 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 2 0921731302 การแก้ไขระบบไฟฟ้าภายในเครื่องปรับอากาศ (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ - อธิบ ายวิธีการแก้ไขระบบไฟฟ้าภายในเครื่องปรับอากาศได้

2. หัวข้อสาคัญ - การแก้ไขระบบไฟฟ้าภายในเครื่องปรับอากาศ

3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

22 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก

6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจน เข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการ ประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก

7. บรรณานุกรม นุกูล แก้วมะหิงษ์. 2558. เครื่องปรับอากาศ (ภาคทฤษฎี). กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ. สุรศักดิ์ นาคาลักษณ์. 2555. วิธีการตรวจสอบและบารุงแก้ไขระบบทาความเย็น. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.gotoknow.org/posts/302082

23 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 2 การแก้ไขระบบไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ 1. การแก้ไขระบบไฟฟ้าภายในเครื่องปรับอากาศ การแก้ไขระบบไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศจะมีแนวทางการแก้ไข 2 แนวทางคือ 1.1 ตรวจเช็คระบบไฟฟ้า การตรวจสอบระบบไฟฟ้าทาได้โดยใช้มัลติมิเตอร์ โดยเลือกวัดค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับโดยวัดค่าแรงดันไฟฟ้า ของระบบก่อนเข้าอุปกรณ์ป้องกันและวัดค่าแรงดันไฟฟ้าของระบบที่ต่อออกมาจากอุปกรณ์ป้องกันว่ามีแรงดันเป็นปกติ หรือไม่ โดยที่ถ้าเป็นระบบไฟฟ้า 1 เฟส จะต้องมีค่าแรงดันเป็น 220 โวลต์ และถ้าเป็นระบบ 3 เฟส จะต้องมีค่าแรงดัน 380 โวลต์ 1.2 ตรวจเช็คอุปกรณ์ไฟฟ้า ซึ่งมีอุปกรณ์หลักที่ควรตรวจสอบ ดังนี้ 1.2.1 การวัดหาขั้วมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ จะใช้มัลติมิเตอร์ในการตรวจสอบ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นมอเตอร์คอมเพรสเซอร์แบบเฮอร์เมติคเพราะเป็น แบบที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ โดยขั้วหลักของคอมเพรสเซอร์มี 3 ขั้ว ได้แก่ 1) ขั้ว S คือ ขั้วที่ต่อจากขดลวดสตาร์ท (Starting Winding) โดยขดลวดสตาร์ทนั้น มีคุณสมบัติ คือจะพันด้วยขดลวดเส้นเล็กจานวนรอบมาก ค่าความต้านทานมีค่าสูง 2) ขั้ว R คือ ขั้วที่ต่อจากขดลวดรัน (Running Winding) โดยขดลวดรันมีคุณสมบัติคือจะพันด้วย ขดลวดเส้นใหญ่จานวนรอบน้อย ค่าความต้านทานมีค่าต่า 3) ขั้ว C คือ ขั้วที่เกิดจากจุดร่วมระหว่างขั้ว S และขั้ว R หรือที่เรียกว่า ขั้ว (Common) ซึ่งเป็น จุดที่ขดลวดรันและขดลวดสตาร์ทมาต่อกัน การวัดหาขั้วคอมเพรสเซอร์ 1) ใช้โอห์มมิเตอร์ หรือมัลติมิเตอร์ที่ปรับสเกลค่าโอห์มในการวัด ทดลองวัดที่ขั้วคอมเพรสเซอร์ทีละ คูแ่ ล้วบันทึกค่าความต้านทานที่วัดได้ คูข่ องขั้วใดที่ค่าความต้านทานสูง ขั้วที่เหลือจะเป็นขั้ว C 2) หลังจากได้ขั้ว C ให้ลองวัดค่าความต้านทานโดยจับคู่ขั้ว C กับขั้วที่เหลื อ ถ้าคู่ใดอ่านค่า ความต้านทานได้สูงสุด แสดงว่า ขั้วที่จับคู่กับขั้ว C คือ ขั้ว S และขั้วที่เหลือสุดท้ายคือ ขั้ว R

24 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ภาพที่ 2.1 วิธีการกาหนดขั้วคอมเพรสเซอร์ 1.2.2 การวัดหาขั้วมอเตอร์พัดลม (Fan Motor) การวัดหาขั้วมอเตอร์พัดลมจากชุดคอนเดนซิ่งยูนิต

ภาพที่ 2.2 การวัดหาขั้วมอเตอร์พัดลมคอยล์ร้อน ทาได้โดยวัดค่าความต้านทานทีละคู่ ขั้ว 1 - 2 ขั้ว 1 - 3 ขั้ว 2 - 3

25 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

การตรวจวัดขั้วมอเตอร์พัดลมคอยล์ร้อน ใช้หลักการเดียวกันกับการตรวจหาขั้วคอมเพรสเซอร์ โดยคู่ใด ที่มีค่าความต้านทานสูงสุด ขั้วที่เหลือจะเป็นขั้ว C จากนั้นให้ขั้ว C เป็นขั้วหลัก แล้วทดลองวัดโดยจับคู่ขั้ว C กับ ขั้วที่เหลือ ถ้าคู่ใดอ่านค่าความต้านทานได้สูงสุด แสดงว่า ขั้วที่จับคู่กับขั้ว C คือ ขั้ว S และขั้วที่เหลือคือ ขั้ว R การวัดหาขั้วมอเตอร์พัดลมคอยล์เย็น สามารถทาได้โดยวัดสายของมอเตอร์ทีละคู่ จะต้องอ่านค่าความต้านทานภายในขดลวดมอเตอร์ได้ทุกคู่ ถ้าคู่ใดคู่หนึ่งขาด (มิเตอร์ชี้ไปที่ Infinity ∞) แสดงว่าขดลวดมอเตอร์พัดลมคอยล์เย็นขาด

ภาพที่ 2.3 การตรวจขั้วพัดลมคอยล์เย็น เพื่อหาค่าความต้านทาน 1.2.3 การตรวจสอบสวิตช์ควบคุม (Control Switch) ใช้สายของโอห์มมิเตอร์ด้านหนี่งแตะที่ทางเข้าสวิตช์ควบคุม และปลายสายอีกด้านหนึ่งแตะที่ขั้วต่อเข้า เทอร์โมสตัท จากนั้นกดสวิตช์ตาแหน่ง HI COOL, MED COOL หรือ LO COOL ทีละตาแหน่งเพื่อตรวจสอบ โดยโอห์มมิเตอร์จะต้องแสดงค่า 0 โอห์มเสมอ 1.2.4 การตรวจสอบเทอร์โมสตัท (Thermostat) เป็นตัวควบคุมอุณหภูมิ สาหรับควบคุมอุณหภูมิภายในห้องเย็น ตู้เย็น หรือห้องปรับอากาศให้มีค่าคงที่ อยู่เสมอชนิดของตัวควบคุมอุณหภูมิแบ่งออกได้ 3 แบบคือ 1) แบบกระเปาะ (Bulb Bellow Type) มีหลักการทางานโดยอาศัยการขยายตัวและหดตัวของ ของเหลวไปกระท ากับ หี บที่ส ามารถยื ดหรื อหดตัว ได้ ทาให้ ห น้าคอนแทคที่ ติด กับเบลโล เคลื่อนที่ตัด-ต่อ วงจรไฟฟ้า 2) แบบการขยายตัวของโลหะ 2 ชนิด (Bimental Type) มีหลักการทางานโดยโลหะ 2 ชนิด ที่ตั้งประสิทธิ ภาพการขยายตัวไม่เท่ากันมายึดติดกันให้ แน่น เมื่อได้รับความร้อนหรือ เย็น จะเกิดการยืดและหดตัวทาให้โลหะเกิดการงอตัวไปตัดหน้าคอนแทคได้

26 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

3) ตัวควบคุมอุณหภูมิแบบอิเล็กทรอนิกส์หรือเทอร์มิสเตอร์ เป็นตัวควบคุมอุณหภูมิแบบใหม่ที่ ประยุกต์เอาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มาควบคุมอุณหภูมิ โดยใช้ตัวตรวจสอบอุณหภูมิที่เป็น เทอร์มิสเตอร์ ซึ่งเป็นค่าความต้านทานที่ปรับค่าไปตามอุณหภูมิ สามารถควบคุมอุณหภูมิได้ อย่างแม่นยา การตรวจสอบตัวควบคุมอุณหภูมิ สามารถทาได้ 2 วิธีคือ 1) วัดค่าความต้านทานหน้าสัมผัส โดยใช้โอห์มมิเตอร์วัดสัมผัสหน้าคอนแทค 2) วิธีวัดจุด Cut In และ Cut Out โดยใช้ความเย็นทดสอบ แล้วใช้โอห์มมิเตอร์วัดที่หน้าคอนแทค โดยเมื่อ อุณ หภูมิต่าลงตัว ควบคุม จะตัด (ต่ากว่า จุด Cut Out) และเมื่อ อุณ หภูมิสูง ขึ้ น ตัว ควบคุมจะต่อ (สูงกว่าจุด Cut In) 1.2.5 การตรวจสอบโอเวอร์โหลดรีเลย์ (Overload Relay) ในกรณีที่มอเตอร์คอมเพรสเซอร์กินกระแสสูงเกินที่กาหนดจนเกิดความร้อนจนทาให้หน้าสัมผัสโลหะ Bimetal ในตัวโอเวอร์โหลดแยกจากกัน จากหน้าสัมผัสปกติปิด เปลี่ ยนเป็นหน้าสัมผัสปกติเปิด เกิดการตัด วงจรสายไฟเมนที่จ่ายเข้ามอเตอร์คอมเพรสเซอร์ทันที เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นกับตัวมอเตอร์ คอมเพรสเซอร์ การตรวจเช็คโอเวอร์โหลดรีเลย์ การตรวจเช็คโอเวอร์โหลดรีเลย์ทาได้ง่าย ๆ โดยการนามัลติมิเตอร์ ปรับเลือกการวัดความต้านทาน Rx10 แล้วทาการวัดที่ขั้วสาหรับต่อใช้งาน กับขั้วของหน้าสัมผัส (จุดตรงกลาง) หากวัดแล้วเข็มมิเตอร์ไม่ขึ้นแสดงว่าตัว โอเวอร์โหลดขาด 1.2.6 การตรวจสอบโพเทนเชียลรีเลย์ โพเทนเชียลรีเลย์มีตาแหน่งขั้วภายในดังนี้

ภาพที่ 2.4 ตัวอย่างการตรวจสอบโพเทนเชียลรีเลย์

27 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

โดย ขั้ว 5 ไปขั้ว 2 เป็นส่วนของขดลวดหรือคอยล์ และขั้ว 2 ไปขั้ว 1 คือ หน้าสัมผัสปกติปิด วิธีการ ตรวจสอบใช้มัลติมิเตอร์ที่เลือกตั้งค่าย่านโอห์มหนีบไว้ที่ตาแหน่งที่ 2 จากนั้นหนีบปลายสายวัดที่ตาแหน่งที่ 5 จะเห็นได้ว่าในตาแหน่งจาก 5 ไป มัลติมิเตอร์จะต้องอ่านค่าความต้านทานของขดลวดแรงดันได้ (ประมาณ 10.98 KΩ) จากนั้นเปลี่ยนตาแหน่งวัด โดยเอาปลายสายออกจากตาแหน่งที่ 5 และไปหนีบในตาแหน่งที่ 1 แทนเป็นการวัดจากขั้ว 2 ไปขั้ว 1 นั่นคือตาแหน่งหน้าสัมผัสปกติปิดซึ่งมัลติมิเตอร์จะอ่านค่าที่วัดได้ เท่ากับ 0 1.2.7 การตรวจสอบคาปาซิเตอร์ (Capacitor)

ภาพที่ 2.5 คาปาซิเตอร์ ตั้งค่าโอห์มมิเตอร์ที่สเกล R x 1K หรือมากกว่า เมื่อแตะที่ขั้วทั้งสองของคาปาซิเตอร์ เข็มจะชี้เข้าใกล้ ค่า 0 โอห์ม ในช่วงแรกและเข็มจะชี้ค่าความต้านทานที่ค่อย ๆ เพิ่มขึ้นจนสูงสุดแสดงว่าปกติ ถ้าเข็มชี้ที่ 0 โอห์ม แสดงว่าคาปาซิเตอร์ลัดวงจรระหว่างขั้วทั้งสอง ถ้าเข็มชี้ค้างที่ค่าอนันต์ (Infinity ∞) หมายถึงวงจรภายใน คาปาซิเตอร์ขาด ทั้ง 2 กรณีนี้แสดงว่าคาปาซิเตอร์เสีย อย่างไรก็ตามก่อนทาการตรวจวัดคาปาซิเตอร์ด้วยโอห์มมิเตอร์ ทุกครั้ง จะต้องต่อลัดวงจรระหว่างขั้วทั้งสอง เพื่อให้คาปาซิเตอร์คายประจุให้หมดก่อน 1.2.8 การตรวจสอบตัวควบคุมความดัน

ภาพที่ 2.6 ตัวควบคุมความดัน การตรวจสอบตัวควบคุมความดันทาได้โดยตรวจดูการทางานหน้าคอนแทคด้วยโอห์มมิเตอร์ กล่าวคือ เมื่อ ทาการจ่า ยความดัน ต่า ง ๆ ให้แ ก่ตัว ควบคุม ความดัน ตามจุด Cut In และ Cut Out ที่ไ ด้ป รับ ตั้ง ไว้ ถ้าหน้ าคอนแทคเกิดการตัด - ต่อ ตามที่ได้ตั้งค่าไว้แสดงว่าตัวควบคุมดังกล่าวยังทางานปกติ

28 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. เมื่อตรวจรีเลย์ช่วยสตาร์ทปรากฏว่ามีค่าความต้านทานเต็มสเกลจากผลการตรวจสอบดังกล่าวสรุปได้ว่าอย่างไร ก. ขดลวดขาด ข. ลัดวงจร ค. ปกติ ง. ชดลวดไหม้ 2. ในการตรวจขั้ว R ของคอมเพรสเซอร์ จะมีค่าความต้านเป็นอย่างไร ก. มีค่าความต้านทานเป็น 2 เท่าของขั้ว S ข. มีค่าความต้านทานต่าสุด ค. มีค่าความต้านทานสูงสุดใน 3 ขั้ว ง. มีค่าความต้านทานเป็น 2 เท่าของขั้ว C 3. ตรวจค่าความต้านทานที่คาปาซิเตอร์แล้วพบว่าเข็มชี้ค้างที่ค่าอนันต์ หมายความว่าอย่างไร ก. วงจรภายในคาปาซิเตอร์ขาด ข. วงจรภายในมีกระแสไฟเกิน ค. วงจรภายในมีกระแสไฟขาด ง. วงจรภายในมีกระแสไฟปกติ

29 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

กระดาษคาตอบ ข้อ

1 2 3

30 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 3 0921731303 วิธีการปรับและติดตั้งความแตกต่างของช่วงการทางาน อุปกรณ์ควบคุมความดัน (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบ ายวิธีการปรับและติดตั้งความแตกต่างของช่วงการทางานอุปกรณ์ควบคุมความดันได้ 2. ปรับและติดตั้งความแตกต่างของช่วงการทางานอุปกรณ์ควบคุมความดันได้

2. หัวข้อสาคัญ - การปรับและติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมความดัน

3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

31 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ผู้รับการฝึกอ่านและทาความเข้าใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑ์การวัด และประเมินผลงาน 5. ผู้รับการฝึกเข้ารับการฝึกที่ศูนย์ฝึกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว้ 6. ผู้รับการฝึกอ่านระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝึกของหน่วยฝึก 7. ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผู้รับการฝึกปฏิบัติงานตามใบงาน แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจประเมินผล 9. ผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึกกับครูฝึก

6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจน เข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการ ประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3. ผู้รับการฝึกส่งผลงานในการฝึกภาคปฏิบัติให้ครูฝึกตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ ครูฝึกกาหนดได้

32 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

7. บรรณานุกรม สุรศักดิ์ นาคาลักษณ์. 2555. วิธีการตรวจสอบและบารุงแก้ไขระบบทาความเย็น. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.gotoknow.org/posts/302082 Marinerthai. 2555. การแก้ไขปัญหาระบบทาความเย็น. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://marinerthai.blogspot.com/2012/01/blog-post_28.html

33 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 3 การปรับและติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมความดัน 1. การปรับและติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมความดัน การติดตั้งและปรั บ การทางานของอุป กรณ์ควบคุมความดัน จะช่วยให้สารทาความเย็นไหลผ่ านอีวาพอเรเตอร์ ใน ปริมาณที่เหมาะสม ง่ายต่อการระเหยเป็นไอในขดอีวาพอเรเตอร์ รวมถึงดูดซึมความร้อนจากภายในสารทาความเย็นที่ไหล เข้าไปยังอีวาพอเรเตอร์ได้ดี เนื่องจากสถานะของสารทาความเย็นที่ไหลออกจากคอนเดนเซอร์เป็นของเหลวที่มีความดันสูง จึงควรมีอุปกรณ์ที่สามารถลดความดันและควบคุมปริมาณของสารทาความเย็นก่อนจะถูกส่งเข้าสู่แผงอีวาพอเรเตอร์ ในการควบคุมความดันและปริมาณของสารทาความเย็นโดยทั่วไปจะมีอยู่ 6 แบบ ดังนี้ ตารางที่ 3.1 การควบคุมปริมาณและความดันของสารทาความเย็น 6 แบบ ลาดับที่ 1 2 3 4 5 6

ชนิดการควบคุม ชนิดปิด-เปิดโดยการใช้มือปรับ Hand Operated Expansion ใช้ท่อรูเข็มหรือท่อแคปปิลลารี่ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า แคปทิ้วป์ป์ Capilary Tube (Cap Tube) ปรับปิด-เปิดโดยอัตโนมัติ Automatic Expansion Valve ใช้ความร้อนควบคุม Thermostatic Expansion Valve ใช้ลูกลอยทางด้านความดันต่า Low Side Float ใช้ลูกลอยทางด้านความดันสูง High Side Float

34 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ตัวย่อ – CAPTUBE AEV หรือ AXV TEV หรือ AXV LSR HSF


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ตัวควบคุมสารทาความเย็นทั้ง 6 ชนิด แม้จะมีการสร้างแตกต่างกัน แต่หลักการทางานเบื้องต้นคล้ายคลึงกัน คือ 1) ควบคุมปริมาณสารทาความเย็นเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยน 2) ควบคุมปริมาณสารทาความเย็นเมื่อความดันเปลี่ยน 3) ควบคุมปริมาณสารทาความเย็นเมื่อมีโหลดเพิ่มขึ้น หรือลดลง 4) ควบคุมปริมาณสารทาความเย็นให้ความแตกต่างระหว่างความดันทางสูงและต่า ให้เหมาะสมกับโหลด 1.1 ชนิดวาล์วขยายตัวปรับด้วยมือ เป็นตัวควบคุมสารทาความเย็นที่ใช้มือคนเป็นตัวปรับแต่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อขณะเดินเครื่องสามารถแต่งให้ สารทาความเย็นเข้ามากหรือน้อยได้ อัตราการไหลของสารทาความเย็นขึ้นอยู่กับความดันแตกต่างระหว่างทางเข้าและ ออกของลิ้นวาล์ว ชุดปรับสารทาความเย็นชุดนี้ จะสร้างมาเพื่อใช้กับโหลดชนิดคงที่ และอาจจะปรับให้สารทาความเย็น ฉีดเข้าอีวาพอเรเตอร์มาก ขณะโหลดมาก และปรับให้สารทาความเย็นเข้าน้อย เมื่อโหลดน้อยได้ ชุดปรับสารทาความเย็น ชุดนี้เหมาะสาหรับเครื่องใหญ่ ๆ ซึ่งต้องมีคนคุมตลอดเวลา ข้อเสียคือจะต้องใช้โหลดที่คงที่ แต่ถ้ามีการเพิ่มหรือลดโหลด (โหลดคือของที่นามาแช่ หรืออากาศที่ร้อน) ส่วนมากจะใช้ตัวควบคุมแบบอื่นแทน 1.2 ชนิดใช้แคปปิลลารี่ทิ้วป์ เครื่องทาความเย็นชนิดใช้ แคปปิลลารี่ทิ้วป์นั้น โดยมากช่างทั่วไปมักจะเรียกสั้น ๆ ว่า แคปทิ้วป์ (Cap Tube) หรือรีดิ้ว (Reduce) เป็นท่อที่ทาด้วยทองแดงรูเล็ก ๆ และมีความยาวคงที่จานวนหนึ่ง แคปทิ้วป์เป็นตัวควบคุมสารทา ความเย็นทีน่ ิยมใช้กันมาก สาหรับควบคุมปริมาณ และความดันของสารทาความเย็นที่จะฉีดเข้าไปในอีวาพอเรเตอร์ โดย แคปทิ้วป์จ ะต่อ อยู่ร ะหว่า งเครื่อ งควบแน่น กับ อีว าพอเรเตอร์ เนื่อ งจากแคปทิ้ว ป์มีรูข นาดเล็ก จึง ทาให้เ กิด การ เสีย ดทานขึ้น ขณะสารทาความเย็น ที่เป็น ของเหลวไหลผ่านแคปทิ้ว ป์ ทาให้จากัดความดันของสารทาความเย็น หรือลดแรงดันของสารทาความเย็นที่จะเข้าอีวาพอเรเตอร์ และควบคุมปริมาณสารทาความเย็นที่จะไหลเข้าอีวาพอเร เตอร์ด้วย คอมเพรสเซอร์แต่ละเครื่องใช้ขนาดและความยาวแคปทิ้วป์ไม่เท่ากัน ทั้งนี้เพราะบริษัทผู้สร้างได้ออกแบบสร้าง คอมเพรสเซอร์ให้อัดสารทาความเย็นออกมาด้วยความดันสูงไม่เท่ากันโดยมากในคาอธิบายที่ติดมากับคอมเพรสเซอร์ จะแนะน าขนาดและความยาวของแคปทิ้ ว ป์ ไ ว้ ใ ห้ คอมเพรสเซอร์ เ ครื่ อ งหนึ่ ง ๆ ใช้ ค วามเย็ น ได้ ห ลายอุ ณ หภู มิ ถ้าใช้อุณหภูมิต่า แคปทิ้วป์ก็จะต้องให้ท่อยาวหรือใช้รูเล็กกว่าอุณหภูมิสูง อัตราการไหลของสารทาความเย็นที่ผ่านเครื่องควบแน่น จะต้องเท่ากับอัตราการไหลของทางอีวาพอเรเตอร์ และ ทางคอมเพรสเซอร์ด้วย เพราะว่า แคปทิ้วป์ต่ออันดับโดยตรงในระบบเครื่องเย็น แต่ถ้าอัตราไหลของสารทาความเย็นที่ ผ่านท่อแคปทิ้วป์มากหรือน้อยไม่สัมพันธ์กับคอมเพรสเซอร์จะทาให้ประสิทธิภาพของคอมเพรสเซอร์ต่าลง เช่นถ้า 35 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ใช้ท่อแคปทิ้วป์ยาวเกินไปหรื อรูเล็ กเกินไป จะทาให้อัตราการไหล หรือปริมาณของสารทาความเย็นที่ไหลจากเครื่อง ควบแน่นไปยังอีวาพอเรเตอร์น้อยกว่าเท่าที่ควร จะทาให้อุณหภูมิของเครื่องควบแน่นสูงขึ้น และความดันทางด้านอั ด ของคอมเพรสเซอร์สูง คอมเพรสเซอร์จะร้อน แต่ถ้าใช้ แคปทิ้วป์สั้นเกินไป หรือรูใหญ่เกินไป อัตราการไหลภายในท่อ แคปทิ้วป์จ ะเพิ่มขึ้น และจะทาให้สารทาความเย็นไหลท่วมอีวาพอเรเตอร์ ทาให้ส ารทาความเย็นไม่ระเหยในอีวา พอเรเตอร์ แต่จะระเหยแถว ๆ ทางออกของอีวาพอเรเตอร์ห รือท่ อทางดูด และเป็นผลให้สารทาความเย็นที่ เป็น เหลวไหลเข้าคอมเพรสเซอร์ จะเป็นภัยอันตรายกับลิ้นของคอมเพรสเซอร์ได้ และอีกทางหนึ่ง อาจจะทาให้สารทาความเย็นใน เครื่องควบแน่นเปลี่ยนเป็นของเหลวไม่ทัน ทาให้อีวาพอเรเตอร์มีแก๊สและของเหลวฉีดเข้าไป ทาให้ดูเหมือนสารทาความ เย็นน้อย และอีวาพอเรเตอร์ไม่เย็นเท่าที่ควร 1.3 ชนิดวาล์วขยายตัวอัตโนมัติ ตัว ควบคุมสารทาความเย็ น แบบ AEV นี้จะทางานโดยอาศั ยแรงดัน ของสารทาความเย็น ในอีว าพอเรเตอร์ (Low Side Pressure) คือเมื่อโหลดในห้องเย็นเปลี่ยนแปลง สารทาความเย็นจะเข้ามากเข้าน้อยตามแรงดัน ดังนั้น AEV จะทางานขึ้นอยู่กับ 1) แรงดันในอีวาพอเรเตอร์ 2) แรงของสปริง

ภาพที่ 3.1 กลไกภายในของ AEV แรงที่เกิดจากความดันของอีวาพอเรเตอร์ (Low Side Pressure) จะให้ได้อะเฟรมสูงขึ้นและจะไปดึงให้เข็มวาล์วปิด ไม่ให้สารทาความเย็นที่มาจากทางเข้าวาล์ว (คือมาจากเครื่องควบแน่น ) ไหลออกไปทางอีวาพอเรเตอร์ ส่วนแรงที่ เกิด จากสปริง (Spring Pressure) จะเป็ น แรงกดให้ แ ผ่ น ไดอะเฟรมต่ าลง และจะเป็ น แรงที่ ท าหน้ าที่ เ ปิดวาล์ ว ให้สารทาความเย็นไหลเข้าอีวาพอเรเตอร์ 36 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

1.4 ชนิดวาล์วขยายตัวเทอร์โมสะแตติค ตัวควบคุมสารทาความเย็นแบบ TEV. นี้อัตราการไหลของสารทาความเย็นที่จะผ่านเข้าไปยังอีวาพอเรเตอร์ ขึ้ น อยู่ กั บ แรงดั น ของอี ว าพอเรเตอร์ (หรื อ แรงดั ด ทางดู ด ) และอุ ณ หภู มิ ข องอี ว าพอเรเตอร์ ต รงทางออกของ อีวาพอเรเตอร์ (ก่อนเข้าทางดูดของคอมเพรสเซอร์ ) TEV. จะเปิดกว้างให้สารทาความเย็นเข้าไปในอีวาพอเรเตอร์มาก ถ้าหากอีวาพอเรเตอร์มีอุณหภูมิสูง และสารทาความเย็นจะค่อย ๆ ฉีดลดน้อยลง ในกรณีที่อีวาพอเรเตอร์มีสารทาความเย็น เข้าไปเต็มพอดี และเกิดการระเหยขึ้นในอีวาพอเรเตอร์ หลักการทางานโดยทั่วไปของ TEV. จะทางานโดยอาศัยแรงดัน 3 ชนิดคือ P1 คือ แรงดันสารทาความเย็นในกระเปาะ (Bulb Pressure) เป็นแรงที่เกิดจากการขยายตัว หดตัว ของสารทาความเย็น P2 คือ แรงดันของสารทาความเย็นในอีวาพอเรเตอร์ แรงดันนี้จะเป็นแรงดันที่ดันให้วาล์วปิด P3 คือ แรงดันของสปริง แรงดันของสปริงนี้สามารถแต่งให้มากน้อยได้และจะเป็นแรงดัน ที่ดันให้วาล์วปิดเช่นเดียวกัน

ภาพที่ 3.2 แสดงแรง 3 แรง ที่จะปิด และเปิดวาล์ว ขณะเมื่อวาล์วกาลังจะ Modulate คือกาลังอยู่จุดที่ใกล้จะเปิด และใกล้จะปิดนั้น แรงดันของกระเปาะจะมีค่า เท่ากับ แรงดันของอีวาพอเรเตอร์ และแรงดันของสปริงรวมกัน

37 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ดังนั้น P1 = P2 + P3 นั่นหมายความว่า ถ้าหากว่าแรงดันของข้างใดมีมากกว่า วาล์วก็จะทางานไปทางด้านนั้น เช่น ถ้า P1 เพิ่มขึ้นจากจุดสมดุล วาล์วก็จะเปิด แต่ถ้า P2 หรือ P3 ตัวใดตัวหนึ่งเพิ่มจากจุดสมดุล วาล์วก็จะปิด

ภาพที่ 3.3 แสดงการทางานของเทอร์โมสะแตติคเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วแบบเบลโลว์

38 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดไม่ใช่ชนิดของแรงดัน ในหลักการทางานของ TEV. ก. แรงดันสารทาความเย็นในสปริง ข. แรงดันสารทาความเย็นในกระเปาะ ค. แรงดันสารทาความเย็นในเทอร์โมสตัท ง. แรงดันสารทาความเย็นในอีวาพอเรเตอร์ 2. เมื่อวาล์วกาลังจะ Modulate แรงดันของกระเปาะจะมีค่าเป็นอย่างไร ก. จะมีค่าเท่ากับแรงดันของสปริง ข. จะมีค่า 20 ปอนด์ต่อตารางนิ้วทุกกรณี ค. จะมีค่าเท่ากับแรงดันของอีวาพอเรเตอร์ ง. จะมีค่าเท่ากับแรงดันของอีวาพอเรเตอร์ และแรงดันของสปริงรวมกัน 3. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้งานวาล์วขยายตัวปรับด้วยมือ ก. ใช้ท่อแคปทิ้วป์ในการควบคุมสารทาความเย็น ข. ใช้มือปรับหมุนระดับวาล์ว ค. ใช้กับโหลดชนิดคงที่ ง. มีคนคุมตลอดเวลา

39 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

กระดาษคาตอบ ข้อ

1 2 3

40 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ใบงาน ใบงานที่ 3.1 วิธีการปรับและติดตั้งความแตกต่างของช่วงการทางานอุปกรณ์ควบคุมความดัน 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - ปรับและติดตั้งความแตกต่างของช่วงการทางานอุปกรณ์ควบคุมความดันได้

2. ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงานรวม 4 ชั่วโมง

3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาการวัด ปรับ และทดสอบเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว (TEV)

ตารางบันทึกผล สถานะการปรับ

ค่าความดันทางออกของ เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว (PSI)

ก่อนทาการปรับตั้ง หมุนทวนเข็มนาฬิกา 2 รอบ หมุนตามเข็มนาฬิกา 2 รอบ นากระเปาะออกจากน้าแข็ง หมายเหตุ ค่าความดัน ที่ 22F ของสารทาความเย็น R-22 คือ 45 PSI ค่าความดัน ที่ 22F ของสารทาความเย็น R-12 คือ 22 PSI 41 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

หมายเหตุ


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.1 วิธีการปรับและติดตั้งความแตกต่างของช่วงการทางาน อุปกรณ์ควบคุมความดัน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้า วางกีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. แมนิโฟลด์เกจ

จานวน 1 ชุด

2. ไขควงแฉก

จานวน 1 ตัว

3. ไขควงแบน

จานวน 1 ตัว

4. ประแจปากตาย

จานวน 1 ชุด

5. ประแจเลื่อนขนาด 6 นิ้ว

จานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. ถังน้ายา R-22

จานวน 1 ถัง

2. บีกเกอร์หรือกระติกใส่น้าแข็ง

จานวน 1 ชุด

3. แฟลร์นัต ยูเนียน 1/2 นิ้ว

จานวน 1 ชุด 42 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

4. แฟลร์นัต ยูเนียน 3/8นิ้ว

จานวน 1 ชุด

5. เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว

จานวน 1 ตัว

2. ลาดับการปฏิบัติงาน วิธีการปรับและติดตั้งความแตกต่างของช่วงการทางานอุปกรณ์ควบคุมความดัน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1.ต่อท่อของเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วตามรูป

คาอธิบาย ต่อท่อทางเข้าและท่อทางออก ของเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วตามรูป

2.ใส่กระเปาะในกระติกน้าแข็ง

สอดกระเปาะเข้าไปในบีกเกอร์ หรือกระติกน้าแข็ง รอสักครู่ เพื่อให้กระเปาะเย็น

43 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3.ปล่อยน้ายา R-22 ที่ความดันไม่ต่ากว่า 70 PSI

คาอธิบาย เปิดวาล์วของถังน้ายา R-22 โดยเปิดให้ความดันไม่ต่ากว่า 70 PSI

4.อ่านค่าความดันทางด้านออกแล้วบันทึกผล

อ่านค่าความดันทางด้านออก ของเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วแล้ว บันทึกผล

5.ขันสกรูเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว โดยหมุนทวนเข็ม

ขันสกรูที่ตัวเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว

นาฬิกา 2 รอบ

หมุนทวนเข็มนาฬิกา 2 รอบ

44 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6.ปล่อยน้ายา R-22 ที่ความดันไม่ต่ากว่า 70 PSI

คาอธิบาย ปล่อ ยน้ายา R-22 ที่ค วามดัน ไม่ต่ากว่า 70 PSI

7.อ่านค่าความดันทางด้านออกแล้วบันทึกผล

อ่ า นค่ า ความดั น ทางด้ า นออก ของเอ็ ก ซ์ แ พนชั่ น วาล์ ว แล้ ว บันทึกผล

8.ขันสกรูเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วมาให้เหมือนก่อนจะปรับ ขั น สกรู ก ลั บ มาที่ ต าแหน่ ง เดิ ม จากนั้นขันสกรูให้หมุนตามเข็มนาฬิกา 2 รอบ

เหมื อ นก่ อ นที่ จ ะปรั บ จากนั้ น ขันสกรูเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วหมุน ตามเข็มนาฬิกา 2 รอบ

45 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 9. ปล่อยน้ายา R-22 ทีค่ วามดันไม่ต่ากว่า 70 PSI

คาอธิบาย ปล่อยน้ายา R-22 ที่ความดันไม่ ต่ากว่า 70 PSI

10. อ่านค่าความดันทางด้านออกแล้วบันทึกผล

อ่ า นค่ า ความดั น ทางด้ า นออก ของเอ็ ก ซ์ แ พนชั่ น วาล์ ว แล้ ว บันทึกผล

11. ดึงกระเปาะออก แล้วทาให้อุ่น

ดึง กระเปาะออก แล้ว ท าให้ กระเปาะอุ่น

46 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

12. อ่านค่าความดันทางด้านออกอีกครั้ง

อ่ า นค่ า ความดั น ทางด้ า นออก

แล้วบันทึกผล

ของเอ็ ก ซ์ แ พนชั่ น วาล์ ว แล้ ว บันทึกผล

47 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑ์การพิจารณา

วิธีการปรับและติดตั้งความแตกต่างของช่วงการทางาน อุปกรณ์ควบคุมความดัน

2

1.1 ต่ออุปกรณ์ถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 วัดและอ่านค่าความดันถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 บันทึกผลถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ปฏิบัติงาน

48 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ลาดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 ต่ออุปกรณ์ถูกต้อง

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได้

15 - จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และต่ออุปกรณ์การทดลองถูกต้องตามใบงาน ทุกจุด ให้คะแนน 5 คะแนน

5

- จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ผิด 1 ชิ้น และ/หรือ ต่ออุปกรณ์การทดลอง ผิด 1 จุด ให้คะแนน 3 คะแนน - จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ผิดตั้งแต่ 2 ชิ้น และ/หรือ ต่ออุปกรณ์ก าร ทดลองผิดตั้งแต่ 2 จุด ให้คะแนน 1 คะแนน 1.2 วัดและอ่านค่าความดันถูกต้อง

- วั ด และอ่ า นค่ า ความดั น ถู ก ต้ อ ง ตามขั้ น ตอนต่ า ง ๆ ทุ ก จุ ด ให้คะแนน 5 คะแนน

5

- วัดและอ่านค่าความดันผิด 1 หน่วย ให้คะแนน 3 คะแนน - วัดและอ่านค่าความดันผิดตั้งแต่ 2 หน่วยขึ้นไป ให้คะแนน 1 คะแนน 1.3 บันทึกผลถูกต้อง

- บันทึกผลถูกต้องทุกจุด ให้คะแนน 5 คะแนน

5

- บันทึกผลผิด 1 จุด ให้คะแนน 3 คะแนน - บันทึกผลผิดตั้งแต่ 2 จุด ให้คะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ้วน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

1

2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

1

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

20

หมายเหตุ หากผู้เข้ารับการฝึกได้รับคะแนน 14 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70) ให้ผู้เข้ารับการฝึก ขอเข้ารับการทดสอบภาคปฏิบัติได้

49 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 4 0921731304 ข้อบกพร่องที่เกิดจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว และแคปปิลลารี่ทิ้วป์ (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบ ายวิธีการแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วและแคปปิลลารี่ทิ้วป์ได้ 2. วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วและแคปปิลลารี่ทิ้วป์ได้

2. หัวข้อสาคัญ - การแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว และแคปปิลลารี่ทิวป์

3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

50 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ผู้รับการฝึกอ่านและทาความเข้าใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑ์การวัด และประเมินผลงาน 5. ผู้รับการฝึกเข้ารับการฝึกที่ศูนย์ฝึกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว้ 6. ผู้รับการฝึกอ่านระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝึกของหน่วยฝึก 7. ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผู้รับการฝึกปฏิบัติงานตามใบงาน แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจประเมินผล 9. ผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึกกับครูฝึก

6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจน เข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการ ประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3. ผู้รับการฝึกส่งผลงานในการฝึกภาคปฏิบัติให้ครูฝึกตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ ครูฝึกกาหนดได้

51 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

7. บรรณานุกรม เวลล์ฟรอซ เอ็นจิเนียริ่ง. 2556. วิธีแก้ไขข้อขัดข้อง เครื่องปรับอากาศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://wellfroze.com/index.php?route=information/news&news_id=10 Marinerthai. 2555. การแก้ไขปัญหาระบบทาความเย็น. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://marinerthai.blogspot.com/2012/01/blog-post_28.html

52 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 4 ข้อบกพร่องที่เกิดจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว และแคปปิลลารี่ทิ้วป์ป์ 1. การแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว และแคปปิลลารี่ทิ้วป์ป์ 1.1 เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว (Expansion Valve) เอ็กซ์แพนชั่นวาล์วเป็นอุปกรณ์ทาหน้าที่ในการควบคุมการไหลและลดความดันของสารทาความเย็น ให้ล ดลง จนกระทั่งระเหยเปลี่ยนสถานะเป็นไอที่อุณหภูมิต่า ๆ ในอีวาพอเรเตอร์ได้

ภาพที่ 4.1 Expansion Valve

ภาพที่ 4.2 แสดงตาแหน่งคอนเดนเซอร์ หน้าที่ของเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว - ควบคุมและปรับอัตราการไหลของสารความเย็น - ลดความดันของระบบจากความดันสูงเป็นความดันต่า 53 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

1.2 ท่อแคปปิลลารี่ (Capillary Tube)

ภาพที่ 4.3 Capillary Tube ท่อแคปปิลลารี่ (Capillary Tube) : หรืออีกชื่อหนึ่งคือท่อแคปทิ้วป์ป์ มีหน้าที่ควบคุมการไหลของสารทาความเย็น โดยท่อแคปทิ้วป์ป์เป็ นท่อที่มีขนาดเล็ ก และมีขนาดเส้นผ่ านศูนย์กลางภายในตั้งแต่ 0.028 - 0.095 นิ้ว ในระบบของเครื่องทาความเย็นบริเวณท่อแคปทิ้วป์ป์ควรมีตะแกรงกรอง เพื่อป้องกันฝุ่นผงไม่ให้เข้าไปอุดตันในท่อ การนาไปใช้งาน ท่อแคปทิ้วป์ป์เหมาะกับระบบความเย็นที่มีค่าปริมาณความร้อนเปลี่ยนแปลงไม่มาก เช่น ตู้เย็น ตู้แช่ และเครื่องปรับอากาศแบบหน้าต่าง 1.3 ปัญหาที่พบจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว และท่อแคปปิลลารี่ 1.3.1 Low Pressure สูงกว่าปกติ 1) สาเหตุเกิดจาก - เอ็กซ์แพนชั่นวาล์วจ่ายน้ายาออกมาเยอะเกินไป - วาล์วทางดูดรั่ว 2) วิธีการแก้ไข - ปรับหรี่เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว - เปลี่ยนวาล์ว หรืออุปกรณ์วาล์วใหม่ 1.3.2 Low Pressure ต่ากว่าปกติ 1) สาเหตุเกิดจาก - Solenoid Valve, Expansion Valve หรือ Suction Filter ตัน - ปริมาณน้ายาในระบบน้อยเกินไป - มีปริมาณน้ามันมากเกินไปในระบบ

54 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

2) วิธีการแก้ไข - Pump Down เพื่อดึงน้ายากลับ และทาการถอดล้าง หรือเปลี่ยนอุปกรณ์ที่ชารุด - ตรวจสอบรอยรั่ว แก้ไข และเติมน้ายาเพิ่ม - ตรวจเช็คปริมาณน้ามัน แล้วเอาน้ามันออก

ภาพที่ 4.4 Pump Down เพื่อดึงน้ายากลับ 1.3.3 คอมเพรสเซอร์เย็นเกินไป มีน้าแข็งจับตัวคอมเพรสเซอร์ 1) สาเหตุเกิดจาก - เอ็กซ์แพนชั่นวาล์วจ่ายน้ายามากเกินไป - พัดลมคอยล์เย็นไม่ทางาน - คอยล์เย็นมีน้าแข็งเกาะเยอะเกินไป 2) วิธีการแก้ปัญหา - ปรับหรี่เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว - ตรวจเช็คการทางานของพัดลม - ทาการละลายน้าแข็ง 1.3.4 คอมเพรสเซอร์ร้อนเกินไป 1) สาเหตุเกิดจาก - เอ็กซ์แพนชั่นวาล์วจ่ายน้ายาน้อยเกินไป - น้ายาในระบบน้อยเกินไป

55 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

2) วิธีการแก้ไข - คลายเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว - เติมน้ายา

ภาพที่ 4.5 เติมน้ายา 1.3.5 อุณหภูมิสูงเกินไป 1) สาเหตุเกิดจาก - ตัง้ อุณหภูมิไว้สูงมาก - เอ็กซ์แพนชั่นวาล์วหรือท่อแคปปิลลารี่เล็กเกินไป 2) วิธีการแก้ไข - ปรับอุณหภูมิให้ลดลง - เปลี่ยนแอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว หรือเปลี่ยนท่อแคปปิลลารี่ใหม่ 1.3.6 ท่อทางกลับเป็นน้าแข็งหรือเป็นเหงื่อ 1) สาเหตุเกิดจาก - เอ็กซ์แพนชั่นวาล์วหรือท่อแคปปิลลารี่เล็กเกินไป - เอ็กซ์แพนชั่นวาล์วหรือท่อแคปปิลลารี่อุดตัน สาเหตุดังกล่าวจะทาให้เกิดอาการฮีท ขณะทีค่ อมเพรสเซอร์อัดน้ายา แต่ไม่สามารถ ผลักดันน้ายาได้สะดวก เนื่องจากมีสิ่งกีดขวางมาอุดตัน ส่งผลให้คอมเพรสเซอร์ทางาน หนักจนน็อคในที่สุด

56 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

2) วิธีการแก้ไข - เปลี่ยนเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วหรือเปลี่ยนท่อแคปปิลลารี่ใหม่ - ทาความสะอาดหรือเปลี่ยนเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วหรือท่อแคปปิลลารี่ใหม่

57 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. คอมเพรสเซอร์เย็นเกินไปจนมีน้าแข็งจับตัวคอมเพรสเซอร์ วิธีการแก้ไขใดเป็นวิธีที่เหมาะสมที่สุด ก. ปรับหรี่เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว ข. ใช้น้าแรงดันสูงฉีดเปิดท่อ ค. ใช้น้าอุ่นฉีดคอมเพรสเซอร์ขณะทางาน ง. ปรับอุณหภูมิสูงขึ้นเพื่อละลายน้าแข็ง 2. ข้อใด ไม่ใช่ สาเหตุที่ทาให้ Low Pressure ต่ากว่าปกติ ก. Suction Filter ตัน ข. ปริมาณน้ายาในระบบน้อยเกินไป ค. ปริมาณน้ามันมากเกินไปในระบบ ง. ตั้งอุณหภูมิต่ากว่า 25 องศาเป็นประจา 3. ข้อใดไม่ใช่วิธีแก้ปัญหาเมื่อ Low Pressure ต่ากว่าปกติอย่างไร ก. เปลี่ยนกล่องควบคุมอุณหภูมิ ข. Pump Down เพื่อดึงน้ายากลับ ค. ตรวจสอบรอยรั่ว แก้ไข และเติมน้ายาเพิ่ม ง. ตรวจเช็คปริมาณน้ามัน แล้วเอาน้ามันออก

58 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

กระดาษคาตอบ ข้อ

1 2 3

59 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ใบงาน ใบงานที่ 4.1 ข้อบกพร่องที่เกิดจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว และแคปปิลลารี่ทิ้วป์ป์ 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดจากเอ็กแพนชั่นวาล์วและแคปปิลลารี่ทิ้วป์ป์ได้

2. ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงานรวม 4 ชั่วโมง

3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกตรวจเช็คและวิเคราะห์ข้อบกพร่องที่อาจจะเกิดขึ้นในเครื่องปรับอากาศ และทาการแก้ไขตาม ความเหมาะสม บันทึกค่าผลการตรวจสอบ ตารางที่ 1 ค่าความดันของสารทาความเย็น สถานะของ

ค่าความดันสารทา

ค่าความดันสารทา

เครื่องปรับอากาศ

ความเย็นด้าน (Low)

ความเย็นด้าน (HI)

(PSI)

(PSI)

หมายเหตุ

คอยล์ร้อนทางาน คอยล์ร้อนหยุดทางาน ตารางที่ 2 ค่ากระแสไฟฟ้าของเครื่องปรับอากาศ สถานะของ

ค่ากระแสไฟที่อ่านได้

ค่ากระแสไฟฟ้าที่อ่านได้

เครื่องปรับอากาศ

(A)

จากเนมเพลท (A)

คอยล์ร้อนทางาน คอยล์ร้อนหยุดทางาน

60 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

หมายเหตุ


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

วิเคราะห์อาการเสีย …………………………………………………………………………………........………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………........………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………........………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………........………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………........………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………........………………………………………………………………………………….. แนวทางการแก้ไข …………………………………………………………………………………........………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………........………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………........………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………........………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………........………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………........…………………………………………………………………………………..

61 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 4.1 ข้อบกพร่องที่เกิดจากเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว และแคปปิลลารี่ทิ้วป์ป์ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้า วางกีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. แมนิโฟลด์เกจ

จานวน 1 ชุด

2. ไขควงแฉก

จานวน 1 ตัว

3. ไขควงแบน

จานวน 1 ตัว

4. คีมช่างไฟฟ้า

จานวน 1 ตัว

5. แคล้มป์ออนมิเตอร์

จานวน 1 ตัว

6. ชุดขยายท่อ

จานวน 1 ชุด

7. ชุดเชื่อมแก๊ส

จานวน 1 ชุด

8. ชุดบานแฟลร์ท่อ

จานวน 1 ชุด

9. ชุดประแจปากตาย

จานวน 1 ชุด

10. ประแจเลื่อน

จานวน 1 ตัว

11. มัลติมิเตอร์

จานวน 1 ตัว 62 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. เครื่องปรับอากาศ มีอาการเสียอันเนื่องมาจาก ข้อบกพร่องของเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วหรือแคปทิ้วป์

จานวน 1 ตัว

2. แคปทิ้วป์

จานวน 1 ม้วน

3. ถังน้ายา R-22

จานวน 1 ถัง

4. เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว

จานวน 1 ตัว

2. ลาดับการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. บันทึกข้อมูลเนมเพลท

คาอธิบาย

ข้อควรระวัง

บั น ทึ ก ข้ อ มู ล พื้ น ฐ า น ข อ ง เครื่องปรับอากาศจากเนมเพลท ของเครื่อง

2. ต่อสายแมนิโฟลด์เกจที่ท่อซัคชั่นและท่อลิคขวิด

ต่อสายแมนิโฟลด์เกจที่ท่อซัคชั่น ขั้นตอนนี้ยังไม่ต้องเปิด

ถอดฝาคอนเดนซิ่งยูนิตแล้ววัดค่ากระแสของ

แ ล ะ ท่ อ ลิ ค ข วิ ด ข อ ง เครื่องปรับอากาศ

เครื่องปรับอากาศ จากนั้นบันทึกผล

เครื่องปรับอากาศ จากนั้นถอดฝา บนที่ ค อนเดนซิ่ ง ยู นิ ต แล้ ว น า แคล้มป์ออนมิเตอร์วัดค่ากระแส ของเครื่ อ งปรั บ อากาศ จากนั้ น บันทึกผล

63 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

3. เปิดเครื่องปรับอากาศ 10 นาที บันทึกผลค่า

เปิดเครื่องปรับอากาศประมาณ

ความดันสารทาความเย็น

10 นาที ให้คอนเดนซิ่งยูนิต ทางานจึงบันทึกผลค่าความดัน ของสารทาความเย็นรวมทั้งค่า กระแสไฟฟ้า

4. บันทึกผล และวิเคราะห์อาการพร้อมแนว

บันทึกผลการวิเคราะห์อาการเสีย

ทางแก้ไข

และแนวทางการแก้ไข

5. วิเคราะห์ปัญหา เพื่อทาการแก้ไข

วิ เ คราะห์ ปั ญ หาที่ พ บจากความ ช า รุ ด ที่ แ ค ป ทิ้ ว ป์ ห รื อ เ อ็ ก ซ์ แพนชั่นวาล์ว

6. ปล่อยสารทาความเย็นออกจนหมด

ค่ อ ย ๆ ปล่ อ ยสารท าความเย็ น ออกจากระบบโดยเปิ ด วาล์ ว ที่ แมนิโฟลด์เกจจนหมด

64 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

7. ถอดเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วออกจากระบบและถอด

ใช้ประแจถอดเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว

หางกระเปาะที่ทางออกของอีวาพอเรเตอร์

ออกจากระบบและถอดหาง ก ร ะ เ ป า ะ ที่ ท า ง อ อ ก ข อ ง อีวาพอเรเตอร์

8. เปลี่ยนเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วตัวใหม่ และท่อ

เปลี่ยนเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วตัวใหม่

ทางเข้าออกเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว โดยติดตั้งหาง

โดยติดตั้งหางกระเปาะที่ทางออก

กระเปาะที่ทางออกอีวาพอเรเตอร์ที่ตาแหน่งเดิม

อีวาพอเรเตอร์ที่ตาแหน่งเดิมและ ใช้ประแจติดตั้งท่อทางเข้าออกของ เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว

9. ทาสุญญากาศระบบ

ทาสุญญากาศระบบ

10. เติมสารทาความเย็น

เติมสารทาความเย็นและเดินเครื่อง จนได้ ป ริ ม าณสารท าความเย็ น ตามเกณฑ์

65 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

11. เปิ ด เครื่ อ งปรั บ อากาศ 40 นาที และสั ง เกต ทดลองเดิ น เครื่ อ งปรั บ อากาศ อุ ณ หภู มิ ภ ายในห้ อ งและอุ ณ หภู มิ ล มเป่ า ออกที่ ประมาณ 40 นาที และสั ง เกต คอนเดนซิ่งยูนิต แล้วบันทึกผล

อุณหภูมิภายในห้องและอุณหภูมิ ลมเป่ า ออกที่ ค อนเดนซิ่ ง ยู นิ ต จากนั้นบันทึกผล

66 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑ์การพิจารณา

วิธีการปรับและติดตั้งความแตกต่างของช่วงการทางาน อุปกรณ์ควบคุมความดัน

2

1.1 ต่ออุปกรณ์ถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 วัดและอ่านค่าความดันถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 บันทึกผลถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ปฏิบัติงาน

67 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ลาดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 วัดและอ่านค่าความดันถูกต้อง

คะแนนเต็ม 25

- วัดและอ่านค่าความดันถูกต้อง ตามขั้นตอนต่าง ๆ ทุกจุด ให้คะแนน 5 คะแนน

5

- วัดและอ่านค่าความดันผิด 1 หน่วย ให้คะแนน 3 คะแนน - วัดและอ่านค่าความดันผิดตั้งแต่ 2 หน่วยขึ้นไป ให้คะแนน 1 คะแนน 1.2 วัดและอ่านค่าความดันถูกต้อง

- วัดและอ่านค่ากระแสไฟฟ้าถูกต้อง ทุกจุด ให้คะแนน 5 คะแนน

5

- วั ด และอ่ า นค่ า กระแสไฟฟ้ า ผิ ด 1 จุ ด หรื อ 1หน่ ว ย ให้ ค ะแนน 3 คะแนน - วัดและอ่านค่ากระแสไฟฟ้าผิดตั้งแต่ 2 จุดหรือ 2 หน่วย ให้คะแนน 1 คะแนน 1.3 บันทึกผลถูกต้อง

- บันทึกผลถูกต้องทุกจุด ให้คะแนน 5 คะแนน - บันทึกผลผิด 1 จุด ให้คะแนน 3 คะแนน

5

- บันทึกผลผิดตั้งแต่ 2 จุด ให้คะแนน 1 คะแนน 1.4 เปลี่ยนเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว/แคปทิ้วป์ตัวใหม่ - เปลี่ยนเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว/แคปทิ้วป์ ได้ถูกต้องสมบูรณ์ ให้คะแนน 5

5

คะแนน - เปลี่ยนเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว/แคปทิ้วป์ ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 5 คะแนน 1.5 ทาสุญญากาศและเติมสารทาความเย็น

- ทาสุญญากาศระบบและเติมสารทาความเย็นได้ถูกต้อง ให้คะแนน 5

5

คะแนน - ทาสุญญากาศระบบ เติมสารทาความเย็นไม่ได้ตามปริมาณที่กาหนด เล็กน้อย ให้คะแนน 3 คะแนน - ทาสุญญากาศระบบ เติมสารทาความเย็นไม่ได้ตามปริมาณที่กาหนด มาก ให้คะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน ครบถ้วน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

1

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

1

2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 30

68 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได้


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

หมายเหตุ หากผู้เข้ารับการฝึกได้รับคะแนน 21 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70) ให้ผู้เข้ารับการฝึก ขอเข้ารับการทดสอบภาคปฏิบัติได้

69 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

คณะผู้จัดทาโครงการ คณะผู้บริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

5. ว่าที่ร้อยตรี สมศักดิ์ พรหมดา

ผู้อานวยการสานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน์

ผู้อานวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก

7. นายวัชรพงษ์

มุขเชิด

ผู้อานวยการสานักงานรับรองความรู้ความสามารถ

คาเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ์

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพ์สาลี

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกล้า

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กาภู ณ อยุธยา

สานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน์

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงค์วัฒนานุรักษ์

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค์

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 70 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 11

71 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.