คู่มือผู้รับการฝึก ช่างบำรุงรักษารถยนต์ ระดับ 2 โมดูล 1

Page 1

หนาปก



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คูมือผูรับการฝก 0920163100502 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 1 09210104 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คํานํา

คูมือผูรับการฝก สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดูล 1 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ฉบับนี้ เปนสวนหนึ่ง ของหลั กสู ต รฝ กอบรมฝ มือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเป น เอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน ด ว ยระบบการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการการ ฝกอบรมให เป นไปตามหลั กสู ตร กล าวคื อ อบรมผู รับการฝกใหสามารถตระหนักถึงความปลอดภัยในขณะปฏิบัติงานและ ปฏิบัติงานไดอยางปลอดภัย และติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตาม มาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตางๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

สารบั ญ

เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

1

โมดูลการฝกที่ 1 09210104 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน หัวขอวิชาที่ 1 0921010401 วิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย

14

หัวขอวิชาที่ 2 0921010402 หลักการปองกันอุบัติเหตุที่เหมาะสมกับสภาวะการปฏิบัติงาน

23

หัวขอวิชาที่ 3 0921010403 การจัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสม

30

หัวขอวิชาที่ 4 0921010404 การแตงกายและการใชอุปกรณปองกันอันตรายขณะปฏิบัติงาน

47

หัวขอวิชาที่ 5 0921010405 วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคีภัย

74

หัวขอวิชาที่ 6 0921010406 ขอกําหนดเกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพ

92

หัวขอวิชาที่ 7 0921010407 กฎหมายแรงงาน

100

คณะผูจัดทําโครงการ

110

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขอแนะนําสําหรับผูร ับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝ กฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข อวิ ชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเข า ใช ง านระบบ แบงสว นการใชง านตามความรับ ผิด ชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดัง ภาพในหนา 2 ซึ่งรายละเอียดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

.

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถั ด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผูรับการฝกดาวนโหลดแอปพลิ เคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวนโหลดแอปพลิ เ คชั น สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิ เ คชั น DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวน โ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด 7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

- หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 8

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920163100502

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝ กใน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 1.2 มีความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรชางยนต 1.3 มีความรูเกี่ยวกับวิทยาศาสตรประยุกต 1.4 มีความรูเกี่ยวกับวัสดุและสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน 1.5 มีความรูเกี่ยวกับเครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต 1.6 มีความรูเกี่ยวกับการวิเคราะหและแกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตน 1.7 มีความรูเกี่ยวกับการหลอลื่นและการเลือกใชสารหลอลื่น 1.8 มีความรูเกี่ยวกับการทํารายงานสถิติ รวมถึงการทําระบบติดตามลูกคาเบื้องตน 2. ระยะเวลาการฝก ผู รั บ การฝ กจะได รั บ การฝ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบัน พัฒ นาฝมือแรงงาน หรื อสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 113 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถ และความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไม พร อมกัน สามารถจบกอนหรื อเกินระยะเวลาที่กําหนดไว ในหลั กสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการ สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 8 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 8 โมดูล

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 4.3 ผู รั บ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ า นการฝ ก ครบทุ ก หน ว ยความสามารถ จะได รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 1 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920163100501 2. ชื่อโมดูลการฝก ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน รหัสโมดูลการฝก 09210104 3. ระยะเวลาการฝก รวม 12 ชั่วโมง 45 นาที ทฤษฎี 5 ชั่วโมง 15 นาที ปฏิบัติ 7 ชั่วโมง 30 นาที 4. ขอบเขตของหน วย หน ว ยการฝ กนี้ พั ฒ นาขึ้น ใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับ การฝ ก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายวิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน อุปกรณ ชิ้นงาน และเครื่องมือ ที่ใชในการปฏิบัติงานได 2. อธิบายหลักการปองกันอุบัติเหตุที่เหมาะสมกับสภาวะการปฏิบัติงานได 3. บอกวิธีการจัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสมได 4. จัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสมได 5. อธิบายการแตงกาย และการใชอุปกรณปองกันอันตรายขณะปฏิบัติงานได 6. แตงกายและใชอุปกรณปองกันอันตรายขณะปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง 7. อธิบายวิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคีภัยได 8. ปฏิบัติตนตามวิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคีภัยได 9. บอกขอกําหนดเกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพได 10. อธิบายกฎหมายแรงงานได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน ผูรับการฝก 2. มีความรูเรื่องกฎหมายในชีวิตประจําวัน 3. ผูรับการฝกผานระดับ 1 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและ ใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายวิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย หัวขอที่ 1 : วิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย 0:30 0:30 ทั้งผูปฏิบัติงาน อุปกรณ ชิ้นงาน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

และเครื่องมือที่ใชในการ ปฏิบัติงานได 2. อธิบายหลักการปองกัน อุบัติเหตุที่เหมาะสมกับสภาวะ การปฏิบัติงาน 3. บอกวิธีการจัดพื้นที่ในการ ปฏิบัติงานที่เหมาะสมได 4. จัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานที่ เหมาะสมได 5. อธิบายการแตงกาย และการ ใชอุปกรณปองกันอันตราย ขณะปฏิบัติงานได 6. แตงกายและใชอุปกรณปองกัน อันตรายขณะปฏิบัติงานได อยางถูกตอง 7. อธิ บ ายวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ เ มื่ อ เกิ ด อัคคีภัยได 8. ปฏิ บั ติ ต นตามวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ เมื่อเกิดอัคคีภัยได 9. บอกขอกําหนดเกี่ยวกับความ ปลอดภัยและสุขภาพได 10. อธิบายกฎหมายแรงงานได

หัวขอที่ 2 : หลักการปองกันอุบัติเหตุที่เหมาะสม กับสภาวะการปฏิบัติงาน

0:30

-

0:30

หัวขอที่ 3 : การจัดพื้นที่ในการปฏิบัติงาน ที่เหมาะสม

0:45

2:30

3:15

หัวขอที่ 4 : การแตงกาย และการใชอุปกรณ ปองกันอันตรายขณะปฏิบัติงาน

0:45

2:30

3:15

หัวขอที่ 5 : วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคีภัย

01:30

2:30

4:00

หัวขอที่ 6 : ขอกําหนดเกี่ยวกับความปลอดภัย และสุขภาพ หัวขอที่ 7 : กฎหมายแรงงาน รวมทั้งสิ้น

0:15

-

0:15

1:00 5:15

7:30

1:00 12:45

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921010401 วิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายวิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน อุปกรณ ชิ้นงาน และเครื่องมือที่ใชในการปฏิบัติงานได

2. หัวขอสําคัญ 1. ความปลอดภัยในการใชเครื่องมือ 2. ความปลอดภัยในการใชเครื่องจักรกล 3. ขอบังคับเกี่ยวกับความปลอดภัย

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ทวี มณีสาย. 2558. งานเครื่องมือกลเบื้องตน. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมวิชาการ.

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ความปลอดภัยในการใชเครื่องมือ 1. การใชเครื่องมือในการปฏิบัติงานอยางปลอดภัย การใชเครื่องมือในการปฏิบัติงาน ควรใชดวยความระมัดระวัง เพื่อปองกันการเกิดอันตรายตอรางกาย โดยมีวิธีปฏิบัติ ดังนี้ 1) กอนนําคอนไปใชทุกครั้ง ควรตรวจสอบดามคอนกอนวาอยูในสภาพพรอมใชงานหรือไม 2) เลือกใชคอนที่มีขนาดเหมาะสมกับงาน 3) หามนําเครื่องมือที่มีคมใสกระเปาเสื้อหรือกระเปากางเกง 4) เวลาถือเครื่องมือที่มีคม ควรเอาดานคมหรือปลายแหลมลงดานลางเสมอ 5) ในขณะใชเครื่องมือทีม่ ีคม ไมควรหันดานที่มคี มเขาหาผูปฏิบัติงาน 6) เลือกใชประแจขันหัวนอต (Nut) ที่มีขนาดพอดี ไมหลวมจนเกินไป เพราะอาจทําใหเกิดการลื่นไถล และทําให หัวนอตชํารุดเสียหาย 7) หามจับคอนในขณะที่มือเปอนน้ํามันหรือจาระบี 8) หามใชตะไบที่มดี ามหลวมหรือไมมีดาม เพราะกั่นตะไบอาจทิ่มมือได 9) หามใชตะไบแทนคอน ลิ่ม หรือชะแลงงัดชิ้นงาน เพราะตะไบจะบิ่นและแตกหักได 10) กอนนําหัวแรงบัดกรีไปใชทุกครั้ง ตองตรวจสอบปลั๊กสายไฟและตัวหัวแรง รวมถึงดามจับและเครื่องมือตาง ๆ แนนดีแลวหรือไม

ภาพที่ 1.1 ตรวจสอบสภาพหัวแรงบัดกรี 11) ระวังอยาใหนิ้วมือถูกหัวแรงบัดกรีในขณะใชงาน 12) ระวังอยาใหตะกั่วบัดกรีเหลวแตะโดนผิวงานที่เปยกชื้น และระวังไอพิษของสารตะกั่ว 13) หามใชไขควงแทนสกัด 14) ตองใชปากกาจับชิ้นงานหรือคีมล็อกจับชิ้นงานไว เพราะอาจแตกหักในขณะใชงาน และกระเด็นไปถูกผูอื่นได 15) หามใชอุปกรณหรือเครื่องมือที่ชํารุด เพราะอาจแตกหักและกระเด็นไปถูกผูอื่นไดในขณะใชงาน 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 1.2 ประแจชํารุด

ภาพที่ 1.3 ไขควงชํารุด

ภาพที่ 1.4 ประแจแหวนชํารุด

16) ในขณะสกัดชิ้นงานตองระวังไมใหเศษโลหะกระเด็นไปถูกผูอื่นหรือบริเวณรอบขาง และตองสวมใสอุปกรณ ปองกันสวนบุคคล 17) อยาใชเครื่องมือที่มีกั่นโดยไมมีดามเด็ดขาด เพราะจะทําใหเครื่องมือเสียหายและผูใชงานอาจไดรับอันตราย

ภาพที่ 1.5 เครื่องมือที่มีกั่น 2. ความปลอดภัยในการใชเครื่องจักรกล การใชเครื่องจักรกลในการปฏิบัติงาน สามารถชวยผอนแรงของผูปฏิบัติงานได แตควรใชดวยความระมัดระวังและใช อยางถูกวิธี เพื่อปองกันการเกิดอันตรายตอชีวิตและทรัพยสิน ซึ่งสิ่งที่ตองระมัดระวังในขณะใชงาน มีดังนี้ 1) การใชเครื่องเจียระไนลับมีดทุกครั้ง ตองมีอุปกรณปองกันและแทนพักชิ้นงาน โดยอยูหางจากหินเจียระไน ไมเกิน 3 มิลลิเมตร เพื่อปองกันนิ้วมือเขาไปในรอง

ภาพที่ 1.6 เครื่องเจียระไนลับมีด

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2) ผูปฏิบัติงานตองสวมแวนตานิรภัย กอนทําการกลึง เจาะ หรือลับของมีคมตาง ๆ 3) หามใชคีมจับชิ้นงานที่มีลักษณะกลมไปเจียระไน เพราะอาจลื่นไถลหรือเกิดการงัดกับหินเจียระไนทําให หินเจียระไนแตกกระเด็นไปถูกผูอื่น 4) ตรวจสอบผิวหนาของหินเจียระไนใหเรียบอยูเสมอกอนนําไปใชงาน 5) หามใชงานเกินกําลังของเครื่องจักรกลจะทําใหเครื่องจักรไดรับความเสียหายไดงาย และเกิดอันตรายกั บ ผูปฏิบัติงาน 6) ตรวจสอบความเร็วรอบของเครื่องจักรกลทุกครั้งกอนใชงาน หามใชความเร็วเกินกวาที่มาตรฐานกําหนด 7) ถาเครื่องจักรกลเกิดการสั่นสะเทือนในขณะใชงาน ใหปดเครื่องจักรกลและตรวจสอบ ซอมแซมใหอยูใน สภาพปกติกอนใชงานตอไป 8) หากมีการเปลี่ยนชิ้นสวนในเครื่องจักรกล หลังทําการเปลี่ยนแลวใหทดลองเดินเครื่อง 3-5 นาที กอนใช ปฏิบัติงานจริง 9) ในขณะที่เครื่องจักรกลกําลังจะเริ่มทํางาน หามปอนงานเขาไปในสวนตัดเฉือนเด็ดขาด ควรรอใหความเร็ว คงที่กอน จึงทําการปอนงานเขาไป 10) หามใชเครื่องจักรกลที่ไมมีอุปกรณปองกันอันตราย 11) ในขณะที่เครื่องจักรกลกําลังทํางาน หามเอื้อมมือขามเครื่องจักร หรือกระทําการอันใดตอเครื่องจักรกล เปนอันขาด เพราะอาจทําใหเกิดอันตรายได 12) หามวางเครื่องมือและอุปกรณชวยตาง ๆ บนเครื่องจักรกลเด็ดขาด 13) หามนําประแจขันคาไวบนอุปกรณจับชิ้นงาน เพราะจะทําใหเกิดอันตรายได 14) ในการปฏิบัติงานทุกครั้งตองจับยึดอุปกรณชวยตัดเฉือนตาง ๆ ใหแนนและแข็งแรง 15) ระวังอวัยวะตาง ๆ ของรางกาย กอนเปดใชงานเครื่องจักรกลทุก ๆ ครั้ง

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3. ขอบังคับเกี่ยวกับความปลอดภัย มีดังนี้ 1) เจาของสถานประกอบการตองทําปายขอบังคับในสถานที่ปฏิบัติงาน เพื่อแจงพนักงานใหปฏิบัติตามอยาง เครงครัด

ภาพที่ 1.7 ปายขอบังคับในสถานที่ปฏิบัติงาน 2) เจาของสถานประกอบการ จะตองจัดทํารั้ว ฝาปดตาง ๆ ไวตามสถานที่หรือจุดที่มีอันตราย เชน บริเวณที่ เก็บเชื้อเพลิง สารเคมี เปนตน รวมถึงหามไมใหผูที่ไมมีสวนเกี่ยวของเขาไปในบริเวณดังกลาวโดยเด็ดขาด

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ถาใชประแจที่มีขนาดไมพอดีกับหัวนอต จะเกิดสงผลอยางไร ก. หัวนอตเสียหายจากการลื่นไถล ข. นอตหักคารูของชิ้นงาน ค. หัวประแจชํารุดเสียหาย ง. นอตหลวมไมสามารถถอดได 2. บุคคลใด บกพรองในเรื่องความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ก. นิพนธใชปากกาจับชิ้นงานขณะทําเกลียวนอก ข. สุชาติเช็ดมือและดามคอนกอนใชงาน ค. อภิสิทธิ์ถือเครื่องมือที่มีคมโดยเอาดานคมลงดานลาง ง. มานพจับกั่นของตะไบขณะตะไบผิวชิ้นงาน 3. บุคคลใด ใชเครื่องมืออยางปลอดภัย ก. ดนุพรใชไขควงแทนสกัดเพราะเปนชิ้นงานขนาดเล็ก ข. ปกรณใชใบหินเจียระไนขัดผิวชิ้นงานแทนตะไบ ค. ธีรเดชถือเครื่องมือที่มีคมโดยเอาดานคมลงดานลาง ง. ศักดิ์ดาจับคอนในขณะที่มือเปอนน้ํามันหรือจาระบี 4. ขอใด คือ การปฏิบัติงานที่ไมปลอดภัย ก. จับยึดอุปกรณชวยตัดเฉือนตาง ๆ ใหแนนและแข็งแรง ข. ใชคีมจับชิ้นงานที่มีลักษณะกลมไปเจียระไน ค. สวมแวนตานิรภัย กอนทําการกลึง เจาะ หรือลับของมีคมตาง ๆ ง. ไมแตะตะกั่วบัดกรีเหลวลงบนชิ้นงานที่เปยกชิ้น

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. การใชเครื่องเจียระไนลับมีด ตองกําหนดใหอุปกรณปองกันและแทนพักชิ้นงานมีระยะหางจากหินเจียระไนเทาใด ก. ไมเกิน 3 มิลลิเมตร ข. ไมเกิน 2 มิลลิเมตร ค. 4 มิลลิเมตร ง. 5 มิลลิเมตร

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4 5

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921010402 หลักการปองกันอุบัติเหตุที่เหมาะสมกับสภาวะการปฏิบัติงาน (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายหลักการปองกันอุบัติเหตุที่เหมาะสมกับสภาวะการปฏิบัติงานได

2. หัวขอสําคัญ 1. การปองกันอุบัติเหตุที่เกิดจากตัวบุคคล 2. การปองกันอุบัติเหตุจากเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ 3. การปองกันอุบัติเหตุจากการจัดระบบทํางานและสถานที่ปฏิบัติงาน

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ทวี มณีสาย. 2558. งานเครื่องมือกลเบื้องตน. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมวิชาการ.

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 หลักการปองกันอุบัติเหตุที่เหมาะสมกับสภาวะการปฏิบัติงาน 1. การปองกันอุบัติเหตุที่เกิดจากตัวบุคคล การปองกันอุบัติเหตุจากตัวบุคคล สามารถทําไดโดยการเสริมสรางลักษณะนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงาน และสงเสริมให ตระหนักถึงความสําคัญของความปลอดภัย ดังนี้ 1) ถอดเสื้อกันหนาวออกกอนปฏิบัติงานทุกครั้ง ในกรณีที่ใชเสื้อทับกันหลายตัว 2) กรณีที่มีผากันเปอนหรือชุดสวมทับ ควรสวมใสกอนปฏิบัติงานทุกครั้ง 3) ถอดเน็คไทออกกอนปฏิบัติงานทุกครั้ง 4) ถาใสเสื้อแขนยาว หรือบริเวณแขนเสื้อหลวม ควรพับขึ้นมาใหถึงขอศอก

ภาพที่ 2.1 พับแขนเสื้อขึ้นใหถึงขอศอก 5) ถอดเครื่องประดับออกกอนปฏิบัติงานทุกครั้ง 6) รวบผมใหเรียบรอยกอนปฏิบัติงานทุกครั้ง 7) ลางมือใหสะอาดทุกครั้งกอนปฏิบัติงาน กรณีเปอนน้ํามันหรือจาระบี 8) ไมนําวัสดุตาง ๆ เขาปาก 9) ไมหยอกลอกันขณะปฏิบัติงาน 10) ขยัน อดทน และมีความรับผิดชอบตองาน 11) เตรียมพรอมรับมือกับสถานการณฉุกเฉิน 12) สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล 13) ปฏิบัติงานตามคูมือปฏิบัติงานอยางเครงครัด 14) ปฏิบัติงานตามปายครื่องหมายตาง ๆ อยางเครงครัด 15) ตรวจสอบ อุปกรณ เครื่องมือ เครื่องจักร กอน – หลัง การใชงาน 2. การปองกันอุบัติเหตุจากเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ การปองกันอันตรายจากเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ ที่ผูปฏิบัติงานควรรู มีดังนี้ 1) ไมควรนําเครื่องมือมีคมที่ชํารุดมาใชงาน 2) ไมควรนําเครื่องมือที่ดามหลวม ดามแตกชํารุดมาใชงาน 3) การเคลื่อนยายเครื่องมือมีคม ควรใสกลองหรือวางบนถาดวางเครื่องมือ 4) ไมพกเครื่องมือมีคมไวในกระเปาเสื้อหรือกระเปากางเกง 5) เมื่ อจะต อ ไฟฟ า หรื อต อ อุ ป กรณ ไ ฟฟ าต อ งแน ใจว า มื อ ทั้งสองไมเ ปย กน้ํา สวิตช อยู ในตํ าแหน งป ด และ สายไฟฟาอยูในสภาพดี 6) หากใชเครื่องมือกล ผูปฏิบัติงานควรเปนผูควบคุมเปด - ปด ดวยตนเอง 7) หามทําความสะอาด ปรับแตง หรือหยอดน้ํามันเครื่องมือกลในขณะใชงาน 8) ผาหรือวัสดุที่ใชทําความสะอาดควรอยูหางจากสวนหมุนหรือสวนเคลื่อนที่ของเครื่องมือกล 9) เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ใหเรียบรอยทุกครั้งหลังใชงาน 10) หากเกิดความผิดปกติตองหยุดใชงานและปดเครื่องจักรกลทันที 11) เมื่อเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ เกิดความเสียหายขณะปฏิบัติงานใหรีบแจงหัวหนางานทันที 12) ตองจัดตาราง การซอมบํารุง เครื่องมือ เครื่องจักรและปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ 26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3. การปองกันอุบัติเหตุจากการจัดระบบทํางานและสถานที่ปฏิบัติงาน การปองกันอุบัติเหตุจากการจัดระบบทํางานและสถานที่ปฏิบัติงาน มีวิธีการปฏิบัติ ดังนี้ 1) จัดทําแผนการปฏิบัติงาน 2) จัดหองปฏิบัติงานใหสะอาดเปนระเบียบเรียบรอย 3) จัดเก็บวัสดุเหลือใชหรือเศษวัสดุตาง ๆ ใหเปนที่ เพื่อความปลอดภัยและงายตอการจัดการ 4) จัดระบบแสงสวางและระบายอากาศในสถานที่ปฏิบัติงานใหเหมาะสม 5) การเดินระบบไฟฟา ตองมิดชิด ปลอดภัย และงายตอการตรวจสอบ หรือซอมบํารุง 6) มีระบบตรวจสอบครุภัณฑและอาคารตลอดจนอุปกรณประกอบตาง ๆ ทั้งกอนทํางาน ระหวางทํางาน และ หลังเสร็จสิ้นการทํางาน 7) มีการรายงานอุบัติเหตุของผูปฏิบัติงาน เพื่อบันทึกและหาแนวทางแกไขปองกัน

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. ผูปฏิบัติงานตองถอดเน็คไทออกกอนใชเครื่องมือกล 2. ทําความสะอาดและจัดระเบียบสถานที่ปฏิบัติงานทุกสัปดาห 3. หากเครื่องมือเกิดความเสียหายระหวางปฏิบัติงาน ควรซอมแซมทันที 4. ตรวจสอบเครื่องมือและอุปกรณหลังการใชงานทุกครั้ง 5. อํานาจสวมสรอยขอมือขณะปฏิบัติงานเปลี่ยนถายน้ํามันเครื่อง 6. ปดสวิตชเครื่องใชไฟฟาหรืออุปกรณไฟฟากอนตอสายไฟทุกครั้ง 7. พงษศักดิ์หยอดน้ํามันหลอลื่นเครื่องมือกลในขณะกําลังเดินเครื่อง 8. สมหมายพับแขนเสื้อทีห่ ลวมใหสูงขึ้นมาถึงขอศอกขณะปฏิบัติงาน 9. อนุวัฒนพกไขควงวัดไฟฟาไวในกระเปากางเกง 10. นพดลสวมแวนตานิรภัยกอนปฏิบัติงานลางทําความสะอาดหัวเทียน

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กระดาษคําตอบ ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3 0921010404 การจัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสม (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกวิธีการจัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสมได 2. จัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสมได

2. หัวขอสําคัญ 1. หลักการ 5 ส 2. ขั้นตอนในการดําเนินงานหลักการ 5 ส 3. ประโยชนจากการทํากิจกรรม 5 ส

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ ครูฝกกําหนดได

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

7. บรรณานุกรม ศูนยคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. กิจกรรม 5 ส. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://web.sut.ac.th/ccs/ 5s/meaning.html องคการคลังสินคา กระทรวงพาณิชย. คูมือ 5 ส. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.pwo.co.th/ewt_dl_ link.php?nid=2858

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 การจัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสม กิจกรรม 5 ส คือ แนวทางในการจัดระเบียบความเรียบรอย ซึ่งเปนปจจัยพื้นฐานในการบริหารคุณภาพที่ชวยสราง สภาพแวดลอมสถานที่ทํางานใหสะอาด เรียบรอย และถูกสุขอนามัย 1. หลักการ 5 ส แนวคิด 5 ส แรกเริ่มนั้นเกิดจากความตองการในการพัฒนากระบวนการผลิตอุปกรณโทรคมนาคมใหมีคุณภาพ (Quality Control : QC) ในประเทศญี่ปุน ซึ่งไดรับความชวยเหลือจากสหรัฐอเมริกาในการอบรมใหความรูและวางแนวทางปฏิบัติ จน ไดรับ ความนิ ย มแพร ห ลายมากขึ้ น เนื่ องจากมี ขอดีคือ ผูป ฏิบัติงานและสภาพแวดลอมในการทํางานเอื้อประโยชน ต อ กระบวนการผลิตมากที่สุด กิจกรรม 5 ส นั้นประกอบดวยหลักการพื้นฐาน 5 ประการ คือ 1) สะสาง (SERI) คือ การแยกของที่ไมตองการออก และนําไปขจัดใหเรียบรอย 2) สะดวก (SEITON) คือ การจัดวางสิ่งของตาง ๆ ในที่ทํางาน เพื่อความเปนระเบียบเรียบรอย สะดวก และ ปลอดภัย 3) สะอาด (SEISO) คือ การทําความสะอาด เครื่องมือ อุปกรณ และสถานที่ทํางาน 4) สุขลักษณะ (SEIKTSU) คือ การรักษาความสะอาดใหอยูในสภาพหมดจด ถูกสุขลักษณะ โดยปฏิบัติตาม 3 ส ไดแก สะสาง สะดวก และสะอาด 5) สรางนิสัย (SHITSUKE) คือ การปฏิบัติงานตามระเบียบ วินัย ขอบังคับอยางเครงครัด เพื่อสรางใหเปนนิสัย

ภาพที่ 3.1 หลักการ 5 ส

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2. ขั้นตอนในการดําเนินงาน 5 ส 2.1 ขั้นตอนการเตรียมการ (Preparation) เริ่ มจากทํ า ความเข า ใจกั บ ผู บ ริ ห ารระดั บ สู ง ขององค กร และจัดทําแผนดํา เนิ น กิจ กรรม โดยทําตามขั้ น ตอน ดังตอไปนี้ 1) ทําความเขาใจกับผูบริหารระดับสูงของหนวยงานเกี่ยวกับกิจกรรม 5 ส และเชิญผูเชี่ยวชาญเรื่องกิจกรรม 5 ส มาเปนที่ปรึกษาในการดําเนินกิจกรรม 2) ผูบริหารกําหนดนโยบาย 5 ส และแตงตั้งคณะผูดําเนินกิจกรรม 5 ส 3) กํ า หนดแผนดํ า เนิ น กิ จ กรรม 5 ส ซึ่ ง ประกอบด ว ย กรอบแนวทางในการปฏิ บั ติ ง านแบบองค ร วม รายละเอียดปลีกยอยในแตละหนาที่ รายชื่อผูปฏิบัติหนาที่ ทั้งดานอํานวยการ ผูปฏิบัติงาน และผูสรุป ภาพรวมของการปฏิบัติงาน 4) ประกาศนโยบาย 5 ส ใหบุคลากรทุกคนในหนวยงานรับทราบอยางทั่วถึง และเปนทางการ 5) จัดการอบรมใหความรูใหแกบุคลากรทุกคนในหนวยงาน 6) อบรมคณะผูดําเนินกิจกรรม 5 ส ที่ไดรับแตงตั้ง เพื่อใหสามารถสงเสริม สนับสนุน และผลักดันกิจกรรม ใหดําเนินไปไดอยางตอเนื่องและประสบความสําเร็จ 7) ผูบริหารเยี่ยมชมหนวยงานที่ดําเนินกิจกรรม 5 ส อยางตอเนื่อง 2.2 ขั้นตอนเริ่มดําเนินการ (Kick off Project) กําหนดวันทําความสะอาดครั้งใหญ (Big Cleaning Day) และลงมือปฏิบัติ เพื่อเปนการเริ่มตนดํา เนิ น การตาม กิจ กรรม 5 ส โดยผูบ ริห ารระดับ สู ง ควรใหค วามรว มมื อ ในการทํา ความสะอาดครั้ ง ใหญนี้เพื่อแสดงออกถึงความ มุงมั่นที่มีตอกิจกรรม 2.3 ขั้นตอนดําเนินการ (Implementation) คณะผูดําเนินกิจกรรม 5 ส จะแบงพื้นที่ความรับผิดชอบและมอบหมายงาน ซึ่งทุกพื้นที่จะตองกําหนดแผนปฏิบัติการ ดังนี้ รายละเอียดกิจกรรม คือ การกําหนดกิจกรรมในพื้นที่รับผิดชอบ วามีอะไรบางตามขั้นตอนการดําเนินกิจกรรม 5 ส โดยเริ่มตนที่ 1) กําหนดระยะเวลาการดําเนินกิจกรรมใหชัดเจน 2) กําหนดผูรับผิดชอบในแตละหัวขอตามแผนงาน 3) กําหนดงบประมาณในแตละขั้นตอนลงในแผนงาน 34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

4) มีการประชุมสมาชิกในพื้นที่ทรี่ ับผิดชอบอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหแผนปฏิบัติการมีผลในทางปฏิบัติ 5) บุคลากรทุกคนที่อยูในพื้นที่จะตองปฏิบัติตาม 5 ส 6) มี ก ารประเมิ น ความคื บ หน า ของการดํา เนิ น กิจ กรรม 5 ส โดยคณะผูดํา เนิน กิจ กรรมและที่ปรึกษา เพื่อปรับปรุง แกไขขอบกพรอง และใหคําแนะนํา เพื่อใหกิจกรรมดําเนินไปอยางราบรื่นและประสบ ความสําเร็จโดยมีตัวอยางดังนี้ 2.3.1 ตัวอยางขั้นตอนการดําเนินกิจกรรม 5 ส ในการจัดเก็บอุปกรณ แผนกชางซอมบํารุงรักษารถยนต 1) หัวหนาแผนกมีหนาที่อํานวยการในการจัดกิจกรรม 5 ส และการจัดซื้อวัสดุ เชน น้ํามันเครื่อง หลอลื่นเครื่องยนต น้ําหลอเย็น เปนตน รวมถึงจัดซอมและจัดซื้ออุปกรณ เครื่องมือที่ชํารุด เสียหาย 2) หัวหนาแผนกจัดการประชุมยอยทุกสัปดาหและประชุมใหญทุกเดือน เพื่อตรวจสอบ ขับเคลื่อน กิจกรรม 5 ส ใหเปนไปตามแนวทางที่กําหนด 3) ชางในแผนกชางซอมบํารุงรักษาเครื่องยนตทุกคนมีสวนรวมในกิจกรรม 5 ส โดยมีหนาที่เปน ผูปฏิบัติงานภาคสนาม - ชางสํารวจวัสดุ เครื่องมือ และอุปกรณหลังเลิกงาน - ชางตรวจสอบพรอมทั้งบํารุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ ใหอยูในสภาพพรอมใชเสมอ - ชางบันทึกแบบฟอรม เพื่อสงซอมเครื่องมือที่ชํารุดเสียหาย รวมถึงสั่งซื้อวัสดุ อุปกรณ เพื่อทดแทนของที่หมดหรือไมสามารถซอมแซมได - ชางประเมินราคาซอมและราคาสินคาที่ตองจัดซื้อทดแทนใหฝายจัดซื้อกอนในเบื้องตน - ชางจัดเก็บอุปกรณ เครื่องมือ ใสกลองเครื่องมือหรือจัดเขาตูเก็บเครื่องมือใหถูกตอง เหมาะสม - ชางนํากลองเครื่องมือสงคืนแผนกหลังตรวจสอบอุปกรณเรียบรอยแลว เพื่อใหพรอม เบิกใชงานในวันรุงขึ้น 4) ฝายจัดซื้อสรุปรายการจัดซื้อจัดซอม วัสดุ อุปกรณ ในที่ประชุม 5) ทุกคนในแผนกซอมบํารุงรักษารถยนต มีหนาที่ชวยใหแผนกดําเนินกิจกรรม 5 ส ใหบรรลุผลสําเร็จ

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3. ประโยชนจากการทํากิจกรรม 5 ส 1) ชวยใหบุคลากรทํางานไดรวดเร็วขึ้น มีความถูกตองในการทํางานมากขึ้น บรรยากาศและสภาพแวดลอม นาอยูมากขึ้น 2) ชวยใหบุคลากรจะรักหนวยงานมากขึ้น 3) เกิดความรวมมือ รวมใจกันระหวางบุคลากรในหนวยงาน 4) บุคลากรในหนวยงานตระหนักถึงความสําคัญ และปฏิบัติตามกฎระเบียบอยางเครงครัด 5) บุคคลากรจะตระหนักถึงความสําคัญในเรื่องการปรับปรุง ซึ่งจะกอใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลใน การทํางาน 6) ชวยบํารุงรักษาและยืดอายุการใชงานของวัสดุ อุปกรณ และเครื่องมือตาง ๆ 7) ชวยเสริมสรางภาพลักษณของหนวยงาน 8) สถานที่ทํางานสะอาด ปลอดภัย มีระเบียบ 9) ลดอุบัติเหตุในการทํางาน 10) ชวยลดงบประมาณในการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ และเครื่องมือตาง ๆ ที่เกินความจําเปน

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. การจัดระเบียบสถานที่ปฏิบัติงาน ควรเริ่มจากการแยกสิ่งของที่จําเปน และ ไมจําเปนกอน 2. อนุ ชิ ต สั่ ง ซื้ อ เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ ข องศู น ย ฝ ก อบรมใหม ทั้ ง หมด เพื่ อ ให สอดคลองกับขั้นตอนความสะอาดของหลักการ 5 ส 3. การจัดสถานที่ปฏิบัติงานใหเหมาะสม ถือเปนพื้นฐานสําคัญของความปลอดภัย ในการทํางาน 4. การจัดพื้นที่ปฏิบัติงานตามหลัก 5 ส จะสําเร็จลุลวงไปดวยดีหรือไม ขึ้นอยูกับ การบริหารจัดการของผูบริหาร 5. การมีสุขลักษณะที่ดีจะตองเริ่มจากสะสาง สะดวก และสะอาด 6. ผู ป ฏิ บั ติ ง านควรรั ก ษาความสะอาดของสถานที่ ป ฏิ บัติ ง าน เพื่ อ เสริ ม สร าง สุขลักษณะที่ดี

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กระดาษคําตอบ ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5 6

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบงาน ใบงานที่ 3.1 การจัดพื้นที่โรงฝกแผนกวิชาชางยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - จัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสมได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกออกแบบการจัดระเบียบพื้นที่โรงฝกแผนกวิชาชางยนต ใหเหมาะสมและสอดคลองตามหลัก 5 ส. โดยตองมีสวนประกอบ ดังนี้ - พื้นที่ตั้งลิฟตยกรถ - พื้นที่สําหรับรถจอดซอม - พื้นที่เก็บอะไหล - พื้นที่รับรถ - พื้นที่เก็บอุปกรณเกา - หองเก็บเครื่องมือ

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.1 การจัดพื้นที่โรงฝกแผนกวิชาชางยนต 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - รองเทานิรภัย - หนากากกรองอนุภาค - ถุงมือผา - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 กลุม 1. กระปองพลาสติกสําหรับใสน้ํา

จํานวน 1 กระปอง

2. ไมกวาด

จํานวน 1 ดาม

3. ที่ตักขยะ

จํานวน 1 อัน

4. ไมถูพื้น

จํานวน 1 ดาม

5. ไมปดฝุน

จํานวน 1 ดาม

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 กลุม 1. กระดาษ A4 (สีขาว)

จํานวน 4 แผน

2. ดินสอ

จํานวน 1 แทง

3. ปากกา

จํานวน 1 ดาม

4. ยางลบ

จํานวน 1 กอน 40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 3 ผืน

6. น้ํายาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ขวด

7. ผงซักฟอก

จํานวน 1 ถุง

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การจัดพื้นที่โรงฝกแผนกวิชาชางยนต ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. เตรียมการ

ผูรับการฝกรวมกลุม กลุมละ 3 คน จํานวน

2. มอบหมายงาน

3 กลุม

3. ประชุมกลุม

ผูรับการฝกรับมอบหมายพื้นที่รับผิดชอบจาก ครูฝก ผูรับการฝกแตละกลุมจัดการประชุม เพื่อ วางแผนการปฏิบัติงานตามหลัก 5 ส

4. ดําเนินงานขั้นตอนสะสาง

สะสาง โดยคัดแยกสิ่งของตางใหเปน สัดสวน เชน สิ่งของพรอมใชงาน สิ่งของ ชํารุด เปนตน

5. ดําเนินงานขั้นตอนสะดวก

จัดสิ่งของตาง ๆ ใหเปนระบบ ระเบียบ และ หมวดหมูใหงายตอการหยิบใช

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. ดําเนินงานขั้นตอนสะอาด

คําอธิบาย ทํา ความสะอาดเครื่ อ งมือ อุป กรณ วัส ดุ ตาง ๆ และพื้นที่ที่ไดรั บมอบหมาย

7. ดําเนินงานขั้นตอนสุขลักษณะ

กําหนดแผนดําเนินการ 3 ส.แรก เพื่อรักษา มาตรฐานและความเปนระเบียบเรียบร อย เพื่อสรางสุขลักษณะที่ดี

8. ดําเนินงานขั้นตอนสรางนิสัย

ทํ า ป า ยเตื อ น ป า ยแนะนํ า เพื่ อ ให ทุ ก คน ปฏิบัติตามจนเปนนิสัย

9. สรุปผลการปฏิบัติงาน

ผูรับการฝกแตละกลุม สรุปผลการปฏิบัติงาน

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 10. เก็บวัสดุ และทําความสะอาด

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เช็ดทําความสะอาดวัสดุ และเก็บเขาที่ให เรียบรอย

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และ วั ด สุ อ ย า ง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ถูกตองและครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

วางแผนการปฏิบัติงานตามหลัก 5 ส

ความถูกตองตามหลักการ

4

ดําเนินงานขั้นตอนสะสาง

ความถูกตองตามหลักการและวิธีการปฏิบัติงาน

5

ดําเนินงานขั้นตอนสะดวก

ความถูกตองตามหลักการและวิธีการปฏิบัติงาน

6

ดําเนินงานขั้นตอนสะอาด

ความถูกตองตามหลักการและวิธีการปฏิบัติงาน

7

ดําเนินงานขั้นตอนสุขลักษณะ

ความถูกตองตามหลักการและวิธีการปฏิบัติงาน

8

ดําเนินงานขั้นตอนสรางนิสัย

ความถูกตองตามหลักการและวิธีการปฏิบัติงาน

9

สรุปผลการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามหลักการและวิธีการปฏิบัติงาน

10

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และ วัดสุหลัง ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ปฏิบัติงาน

11

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

3

รองเทานิรภัย หนากากกรองอนุภาค และชุดปฏิบัติการชาง ครบทั้ง 4 ชนิด อยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 3 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 3 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

วางแผนการปฏิบัติงานตามหลัก 5 ส

วางแผนการปฏิบัติงานไดถูกตอง และครอบคลุมหลักการ 5 ส

5

ครบทั้ง 5 ขอ ใหคะแนน 5 คะแนน วางแผนการปฏิบัติงานไดถูกตอง และครอบคลุมหลักการ 5 ส ได 4 ขอ ใหขอละคะแนน 4 คะแนน วางแผนการปฏิบัติงานไดถูกตอง และครอบคลุมหลักการ 5 ส ได 3 ขอ ใหขอละคะแนน 3 คะแนน วางแผนการปฏิบัติงานไดถูกตอง และครอบคลุมหลักการ 5 ส ได 2 ขอ ใหขอละคะแนน 2 คะแนน วางแผนการปฏิบัติงานไดถูกตอง และครอบคลุมหลักการ 5 ส ได 1 ขอ ใหขอละคะแนน 1 คะแนน 4

ดําเนินงานขั้นตอนสะสาง

ดําเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสะสางไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน ดําเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสะสางไดถูกตอง แตไม ครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน ดําเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสะสางไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

ดําเนินงานขั้นตอนสะดวก

ขอกําหนดในการใหคะแนน

ดําเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสะดวกไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนน เต็ม 5

ดําเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสะดวกไดถูกตอง แตไม ครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน ดําเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสะดวกไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ดําเนินงานขั้นตอนสะอาด

ดําเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสะอาดไดถูกตอง

5

ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน ดําเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสะอาดไดถูกตอง แตไม ครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน ดําเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสะอาดไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 7

ดําเนินงานขั้นตอนสุขลักษณะ

ดําเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสุขลักษณะไดถูกตอง

5

ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน ดําเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสุขลักษณะไดถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน ดําเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสุขลักษณะไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 8

ดําเนินงานขั้นตอนสรางนิสัย

ดําเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสรางนิสัยไดถูกตอง

5

ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน ดําเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสรางนิสัยไดถูกตอง แต ไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน ดําเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสรางนิสัยไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 9

สรุปผลการปฏิบัติงาน

จัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานไดเหมาะสมตามหลักการ 5 ส ครบทั้ง 5 ขอ ใหคะแนน 5 คะแนน จัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานไดเหมาะสมตามหลักการ 5 ส 4 ขอ ใหคะแนน 4 คะแนน จัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานไดเหมาะสมตามหลักการ 5 ส 3 ขอ ใหคะแนน 3 คะแนน จัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานไดเหมาะสมตามหลักการ 5 ส 2 ขอ ใหคะแนน 2 คะแนน

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

จัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานไดเหมาะสมตามหลักการ 5 ส 1 ขอ ใหคะแนน 1 คะแนน 10

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 11

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

47

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 33 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 4 092101404 การแตงกายและการใชอุปกรณปองกันอันตรายขณะปฏิบัติงาน (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายการแตงกายและการใชอุปกรณปองกันอันตรายขณะปฏิบัติงานได 2. แตงกายและใชอุปกรณปองกันอันตรายขณะปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง

2. หัวขอสําคัญ 1. ความหมายของอุปกรณปองกันสวนบุคคล 2. หลักเกณฑในการใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล 3. ประเภทของอุปกรณปอ งกันอันตรายสวนบุคคล

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝก กําหนดได

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

7. บรรณานุกรม ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.coe.or.th/coe-2/Download/Articles/ ME/CH1.pdf หมวกแข็งปองกันศีรษะ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.safetylifethailand.com/download/ NEWS%203%20-หมวกแข็งนิรภัย.pdf

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 4 การแตงกายและการใชอุปกรณปองกันอันตรายขณะปฏิบัติงาน การแตงกายและการใชอุปกรณปองกันอันตราย ถือเปนเรื่องที่ผูปฏิบัติงานทุกคนควรตระหนักถึงความสําคัญและนํามา ปรับใชในชีวิตประจําวันเพื่อใหเกิดความปลอดภัยแกชีวิตและทรัพยสิน 1. ความหมายของอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล หมายถึง อุปกรณหรือสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ใชสวมใสปองกันอวัยวะและสวนตาง ๆ ของรางกาย เพื่อปองกันไมไหไดรับอันตรายจากการปฏิบัติงานหรือลดความรุนแรงของการเกิดอันตราย 2. หลักเกณฑในการใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล หลักเกณฑในการใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลถือเปนเรื่องสําคัญ ที่ผูปฏิบัติงานทุกคนควรทราบและ ปฏิบัติตาม เพื่อนําไปสูการปฏิบัติที่ปลอดภัย ซึ่งหลักเกณฑในการใชอุปกรณปองกันอันตรายมี 7 ขอ ดังนี้ 1) เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายใหเหมาะสมกับลักษณะของงาน อุปกรณปองกันอันตรายแตละประเภท ไดรับการออกแบบมาเพื่อใชในการปองกันอันตรายที่แตกตางกัน ออกไป เพราะฉะนั้นผูปฏิบัติงานควรเลือกใชใหเหมาะสมกับลักษณะของงาน 2) จัดอบรมวิธีการใชงานอุปกรณปองกันอันตราย หนว ยงานควรมีการจัด อบรมเกี่ย วกับ วิธีการใชอุป กรณปองกัน อัน ตรายใหแกผูป ฏิบัติงาน เพื่อปองกัน อันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการใชอุปกรณไมถูกวิธี 3) สรางความเคยชินในการใชอุปกรณ มีว างแผนและฝก ใหผู ป ฏิบ ัต ิง านเคยชิน กับ การใชอุป กรณป อ งกัน อัน ตราย โดยเริ่ม จากใหส วมใสใ น ระยะเวลาสั้น ๆ ในขณะปฏิบัติงาน เพือ่ สรางความเคยชิน จากนั้นใหเพิ่มเวลาขึ้นเรื่อย ๆ จนตลอดระยะเวลาทํางาน 4) กําหนดกฎระเบียบขอบังคับ สถานประกอบการหรือโรงงานอุตสาหกรรม ตองมีการกําหนดกฎระเบียบขอบังคับใหผูปฏิบัติงานทุกคน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายกอนเขาปฏิบัติงานทุกครั้ง 5) เตรียมอุปกรณปองกันอันตรายใหเพียงพอ สถานประกอบการหรือโรงงานอุตสาหกรรม ควรจัดเตรียมอุปกรณปองกันอันตรายใหเพียงพอตอจํานวน พนักงาน

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

6) ทําความสะอาดและบํารุงรักษาอยางสม่ําเสมอ ทําความสะอาดอุปกรณปองกันอันตรายอยางสม่ําเสมอ ทั้งกอนใชงานและหลังใชงาน โดยเฉพาะอุปกรณที่ ตองใชรวมกัน 7) ตรวจสอบและเก็บรักษาอยางถูกวิธี มีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณปองกันอันตรายสม่ําเสมอ เมื่อพบวาอุปกรณชํารุดหรือเสื่อมสภาพ ให ดําเนินการซอมบํารุงเพื่อใหอุปกรณอยูในสภาพพรอมใชงาน และนําไปเก็บรักษาอยางถูกวิธี 3. ประเภทของอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล คือ สิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ใชสวมใสปกปดอวัยวะบนรางกาย เพื่อปองกันอันตรายตออวัยวะ สวนตาง ๆ โดยสามารถประเภทตามลักษณะการใชงานได ดังนี้ 3.1 อุปกรณปองกันใบหนาและดวงตา 1) อุปกรณปองกันใบหนา (Face Protection) ใชปองกันอันตรายจากเศษวัสดุและสารเคมีที่จ ะเกิด กั บ ใบหนา เชน กระบังปองกันใบหนา หนากากเชื่อม ครอบปองกันใบหนา เปนตน

ภาพที่ 4.1 กระบังปองกันใบหนา

ภาพที่ 4.2 หนากากเชื่อม

ภาพที่ 4.3 ครอบปองกันใบหนา 2) อุปกรณปองกันดวงตา (Eye Protection) ใชปองกันอันตรายจากเศษโลหะหรือวัสดุตาง ๆ รังสีอันตราย แสงสวางที่จาเกินไป โดยแวนตาที่ใชเ ปนเครื่องปองกัน อันตรายสวนบุคคล สามารถแบงออกไดเปน 3 แบบ ตามมาตรฐานแหงชาติอเมริกัน (ANSI) ดังนี้

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

- ชนิด A ใชปองกันอันตรายที่เกิดขึ้นทางดานหนา

ภาพที่ 4.4 แวนตาปองกันอันตรายชนิด A - ชนิด B ใชปองกันอันตรายที่จะเกิดจากทุก ๆ ดานของดวงตา

ภาพที่ 4.5 แวนตาปองกันอันตรายชนิด B - ชนิด C ใชปองกันอันตรายที่จะเกิดจากทางดานขาง

ภาพที่ 4.6 แวนตาปองกันอันตรายชนิด C 3.2 อุปกรณปองกันหู เปน อุป กรณลดความดังของเสียงที่จะมารบกวนตอแกวหูและกระดูกหู เพื่อชว ยปองกันอันตรายที่มีตอระบบ การไดยินและชวยปองกันอันตรายจากเศษวัสดุปลิวเขาหูดวย เชน ที่อุดหู (Ear Plug) สามารถลดความดังของเสียงได 25-30 เดซิเบล และที่ครอบหู (Ear Muffs) สามารถลดระดับความดังของเสียงได 35-40 เดซิเบล เปนตน

ภาพที่ 4.7 ที่อุดหู (Ear Plug)

ภาพที่ 4.8 ที่ครอบหู (Ear Muffs)

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3.3 อุปกรณปองกันกันศีรษะ หมวกนิร ภัย (Helmet) ใชปอ งกัน อัน ตรายที่เ กิด จากแรงกระแทกหรือ การเจาะทะลุข องวัต ถุที่ต กใสศีร ษะ โดยหมวกนิรภัยสามารถแบงตามลักษณะการใชงานได 4 ประเภท ดังนี้ 1) ประเภท Class G (General) มีคุณสมบัติเทียบเทาหมวกประเภท Class A ตามมาตรฐานเดิม คือ หมวกนิรภัย ที่ปองกันแรงดันไฟฟา เหมาะกับการใชงานทั่วไป เชน งานกอสราง งานโยธา งานเครื่องกล งานที่ไมเสี่ยง ตอไฟฟาแรงสูง

ภาพที่ 4.9 หมวกนิรภัยประเภท Class G (General) 2) ประเภท Class E (Electrical) มี คุณสมบัติเทีย บเทาหมวกประเภท Class B ตามมาตรฐานเดิม คือ หมวกนิรภัยปองกันแรงดันไฟฟาไดสูงกวาแบบ A เหมาะกับการใชงานทั่วไป

ภาพที่ 4.10 หมวกนิรภัยประเภท Class E (Electrical) 3) ประเภท C (Conductive) มีคุณสมบัติเทียบเทาหมวกประเภท Class C ตามมาตรฐานเดิม คือ หมวกนิรภัยที่ ไมส ามารถป อ งกั น แรงดั น ไฟฟา ได เพราะทําจากวัส ดุที่เ ปน โลหะแตส ามารถทนแรงกระแทกหรื อ แรงเจาะไดดี เหมาะกับงานที่ไมเกี่ยวของกับไฟฟา

ภาพที่ 4.11 หมวกนิรภัยประเภท C (Conductive) 53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

4) ประเภท D ใชในการปองกันไฟและแรงดันไฟฟา ทนความรอนสูงเพราะทําจากวัสดุที่ไมไหมไฟ และ ไมเปนตัวนําไฟฟา เหมาะสําหรับงานประเภทดับเพลิง

ภาพที่ 4.12 หมวกนิรภัยประเภท D 3.4 อุปกรณปองกันเทา รองเทานิร ภัย (Safety Shoes) ใชปอ งกัน อัน ตรายจากเศษวัส ดุแ ละเชื้อโรค โดยรองเทานิร ภัย มีอ ยูดว ยกัน หลายประเภท เชน - รองเทาชนิดหัวโลหะ ใชปองกันอันตรายจากของแหลมคม ทนทานตอแรงกระแทกและความรอน

ภาพที่ 4.13 รองเทาชนิดหัวโลหะ - รองเทาตัวนําไฟฟา เหมาะกับงานที่เกี่ยวของกับกระแสไฟฟา เพราะมีตัวนําไฟฟาสําหรับใหประจุไฟฟา ไหลผานไป

ภาพที่ 4.14 รองเทาตัวนําไฟฟา

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3.5 อุปกรณปองกันมือ ใชปองกันอันตรายจากการถูกวัตถุมีคมบาด ตัด ขูดขีด ทําใหผิวหนังถลอก การจับของรอนหรือการใชมือสัมผัส วัสดุอุปกรณที่อาจกอใหเกิดอันตรายอื่น ๆ โดยเลือกใชถุงมือหรือเครื่องสวมเฉพาะนิ้วชนิดตาง ๆ ตามความเหมาะสมกับ ลักษณะของงาน ดังนี้ - ถุงมือใยหิน ใชสําหรับงานที่ตองสัมผัสความรอนเพื่อปองกันมือไมใหไดรับอันตรายจากความรอนหรือ การเผาไหม

ภาพที่ 4.15 ถุงมือใยหิน - ถุงมือใยโลหะ ใชสําหรับงานที่เกี่ยวกับการใชของมีคม ในการหั่น ตัด หรือสัมผัสวัสดุอุปกรณที่แหลมคม หรือหยาบมาก

ภาพที่ 4.16 ถุงมือใยโลหะ - ถุงมือยาง ใชสําหรับงานไฟฟา และถุงมือยางที่สวมทับดวยถุงมือหนังชนิดยาว เพื่อปองกันการถูกของ มีคมบาดหรือทิ่มแทงทะลุ สําหรับใชในงานไฟฟาแรงสูง

ภาพที่ 4.17 ถุงมือยางกันไฟฟาแรงสูง 55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

- ถุงมือยางชนิดไวนีลหรือนีโอพรีน ใชสําหรับงานที่ตองสัมผัสสารเคมีชนิดที่มีฤทธิ์กัดกรอนหรือซึมผาน ผิวหนังได

ภาพที่ 4.18 ถุงมือยางชนิดไวนีล - ถุงมือหนังใชสําหรับงานที่ตองสัมผัสวัสดุที่หยาบ งานที่มีการขัดผิว การแกะสลัก หรืองานเชือ่ ม

ภาพที่ 4.19 ถุงมือหนังสัตว - ถุงมือหนังเสริมใยเหล็ก ใชสําหรับงานหลอมโลหะหรือถลุงโลหะ - ถุงมือผาหรือเสนใยทอ ใชสําหรับงานที่ตองหยิบจับวัสดุอุปกรณเบา ๆ เพื่อปองกันมือจากสิ่งสกปรกตาง ๆ - ถุงมือผ า หรื อใยทอเคลื อบน้ํา ยา ใชสําหรับ งานที่ตองสัมผัส สารเคมีโ ดยทั่ว ไป เชน งานบรรจุ หี บ ห อ งานบรรจุกระป อง หรืออุตสาหกรรมอาหาร ฯลฯ

ภาพที่ 4.20 ถุงมือผาทอเคลือบน้ํายา

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3.6 อุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจ อุป กรณปอ งกัน ระบบทางเดิน หายใจ (Respiratory Protection Devices) ใชสํา หรับ ปอ งกัน อัน ตรายที่จ ะ เกิดขึ้นกับระบบทางเดินหายใจ ในพื้นที่ปฏิบัติงานที่มีมลพิษ ผูปฏิบัติงานตองใชอุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจเพื่ อ ปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับระบบทางเดินหายใจ โดยสามารถแบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้ 1) ประเภทที่ทําใหอากาศบริสุทธิ์กอนเขาสูทางเดินหายใจ (Air Purifying Devices) เปนหนากากแบบ ครึ่งหนา หรือเต็มหนา ทําหนาที่กรองอนุภาคที่แขวนลอยในอากาศ เชน ฝุน ฟูม ควัน แกสพิษ ไอระเหย โดยสวนกรองอากาศจะแตกตางไปตามการใชงาน ไดแก - ชนิดแผนกรองอากาศ ทํามาจากใยอัด ใชสําหรับกรองอากาศใหบริสุทธิ์

ภาพที่ 4.21 หนากากชนิดแผนกรอง - ชนิดตลับกรองอากาศ ภายในเปนตัวจับมลพิษโดยการดูดซับ หรือทําปฏิกิริยากับมลพิษทําให อากาศที่ ผ า นตลั บ กรองสะอาด ปราศจากมลพิ ษ ซึ่ ง American National Standard ได กําหนดมาตรฐาน ANSI K 13.1-1973 ใหรหัสสีของตลับกรองสําหรับกรองแกส และไอระเหย ชนิดตาง ๆ มีดังนี้ ตารางที่ 1.1 รหัสสีของตลับกรองสําหรับกรองแกส และไอระเหย ชนิดมลพิษ

สีที่กําหนด

แกสที่เปนกรด

ขาว

ไอระเหยอินทรีย

ดํา

แกสแอมโมเนีย

เขียว

แกสคารบอนมอนอกไซด

น้ําเงิน

แกสที่เปนกรดและไอระเหยอินทรีย

เหลือง

แกสที่เปนกรด แอมโมเนีย และไอระเหยอินทรีย

น้ําตาล

แกสที่เปนกรด แอมโมเนีย คารบอนมอนอกไซด และไอระเหยอินทรีย 57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

แดง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ชนิดมลพิษ

สีที่กําหนด

ไอระเหยอื่น ๆ และแกสที่ไมกลาวไวขางตน

เขียวมะกอก

สารกัมมันตรังสี (ยกเวน ไทรเทียม และโนเบลแกส)

มวง

ฝุน ฟูม มิสท

สม

ภาพที่ 4.22 หนากากชนิดตลับกรอง 2) ประเภทที่สงอากาศจากภายนอกเขาไปในหนากาก (Atmosphere - supplying respirator) มีลักษณะ เปนหนากากครอบมิดชนิดเต็มหนา มีชองกระจกใสผนึกแนนตรงบริเวณตา แนบกระชับกับใบหนามิให อากาศจากภายนอกรั่วซึมเขาได มีทอตอสงจายอากาศเชื่อมติดกับถังจายอากาศ - ชนิดที่แหลงสงอากาศติดที่ตัวผูสวม (Self contained breathing apparatus) หรือที่เรียกวา SCBA ผูส วมจะพกเอาแหลงสงอากาศหรือถังออกซิเ จนไปกับ ตัว โดยสามารถใชไดน านถึง 4 ชั่วโมง 3.6.1 หลักการทํางานของอุปกรณนี้ มี 2 แบบ ดังนี้ 1) แบบวงจรป ด หลั ก การคื อ ลมหายใจออกจะผ า นเข า ไปในสารดู ด ซั บ เพื่ อ กํ า จั ด แก ส คารบอนไดออกไซด แลวกลับเขาไปในภาชนะบรรจุออกซิเจนเหลว หรือออกซิเจนแข็ง หรือสาร สรางออกซิเจน แลวนํากลับเขาสูหนากากอีกครั้ง 2) แบบวงจรเป ด หลั กการคื อ ลมหายใจออกจะถู กปล อยออกไปไมนํ ากลับมาใชอีก อากาศที่ หายใจเขาแตละครั้งจะมาจากถังบรรจุ ออกซิ เจนชนิด ที่สงอากาศไปตามทอ (Supplied air respirator) แหลงหรือถังเก็บอากาศจะอยูหางออกไปจากตัวผูสวม อากาศจะถูกสงมาตามทอ เขาสูหนากาก

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 4.23 หนากากประเภทเครื่องชวยหายใจ

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ขอ

โจทย

1

กรณีที่ผูรับการฝกตองปฏิบัติงานเกี่ยวกับเครื่องมือและอุปกรณมีคม ควรเลือกใชถุงมือประเภทใด

2

หมวกนิรภัยที่ใชสําหรับปองกันแรงดันไฟฟา สามารถทนความรอนไดสูง และไมเปนตัวนําไฟฟา

3

สมชายตองปฏิบัติงานเชื่อมโลหะ ควรเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลประเภทใด

4

หนากากกรองอากาศที่ใชสําหรับกรองอากาศใหบริสุทธิ์กอนเขาสูทางเดินหายใจ

5

กรณีปฏิบัติในที่ที่มีไอระเหยอินทรีย ควรเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลประเภทใด

6

ถุงมือที่สําหรับขัดผิวชิ้นงาน

7

อุปกรณปองกันอันตรายจากเศษโลหะที่เกิดขึ้นทางดานหนา

8

กรณีปฏิบัติงานในสถานที่ที่มีแกสคารบอนมอนอกไซด ควรเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ประเภทใด

9

การปฏิบัติงานที่ตองสัมผัสสารเคมีชนิดที่มีฤทธิ์กัดกรอน ควรเลือกใชถุงมือประเภทใด

10

หากตองการปองกันอันตรายรอบดวงตา ควรเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลประเภทใด

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขอ

คําตอบ

ถุงมือหนัง

หนากากกรองอากาศชนิดแผนกรองอากาศ

ถุงมือใยโลหะ

แวนตานิรภัยประเภท A

รองเทาชนิดหัวโลหะ

ถุงมือยางชนิดไวนีล

หนากากเชื่อม

แวนตานิรภัยประเภท B

หนากากกรองอากาศชนิดตลับกรองอากาศสีน้ําเงิน

หนากากกรองอากาศชนิดตลับกรองอากาศสีเขียว

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบงาน ใบงานที่ 4.1 การแตงกาย และการใชอุปกรณปองกันอันตราย 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. อธิบายการแตงกายและการใชอุปกรณปองกันอันตรายขณะปฏิบัติงานได 2. แตงกายและใชอุปกรณปองกันอันตรายขณะปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน รวม 2 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเลือกอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหถูกตองตามสถานการณที่กําหนด เพื่อนํามา ตรวจสอบสภาพและบันทึกผลลงในตาราง พรอมทั้งสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล เพื่อฝกปฏิบัติงาน ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ สถานการณที่กําหนด

อุปกรณปองกันอันตราย ที่เลือกใช

สภาพของอุปกรณ พรอมใชงาน

ทําความสะอาดหัวเทียน

เปลี่ยนและปรับตั้ง สายพานอัลเตอเนเตอร

ตรวจสอบหมอน้ํา

บํารุงรักษาปมลม

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ชํารุด

ความเสียหาย


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

สถานการณที่กําหนด

อุปกรณปองกันอันตราย ที่เลือกใช

สภาพของอุปกรณ พรอมใชงาน

เชื่อมชิ้นงานโลหะ

เปลี่ยนกระจกหนา รถยนต

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ชํารุด

ความเสียหาย


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 4.1 การแตงกาย และการใชอุปกรณปองกันอันตราย 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. หนากากเชื่อม

จํานวน 1 อัน

2. รองเทานิรภัยชนิดหัวโลหะ

จํานวน 1 คู

3. ที่ครอบหูลดเสียง

จํานวน 1 อัน

4. ถุงมือผา

จํานวน 1 คู

5. แวนตานิรภัย

จํานวน 1 อัน

6. หนากากกรองอนุภาค

จํานวน 1 อัน

7. โตะสําหรับวางอุปกรณ

จํานวน 1 ตัว

8. แบตเตอรี่

จํานวน 1 ลูก

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - น้ํากลั่นแบตเตอรี่

จํานวน 1 ขวด

- ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การแตงกาย และการใชอุปกรณปองกันอันตราย ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เลือกหยิบอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

คําอธิบาย ผูรับการฝกเลือกหยิบอุปกรณปองกัน อันตรายสวนบุคคลใหเหมาะสมกับ สถานการณที่ใบงานกําหนด

2. ตรวจสอบสภาพของอุปกรณปองกันอันตราย

ตรวจสอบสภาพของอุปกรณปองกัน

สวนบุคคล

อันตรายสวนบุคคลทั้งภายนอก และ ภายในวาอยูในสภาพพรอมใชงาน หรือ ชํารุด

3. บันทึกผลลงในตาราง

บันทึกสภาพของอุปกรณปองกันอันตราย สวนบุคคลลงในตารางบันทึกผล

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

4. ทําตามขั้นตอนที่ 1-3 จนครบทุกสถานการณที่ หลัง จากบั น ทึ ก ผลแลว ใหผูร ับ การฝ ก ใบงานกําหนด

ปฏิบ ัต ิต ามขั ้น ตอนที ่ 1-3 จนกระทั ่ ง ตรวจสอบสภาพของอุป กรณป อ งกั น อัน ตรายสว นบุค คลครบทุก สถานการณ ที่ใบงานกําหนด

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

คําอธิบาย ผูรับการฝกสวมใสอุปกรณปองกันอันตราย ส ว นบุ ค คล สํ า หรั บ ปฏิ บั ติ ง านทํ า ความ สะอาดกรองอากาศ

6. ปฏิบัติงานเติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่

โดยตรวจสอบระดั บ น้ํ า กลั่ น แบตเตอรี่ จากนั้ น เติ ม น้ํ า กลั่ น ให อ ยู ใ นระหว า งขี ด UPPER LEVEL กับ LOWER LEVEL

7. ทําความสะอาดอุปกรณและสถานที่ปฏิบัติงาน ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน สําหรับทําความสะอาดหัวเทียน

4

การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน สําหรับเปลี่ยนและปรับตั้งสายพานอัลเตอเนเตอร

5

การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน สําหรับตรวจสอบหมอน้ํา

6

การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน สําหรับตรวจสอบปมลม

7

การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน สําหรับเชื่อมชิ้นงานโลหะ

8

การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน สําหรับเปลี่ยนกระจกหนารถยนต

9

การตรวจสอบสภาพของอุปกรณปองกัน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัตงิ าน

อันตรายสวนบุคคล 10

การสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

11

การปฏิบัติงานเติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัตงิ าน

12

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

13

การจั ดเก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวัส ดุห ลั ง ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ปฏิบัติงาน

14

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด 69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

1

เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวน หรือไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสชุดปฏิบัติงานชางไดอยางถูกตองกอนเริ่ม ปฏิบัติงาน

สวมใสชุดปฏิบัติงานชางไดอยางถูกตองกอนเริ่มปฏิบัติงาน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ไมสวมใสชุดปฏิบัติงานชางกอนเริ่มปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับ เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไดถูกตอง ครบทุกชิ้น ทําความสะอาดหัวเทียน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน

4

การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตราย สําหรับเปลี่ยนและ

เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไดถูกตอง ครบทุกชิ้น

ปรับตั้งสายพานอัลเตอเนเตอร

ใหคะแนน 5 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน

5

อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การเลื อกใช อุ ปกรณ ป องกั นอั นตรายส วนบุ คคล สํ าหรั บ เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไดถูกตอง ครบทุกชิ้น ตรวจสอบหมอน้ํา ใหคะแนน 5 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การเลื อกใช อุ ปกรณ ป องกั นอั นตรายส วนบุ คคล สํ าหรั บ เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไดถูกตอง ครบทุกชิ้น บํารุงรักษาปมลม

5

ใหคะแนน 5 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน

7

การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับเชื่อม เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไดถูกตอง ครบทุกชิ้น ชิ้นงานโลหะ

5

ใหคะแนน 5 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน

8

การเลื อกใช อุ ปกรณ ป องกั นอั นตรายส วนบุ คคล สํ าหรั บ เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไดถูกตอง ครบทุกชิ้น เปลี่ยนกระจกหนารถ ใหคะแนน 5 คะแนน

5

เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 9

การตรวจสอบอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

ตรวจสอบอุปกรณปองกันอันตรายไดถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 10

การสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 5 คะแนน

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 11

การปฏิบัติงานเติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่

ตรวจสอบระดับน้ํากรดแบตเตอรี่ และเติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่

3

ไดถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบระดับน้ํากรดแบตเตอรี่ และเติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่ ไมถูกตอง 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ตรวจสอบระดับน้ํากรดแบตเตอรี่ และเติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่ ไมถูกตองมากกวา 2 คะแนน ใหคะแนน 0 คะแนน 12

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 13

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 14

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

58

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 41 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 5 092101405 วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคีภัย (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายวิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคีภัยได 2. ปฏิบัติตนตามวิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคีภัยได

2. หัวขอสําคัญ - การปองกันและควบคุมอัคคีภัยในสถานประกอบการ

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ ครูฝกกําหนดได

75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

7. บรรณานุกรม วิชาปองกันและระงับอัคคีภัย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.kamphaengsaen.go.th/work_infomation/ 2557/fire_protect.pdf

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 5 วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคีภัย หลักการระงับอัคคีภัย ตองพิจารณาและแยกองคประกอบของการเกิดไฟวาเกิดจากองคประกอบใด ซึ่งสามารถเกิดได จาก 3 องคประกอบหลัก ไดแก ความรอน (Heat) เชื้อเพลิง (Fuel) และออกซิเจน (Oxygen) จากนั้นใหลดความรอนของไฟ ขจัดเชื้อเพลิง กั้นออกซิเจน และตัดปฏิกิริยาลูกโซ เนื่องจาการลุกไหมของไฟเปนปฏิกิริยาลูกโซ หากปลอยใหไฟลุกลามจะ กอใหเกิดเพลิงไหมขนาดใหญ วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคีภัยแบงออกไดเปน 5 สวน ดังตอไปนี้ 1. การปองกันและควบคุมอัคคีภัยในสถานที่ประกอบการ หลักการในการปองกันและควบคุมอัคคีภัย มีดังนี้ - ควบคุมและปองกันผูปฏิบัติงาน โดยมีการกําหนดกฎระเบียบในการทํางาน - บํารุงรักษาเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณตาง ๆ ใหอยูในสภาพพรอมใชงาน - มีการตรวจสอบระบบดับเพลิงอยางสม่ําเสมอ - จัดเก็บวัสดุ อุปกรณ สารเคมี ใหเปนระเบียบเรียบรอย โดยเก็บแยกประเภทใหถูกตอง - มีปายเตือน ปายหาม ปายแนะนําอยางชัดเจน

ภาพที่ 5.1 ปายหาม

77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 5.2 ปายแนะนํา

ภาพที่ 5.3 ปายเตือน

78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2. การสํารวจและตรวจสอบเพื่อปองกันอัคคีภัย - สํารวจและตรวจสอบสถานที่ใหมีความเปนระเบียบเรียบรอย กําจัดเศษวัสดุที่ติดไฟไดออก เพื่อปองกัน การลุกลามของไฟ - สํารวจและตรวจสอบของเหลวที่ติดไฟได ทั้งเรื่องการขนยาย การใชงาน และปริมาณ - สํารวจและตรวจสอบเครื่องจักรใหอยูในสภาพพรอมใชงาน

ภาพที่ 5.4 การตรวจสอบเครื่องจักรใหอยูในสภาพพรอมใชงาน - สํารวจและตรวจสอบระบบทําความรอนและแสงสวาง แยกสิ่งติดไฟไดจากแหลงความรอน และตรวจสภาพ อุปกรณ 3. การสํารวจและตรวจสอบสถานที่เพื่อปองกันอัคคีภัย - สํารวจและตรวจสอบบันไดหนีไฟ เพื่อใหพรอมรับมือสถานการณฉุกเฉิน - สํารวจและตรวจสอบที่เก็บของหรือคลังสินคา - จัดสถานที่สูบบุหรี่ใหเปนสัดสวน

. ภาพที่ 5.5 จัดสถานที่สูบบุหรี่ 79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

- ตรวจสอบอุปกรณดับเพลิงใหอยูในสภาพพรอมใช - บํารุงรักษาอาคารและสถานที่ 4. ระบบปองกันอัคคีภัยในสถานประกอบการ ระบบปองกันอัคคีภัยในสถานประกอบการที่ดีควรเปน 2 แบบ ดังนี้ 4.1 การปองกันแบบตานรับการเกิดอัคคีภัย Passive Defense คือ - ไดรับการออกแบบมาเพื่อความปลอดภัยของอาคาร เสนทางหนีไฟ และทางออกฉุกเฉินที่สามารถยายคน ออกไดภายใน 5 นาที - ปองกันฟาผาสถานที่ประกอบการ

ภาพที่ 5.6 ติดตั้งสายลอฟาปองกันฟาผา - การจัดเก็บวัตถุระเบิด วัสดุไวไฟ และเก็บแยกสารเคมีที่ทําปฏิกิริยาตอกัน มีประตู-ผนังทนไฟ ภาชนะแข็งแรง - การบรรจุและขนยาย ควรใชเครื่องมือและวิธีการที่ปลอดภัย มีการควบคุมการระบายอากาศ มีปายหาม หรือปายเตือน วัสดุไวไฟ-วัตถุระเบิด - ของเหลวที่เก็บภายในอาคาร ตองมีปริมาณ ความทนไฟ ระบบปองกันไฟ ตามขอกําหนดที่อนุญาต 4.2 แบบระงับยับยั้งอัคคีภัย Active Defence คือ - มีการติดตั้งระบบตรวจจับอัคคีภัยและสัญญาณแจงเหตุไฟไหม

80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 5.7 ติดตั้งระบบตรวจจับอัคคีภัยและสัญญาณแจงเหตุไฟไหม - มีการติดตั้งระบบแจงเหตุเพลิงไหม ซึ่งในอาคาร 2 ชั้นขึ้นไปเสียงสัญญาณตองดัง ไมนอยกวา 100 เดซิเบล - หากระบบแจงเตือนไฟไหมเปนประเภททุบกระจก ตองติดทุกชั้น สูงจากพื้น 1.20 เมตร แตไมเกิน 1.50

5. เทคนิคการหนีไฟ เมื่อเกิดอัคคีภัยสิ่งสําคัญ คือ ความปลอดภัยของผูอยูในเหตุการณ ถาผูอยูในเหตุการณทุกคนมีความรูเกี่ยวกับวิธีการหนี ไฟ สัญญาณเตือนภัย ทางออกประตูหนีไฟ และบันไดหนีไฟ จะชวยใหการหนีไฟเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และปลอดภัย ดังนั้นหนวยงาน องคกร หรือสถานที่ปฏิบัติงาน ควรตะหนักถึงความสําคัญของสิ่งเหลานี้ และจัดใหมีการฝกอบรมหนีไฟ เมื่อเกิดอัคคภัย เพื่อชวยใหบุคลากรไดเรียนรู เกิดความเคยชิน และสามารถปฏิบัติตนเอาตัวรอดได เมื่อมีเหตุการณไมคาดฝน เกิดขึ้น โดยวิธีการหนีไฟมีเทคนิคในการหนีไฟ ดังนี้ 1) เมื่อเกิดอัคคีภัยควรพยายามควมคุมสติ อยาตื่นตกใจ และใชสติในการแกไขปญหา 2) กดสัญญาณแจงเตือนภัย เพื่อแจงใหบุคคลอื่นทราบ และชวยแกไข 3) สํารวจประตูทางเขา – ออกฉุกเฉินของสถานที่เสมอ เพราะหากเกิดฉุกเฉินจะไดเอาตัวรอดไดทันที 4) หามใชลิฟตในขณะเกิดอัคคีภัยโดยเด็ดขาด เพราะระบบอาจขัดของ และทําใหติดอยูในลิฟท 5) อยารีบแยงหรือแขงกันออก เพราะอาจทําใหหกลมและเหยียบกันไดรับบาดเจ็บ 6) ใชปญญาในการเอาตัวรอด หากอยูในสถานที่ที่มีควันไฟปริมาณ จนรูสึกหายใจไมสะดวกหรือไมมีอากาศหายใจ ใหหมอบราบลงกั บพื้ นในระดั บไม เกิน 1 ฟุ ต เพราะดานล างจะมี อากาศให หายใจมากกวา เนื่ องจากแก ส คารบอนไดออกไซดจะลอยตัวอยูสูง 7) ถาจําเปนตองวิ่งฝากองเพลิง เพื่อหนีเอาตัวรอด ควรใชผาชุบน้ําคลุมตัวกอน

81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

8) ไมควรหนีไปอยูในบริเวณที่เปนจุดอับของอาคารหรือสถานที่ เชน หองน้ํา หองใตดิน เปนตน ในขณะเดียวกัน ก็ไมควรหนีขึ้นไปบริเวณดาดฟา เนื่องจากไฟจะลุกลากจากดานลางขึ้นสูดานบน และยากตอการใหความ ชวยเหลือของเจาหนาที่

82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. สิ่งแรกที่ตองทําเมื่อเกิดอัคคีภัย ก. ตั้งสติและบอกกลาวบุคคลรอบขาง ข. หนีลงลิฟตเพื่อไปยังชั้นลางสุดของอาคาร ค. รีบหาน้ํามาดับเพลิงดวยตนเอง ง. วิ่งหนีออกจากพื้นที่ใหเร็วที่สุด 2. ขอใด ไมใช องคประกอบหลักของการเกิดไฟ ก. เชื้อเพลิง ข. ออกซิเจน ค. บุคลากรในองคกร ง. ความรอน 3. ขอใด คือ หลักการปองกันการเกิดอัคคีภัยในสถานที่ประกอบการ ก. หามนําวัตถุไวไฟเขามาภายในพื้นที่ของสถานประกอบการ ข. ติดปายเตือน ปายหาม ตามจุดสําคัญ ๆ ของสถานที่ ค. หามผูปฏิบัติงานทํางานลวงเวลาเพียงลําพังหลังเลิกงาน ง. เลิกใชเครื่องใชไฟฟาที่มีอายุการใชงานเกิน 5 ป 4. เพราะเหตุใด เวลาเกิดอัคคีภัยควรมอบราบลงกับพื้น หรือยอตัวลงต่ําใหใกลพื้นมากที่สุด ก. สะดวกตอการดูแลความปลอดภัยของเจาหนาที่ ข. ปองกันตัวเองจากสะเก็ดไฟที่มาจากกองเพลิง ค. หลบหลีกสิ่งกีดขวางที่มองไมเห็น ง. บริเวณพื้นดานลางมีอากาศใหหายใจมากกวา

83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. บุคคลใด ปฏิบัติตนไดถูกตองเมื่อเกิดอัคคีภัย ก. อรมเทพ พาเพื่อนหนีไปทางบันไดหนีไฟ ข. สุรเดช รีบวิ่งหนีขึ้นไปบนดาดฟาของอาคาร ค. ดนุพร ชวนเพื่อนไปหลบอยูในหองน้ํา ง. พชร ตัดสินใจวิ่งฝากองเพลิงออกไป

84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4 5

85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบงาน ใบงานที่ 5.1 การฝกปฏิบตั ติ นเมื่อเกิดอัคคีภัย 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติตนตามวิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคีภัยได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดสอบปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย โดยใชถังดับเพลิงที่เตรียมไวใหถูกตอง

86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 5.1 การฝกปฏิบัตติ นเมื่อเกิดอัคคีภัย 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.5 การเตรียมวัสดุ -

87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การฝกปฏิบัติตนเมื่อเกิดอัคคีภัย ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. รับฟงสัญญาณ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ผูรับการฝกเริ่มปฏิบัติการหนีไฟหลังได ยินสัญสัญญาณจากครูฝก

2. ประชาสัมพันธ

ผูรับ การฝกรีบ ไปกดสัญ ญาณแจงเตือ น เหตุเพลิงไหม

3. มองหาทางออกฉุกเฉิน

มองหาทางออกหรือประตูฉุกเฉิน

หามใชลิฟตขณะเกิดเหตุ เพลิงไหม

4. หลีกเลี่ยงกลุมควัน

ใหผูรับการฝกหมอบลงกับพื้น และ เคลื่อนที่ไปหาทางออก

88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. หนีลงบันไดหนีไฟ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เมื่อ ถึง ทางออกฉุ ก เฉิ น ใหผูรับ การฝก มี ส ติ แ ละไม ค วรแย ง หรื อ ออกจากสถานที่ โดยใชบันไดหนีไฟ

เบียดกันออก เพราะอาจ ทําใหสะดุดหกลม

6. ไปยังจุดรวมพล

หลังออกมาจากสถานที่ ใหรีบไปยังจุดรวม

7. ตรวจสอบจํานวน

พล ตรวจสอบจํานวนผูรวมปฏิบั ติการ และ แจงยอดแกครูฝก

8. ทําความสะอาดสถานที่ปฏิบัติการ

ทํ า ความสะอาดสถานที่ ป ฏิ บั ติ ก ารให เรียบรอย

89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

1

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

4

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน การประชาสัมพันธและการหาทางออกเปนไป ตามลําดับขั้นตอน การหล บหนี อ อกจาก ที่ เ กิ ด เ หตุ เ ป น ไ ป ตามลําดับขั้นตอน การรวมพลเปนไปตามลําดับขั้นตอน

5

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

2 3

เกณฑการพิจารณา

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

สวมใสชุดปฏิบัติงานชางไดอยางถูกตองกอนเริ่ม ปฏิบัติงาน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

สวมใสชุดปฏิบัติงานชางไดอยางถูกตองกอนเริ่มปฏิบัติงาน ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

3

ไมสวมใสชุดปฏิบัติงานชางกอนเริ่มปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 2

การประชาสัมพันธและหาทางออก

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ถูกตอง แตไมเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ไมถูกตอง แตเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน 3

การหลบหนีออกจากที่เกิดเหตุ

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ถูกตอง แตไมเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ไมถูกตอง แตเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน 4

การรวมพล

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ไมถูกตองตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

21

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 15 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 6 092101406 ขอกําหนดเกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพ (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - บอกขอกําหนดเกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพได

2. หัวขอสําคัญ - กฎทั่วไปเกี่ยวกับความปลอดภัย

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://it.dru.ac.th/e-profiles/uploads/ learns/learn409.pdf ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.coe.or.th/coe-2/Download/Articles/ ME/CH1.pdf

93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 6 ขอกําหนดเกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพ ขอกําหนดเกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพ ถือเปนเรื่องสําคัญที่ผูปฏิบัติงาน ผูมีสวนเกี่ยวของ รวมถึงหนวยงาน ควร ตะหนักถึงความสําคัญและปฏิบัติตามอยางเครงครัด เพราะการมีสุขภาพที่สงผลดีตอทั้งตัวบุคคล และเปนประโยนชตอ หนวยงานดวย เชน บุคลากรมีสุขภาพอนามัยดี ทําใหมีสติสัมปชัญญะ ทํางานดวยความรอบคอบ และมีประสิทธิภาพ สงผลให เกิดความปลอดภัยระหวางกาปฏิบัติงาน ลดปญหาดานความเสี่ยง รวมถึงชวยลดอัตราการหยุดงาน เปนตน โดยขอกําหนด เกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพ มีรายละเอียด ดังนี้ 1. กฎทั่วไปเกี่ยวกับความปลอดภัย กฎทั่วไปเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติหนาที่ ประกอบดวยรายละเอียดดังตอไปนี้ 1) ผูปฏิบัติงานตองปฏิบัติตามกฎระเบียบ ขอบังคับ คําแนะนําตาง ๆ อยางเครงครัด หากมีความสงสัยหรือไมเขาใจ ในสวนใดใหสอบถามเจาหนาที่ความปลอดภัยหรือหัวหนางาน 2) หากพบวาสถานที่ทํางานไมปลอดภัย หรือพบวาเครื่องมือ อุปกรณที่ใชในการปฏิบัติงานชํารุดเสียหาย ใหแจงหัวหนางานทราบโดยทันที 3) ปฏิบัติตามปายหาม ปายเตือนอยางเครงครัด 4) หามผูไมมีสวนเกี่ยวของเขามาในสถานที่ปฏิบัติงาน 5) หามทํางานในที่ลับตาคน หรือไมมีใครทราบ 6) แตงกายเรียบรอยและรัดกุม 7) สวมหมวกนิรภัยในขณะที่ปฏิบัติงาน 8) หามใสรองเทาแตะ 9) หามหยอกลอกันในขณะปฏิบัติงาน 10) หามเสพของมึนเมา และหามนําของมึนเมาเขามาในสถานที่ปฏิบัติงานโดยเด็ดขาด 11) หามปรับแตงหรือซอมแซมเครื่องจักรกลเอง โดยไมไดรับอนุญาต 12) ใชอุปกรณปองกันอันตรายตาง ๆ ตามที่กําหนด และดูแลรักษาอยางดี 13) ในการซอมแซมไฟฟาหรืออุปกรณไฟฟา ตองใหชางไฟฟาหรือผูเชี่ยวชาญเทานั้นเปนผูดําเนินการ 14) เมื่อไดรับบาดเจ็บไมวาเล็กนอยหรือมาก ตองแจงใหหัวหนางานและเจาหนาความปลอดภัยทราบถึงสาเหตุ เพื่อหาวิธีและแนวทางแกไขปองกัน 15) หากผูปฏิบัติงานไมอยูในสภาพพรอมปฏิบัติงาน หัวหนางานตองสั่งใหหยุดพักงานทันที 94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2. ขอปฏิบัติดานความปลอดภัยเมื่อตองปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟา เพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงานทางไฟฟา มีขอปฏิบัติที่ควรทราบดังนี้ 1) อยาซอมแซมแกไขความชํารุดหรือขัดของของไฟฟาดวยตนเองหากไมมีความรู 2) ยกสะพานไฟ (Cut Out) ออกกอนปฏิบัติงานเสมอ 3) กอ นปฏิ บั ติ ง านควรตรวจสอบเครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ ต า ง ๆ ที่ ใ ช ใ นงานไฟฟ า ไมค วรใชอุป กรณ ห รื อ เครื่องมื อที่ชํา รุ ด 4) มีสมาธิ และไมประมาทในขณะปฏิบัติงาน 5) อยาใชเครื่องมือที่ไมมีฉนวนหุมตรงที่จับ เชน ไขควง และเครื่องวัดไฟฟา เปนตน 6) อย า ยื น บนพื้ น คอนกรี ต ด ว ยเท า เปล า ขณะปฏิ บั ติ ง านเกี่ ย วกั บ ไฟฟ า ควรใช ผ า ยางรองพื้ น หรื อสวมใส รองเทา 7) อยาใชขอตอแยกหรือเสียบปลั๊กหลายทาง เนื่องจากเปนการใชกระแสไฟเกินกําลัง อาจทําใหสายรอนและ เกิ ด ไฟไหม 8) อยาใชวัสดุอื่นแทนฟวส หรือใชฟวสเกินขนาด 9) อยานําอุปกรณที่ใชไฟฟากระแสตรงไปใชกับไฟฟากระแสสลับ 10) เดินสายไฟชั่วคราวอยางระมัดระวัง เพื่อปองกันการเกิดอันตราย 11) หากเดินสายไฟติดรั้วสังกะสีหรือเหล็ก ตองใชวิธีรอยสายไฟในทอเพื่อปองกันอันตรายจากไฟฟารั่ว 12) อยาปลอยใหสายเครื่องใชไฟฟาลอดใตเสื่อหรือพรม เพราะเปลือกหุมหรือฉนวนของสายไฟอาจแตก และเกิด ไฟช็อตไดงาย 13) อยาใหเครื่องใชไฟฟาเปยก เพราะน้ําจะเปนสะพานใหไฟฟารั่วไหลออกมาได 14) สวิตชและสะพานไฟ (Cut Out) ทุกแหงตองสามารถปด-เปดไดสะดวก 3. ขอกําหนดดานสุขอนามัยและความปลอดภัยของหนวยงาน 1) จัดใหมีบริการดานสวัสดิการ เชน หองน้ํา หองพักผอน หองพยาบาล สถานที่รับประทานอาหาร เปนตน 2) จัดใหมีบริการดานสุขภาพอนามัย และความปลอดภัย - จัดอบรมใหความรูดานสุขภาพ อนามัย และความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน - จัดใหมีการตรวจสุขภาพประจําป - จัดกิจกรรมนันทนาการตามความเหมาะสม - จัดหาบุคลากรทางการแพทยและพยาบาล คอยดูแลและใหบริการดานสุขภาพ 95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3) สังเกตและดูแลพฤติกรรมของบุคลากร - จัดใหมีการตรวจสอบสารเสพติดในรางกายของบุคลากร - จัดอบรมใหความรูเรื่อง สารเสพติดและโทษของสารเสพติด - หากตรวจสอบพบสารเสพติดในหนวยงาน ใหแจงขอมูลแกหนวยงานที่รับผิดชอบโดยตรงทันที เชน สถานีตํารวจในเขตพื้นที่ หรือสํานักงานปองกันและปราบปรามยาเสพติด เปนตน

96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด คือ ขอปฏิบัติดานความปลอดภัยเกี่ยวกับงานไฟฟา ก. ซอมแซมอุปกรณไฟฟาดวยตนเอง ข. เมื่อตองเปลี่ยนฟวสควรเลือกใชฟวสที่มีขนาดเทาเดิม ค. เดินสายไฟฟาสอดไวใตพรมเพื่อปองกันการสะดุด ง. ใชขอตอแยกเมื่อตองการใชอุปกรณไฟฟาพรอมกันหลายเครื่อง 2. หนวยงานใด ปฏิบัติตามขอกําหนดดานสุขอนามัย ก. โรงงานผลิตรถยนตจัดหองสําหรับพักผอนใหแกพนักงาน ข. โรงงานผลิตรถยนตแจกอาหารกลางวันใหแกพนักงาน ค. โรงงานผลิตรถยนตแจกชุดปฏิบัติงานใหมใหพนักงาน ง. โรงงานผลิตรถยนตติดปายหามผูไมมีสวนเกี่ยวของเขามาในพื้นที่ 3. บุคคลใด ไมปฏิบัติ ตามกฎความปลอดภัย ก. ปองยศของลางานครึ่งวันเนื่องจากรูสึกไมสบาย ข. ดนุพลคัดแยกเครื่องมืออุปกรณที่ชํารุดเสียหายออก ค. ชุมพลหามไมใหสุรเดชพาญาติเขามาโรงงาน ง. สมปองสวมรองเทาแตะเขามาในพื้นที่ปฏิบัติงาน 4. ขอกําหนดดานสุขอนามัยและความปลอดภัยที่หนวยงานพึงปฏิบัติ ยกเวน ขอใด ก. จัดกิจกรรมนันทนาการใหพนักงาน ข. มีสวัสดิการตรวจสุขภาพประจําป ค. เพิ่มคาแรงการทํางานลวงเวลาในวันหยุด ง. อบรมใหความรูเกี่ยวกับโทษของสารเสพติด

97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. ขอกําหนดเกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพจะมีประสิทธิภาพไดอยางไร ก. ไดรับความรวมมือจากผูมีสวนเกี่ยวของ ข. มีผูนําที่มีความสามารถดานการบริหารจัดการ ค. มีกฎระเบียบที่ชัดเจนและเด็ดขาด ง. มีการกําหนดบทลงโทษที่รุนแรง

98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4 5

99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 7 092101407 กฎหมายแรงงาน (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายสิทธิตามกฎหมายแรงงานได

2. หัวขอสําคัญ 1. เวลาทํางาน 2. เวลาพัก 3. วันหยุดสัปดาห 4. วันหยุดประเพณี 5. วันหยุดพักผอนประจําป 6. การลา เชน ลาคลอด ลากิจ ลาเพื่อรับราชการทหาร เปนตน 7. คาจาง 8. การทํางานลวงเวลาและการทํางานในวันหยุด 9. คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุด 10. คาชดเชย 11. การใชแรงงานหญิง 12. การใชแรงงานเด็ก 13. การรองทุกขของลูกจาง

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

7. บรรณานุกรม กระทรวงแรงงาน. สิทธินายจาง ลูกจาง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.mol.go.th/employer/duty กระทรวงแรงงาน. การคุมครองแรงงาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://lb.mol.go.th/ewt_news.php?nid=224 กระทรวงแรงงาน. สิทธิตามกฎหมายแรงงาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.mol.go.th/employee/ rihgt_labor%20low

102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 7 กฎหมายแรงงาน จากพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ไดมีการกําหนดสิทธิตามกฎหมายแรงงาน เพื่อคุมครองผูปฏิบัติงานทุกคนไว ดังนี้ 1. เวลาทํางาน - ไมเกิน 8 ชั่วโมงตอวัน และไมเกิน 48 ชั่วโมงตอสัปดาห - งานที่เปนอันตรายตามที่กฎกระทรวงกําหนดไมเกิน 7 ชั่วโมงตอวัน และไมเกิน 42 ชั่วโมงตอสัปดาห 2. เวลาพัก - ในวันที่มีการทํางานตามปกติ นายจางจะตองจัดใหมีเวลาพักติดตอกันไมนอยกวา 1 ชั่วโมง ภายใน 5 ชั่วโมงแรก ของการทํางาน - กรณีเปนงานที่ตองทําอยางตอเนื่อง หรือเปนงานฉุกเฉิน ไมสามารถหยุดพักได นายจางจะไมจัดเวลาพักให ลูกจางก็ได แตตองไดรับความยินยอมจากลูกจาง 3. วันหยุดสัปดาห - ไมนอยกวาสัปดาหละ 1 วัน โดยมีระยะหางกันไมเกิน 6 วัน - ลูกจางมีสิทธิ์ไดรับคาจางในวันหยุดประจําสัปดาห - ยกเวนลูกจางรายวัน รายชั่วโมงหรือตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย - นายจางและลูกจางทําการตกลงกันลวงหนา เพื่อกําหนดใหมีวันหยุดประจําสัปดาหวันใดก็ได - กรณีวันหยุดประจําสัปดาห ไมแนนอน ใหนายจางประกาศวันหยุดใหลูกจางทราบลวงหนาไมนอยกวา 3 วัน และแจงเปนหนังสือใหพนักงานตรวจแรงงานทราบภายใน 7 วัน นับแตวันที่ประกาศกําหนด 4. วันหยุดประเพณี - ไมนอยกวา 13 วัน โดยนับรวมวันแรงงานแหงชาติดวย หากวันหยุดตามประเพณีตรงกับวันหยุดประจํา สัปดาห ตองหยุดชดเชยในวันทํางานถัดไป - ลูกจางมีสิทธิ์ไดรับคาจางในวันหยุดตามประเพณี

103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. วันหยุดพักผอนประจําป - ลูกจางที่ทํางานมาครบ 1 ป มีสิทธิ์หยุดพักผอนประจําปไมนอยกวา 6 วันทํางานตอป - ลูกจางมีสิทธิ์ไดรับคาจางในวันหยุดพักผอนประจําป - ลูกจางที่ยังทํางานไมครบ 1 ป สามารถใหหยุดตามสวนได - นายจางเปนผูกําหนดวันหยุดพักผอนประจําปใหลูกจาง และแจงใหทราบลวงหนา หรือกําหนดตามที่ตกลง รวมกัน - นายจางและลูกจางตกลงกันลวงหนาเรื่องสะสมและเลื่อนวันหยุดพักผอนประจําปไป เพื่อรวมหยุดในปอื่นได 6. การลา เชน ลาคลอด ลากิจ ลาเพื่อรับราชการทหาร เปนตน - การลาคลอด ลูกจางมีสิทธิลาคลอดกอนและหลังคลอดครรภหนึ่งไมเกิน 90 วัน โดยใหนับรวมวันหยุดที่มี ระหว า งวั น ลาด ว ย และให น ายจ า งจ า ยค า จ า งแก ลู ก จ า งซึ่ ง ลาคลอดเท า กั บ ค า จ า งในวั น ทํ า งานตลอด ระยะเวลาที่ลา แตไมเกิน 45 วัน - การลากิจ ลูกจางมีสิทธิ์ลาเพื่อกิจธุระอันจําเปนไดตามขอบังคับเกี่ยวกับการทํางาน - ลูกจาง มีสิทธิ์ลาเพื่อรับราชการทหารในการเรียกพลเพื่อตรวจสอบ เพื่อฝก วิชาทหาร หรือเพื่อทดสอบ ความพรั่งพรอม โดยลาไดเทากับจํานวนวันที่ทางการทหารเรียก และไดรับคาจางตลอดเวลาที่ลาแตไมเกิน 60 วันตอป 7. คาจาง - คือเงินคาตอบแทนที่ตกลงกันระหวางนายจางกับลูกจางตามสัญญาจาง สําหรับระยะเวลาการทํางานปกติ เปนรายชั่วโมง รายวัน รายสัปดาห หรือระยะเวลาอื่น หรือจายใหโดยคํานวณตามผลงานที่ลูกจางทําไดใน เวลาทํางานปกติของวันทํางาน รวมถึงเงินที่นายจางจายใหแกลูกจางในวันหยุด และวันลาที่ลูกจางมิได ทํางานแตมีสิทธิ์ไดรับตามกฎหมายคุมครองแรงงาน - ลูกจางมีสิทธิ์ไดรับคาจางไมนอยกวาอัตราคาจางขั้นต่ํา 8. การทํางานลวงเวลาและการทํางานในวันหยุด - กรณีงานมีลักษณะตองทําติดตอกันตอเนื่อง ถาหยุดจะกอใหเกิดความเสียหาย นายจางสามารถใหลูกจาง ทํางานลวงเวลา หรือทํางานในวันหยุดไดเทาที่จําเปน

104 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

- กรณีที่มีการทํางานลวงเวลาตอจากเวลาทํางานปกติไมนอยกวา 2 ชั่วโมง นายจางตองมีเวลาใหลูกจางพัก ไมนอยกวา 20 นาที กอนเริ่มทํางานลวงเวลา ยกเวนเปนงานที่ตองทําติดตอกันตอเนื่อง 9. คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุด - ถาทํางานเกินเวลาทํางานปกติของวันทํางาน นายจางตองจายคาลวงเวลาไมนอยกวาหนึ่งเทาครึ่งของอัตรา คาจางตอชั่วโมงในวันทํางานตามจํานวนชั่วโมงที่ทํา หรือไมนอยกวาหนึ่งเทาครึ่งของอัตราคาจางตอหนวยใน วันทํางานตามจํานวนผลงานที่ทําไดสําหรับลูกจางที่ไดรับคาจางตามผลงาน - ถาทํางานในวันหยุดเกินเวลาทํางานปกติของวันทํางานนายจางตองจายคาลวงเวลาในวันหยุดใหแกลูกจาง ในอัตรา 3 เทาของอัตราคาจางตอชั่วโมงในวันทํางาน ตามจํานวนชั่วโมงที่ทําหรือตามจํานวนผลงานที่ทําได สําหรับลูกจางที่ไดรับคาจางตามผลงาน โดยคํานวณเปนหนวย - ถาทํางานในวันหยุดในเวลาทํางานปกติ นายจางตองจายคาทํางานในวันหยุด ใหแกลูกจางที่มีสิทธิไดรับ คาจางในวันหยุดเพิ่มขึ้นอีก 1 เทา ของคาจางในวันทํางานตามชั่วโมงที่ทํางานในวันหยุด หรือตามจํานวน ผลงานที่ทําได สําหรับลูกจางที่ไดรับคาจางตามผลงาน โดยคํานวณเปนหนวย - สําหรับลูกจางที่ไมมีสิทธิไดรับคาจางในวันหยุดตองจายไมนอยกวา 2 เทา ของคาจางในวันทํางานตามชั่วโมง ที่ทํางานในวันหยุด หรือตามจํานวนผลงานที่ทําไดสําหรับลูกจางที่ไดรับคาจางตามผลงาน โดยคํานวณเปนหนวย 10. คาชดเชย ลูกจางมีสิทธิ์ไดรับคาชดเชย หากถูกเลิกจางโดยไมมีความผิด ดังนี้ - ลูกจางที่ทํางานครบ 120 วัน แตไมครบ 1 ป มีสิทธิ์ไดรับคาชดเชยเทากับคาจางอัตราสุดทาย 30 วัน - ลูกจางที่ทํางานครบ 1 ป แตไมครบ 3 ป มีสิทธิ์ไดรับคาชดเชยเทากับคาจางอัตราสุดทาย 90 วัน - ลูกจางที่ทํางานครบ 3 ป แตไมครบ 6 ป มีสิทธิ์ไดรับคาชดเชยเทากับคาจางอัตราสุดทาย 180 วัน - ลูกจางที่ทํางานครบ 6 ป แตมีครบ 10 ป มีสิทธิ์ไดรับคาชดเชยเทากับคาจางอัตราสุดทาย 240 วัน - ลูกจางที่ทํางานตั้งแต 10 ปขึ้นไป สิทธิ์ไดรับคาชดเชยเทากับคาจางอัตราสุดทาย 300 วัน

105 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ในกรณีที่นายจางเลิกจาง เพราะมีการปรับปรุงหนวยงาน กระบวนการผลิต การจําหนาย หรือบริการ เนื่องจากมีการนํา เครื่องจักรหรือเทคโนโลยีมาใช จึงจําเปนตองลดจํานวนพนักงาน จะตองปฏิบัติดังนี้ - แจงวันที่จะเลิกจาง บอกเหตุผลการเลิกจาง และรายชื่อลูกจางที่จะถูกเลิกจางใหทราบลวงหนา โดยไมนอยกวา 60 วัน กอนที่จะเลิกจาง - หากไมแจงลวงหนา หรือแจงลวงหนานอยกวา 60 วัน ตองจางคาชดเชยพิเศษเทากับคาอัตราจางสุดทาย 60 วัน 11. การใชแรงงานหญิง หามนายจางใหลูกจางหญิงทํางานตอไปนี้ - งานเหมืองแร หรืองานกอสรางที่ตองทํางานใตดิน ใตน้ํา ในถ้ํา ในอุโมงค หรือปลองในภูเขา ยกเวนวางาน ไมเปนอันตรายตอรางกาย และสุขภาพ - งานที่ตองทําบนนั่งรานที่สูงกวาพื้นดินตั้งแต 10 เมตรขึ้นไป - งานผลิต หรือขนสงวัตถุระเบิด หรือวัตถุไวไฟ - งานอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง หามใหลูกจางหญิงที่มีครรภทํางานในชวงเวลา 22.00น.- 06.00น. ทํางานลวงเวลา ทํางานในวันหยุด หรือทํางานอยาง หนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ - งานเหมืองแร หรืองานกอสรางที่ตองทํางานใตดิน ใตน้ํา ในถ้ํา ในอุโมงค หรือปลองในภูเขา ยกเวนวางาน ไมเปนอันตรายตอรางกายและสุขภาพ - งานเกี่ยวกับเครื่องจักรหรือเครื่องยนตที่มีความสั่นสะเทือน - งานขับเคลื่อน หรือติดไปกับยานพาหนะ - งานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรือเข็นของหนักเกิน 15 กิโลกรัม - งานอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง 12. การใชแรงงานเด็ก - หามนายจางจางเด็กอายุต่ํากวา 15 ป เปนลูกจาง - หากรับเด็กที่มีอายุต่ํากวา 18 ป เปนลูกจาง ตองแจงตอพนักงานตรวจแรงงานภายใน 15 วัน นับตั้งแตวันที่ เด็กเขาทํางาน และแจงสิ้นสุดการจางภายใน 7 วันหลังจากเลิกจาง และนายจางตองมีชั่วโมงพักให 1 ชั่วโมง ตอวัน ภายใน 4 ชั่วโมงแรกของการทํางาน และเวลาพักยอยอื่น ๆ ตามที่นายจางกําหนด 106 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

- หามใหเด็กอายุต่ํากวา 18 ป ทํางานในชวงเวลา 22.00น. - 06.00น. - หามใหเด็กอายุต่ํากวา 18 ป ทํางานตอไปนี้ - งานหลอม เปา หลอ หรือรีดโลหะ - ทํางานในสถานที่เลนการพนัน - สถานที่เตนรํา รําวง หรือ รองเง็ง - ทํางานในสถานที่ ที่มีสุร า น้ําชา หรือเครื่องดื่มอยางอื่ นจําหนาย และบริการ โดยมีผูบําเรอ สําหรับปรนนิบัติลูกจาง หรือโดยมีที่สําหรับพักผอนหลับนอน หรือมีบริการนวดใหแกลูกคา สถานที่อื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง - หามนายจางจายคาจางของเด็กใหแกบุคคลอื่น 13. การรองทุกขของลูกจาง ลูกจางสามารถเรียกรองสิทธิของตนเอง อันเนื่องมาจากการฝาฝนกฎหมายแรงงานของนายจางได โดย - นําคดีไปฟองศาลแรงงาน - ยื่นคํารองทุกขตอพนักงานตรวจแรงงาน 14. การพิจารณาคํารองทุกขของพนักงานตรวจแรงงาน - เรงสอบสวนขอเท็จจริงจากนายจาง ลูกจาง และพยานโดยเร็ว รวมทั้งการรวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวของดวย หลังจากตรวจสอบขอเท็จจริงแลวตองมีคําสั่งใหนายจางจายเงินหรือยกคํารองทุกขของลูกจาง - การรวบรวมขอเท็จจริง และการมีคําสั่งตองกระทําใหแลวเสร็จ ภายใน 60 วัน นับแตวันรับคํารองทุกข - ถาไมดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 60 วัน ใหขอขยายเวลาตออธิบดีหรือผูวาราชการจังหวัด โดยขอขยาย ระยะเวลาไดไมเกิน 30 วัน 15. บทกําหนดโทษการฝาฝนกฎหมาย - อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานมีอํานาจเปรียบเทียบปรับ หากความผิดเกิดขึ้นในกรุงเทพฯ - ผูวาราชการจังหวัดมีอํานาจเปรียบเทียบปรับหากความผิดเกิดขึ้นในจังหวัด และตองชําระคาปรับภายใน 30 วัน นับจากวันที่ไดรับแจง - ถาไมยอมเปรียบเทียบปรับหรือไมชําระคาปรับภายในกําหนด พนักงานสอบสวนจะดําเนินการตามขั้นตอน ของกฎหมายตอไป 107 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. ตามกฎหมายแรงงานกําหนดเวลาทํางานไมเกิน 48 ชั่วโมงตอสัปดาห 2. ลูกจางไมมีสิทธิ์ไดรับคาจางในวันหยุดตามประเพณี 3. นายจางสามารถใหลูกจางทํางานลวงเวลา หรือทํางานในวันหยุดไดเทาที่จําเปน กรณีงานมีลักษณะตองทําติดตอกันตอเนื่อง ถาหยุดจะกอใหเกิดความเสียหาย 4. นายจางหามใหลูกจางหญิงทํางานบนนั่งรานที่สูงกวาพื้นดินตั้งแต 10 เมตรขึ้นไป 5. ลูกจางที่ทํางานครบ 1 ป แตไมครบ 3 ป มีสิทธิ์ไดรับคาชดเชยเทากับคาจาง อัตราสุดทาย 180 วัน 6. ลูกจางมีสิทธิ์ไดรับคาจางในวันหยุดประจําสัปดาห 7. ลูกจางไมมีสิทธิ์ไดรับคาจางในวันหยุดพักผอนประจําป 8. หามใชแรงงานหญิงงานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรือเข็นของหนักเกิน 20 กิโลกรัม 9. ลูกจางที่ทํางานมาครบ 1 ป มีสิทธิ์หยุดพักผอนประจําปไมนอยกวา 6วันทํางานตอป 10. กรณีทํางานลวงเวลาตอจากเวลาทํางานปกติไมนอยกวา 2 ชั่วโมง นายจาง ตองมีเวลาพักใหลูกจางไมนอยกวา 20 นาที ยกเวนเปนงานตอเนื่อง

108 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กระดาษคําตอบ ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

109 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 110 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

111 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.