หน้าปก
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
คู่มือผู้รับการฝึก 0920164170202 สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2
ชุดการฝึกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝึกที่ 1 09217206 สัญลักษณ์ทางไฟฟ้า การอ่านแบบและ วงจรทางไฟฟ้า
กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
คานา คู่มือผู้รับการฝึก สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 โมดูล 1 สัญลักษณ์ทางไฟฟ้า การอ่านแบบและวงจรทางไฟฟ้า ฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒ นาขึ้น เพื่อใช้เป็ น เอกสารประกอบการจัด การฝึ ก อบรมกับชุด การฝึ กตามความสามารถ โดยได้ดาเนินการภายใต้โครงการพัฒนาระบบฝึกและชุดการฝึกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้วยระบบการ ฝึกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ ผู้รับการฝึกได้ใช้เป็นเครื่องมือในการฝึกอบรมให้เป็นไปตามหลักสูตร กล่าวคือ หลังเรียนจบโมดูลการฝึก ผู้รับการฝึกสามารถ อธิบายสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าแบบและวงจรทางไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่งเสริมให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถฝึก ฝนเรียนรู้ได้ ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลายไปให้แก่ ผู้ รับการฝึ กอบรม และต้องการให้ ผู้ รั บ การฝึ ก อบรมเกิด การเรี ยนรู้ ด้ว ยตนเอง การฝึ กปฏิบัติจะด าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเน้นผลลัพธ์การฝึ กอบรมในการที่ทาให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต้องการ โดยยึดความสามารถของผู้รับ การฝึกเป็นหลัก การฝึกอบรมในระบบดังกล่าว จึงเป็นรูปแบบการ ฝึกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝึก ตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ละสาขาอาชีพ จะถูก กาหนดเป็นรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับการฝึกอบรมจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึกจะต้องเรียนรู้และฝึกฝนจนกว่าจะ สามารถปฏิบัติเองได้ ตามมาตรฐานที่กาหนดในแต่ละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การส่งมอบการฝึก สามารถดาเนินการได้ ทั้งรูปแบบการเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Paper Based) และผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ (Computer Based) โดยผู้รับการฝึกสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Learning) ที่บ้านหรือที่ทางาน และเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติตามความพร้อม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถกับหน่วยฝึก โดยมีครูฝึกหรือผู้สอนคอยให้คาปรึกษา แนะนาและจัดเตรียมการฝึกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดาเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่าง ๆ อันจะทาให้สามารถเพิ่มจานวนผู้รับการฝึกได้มากยิ่งขึ้น ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ดงบประมาณค่าใช้จ่ ายในการพัฒ นาฝี มือแรงงานให้ แก่กาลั งแรงงานในระยะยาว จึงถือเป็นรูปแบบการฝึ กที่มี ความสาคัญต่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนาระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยทาให้ประชาชน ผู้ใช้แรงงานผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และผู้ประกอบอาชีพอิสระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
สารบัญ เรื่อง
หน้า
คานา
ก
สารบัญ
ข
ข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก
1
โมดูลการฝึกที่ 1 09217206 สัญลักษณ์ทางไฟฟ้า การอ่านแบบและวงจรทางไฟฟ้า หัวข้อวิชาที่ 1 0921720601 สัญลักษณ์ทางไฟฟ้า หัวข้อวิชาที่ 2 0921720602 การอ่านแบบและวงจรไฟฟ้า คณะผู้จัดทาโครงการ
ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
11 21 31
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ข้อแนะนาสาหรับผูร้ ับการฝึก ข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก คือ คาอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคู่มือ และขั้นตอนการเข้ารับการฝึก ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 6 ข้อ ดังนี้
1. รายละเอียดของคู่มือ 1.1 โมดูลการฝึก / หัวข้อวิชา หมายถึง โมดูลการฝึกที่ครูฝึกต้องจัดการฝึกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด้วย หัว ข้อ วิช าที ่ ผู ้ร ับ การฝึก ต้อ งเรีย นรู ้แ ละฝึก ฝน ซึ ่ง มีร หัส โมดูล และรหัส หัว ข้อ วิช าเป็น ตัว ก าหนด ความสามารถที่ต้องเรีย นรู้ 1.2 ระยะเวลาการฝึก หมายถึง จานวนชั่วโมงในการฝึกอบรม เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของแต่ละโมดูล 1.3 ระบบการฝึกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝึกที่เกิดจากการนาความรู้ ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จาเป็นสาหรับการทางานมาเป็นฐาน (Based) ของการจัดฝึกอบรม หรือนามากาหนดเป็น เนื้ อ หา (Content) และเกณฑ์ก ารประเมิน การฝึก อบรม ท าให้ผู ้ร ับ การฝึก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด และตามความสามารถในการเรียนรู้ของผู้รับการฝึกเป็นหลัก 1.4 ชุ ด การฝึ ก หมายถึ ง สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ และสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ใช้ ส าหรั บ เป็ น อุ ป กรณ์ ช่ ว ยฝึ ก โดยแต่ ล ะโมดู ล ประกอบด้วย คู่มือครูฝึก คู่มือผู้รับการฝึก คู่มือประเมิน สื่อวีดิทัศน์ 1.5 ระบบจั ด การฝึ ก ด้ ว ยคอมพิ ว เตอร์ (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึ ง การน าระบบ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใช้ในการจัดการเรียนรู้และฝึกอบรม เช่น ระบบรับสมัครออนไลน์ ระบบลงทะเบียนเข้ารับการฝึกอบรมออนไลน์ ระบบการฝึกอบรมภาคทฤษฎีผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือ อุป กรณ์สื ่อ สารแบบพกพา การทดสอบออนไลน์ การบันทึกผลการฝึ ก อัตโนมัติ และการออกใบวุ ฒิ บั ต ร อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น โดยการเข้าใช้งานระบบ แบ่งส่วนการใช้งานตามความรับผิ ดชอบของผู้มีส่วนได้ส่ว น เสียดังภาพในหน้า 2 ซึ่ง รายละเอียดการใช้งานของผู้เข้ารับการฝึกสามารถดูได้จากลิงค์ mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
2. ผังการฝึกอบรม
3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
3. วิธีการฝึกอบรม 3.1 ผู้รับการฝึก ทาความเข้าใจการฝึกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝึกอบรมได้ 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) โดยในแต่ละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกต่างกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับ การฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ด้ว ยตนเอง โดยครูฝึกเป็นผู้ส่งมอบ คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จ ากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) แก่ผู้รับการฝึก และฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ครูฝึกส่งมอบให้ การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเข้า รับ การฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้า มี) หรือ เข้า รับ การฝึก ในโมดูล ถัด ไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึก และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึกโดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ศูนย์ฝึกอบรม
4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเองผ่านระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่เป็นสื่อออนไลน์ในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม วิธีดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning - ผู้รับการฝึกดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบ่งออกเป็น 2 ช่องทางตามแต่ละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ iOS ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ 2) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ Android ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่ อ ติ ด ตั้ ง บนเครื่ อ งมื อ สื่ อ สาร และเข้ า ใช้ ง านโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง จากคู่มือผู้รับการฝึก ซึ่งเป็นสื่อออนไลน์บนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้ รั บการฝึ กท าแบบทดสอบก่ อนฝึ ก (Pre-Test) ลงในแอปพลิ เคชั น โดยระบบจะตรวจและ ประเมินผลอัตโนมัติ
5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
- ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจแล้วจึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3.2 ครูฝึกชี้แจงรูปแบบการฝึกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแก่ผู้รับการฝึก เพื่อทาการตกลงรูปแบบการฝึกอบรมร่วมกับผู้รับการฝึก โดยให้ผู้รับการฝึกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝึกวางแผนการฝึกตลอดหลักสูตรร่วมกันกับผู้รับการฝึก
4. อุปกรณ์ช่วยฝึกและช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึก ผู้รับการฝึกสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ช่วยฝึกได้ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝึก ด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) โดยมีช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึกแต่ละรูปแบบแตกต่างกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีก่อนฝึ ก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลั งฝึ ก โดยกาหนดเกณฑ์การให้ คะแนนและการระบุความสามารถด้านความรู้ ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ต่ากว่าร้อยละ 70
เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC) 6
กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูลนั้น ๆ ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนั้น และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการฝึกนั้น ๆ แล้ว
6. เงื่อนไขการผ่านการฝึก ผู้รับการฝึกที่จะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฏี คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านโมดูลการฝึก
7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้าน และการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920164170202
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒ นาขึ้น ให้ครอบคลุมด้านความรู้ ทั กษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึกในสาขาช่างเครื่องปรับอากาศ ในบ้า นและการพาณิช ย์ข นาดเล็ก เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า การอ่านแบบ และวงจรทางไฟฟ้า 1.2 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศระบบ 3 เฟส อุปกรณ์และหลักการทางาน ของระบบควบคุมต่าง ๆ ที่อยู่ในเครื่องปรับอากาศ 1.3 มีความรู้ความสามารถในการตัด ปรับแต่ง ขยาย บาน ดัด และเชื่อมท่อ 1.4 มีความรู้ ความสามารถเกี่ยวกับหลักการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส 3 เฟส และการต่อมอเตอร์ หลายความเร็ว 1.5 มีความรู้เกี่ยวกับการเลือกใช้ชนิดและขนาดของคอมเพรสเซอร์ได้อย่างเหมาะสม 1.6 มีความรู้ความสามารถในการประกอบติดตั้งระบบท่อสารทาความเย็นที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ 1.7 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับหลักการและวิธีการหล่อลื่นอุปกรณ์ในระบบเครื่องปรับอากาศ 1.8 มีความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บสารทาเย็น เพื่อการเคลื่อนย้ายหรือการซ่อมบารุงโดยการปั๊มดาวน์ หรือ ใช้เครื่องเก็บสารทาความเย็นอย่างถูกต้อง และการจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็นเพื่อป้องกันความชื้น 1.9 มีความรู้ความสามารถในการทาความสะอาดระบบ เมื่อภายในระบบมีความชื้น 1.10 มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ และการวัดค่าต่าง ๆ 1.11 มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และแก้ไขข้อขัดข้องของเครื่องปรับอากาศ
8 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
2. ระยะเวลาการฝึก ผู้ รั บ การฝึ กจะได้รั บ การฝึ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบั ติ โดยสถาบันพัฒ นาฝี มือแรงงาน หรือสานักงานพัฒนา ฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถใช้ระยะเวลาในการฝึก 72 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป็ น การฝึ ก ที่ ขึ้ น อยู่ กั บ พื้ น ฐานความรู้ ทั ก ษะ ความสามารถและความพร้ อ มของผู้ รั บ การฝึ ก แต่ละคน มีผลให้ผู้รับการฝึกจบการฝึกไม่พร้ อมกัน สามารถจบก่อนหรือเกินระยะเวลาที่กาหนดไว้ในหลั กสูตรได้ หน่วยฝึกจึงต้องบริหารระยะเวลาในการฝึกให้เหมาะสมตามความจาเป็น ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือผู้อานวยการสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หน่วยความสามารถและโมดูลการฝึก จานวนหน่วยความสามารถ 11 หน่วย จานวนโมดูลการฝึก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 4.2 ชื่อย่อ : วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 4.3 ผู้ รั บ การฝึ ก ที่ ผ่ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ่ า นการฝึ ก ครบทุ ก หน่ ว ยความสามารถ จะได้ รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2
9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
รายละเอียดโมดูลการฝึกที่ 1 1. ชื่อหลักสูตร
สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 สัญลักษณ์ทางไฟฟ้า การอ่านแบบและวงจรทางไฟฟ้า
รหัสหลักสูตร 0920164170202 2. ชื่อโมดูลการฝึก รหัสโมดูลการฝึก 09217206 3. ระยะเวลาการฝึก รวม 2 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหน่ว ย หน่ ว ยการฝึ กนี้ พัฒ นาขึ้นให้ ครอบคลุ มด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้ รับการฝึ ก การฝึก เพื่อให้มีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าได้ 2. อธิบายแบบและวงจรทางไฟฟ้าได้ 5. พื้นฐาน ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ สัญลักษณ์ทางไฟฟ้าแบบและวงจรทางไฟฟ้า หรือผ่านการ ผู้รับการฝึก ฝึกอบรมทีเ่ กี่ยวข้องจากหน่วยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได้ 2. ผู้รับการฝึกผ่านระดับ 1 มาแล้ว 6. ผลลัพธ์การเรียนรู้ : เมื่อสาเร็จการฝึกในโมดูลนี้แล้วผู้รับการฝึกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรู้ความสามารถและใช้ ระยะเวลาฝึก ดังนี้ ระยะเวลาฝึก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธ์การเรียนรู้ ชื่อหัวข้อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าได้ หัวข้อที่ 1 : สัญลักษณ์ทางไฟฟ้า 1:00 0:45 2. อธิ บ ายวิ ธี ก ารจั ด เก็ บ อุ ป กรณ์ หัวข้อที่ 2 : การจัดเก็บอุปกรณ์ระบบ 1:00 0:45 ระบบสารท าความเย็ น เพื่ อ สารทาความเย็น ป้องกันความชื้นได้ รวมทั้งสิ้น 2:00 2:00
10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 1 0921720601 สัญลักษณ์ทางไฟฟ้า (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ - อธิบ ายสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าได้
2. หัวข้อสาคัญ - สัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก
4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก
6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจน เข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการ ประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก
7. บรรณานุกรม วีระศักดิ์ มะโนน้อม และสมชาย วณารักษ์. 2558. เครื่องทาความเย็นและปรับอากาศ. นนทบุรี : เอมพันธ์ สุธิกานต์ วงษ์เสถียร. 2549. ระบบไฟฟ้าควบคุม เครื่องทาความเย็นและเครื่องปรับอากาศ. กรุงเทพฯ : สกายบูกส์.
12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 1 สัญลักษณ์ทางไฟฟ้า การอ่านและเขียนวงจรไฟฟ้า ส่วนที่สาคัญที่สุด คือ จะต้องเข้าใจสั ญลักษณ์ที่ใช้ระบุแทนส่วนประกอบและอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถระบุชนิดและการทางานพื้นฐานของอุปกรณ์นั้น ๆ ได้ โดยสัญลักษณ์พื้นฐานที่ใช้กันทั่วไปในประเทศไทยนั้น เป็นมาตรฐาน สัญลักษณ์มาตรฐานทางไฟฟ้านานาชาติของทวีปยุโรป (International Electrotechnical Commission) ซึ่งมีลักษณะของสัญลักษณ์ ดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 1.1 สัญลักษณ์ไฟฟ้าในระบบเครื่องทาความเย็น และเครื่องปรับอากาศ ลาดับ
สัญลักษณ์
ความหมาย
1
ตัวนาไฟฟ้า (ติดตั้งจากโรงงาน)
2
สายไฟฟ้าพาดผ่านกัน
3
สายไฟฟ้าเชื่อมกัน
4
อุปกรณ์อยู่ภายในชุดเดียวกัน
5
มอเตอร์พัดลม 3 เฟส
6
มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ 3 เฟส
13 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ลาดับ
สัญลักษณ์
ความหมาย
7
หลอดไฟ
8
ตัวนาไฟฟ้า (เดินสายขณะติดตั้ง)
9
สายไฟฟ้าเชื่อมต่อกัน
10
ปลายสาย
11
อุปกรณ์ที่ทางานร่วมกัน
12
มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ 1 เฟส
13
มอเตอร์พัดลม
14
ขดลวด
15
โซลีนอยด์
14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ลาดับ
สัญลักษณ์
ความหมาย
16
สวิตช์
17
ตัวต้านทาน
18
ต่อลงกราวด์
19
อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน
20
สวิตช์แบบ 1 ขั้ว 1 ทาง
21
สวิตช์แบบ 2 ขั้ว 2 ทาง
22
ขดลวดความร้อนอุ่นน้ามันหล่อลื่น
23
สวิตช์ควบคุมอุณหภูมิ
24
สวิตช์ควบคุมระดับของเหลว
15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ลาดับ
สัญลักษณ์
ความหมาย
25
หน้าสัมผัสชนิด manual reset
26
ฟิวส์
27
คาปาซิเตอร์ * ขั้วที่อยู่ใกล้เปลือกนอก
28
ไดโอด
29
หม้อแปลงไฟฟ้า
30
สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติ
31
สวิตช์แบบ 1 ขั้ว 2 ทาง
32
สวิตช์แบบ 2 ขั้ว 2 ทาง
33
สวิตช์ควบคุมความดัน
16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ลาดับ
สัญลักษณ์
ความหมาย
34
สวิตช์ควบคุมอัตราการไหล
35
สวิตช์ควบคุมความชื้น
36
หน้าสัมผัสชนิดปกติเปิด หน้าสัมผัสชนิดปกติปิด
37
สวิตช์ชนิด manual reset
38
หน้าสัมผัสหน่วงเวลาชนิด delay reset
39
สวิตช์ชนิด auto reset
40
หน้าสัมผัสหน่วงเวลาชนิด time delay
17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดคือสัญลักษณ์การต่อลงกราวด์
ก. ข.
ค.
ง. 2. ข้อใดเป็นความสาคัญของการอ่านวงจรไฟฟ้า ก. เพื่อให้สามารถระบุชนิด และทาการซ่อมแซมได้ ข. เพื่อให้สามารถระบุชนิด และการทางานพื้นฐานของอุปกรณ์นั้น ๆ ได้ ค. เพื่อให้เข้าใจการทางานพื้นฐานของอุปกรณ์นั้น ๆ และสามารถต่อพ่วงได้ ง. เพื่อให้เข้าใจการทางานพื้นฐานของอุปกรณ์นั้น ๆ และสามารถดัดแปลงได้
3.
จากภาพเป็นสัญลักษณ์อะไร ก. สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติ ข. สวิตช์ควบคุมความดัน ค. สวิตช์ชนิด auto reset ง. สวิตช์ควบคุมระดับของเหลว 18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
4. ข้อใดเป็นสัญลักษณ์ หม้อแปลงไฟฟ้า ก. ข. ค. ง.
5.
Fu ในภาพ หมายถึง สิ่งใด ก. แบตเตอรี่ ข. ไอโอด ค. ฟิวส์ ง. ซิลินอยด์
6. จุดที่มีสายไฟฟ้าพาดผ่านกันใช้สัญลักษณ์ใด ก. ข. ค. ง.
19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
กระดาษคาตอบ ข้อ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5 6
20 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ง
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 2 0921720602 การอ่านแบบและวงจรไฟฟ้า (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ - อธิบ ายแบบและวงจรทางไฟฟ้าได้
2. หัวข้อสาคัญ - การอ่านแบบและวงจรไฟฟ้า
3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก
4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
21 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก
6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจน เข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการ ประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก
7. บรรณานุกรม สุธิกานต์ วงษ์เสถียร. 2549. ระบบไฟฟ้าควบคุม เครื่องทาความเย็นและเครื่องปรับอากาศ. กรุงเทพฯ : สกายบูกส์. ฉัตรชาญ ทองจับ. 2557. เครื่องทาความเย็นและปรับอากาศ. ปทุมธานี : สกายบุ๊กส์.
22 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 2 การอ่านแบบและวงจรไฟฟ้า การอ่านวงจรไฟฟ้า และวงจรควบคุมทั้งหมดของระบบนั้น ผู้เรียนจะต้องทาความเข้าใจก่อนว่าในระบบประกอบไปด้วย อุปกรณ์ใดบ้าง แต่ละส่วนนั้นมีการเชื่อมต่อสัมพันธ์กันอย่างไร โดยสามารถใช้แนวทางในการอ่านวงจรได้ดังต่อไปนี้ 1. อ่านสัญลักษณ์ของอุปกรณ์ทั้งหมด ทั้งสัญลักษณ์อักษรและสัญลักษณ์ภาพ ซึ่งมีการกาหนดที่แตกต่างกันในแต่ละผู้ผลิต และเอกสารต่าง ๆ โดยเฉพาะสัญลักษณ์อักษร ขณะที่อ่านสัญลักษณ์นั้น ให้ตรวจหาอุปกรณ์บนวงจร จะช่วยให้เกิด ความเข้าใจมากยิ่งขึ้น 2. อ่านวงจรเพื่อตรวจสอบการต่อวงจรระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ ตามลาดับ ดังนี้ 1) ตามลาดับจากวงจรกาลัง ไปยังวงจรควบคุม 2) ตามลาดับจากซ้ายมือ ไปขวามือ 3) ตามลาดับจากด้านบน ไปด้านล่าง 3. พิจารณาการทางานของวงจร โดยใช้หลักการทางานของอุปกรณ์ และการต่อถึงกันทางไฟฟ้า ตัวอย่างการอ่านวงจรไฟฟ้าของเครื่องปรับอากาศ ซึ่งมีลาดับการอ่านตามขั้นตอน ดังนี้ 1) อ่านสัญลักษณ์บนแผนภาพ ซึ่งอยู่ทางด้านขวาของแผนภาพ เช่น OL แทน โอเวอร์โหลด (Overload) และใช้
แทนสวิตช์ตัดตอน นอกจากนั้นบนแผนภาพยังกาหนดเส้นการเชื่อมต่อวงจรที่แตกต่างกัน
ออกไป โดยเส้นประหนา แทนระบบแหล่งจ่ายของอาคาร (Field Power) เส้นทึบหนา แทนวงจรกาลังของเครื่อง (Factory Power) เส้ น ประบาง แทนแหล่ งจ่ายที่ผ่ านสวิตช์ตัดตอน (Field Control) และเส้ นทึบบาง แทนวงจรควบคุมของเครื่อง (Factory Control)
23 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ภาพที่ 2.1 แผนภาพวงจรสมบูรณ์ของเครื่องปรับอากาศ 2) จากแผนภาพ มี ส่ วนของวงจรก าลั งอยู่ ด้ านบน และส่ วนของวงจรควบคุ มอยู่ ด้ านล่ าง ในการอ่ านวงจร จึงเริ่มจากด้านบนลงล่าง ดังนี้ - แหล่งจ่ายกาลังของอาคาร จะอยู่ทางด้านบนซ้ายของวงจร และมีสวิตช์ตัดตอนอยู่ด้วย - คอมเพรสเซอร์ ใช้มอเตอร์ชนิดพีแอสซี รับกาลังไฟฟ้าจากหน้าสัมผัสหลักของคอนแทคเตอร์ โดยมีสวิตช์ความดันอนุกรมป้องกันอยู่ในวงจร - พัดลมคอนเดนเซอร์ เป็นชนิดมอเตอร์พีเอสซีขนาน รับกาลังไฟฟ้ามาจากวงจรคอมเพรสเซอร์ - โหลดของวงจรกาลังมีองค์ประกอบ ได้แก่ มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ และพัดลมคอนเดนเซอร์ - วงจรพั ด ลมเครื่ อ งระเหย ควบคุ ม ด้ ว ยหน้ า สั ม ผั ส ปกติ เ ปิ ด ของรี เ ลย์ พั ด ลมเครื่ อ งระเหย ซึ่งรับกาลังไฟฟ้าโดยตรงจากแหล่งจ่าย จะแยกออกจากวงจรกาลัง - วงจรควบคุม จะใช้แรงดันไฟฟ้าต่าที่แปลงมาจากหม้อแปลงไฟฟ้า - แผงควบคุ ม แรงดั น ไฟฟ้ า ต่ า ประกอบไปด้ ว ยเทอร์ โ มสตั ท ในส่ ว นนี้ จ ะมี ล วดความร้ อ น ส าหรั บ การควบคุม ล่ว งหน้า และสวิต ช์เ ลือ กมีห น้า ที ่ใ นการควบคุม การจ่า ยไฟฟ้า ไปยังขดลวดคอนแทคเตอร์ของคอมเพรสเซอร์ และขดลวดของรีเลย์ของพัดลมระเหย
24 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
3) การจ่ายกระแสไฟฟ้าเข้าเครื่องถูกควบคุมด้วยสวิตช์ตัดตอนของวงจรรวม และการป้องกันของอุปกรณ์ ป้องกันหลักของวงจร โดยการทางานของวงจรถูกควบคุมด้วยสวิตช์เลือก และเทอร์โมสตัท - เมื่อสวิตช์เลือกอยู่ในตาแหน่ง On ขดลวดของรีเลย์จะได้รับกระแสไฟฟ้าที่จ่ายผ่านสวิตช์ เลือกหน้าสัมผัสปกติเปิดในวงจรจะปิดลง ส่งผลให้มอเตอร์พัดลมทางาน
ภาพที่ 2.2 เมื่อสวิตช์เลือกตาแหน่งควบคุมธรรมดา - ถ้าหากสวิตช์เลือกอยู่ในตาแหน่ง Auto เทอร์โมสตัทจะเป็นตัวควบคุมการทางานของพัดลม เครื่องระเหย โดยตรวจวัดความร้อนเพื่อควบคุมหน้าสัมผัสคอนแทคเตอร์ ถ้าเทอร์โมสตัทเปิด หน้าสัมผัส ออก จะไม่มีการไหลเวีย นของกระแสไฟฟ้า มอเตอร์ทุกตัว ในวงจรไม่ทางาน ถ้าเทอร์โมสตัทปิดหน้าสัมผัสลง ขดลวดของคอนแทคเตอร์และรีเลย์พัดลมจะปิดหน้าสัมผัส ลงทั้งหมด ทาให้มอเตอร์ทุกตัวในวงจรทางาน
25 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ภาพที่ 2.3 เมื่อสวิตช์เลือกตาแหน่งควบคุมอัตโนมัติ และเทอร์โมสตัทเปิดวงจร
ภาพที่ 2.4 เมื่อสวิตช์เลือกตาแหน่งควบคุมอัตโนมัติ และเทอร์โมสตัทปิดวงจร - เมื่อขดลวดของคอนแทคเตอร์ ได้รับกระแสกระแสไฟฟ้าที่จ่ายผ่านหน้าสัมผัส เทอร์โมสตัท ส่งผลให้หน้าสัมผัสปกติหลักในวงจรกาลังปิดลง คอมเพรสเซอร์และมอเตอร์พัดลมคอนเดนเซอร์ ทางาน แต่ถ้าหน้าสัมผัสของเทอร์โมสตัทเปิดออกวงจรกาลังจะหยุดทางาน
26 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ภาพที่ 2.5 ขณะที่ขดลวดคอนแทคเตอร์ถูกกระตุ้น คอมเพรสเซอร์จะทางาน
ภาพที่ 2.6 เมื่อเทอร์โมสตัททาการตัดการจ่ายไฟฟ้าให้กับขดลวดคอนแทคเตอร์คอมเพรสเซอร์จะหยุดทางาน การทาความเข้าใจในวงจรไฟฟ้าจะช่วยให้สามารถหาสาเหตุ เมื่ออุปกรณ์ส่วนใดส่วนหนึ่งมีการทางานไม่ปกติ เพื่อซ่อม แก้ไขที่สาเหตุได้ถูกต้องและรวดเร็ว
27 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คาชี้แจง : ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x หน้าตัวเลือกที่ถูกต้องที่สุดเพียงตัวเลือกเดียว
1. จากวงจร อธิบายได้ว่าอย่างไร ก. เมื่อสวิตช์อยู่ในหมวดออโต้จะทาให้ เทอร์โมสตัทจะเป็นตัวไม่ควบคุมการทางานของพัดลมเครื่องระเหย ข. เมื่อสวิตช์อยู่ในหมวดออโต้จะทาให้ เทอร์โมสตัทจะเป็นตัวควบคุมการทางานของพัดลมเครื่องระเหย ค. เมื่อสวิตช์อยู่ในหมวดออนจะทาให้ เทอร์โมสตัทจะเป็นตัวควบคุมการทางานของพัดลมเครื่องระเหย ง. เมื่อสวิตช์อยู่ในหมวดออนจะทาให้ เทอร์โมสตัทจะเป็นไม่ตัวควบคุมการทางานของพัดลมเครื่องระเหย 2. ในการอ่านวงจรไฟฟ้า และวงจรควบคุมทั้งหมดของระบบมีแนวทางในการอ่านกี่แนวทาง ก. 3 ข. 4 ค. 6 ง. 8
28 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
3. จากวงจรเมื่อสวิตช์เลือกอยู่ในตาแหน่ง On มอเตอร์พัดลมทางานหรือไม่ ก. มอเตอร์พัดลมทางาน เนื่องจากวงจรปิดมีกระแสไฟฟ้าผ่านในระบบ ข. มอเตอร์พัดลมไม่ทางาน เนื่องจากวงจรปิดมีกระแสไฟฟ้าผ่านในระบบ ค. มอเตอร์พัดลมไม่ทางาน เนื่องจากวงจรเปิดมีกระแสไฟฟ้าผ่านในระบบ ง. มอเตอร์พัดลมทางาน เนื่องจากวงจรเปิดมีกระแสไฟฟ้าผ่านในระบบ
29 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
กระดาษคาตอบ ข้อ
ก
ข
ค
1 2 3
30 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ง
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
คณะผู้จัดทาโครงการ คณะผู้บริหาร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
3. นายธวัช
เบญจาทิกุล
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
4. นายสุรพล
พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
5. ว่าที่ร้อยตรี สมศักดิ์ พรหมดา
ผู้อานวยการสานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน์
ผู้อานวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก
7. นายวัชรพงษ์
มุขเชิด
ผู้อานวยการสานักงานรับรองความรู้ความสามารถ
คาเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ์
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพ์สาลี
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกล้า
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กาภู ณ อยุธยา
สานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน์
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงค์วัฒนานุรักษ์
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค์
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
11. นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 31 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
32 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน