คู่มือผู้รับการฝึก ช่างไฟฟ้าอุตสาหกรรม ระดับ 2 โมดูล 2

Page 1



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

คูมือผูรับการฝก 0920164150302 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 2 09215207 หลักการทํางาน ตรวจสอบและการบํารุงรักษา อุปกรณที่ใชในไฟฟาอุตสาหกรรม

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

คํา นํา

คูมือ ผูรับ การฝก สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 โมดูล 2 หลักการทํางาน ตรวจสอบและการบํารุงรักษา อุปกรณที่ใชในไฟฟาอุตสาหกรรมฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยได ดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตาม ความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกได ใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ อบรมผูรับการฝกใหสามารถอธิบาย เกี่ยวกับ หลัก การทํางาน ตรวจสอบและการบํารุง รัก ษาอุปกรณที่ใชในไฟฟาอุตสาหกรรมไดอ ยางถูก ตอ ง และติดตาม ความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน นผลลั พ ธ ก ารฝ ก อบรมในการที่ทาํ ใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงาน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่ง ไดจ ากการวิเ คราะหง านอาชีพ (Job Analysis) ในแตล ะสาขาอาชีพ จะถูกกําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝน จนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแตล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ ก ารสง มอบการฝก สามารถดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับ การฝกสามารถเรียนรู ได ดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือ ที่ทํางาน และเขารับ การฝกภาคปฏิบัติตาม ความพรอมตามความสะดวกของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผล ความรูค วามสามารถกับ หนว ยฝก โดยมีค รูฝก หรือ ผูส อนคอยใหคํา ปรึก ษา แนะนํา และจัด เตรีย มการฝก ภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรบั การฝกไดมากยิง่ ขึน้ ชวยประหยัดเวลาในการเดิ นทาง และประหยัดงบประมาณค าใชจา ยในการพัฒ นาฝมือ แรงงานให แกกําลัง แรงงาน ในระยะยาวจึ ง ถื อ เป น รู ป แบบการฝ ก ที่ มี ค วามสํา คั ญ ต อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน ทั้ ง ในป จ จุ บั น และอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใชในการพัฒนาฝมือแรงงานจะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวกและ ไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

เรื่อง

สารบั ญ

หนา

คํานํา

สารบัญ ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

ข 1

โมดูลการฝกที่ 2 09215207 หลักการทํางาน ตรวจสอบ และการบํารุงรักษาอุปกรณที่ใชในไฟฟาอุตสาหกรรม หัวขอวิชาที่ 1 0921520701 หลักการทํางาน การตรวจสอบ และการบํารุงรักษาอุปกรณ 13 ที่ใชในไฟฟาอุตสาหกรรม คณะผูจัดทําโครงการ

86

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรบั การฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขัน้ ตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอ วิชาที่ ผู รั บการฝ กต อ งเรี ยนรูและฝก ฝน ซึ่ง มีร หัสโมดูลและรหัสหัวขอ วิชาเปนตัวกําหนดความสามารถ ที่ตอ งเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝก ที่เกิดจากการนําความรู ทัก ษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนือ้ หา (Content) และเกณฑก ารประเมินการฝก อบรม ทําใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขารับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุปกรณสื่อ สาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขา ใชง านระบบ แบง สว นการใชง านตามความรับ ผิด ชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดัง ภาพในหนา 2 ซึ่ง รายละเอียดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

.

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝก เรียนรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) ดวยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝก ภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมี สิ ท ธิ์ ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผู รั บ การฝ กดาวน โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ซึ่ง วิธีก ารดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2) ผูรับ การฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็ก ทรอนิกส ระบบปฏิบัติก าร Android คนหา แอปพลิ เ คชัน DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวนโ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด 7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

- หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรบั การฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 1.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การวัดและประเมินผล 1.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 8

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

1.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัตงิ าน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164150302

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรมเพื่อใหมี ความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับกฎระเบียบการขอใชไฟฟาของการไฟฟานครหลวง และการไฟฟาสวนภูมิภาค 1.2 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับหลักการทํางาน การตรวจสอบและการบํารุงรักษาอุปกรณ ที่ใชในไฟฟาอุตสาหกรรม 1.3 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟาฃ 1.4 มีความรูเกี่ยวกับอุปกรณปองกันกระแสเกิน 1.5 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาดวยทอสายไฟฟาและรางเดินไฟฟา 1.6 มีความรูเกี่ยวกับการอานแบบของระบบวงจรไฟฟาและการอานวงจรการควบคุมมอเตอรเบื้องตน 1.7 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาอุตสาหกรรม 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรบั การฝกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนาฝมือ แรงงานจังหวัดที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 60 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรได หนวย ฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใหอยูใน ดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบัน พัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 7 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 7 โมดูล

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 4.3 ผูรับ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ นผลหรื อ ผา นการฝก ครบทุก หน วยความสามารถ จะไดรับ วุฒิบัตร วพร. สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 2 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920164150302 2. ชื่อโมดูลการฝก หลักการทํางาน การตรวจสอบและการบํารุงรักษาอุปกรณ รหัสโมดูลการฝก ที่ใชในไฟฟาอุตสาหกรรม 09215207 3. ระยะเวลาการฝก รวม 6 ชั่วโมง ทฤษฎี 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรบั การฝก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายหลักการทํางาน การตรวจสอบและการบํารุงรักษาของอุปกรณที่ใช ในไฟฟาอุตสาหกรรมได 2. ตรวจสอบและบํารุงรักษาอุปกรณที่ใชในไฟฟาอุตสาหกรรมได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานงานไฟฟาเบื้องตน หรือผานการฝกอบรมเกีย่ วกับหลักการทํางาน ผูรับการฝก การตรวจสอบ และการบํารุงรักษาอุปกรณที่ใชในไฟฟาอุตสาหกรรมจากหนวยงาน หรือสถาบันทีเ่ ชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานระดับ 1 มาแลว 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 1 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูร ับการฝกสามารถปฏิบัตงิ านโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายหลักการทํางาน หัวขอที่ 1 : หลักการทํางาน การตรวจสอบและ 3:00 3:00 6:00 การตรวจสอบและ การบํารุงรักษาอุปกรณที่ใชในไฟฟา การบํารุงรักษาของอุปกรณ อุตสาหกรรม ที่ใชในไฟฟาอุตสาหกรรมได รวมทั้งสิ้น 3:00 3:00 6:00 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1

0921520701 หลักการทํางาน การตรวจสอบและการบํารุงรักษาอุปกรณ ที่ใชในไฟฟาอุตสาหกรรม (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายหลักการทํางาน การตรวจสอบและการบํารุงรักษาอุปกรณที่ใชในไฟฟาอุตสาหกรรม 2. ตรวจสอบและบํารุงรักษาอุปกรณที่ใชในไฟฟาอุตสาหกรรมได

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

มอเตอรกระแสตรง และมอเตอรกระแสสลับ อุปกรณตัดวงจรอัตโนมัติ ดวงโคมไฟฟา ตูควบคุมมอเตอร ตูจายไฟฟาประธาน หมอแปลงไฟฟากําลัง ชนิด 1 เฟส และ 3 เฟส

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผรู ับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลัก สูตร จึง จะมีสิท ธิ์เขารับ การฝกในโมดูลถัดไป หรือ เขารับการฝกในโมดูล ที่ ครูฝกกําหนดได 14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

7. บรรณานุกรม ธํารงศักดิ์ หมินกาหรีม. 2559. กฎและมาตรฐานทางไฟฟา. พิมพครัง้ ที่ 2. นนทบุรี:ศูนยหนังสือเมืองไทย. พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ และคณะ. 2558. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. พุฒิพงศ ไยราช. 2558. การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. กรุงเทพฯ : เอมพันธ. ไวพจน ศรีธัญ และคณะ. ม.ป.ป.การติดตั้งไฟฟา 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสง เสริมอาชีวะ. ศุภชัย เกาเอี้ยน และปลวัชร เตงภู. 2557. การควบคุมมอเตอรไฟฟา. นนทบุรี:ศูนยหนังสือเมืองไทย.

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 หลักการทํางาน การตรวจสอบและการบํารุงรักษาอุปกรณที่ใชในไฟฟาอุตสาหกรรม ในการปฏิบัติงานทางไฟฟาจําเปนตองใชอุปกรณไฟฟาตาง ๆ ในการทํางานประกอบกัน เพื่อใหในระบบไฟฟาดําเนินไปได อยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งอุปกรณไฟฟาแบงออกเปนหลายชนิด โดยมีหนาที่และคุณสมบัติแตกตางกัน ดังนั้น ผูปฏิบัติงาน จึงจําเปนตองศึกษาทําความเขาใจ เพื่อใหทราบถึงความสําคัญและสามารถบํารุงรักษาอุปกรณตาง ๆ ได 1. มอเตอรกระแสตรง และมอเตอรกระแสสลับ มอเตอรไฟฟาเปนเครื่องกลทําหนาที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟาใหเปนพลังงานกล ซึ่งอุปกรณไฟฟาสวนใหญจะมีม อเตอร ไฟฟาเปนสวนประกอบ โดยมอเตอรไฟฟาสามารถแบงออกตามการใชของกระแสไฟฟาได 2 ชนิด คือ 1.1 มอเตอรไฟฟากระแสตรง 1.1.1 สวนประกอบ 3 อยาง ของหลักการทํางานมอเตอรไฟฟากระแสตรง คือ 1) ขั้วแมเหล็ก โดยขั้วแมเหล็กจะตองมีเสนแรงแมเหล็กดังภาพที่ 1.1 (ก.) 2) ตัวนํา โดยตัวนําเมื่อมีกระแสไฟฟาไหลผานจะทําใหเกิดเสนแรงแมเล็กรอบตัว ดังภาพที่ 1.1 (ข) 3) ตัวนําตองวางอยูในสนามแมเหล็ก ดังภาพที่ 1.1 (ค) เมื่อตัวนํามีกระแสไฟฟาไหลเขาจะทําให เสนแรงแมเหล็ก จากตัวนําไปกระทํากับเสนแรงแมเหล็กจากแกนขั้ว ทําใหเสนแรงแมเหล็กทาง ดานบนมีความหนาแนนมากกวาดานลาง ทั้งนี้เพราะวาเสนแรงแมเหล็กที่เกิดจากตัวนําเสริม กั บ เสน แรงแม เ หล็ก จากแกนขั้ ว แม เ หล็ก ส ว นด า นลางจะมีค วามหนาแน นน อ ยกว า จาก คุ ณสมบั ติของเส นแรงแมเ หล็ก จะพยายามยืดตัวเปนเสนตรงใหม ากที่สุด จึง ผลัก ตัวนําให เคลื่ อ นที่ ล งด านลาง และสําหรับภาพที่ 1.1 (ง) เมื่อ ตัวนํามีก ระแสไหลออก ทําใหเ สนแรง แมเหล็กทางดานลางมีความหนาแนนมากกวาดานบน เพราะเสนแรงแมเหล็กจากตัวนําเสริม กับเสนแรงแมเหล็กจากแกนขั้วแมเหล็ก สวนดานบนนั้นจะมีความหนาแนนนอย จากคุณสมบัติ ของเสนแรงแมเหล็กจะพยายามยืดตัวเปนเสนตรงใหม ากที่สุดจึงผลัก ตัว ทําใหเคลื่อนที่ขึ้น ดานบน

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.1 สวนประกอบสําคัญของมอเตอรไฟฟากระแสตรง 1.1.2 หลักการทํางานของมอเตอรไฟฟากระแสตรง กลาวคือ ขดลวดวางอยูระหวางขั้วของแมเหล็ก โดยปลาย ทั้งสองของขดลวดตอเขากับซี่คอมมิวเตเตอรซึ่งมีแปรงถานสัมผัสอยู และมีแหลงจายไฟฟากระแสตรง จากภายนอกตอเขากับแปรงถานทั้งสอง ซึ่งสามารถอธิบายการทํางานได ดังนี้ ในตําแหนงที่ 1 เมื่อมี กระแสไฟฟาไหลผานตัวนําโดยตัวนําแถบดํา (ทางขวามือ ) เปนกระแสไหลเขา และตัวนําแถบขาว (ทางซายมือ) เปนกระแสไหลออก เมื่อใชกฎมือซายทําใหตัวนําแถบดําเคลื่อนที่ขึ้น และตัวนําแถบขาว จะเคลื่อนที่ลงทําใหเกิดการหมุนของขดลวดไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาไปอยูในตําแหนงที่ 2 เนื่องจาก ขดลวดอารเ มเจอรมีแรงเฉื่อ ย จึง เคลื่อ นที่ไปตอ ไดอีก พรอ มกันนี้ก ระแสไฟฟาเริ่ม เปลี่ยนทิศทาง จากกระแสไหลเขาเปนกระแสไหลออก (ตัวนําแถบดํา) และจากกระแสไหลออกเปนกระแสไหลเขา (ตั ว นํา แถบขาว) เมื่ อ เคลื่ อ นที่ ม าถึ ง ตํา แหน ง ที่ 3 และเมื่ อ ใช ก ฎมื อ ซ า ยจะเห็น ว า ตั ว นํา แถบดํา จะเคลื่ อ นที่ ลงและตั วนํ าแถบขาวจะเคลื่อนที่ขึ้นไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาเชนเดิม กระทั่ง มาถึง ตําแหนงที่ 4 และขดลวดอารเมเจอรมีแรงเฉื่อยจึงเคลื่อนที่ตอไปไดอีก ซึ่งจะกลับไปอยูในตําแหนงที่ 1 อีกครั้ง โดยจะหมุนครบ 1 รอบ และเปนอยางนี้เรื่อยไปเมื่อยังมีกระแสไฟฟาไหลผานขดลวดตัวนํา

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.2 หลักการทํางานเบื้องตนของมอเตอรไฟฟา 1.1.3 ชนิดของมอเตอรไฟฟากระแสตรง สามารถแบงออกได ดังนี้ 1) มอเตอรไฟฟาแบบกระตุนแยก (Separately Excited Motor) โดยมอเตอรดังกลาวจะตองนํา แหลงจายไฟฟากระแสตรงจากภายนอกมากระตุนที่ขดลวดสนามแมเหล็กและยังมีแหลงจาย ไฟฟากระแสตรงอีก 1 แหลง จายมาจายใหกับ ขดลวดอารเมเจอร เนื่อ งจากมอเตอรไฟฟา แบบกระตุนแยกจะตอ งมีแหลง จายไฟฟากระแสตรง 2 แหลง จาย จึง ไมนิยมนํามาใชก ับ งานทั่วไป แตจะใชกับงานเฉพาะเทานั้น 2) มอเตอรไฟฟาแบบชันท (Shunt Motor) เปนการนําขดลวดสนามแมเหล็ก แบบชันทมาตอ ขนานกับอารเมเจอร ดังภาพที่ 1.3

ภาพที่ 1.3 ขดลวดสนามแมเหล็กแบบชันทตอขนานกับอารเมเจอร 3) มอเตอรไฟฟาแบบซีรีส (Series Motor) เปนการนําขดลวดสนามแมเ หล็ก แบบซีรีสม าตอ อนุกรมกับอารเมเจอร ดังภาพที่ 1.4

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.4 ขดลวดสนามแมเหล็กแบบซีรียตออนุกรมกับอารเมเจอร 4) มอเตอร ไ ฟฟ าแบบคอมปาวด (Compound Motor) เปน การนํา ขดลวดสนามแมเ หล็ก ทั้ง แบบซีรีสและขดลวดสนามแมเหล็กแบบชันทมาตอรวมกัน ซึ่งแบงเปน 2 แบบ ดังนี้ แบงตามลักษณะการตอมี 2 แบบ คือ - แบบลองชันทคอมปาวด เปนการตอโดยนําขดลวดสนามแมเหล็กแบบซีรีสมาตออนุกรม กับ อารเ มเจอรกอ น จากนั้นจึงนํามาตอ ขนานกับขดลวดสนามแมเหล็ก แบบชันท ดังภาพที่ 1.5

ภาพที่ 1.5 การตอมอเตอรไฟฟาแบบลองชันทคอมปาวด - แบบช็อตชันทคอมปาวด เปนการตอโดยนําขดลวดสนามแมเหล็ก แบบชันท ม าตอ ขนานกับอารเมเจอรกอน จากนั้นจึงนํามาตออนุกรมกับขดลวดสนามแมเหล็กแบบซีรีส ดังภาพที่ 1.6

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.6 การตอมอเตอรไฟฟาแบบชอตชันทคอมปาวด แบงตามลักษณะการสรางเสนแรงแมเหล็กมี 2 แบบ คือ - แบบสรางเสนแรงมาเหล็กเสริมกัน โดยเสนแรงแมเหล็กจากขดลวดสนามแมเหล็ก แบบซีรีสจ ะสรางเสนแรงแมเหล็กเสริมกับขดลวดสนามแมเหล็ก แบบชันท ซึ่ง จะ ขึ้นอยูกับทิศทางการไหลของกระแสไฟฟาและทิศทางการพัน ดังภาพที่ 1.7 สมมติให กระแสไฟฟาที่ไหลในขดลวดสนามแมเหล็กทั้งสองมีทิศทางเดียวกัน ดัง นั้น เสนแรง แมเหล็กจากขดลวดสนามแมเหล็กทั้งสองจะไปในทิศทางเดียวกันและเสริมกัน

ภาพที่ 1.7 การตอมอเตอรไฟฟาแบบชอตชันทคอมปาวดสรางเสนแรงแมเหล็กเสริมกัน - แบบสรางเสนแรงแมเหล็กหักลางกัน โดยเสนแรงแมเหล็กจากขดลวดสนามแมเหล็ก แบบซีรีสจะสรางเสนแรงแมเหล็กหักลางกับขดลวดสนามแมเหล็กแบบชันท ดังภาพที่ 1.8

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

สมมติใหกระแสไฟฟาไหลในขดลวดสนามแมเหล็กทั้งสองสวนทางกัน ดังนั้นเสนแรง แมเหล็กจากขดลวดสนามแมเหล็กทั้งสอง จะไปในทิศทางตรงขามกันและหักลางกัน

ภาพที่ 1.8 การตอมอเตอรไฟฟาแบบชอตชันทคอมปาวดสรางเสนแรงแมเหล็กหักลางกัน 1.2 มอเตอรไฟฟากระแสสลับ มอเตอรไฟฟากระแสสลับสามารถแบงตามระบบการปอนไฟฟากระแสสลับใหกับมอเตอรได 2 แบบ คือ มอเตอร แบบ 1 เฟส และมอเตอรแบบ 3 เฟส 1.2.1 มอเตอรกระแสสลับ 1 เฟส การทํ า งานของมอเตอร ไ ฟฟ า กระแสสลั บ 1 เฟส อาศั ย หลั ก การเหนี่ ย วนํ า แม เ หล็ ก ไฟฟ า และ มีอ งคป ระกอบที่สําคัญคือ ตัวนําไฟฟา สนามแมเหล็ก และการเคลื่อ นที่ของสนาม แมเ หล็กไฟฟาไปตัดกับ ตัวนําไฟฟา หลักการนี้ไดนําไปสรางเปนมอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนําที่มีใชกันอยางแพรหลาย เมื่ออธิบายถึงหลักการ ทํางานของมอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนํา เปนการจายไฟฟากระแสสลับใหกับขดลวดที่สเตเตอรจะเกิดสนามแมเหล็ก หมุ น ที่ ส เตเตอร สนามแม เ หล็ ก จะเหนี่ ย วนํ า ไปยั ง ตั ว โรเตอร หรื อตั วหมุ นสงผลใหเกิ ดแรงดั นไฟฟาและ กระแสไฟฟาเหนี่ยวนําไหลภายในตัวโรเตอร โดยกระแสไฟฟาที่ไหลในตัวโรเตอรจะสรางสนามแมเหล็กขึ้นมา ตานกับ สนามแม เ หล็ ก ที่ ส เตเตอร เกิ ดแรงผลัก ระหวางขั้วแมเ หล็ก ทําใหโ รเตอรหมุนไปในทิศทางเดียวกับ สนามแมเหล็ก ซึ่งมีความเร็วรอบชากวาความเร็วสนามแมเหล็กหมุน ชนิดของมอเตอรกระแสสลับ 1 เฟส มีดังนี้ 1) สปลิตเฟสมอเตอร สปลิตเฟสมอเตอร เปนมอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนํา ทํางานโดยอาศัยการเกิดสนามแมเหล็กหมุน ของมอเตอรไฟฟา 2 เฟส ภายในรองสลอตที่สเตเตอรซึ่งมีการพันขดลวดไวจํานวน 2 ชุด ไดแก 21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขดลวดชุดรันและขดลวดชุดสตารต โดยวางหางกัน 90 องศาทางไฟฟา ทั้ง นี้ขดลวดชุดรันเปน ขดลวดหลัก (Main Winding) จะทํางานตลอดเวลาในขณะที่ม อเตอรไฟฟาเริ่มหมุน ไปจนถึง มีความเร็วรอบเต็มพิกัด การพันขดลวดจะพันดวยลวดทองแดงเสนใหญและมีจํานวนรอบมาก ทําให ขดลวดชุดรันมีคาความตานทานนอย และคารีแอกแตนชสูง สําหรับขดลวดชุดสตารตเปนขดลวดชวยหมุน (Auxiliary Winding) ทําหนาที่ชวยใหมอเตอร ไฟฟาเริ่มหมุนได ลักษณะการพันขดลวดจะพันดวยลวดทองแดงเสนเล็ก และมีจํานวนรอบนอ ย ทําใหขดลวดชุดสตารตมีคาความตานทานมากกวาและมีคารีแอกแตนซต่ํา เมื่อเทียบกับขดลวดชุดรัน ในขณะที่มอเตอรไฟฟาหมุนดวยความเร็ว 75 เปอรเซ็นต ของความเร็วเต็มพิกัด สงผลใหขดลวด ชุดสตารตถูกตัดออกจากวงจรดวยสวิตชแรงเหวี่ยงหนีศูนยกลาง หลักการแยกเฟสของกระแสไฟฟา ในสปลิตเฟสมอเตอร จะเกิดสนามแมเหล็กหมุนในสเตเตอร และเหนี่ยวนําใหตัวนําภายในของโรเตอร มีก ระแสไฟฟาไหล และสรางสนามแมเ หล็ก ในโรเตอรมีทิศทางหมุ นตามสนามแมเ หล็ก หมุ น ที่สเตเตอร ทําใหโรเตอรหมุนไดจากการผลักกันของสนามแมเหล็กที่สเตเตอรกับโรเตอร เมื่อความเร็ว ของโรเตอรเ พิ่มขึ้นประมาณ 75 เปอรเ ซ็นต สวิตชแรงเหวี่ยงหนีศูนยก ลางจะตัดวงจรขดลวด ชุดสตารตออกจากวงจรขดลวด ในขณะนั้นมอเตอรไฟฟาทํางาน โดยมีกระแสไฟฟาไหลผานขดลวด ชุดรันเพียงชุดเดียว การใชงานของสปลิตเฟสมอเตอร เนื่องจากสปลิตเฟสมอเตอรเปนมอเตอรไฟฟาที่ใหความเร็ว รอบคงที่ สามารถหาซื้อ ไดสะดวก บํารุงรักษางาย และมีราคาถูก เปนมอเตอรไฟฟาที่มขี นาดไมเกิน 1 แรงม า ใช กั บ งานที่ ไม ตอ งใช กํ าลัง มากนั ก นิ ย มนํ า ไปใช เ ปน ตั วต น กําลัง ของอุป กรณไฟฟา ตัวอยางเชน เครื่องตัดเหล็ก หินเจียระในชนิดตั้งโตะหรือตั้งพื้น มอเตอรปมน้ํา หรือนํามอเตอรไฟฟา ไปติดตั้งเปนพัดลมระบายความรอนในโรงเรือนเลี้ยงสัตว

ภาพที่ 1.9 การใชงานของสปลิตเฟสมอเตอร

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2) คาปาซิเตอร คาปาซิ เ ตอร ม อเตอร เ ป นมอเตอร ไฟฟ าที่ มี ลั ก ษณะโครงสร างภายในและหลั ก การทํ างาน เหมือนกับสปลิตเฟสมอเตอร เนื่องจากสปลิตเฟสมอเตอรมีแรงบิดเริ่มหมุนคอนขางต่ํา เพราะวา กระแสไฟฟาในขดลวดชุดสตารตกับขดลวดชุดรันจะตางเฟสกันเปนมุมประมาณ 30 องศาทางไฟฟา ดังนั้น เมื่อตองการใหมอเตอรไฟฟามีแรงบิดเริ่มหมุนสูงขึ้นและชวยลดคากระแสไฟฟา จึงตองนํา ตัวเก็บประจุมาตออนุกรมกับขดลวดชุดสตารต และมอเตอรไฟฟาถูก ออกแบบไวใชกับเครื่องใชไฟฟา การใชงานของคาปาซิเตอร โดยลักษณะเดนของคาปาซิเตอรมอเตอรเปนมอเตอรไฟฟาที่ใช กระแสไฟฟาตอนเริ่มหมุนต่ํา มีขนาดเล็ก โดยมีแรงบิดเริ่มหมุนสูง และใหความเร็วรอบคงที่ ซึ่งจะมี แรงบิดเริ่มหมุนสูงกวาสปลิตเฟสมอเตอร จึงนิยมนําไปใชเปนตัวขับคอมเพรสเซอรขนาดเล็กในตูเย็น

ภาพที่ 1.10 การใชงานของคาปาซิเตอรมอเตอร 3) เชเดดโพลมอเตอร เชเดดโพลมอเตอร เป น มอเตอรที่ทํ างานโดยอาศั ย หลัก การเคลื่อ นที่ หรื อ การหมุนของ สนามแมเหล็กที่เกิดขึ้นในชุดขดลวดหลัก Main Winding ซึ่งพันอยูในสเตเตอร ทําหนาที่เปนขั้วแมเหล็ก ของมอเตอรไฟฟา โดยแบงพื้นที่หนาขั้วแมเหล็กออกเปน 2 สวนคือ สวนที่มีพื้นที่มาก เรียกวา สวน ที่ไมเปนขั้วแมเหล็กเสริม (Un Shaded Pole) หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา สวนที่ไมบังขั้ว สวนที่มี พื้นที่นอย เรียกวา สวนที่เปนขั้วแมเหล็กเสริม (Shaded Pole) หรือ เรียกอีกอยางหนึ่งวา สวนที่บัง ขั้ว ซึ่งออกแบบใหขดลวดชวยหมุน Auxiliary Winding หรือ วงแหวนทองแดง (Shaded Coil) พั น ไว ท่ี บริ เ วณปลายขั้ ว แม เ หล็ ก และลัด วงจรเขา ด ว ยกั น เมื่ อ ทํ า การจ า ยไฟฟ า กระแสสลับ ให ขดลวดสเตเตอรสรางเสนแรงแมเหล็กเคลื่อนที่ผานตัวโรเตอร จากนั้นมีสนามแมเหล็กอีกสวนหนึ่ง เคลื่อนที่ผานวงแหวนทองแดง สงผลใหเกิดเสนแรงแมเหล็กบิดเบี้ยวไป และทําใหเกิดแรงบิดหมุน ขนาดเล็ก ๆ

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

การใชงานของเชเดดโพลมอเตอร โดยลักษณะเดนของเชเดดโพลมอเตอรมีโ ครงสรา งและ สวนประกอบที่ไมซับซอน นิยมนําไปใชเปนอุปกรณไฟฟา ตัวอยางเชน พัดลมระบายอากาศของ คอมเพรสเซอรในตูเย็นและตูแช เปนตน

ภาพที่ 1.11 การใชงานของของเชเดดโพลมอเตอร 4) ยูนิเวอรแซลมอเตอร ยูนิเวอรแซลมอเตอร เปนมอเตอรไฟฟาที่ทํางานในขณะไมมีโหลดจะมีความเร็วรอบสูง แตถามี โหลดมาตอจะทําใหความเร็วลดลงตามโหลด กรณีที่มอเตอรไฟฟามีโหลดมากขึ้นสงผลใหความเร็ว ลดลง จะทําใหขดลวดของมอเตอรไฟฟาจะไมเปนอันตราย เมื่อ ไมมีโหลดมาตอที่มอเตอรไฟฟา จะทําใหความเร็วรอบสูงมาก สงผลใหกระแสไฟฟาไหลผานขดลวด อารเมเจอรที่มีความตานทานต่าํ ซึ่งเปนสาเหตุ ใ ห ข ดลวดอารเ มเจอรไ หมห รือ เสีย หายไดเ พื่อ ความปลอดภัย การตอ มอเตอร ไฟฟาควรนําไปใชกับโหลดดวยเสมอ การใชงานยูนิเวอรแซลมอเตอรเนื่องจากยูนิเวอรแซลมอเตอรเปนมอเตอรไ ฟฟาที่มี แรงบิด เริ่มหมุนและมีความเร็วรอบสูงมาก นิยมนําไปใชงานประกอบเขากับอุปกรณไฟฟาที่มีขนาดกะทัดรัด ตัวอยางเชน กบไสไมไฟฟา สวานมือไฟฟา เปนตน

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.12 การใชงานของของยูนเิ วอรแซลมอเตอร 5) รีพัลชั่นมอเตอร รีพัลชั่นมอเตอรเปนมอเตอรไฟฟาที่มีสเตเตอรเหมือนกับสปลิตเฟสมอเตอร และมีขดลวดรัน เพียงชุดเดียว โดยโรเตอรมีลักษณะเหมือนกับอารเมเจอรของมอเตอรไฟฟากระแสตรงคือ มีขดลวด พันลงในรองสลอตและปลายสายจะไปตอตรงที่ขั้วของคอมมิวเทเตอร และที่แปรงถานตอสายตัวนําถึงกัน มอเตอรไฟฟาชนิดนี้มีก ารผลิตออกมาหลายชนิด และมีชื่อทางเทคนิคที่อ ธิบ ายถึง การเริ่ม หมุ น การควบคุมความเร็วรอบ และการกลับทิศทางการหมุน การใชงานของรีพัลชั่นมอเตอร โดยรีพัลชั่นมอเตอรที่มีขนาดตั้งแต 1 แรงมาขึ้นไป ยังเปนที่นิยม นํามาใชในโรงงานอุตสาหกรรม ดวยเหตุผลคือ เปนมอเตอรไฟฟาที่มีแรงบิดเริ่มหมุนสูง ใชกระแสไฟฟา ตอนเริ่ม หมุนต่ํา ใหความเร็วรอบคงที่ และมีอัตราเรงความเร็วรอบสูง จึง มีความเหมาะสมกับ การนําไปใชงาน ตัวอยางเชน เครื่องกลึงโลหะ เครื่องขนสงดวยสายพาน เครื่องผสมปูนซีเ มนต และเครื่องจักรงานไมเปนตน

ภาพที่ 1.13 การใชงานของรีพลั ชั่นมอเตอร

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

1.2.2 มอเตอรกระแสสลับ 3 เฟส การทํางานของมอเตอรไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส อาศัยการเปลี่ยนพลังงานไฟฟาใหเปนพลังงานกล ซึ่ง พลังงานไฟฟาที่จายเขาไปไมไดนําเขาสูขดลวดตัวนําที่พันอยูในโรเตอรโดยตรง แตเ กิดจากการเหนี่ยวนํา ของขดลวดตัวนําที่พันอยูในสเตเตอรและสรางสนามแมเหล็กหมุน เกิดการเหนี่ยวนําใหมีกระแสไฟฟาไหลในโรเตอร เพื่อสรางแรงผลักของสนามแมเหล็กที่สเตเตอรกับโรเตอร ทําใหโรเตอรหมุนไปได จึงเปนมอเตอรไฟฟาที่นิยม นํามาใชในโรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจากมีความเร็วรอบคอนขางคงที่มีความสะดวกในการบํารุงรักษา ชนิดของมอเตอรกระแสสลับ 1 เฟส มีดังนี้ 1) มอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนํา 3 เฟส โรเตอรแบบกรงกระรอก มอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนํา 3 เฟส โรเตอรแบบกรงกระรอก (Three Phase Squirrel Cage - Rotor Induction Motor) ซึ่งภายในรองสลอตที่สเตเตอรจะพันขดลวดไวจํานวน 3 ชุด ใชกับระบบไฟฟา 3 เฟส วางหางกัน 120 องศาทางไฟฟา การทํางานของมอเตอรไฟฟา อาศัยหลักการสนามแมเหล็กหมุน เมื่อปอนไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส ใหกับมอเตอรไฟฟา จะเกิดการเปลี่ยนแปลงของสนามแมเหล็กที่ สเตเตอร โดยการหมุนตัดผานกับขดลวดตัวนํา ในโรเตอรที่วางอยูใกลกัน ทําใหเกิดแรงดันไฟฟา เหนี่ยวนําขึ้นที่ขดลวดตัวนําภายในโรเตอร และเมื่อ ขดลวดตัวนําของโรเตอรถูกตอ ใหครบวงจรจะ มี ก ระแสไฟฟ าไหลในตั วนํา และสรางสนามแมเ หล็ก ขึ้นที่โ รเตอร ทําใหเกิดแรงผลักกันระหวาง สนามแมเหล็กที่ส เตเตอรกับ โรเตอร สง ผลใหเ กิดแรงบิด ทําใหโ รเตอรห มุนไปตามทิศทางของ สนามแม เ หล็ ก หมุ น การใชงานของมอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนํา 3 เฟส โรเตอรแบบกรงกระรอก นิยมนํามาใชในโรงงาน อุตสาหกรรม และมีขอดีคือ ไมมีแปรงถาน จึงทําใหการสูญเสียเนื่องจากความฝดมีคานอย การเริ่ม หมุนทําไดไมยาก ราคาถูก สรางงาย ทนทาน การบํารุง รัก ษานอ ย ความเร็วรอบคอ นขางคงที่ มีคา ตัวประกอบกําลังและประสิทธิภาพสูง แตมีขอ เสีย คือ การเปลี่ยนแปลงความเร็วรอบของ มอเตอรไฟฟาจะทําไดยาก ในปจจุบันไดมีการพัฒนาชุดควบคุมอินเวอรเตอรใชสําหรับปรับความเร็ว รอบของมอเตอรไฟฟามอเตอรไฟฟาชนิดนี้ นิยมใชกับเครื่องจักรในงานอุตสาหกรรม ตัวอยางเชน เครื่องกลึง เครื่องกัด และเครื่องไสเปนตน

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.14 การใชงานของมอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนํา 3 เฟส โรเตอรแบบกรงกระรอก 2) มอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนํา 3 เฟส โรเตอรแบบพันขดลวด มอเตอรไ ฟฟา เหนี่ ยวนํ า 3 เฟส โรเตอรแ บบพัน ขดลวด (Three Phase Wound - Rotor Induction Motor) เปนมอเตอรไฟฟาที่มีสวนของสเตเตอรเหมือนกับมอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนํา 3 เฟส โรเตอรแบบกรงกระรอกจะแตกตางกันเฉพาะในสวนของโรเตอร ดังนั้นมอเตอรไฟฟาชนิดนี้จึงนิยม เรียกอีกชื่อหนึ่งวา สลิปริงมอเตอร ในการควบคุมความเร็วรอบของมอเตอรไฟฟาทําไดโดยการเพิ่ม หรือ ลดคาความตานทานภายนอกที่ตอ ผานทางวงแหวนสลิป ริง ซึ่ง มอเตอรไฟฟาจะมีแรงบิด เริ่มหมุนสูง และขณะที่มอเตอรไฟฟาหมุนดวยความเร็วรอบปกติ สลิปริงจะถูกลัดวงจรทําใหโรเตอร ทํางานแบบกรงกระรอก หลักการทํางานของมอเตอรไฟฟา คือ อาศัยหลักการเกิดสนามแมเหล็ก หมุนที่สเตเตอรและทําใหโรเตอรหมุน ซึ่งจะเหมือนกับมอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนํา 3 เฟส โรเตอร แบบกรงกระรอก แตจะแตกตางกันตรงการตอวงจรใหมอเตอรไฟฟาเริ่มหมุน การใชงานของมอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนํา 3 เฟส โรเตอรแบบพันขดลวด นํามาใชเพื่อวัตถุประสงค ในการปรับ เปลี่ยนคาความเร็วรอบและคาแรงบิด สามารถทําไดโ ดยการใชชุดความตานทาน จากภายนอกเขามาตอ ที่วงจรของโรเตอร โดยตอ ผานอุป กรณตัวสลิปริง ชุดคาความตานทาน และอุป กรณต ัด ตอ วงจร ซึ ่ง ออกแบบใหเ ปน ไดทั ้ง แบบควบคุม ดว ยมือ หรือ แบบอัต โนมัติ มอเตอรไฟฟาชนิดนี้นิยมนํามาสรางเปนเครื่องอัดและเครื่องผสม เหมาะสําหรับงานที่ตองการ เปลี่ยนแปลงความเร็วรอบ

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.15 การใชงานของมอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนํา 3 เฟส โรเตอรแบบพันขดลวด 3) ซิงโครนัสมอเตอร ซิงโครนัสมอเตอร (Synchronous Motor) การทํางานเมื่อปอนแรงดันไฟฟา กระแสสลับ 3 เฟส ใหกับขดลวดสเตเตอรของมอเตอรไฟฟา จะทําใหเกิดสนามแมเหล็ก หมุนขึ้นที่ขดลวดสเตเตอร ซึ่งหมุนดวยความเร็วสนามแมเหล็กหมุนหรือความเร็วซิงโครนัส ในขณะเดียวกันโรเตอรก็จะหมุนไป ในทิ ศทางเดี ยวกั บ สนามแมเหล็ก หมุน โดยมีความเร็ว ใกลเ คียงกัน หลัง จากนั้นจึง ทําการจาย แรงดันไฟฟากระแสตรงเขาขดลวดหนวง (Damper Winding) ที่โรเตอร เพื่อสรางขั้วแมเหล็กขึ้นมา ใหดึงดูดติดกับสนามแมเหล็กหมุนที่สเตเตอร ทําใหโรเตอรหมุนไปพรอมกับความเร็วสนามแมเหล็ก หมุนและคงที่ตลอดระยะเวลาการทํางาน ซิงโครนัสมอเตอรสามารถทํางานไดทั้งมีคาตัวประกอบ กําลังลาหลังและนําหนา โดยที่ความเร็วรอบไมเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงคาตัวประกอบกําลัง ของมอเตอรไฟฟา ทําไดโดยการเปลี่ยนแปลงคากระแสไฟฟากระตุนขดลวดที่โรเตอร ซึ่งทําใหกําลัง อินพุตของมอเตอรไฟฟามีคาคงที่ การใชง านของซิง โครนัสมอเตอร ในปจ จุบันนิยมนํามาใชง านมากขึ้น เพื่อ นํามาใช แทนที่ มอเตอรไฟฟากระแสตรงชนิดมีแปรงถาน มอเตอรไฟฟาชนิดนี้มีทั้ง ชนิด 1 เฟส และ 3 เฟส มีความเร็วรอบคงที่ เมื่อ ตอ งการนําไปใชงานจะตอ งพิจารณาทั้งแหลงจายไฟฟา งานหรือภาระ ในการขับ โหลด การรัก ษาสมดุลของกระแสไฟฟาในแตล ะเฟส และความคุม คา ในการใชง าน นิยมนําไปใชในอุตสาหกรรมหนัก ตัวอยางเชน เครื่องบดหรือเปนตัวขับลูกโม ในการโมหิน

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.16 การใชงานของซิงโครนัสมอเตอร 1.3 การบํารุงรักษามอเตอรไฟฟา 1.3.1 การดูแลรักษามอเตอรการดูแลมอเตอรในขณะที่มอเตอรยังอยูในสภาพที่ใชงานไดมี 2 แนวทางดังนี้ 1) การบํารุงรักษาเชิงปองกัน (Preventive Maintenance) จะทําไดโดยการตั้งเวลาชั่วโมงการทํางาน และแตละคาของชั่วโมงการทํางานจะมีลักษณะการบํารุงรักษาเชิงปองกัน สําหรับการบํารุงรักษา ลักษณะนี้จะปองกันมอเตอรจากการเกิดปญหาไดระบบหนึ่งเทานั้นและยังอาจเกิดผลเสียขึ้น โดยรวม เชน แปรงถานอาจจะแตกหักกอน 2,000 ชม.ทําใหเกิดการหยุดมอเตอรกอน 2,000 ชม. ตลับลูกปน อาจจะเสียหายกอน 10,000 ชม. ทําใหมอเตอรไหมหรือเสียหายได 2) การบํารุงเชิงพยากรณ (Predictive Maintenance) จะทําโดยการตั้งชั่วโมงการทํางานเพื่อเขา ตรวจเช็ค โดยการตรวจเช็คนี้จะนําไปวิเคราะหดูแนวโนมของปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นเพื่อหาทาง ปองกัน ความเสียหาย จะมี 2 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 กําหนดชั่วโมงทํางานเขาตรวจเช็ค ขั้น ที่ 2 นํา ขอ มูล จากขั้น ที่ 1 มาเก็บ ขอ มูล และวิเ คราะหโ ดยการเปรีย บเทียบ แนวโนม และเทีย บกับ คา มาตรฐานตรวจสอบหาสาเหตุ และทํา การแกไ ขขอ ควรรู กอนการบํารุงรักษาเชิงพยากรณเพื่อใหอางอิง ถึงคาที่มีก ารกําหนดเหมือน ๆ กัน จึงมี การกําหนดมาตรฐานตาง ๆ ขึ้น ตัวอยางเชน ในอเมริกาจะอางถึง NEMA หรือ IEEE ในขณะที่ยุโรปอาจจะอางถึง IEC DINVVDE โดยแตละมาตรฐาน จะมีขอทดสอบที่นํามา เปนคามาตรฐานวาคาเทาไหรที่ยอมรับได

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

1.3.2 การบํารุงรักษามอเตอรไฟฟาใหมีอายุการใชงานยาวนาน 1) ควรทํา ความสะอาดฝุนผง เนื่อ งจากการกัด กรอ นฝุน ผง รวมทั้ง คราบสิ่ง สกปรกที่จับ ตัว บนตัวมอเตอร และโครงสรางภายในจะสงผลเสียกับตัวมอเตอรได 2) ควรปด แปรงดูดฝุน หรือใชลมแรงเปาฝุนออก วิธีการตาง ๆ ดังกลาวนี้ จะสามารถทําความสะอาด ตัวมอเตอรไดทั้งสวนภายนอกและภายในที่ฝนุ เขาไปเกาะติดภายในตัวถังมอเตอร โดยเฉพาะบริเวณ ชองระบายอากาศจะทําใหอุณหภูมิสะสมในตัวมอเตอรสูง เนื่องจากการระบายความรอนทําได ไมดีพอ และเมื่ออุณหภูมิสูงก็จะสงผลตออายุการใชงานของฉนวนตาง ๆ ของมอเตอร 3) ตรวจสอบชองระบายอากาศหากชํารุด บิดงอ หรือมีสิ่งอุดตัน จะสงผลใหการระบายอากาศไมดี 4) ตรวจสอบตั ว ถั ง โลหะ ขดลวดมอเตอร รวมทั้ง ชิ้น สว นภายในมอเตอรวา ถูก กัด กรอ น ได รั บ ความเสียหายบางหรือไม เพราะในการใชงานในสภาพแวดลอมที่มีสารเคมี หรือกรดเกลือ แพรกระจายในอากาศอาจทําใหการกัดกรอนตัวมอเตอรเกิดขึ้นไดเร็วขึ้น 5) ในสภาพแวดลอมที่เปยกชื้น หรือมีไอระเหยของสารเคมี อาจตองเปดฝาขั้วตอไฟฟาของมอเตอร เพื่อตรวจหารองรอยของสนิม รวมทั้งความเสียหายของฉนวนสายไฟ 2. อุปกรณตัดวงจรอัตโนมัติ อุปกรณตัดวงจรไฟฟาอัตโนมัติหรือเซอรกิตเบรกเกอร ทําหนาที่ตัดระบบไฟฟาเมื่อไมตองการใหมีกระแสไฟฟาไหลผาน ไปยัง อุปกรณไฟฟาตาง ๆ เพื่อเปนประโยชนในการซอมแซม รวมถึงปองกันอันตรายตอระบบที่อาจเกิดจากกระแสไฟฟา ลัดวงจร หรือ การใชไฟฟ าเกิ นพิ กั ดกว าเครื่ อ งใช ไฟฟานั้นจะรับ ไดอีก ดวย 2.1 ประเภทของเซอรกิตเบรกเกอร เซอรกิตเบรกเกอรที่ ใช ง านทั่ วไป ใช ง านเชิง พาณิชยและอุตสาหกรรม ที่ติดตั้ง ในตูคอนซูม เมอรยูนิท ตู DB หรือ ตูโหลดเซ็นเตอร คือ เซอรกิตเบรกเกอรแรงดันไฟฟาต่ํา Low Voltage Circuit Breakers โดยไดรับการรับรอง ตามมาตรฐานสากล เชน มาตรฐาน IEC 947 เซอรกิตเบรกเกอรแรงดันไฟฟาต่ํามักถูกติดตั้งในตูที่เปดออกได ซึ่งสามารถถอด และเปลี่ยนไดโดยไมตองถอดสวิตชออก ไดแก MCB, RCCB, RCBO, MCCB, และ ACB 2.1.1 Miniature Circuit Breakers (MCBs) Miniature circuit breaker หรือเรียกวาเบรกเกอรลกู ยอย MCB เปนเบรกเกอรที่มขี นาดเล็ก สําหรับใช ในบานหรืออาคารที่มีกระแสไฟฟาไมเกิน 100 A มีทั้งขนาด 1, 2, 3 และ 4 Pole ใชไดกับระบบไฟฟา 1 เฟส และ 3 เฟส เบรกเกอรลูก ยอ ย MCB มี 2 แบบที่นิย มใชกัน คือ Plug-On และ DIN-Rail ในประเทศไทย ส ว นใหญ ใช แบบ Plug-on ที่ รู จั ก กั นมากคื อ เบรกเกอร ลู ก ย อ ย MCB Square D ของ Schneider Electric 30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

สวนมากใชติดตั้งภายในอาคารเปนอุปกรณปองกันรวมกับแผงจายไฟฟายอย (Load Center) หรือแผงจายไฟฟา ในหองพักอาศัย (Consumer Unit) มีพิกัดกระแสลัดวงจรต่ํา โดยเบรกเกอรดังกลาวไมสามารถปรับตั้งคากระแส ตัดวงจรได และสวนใหญจะอาศัยกลไกการปลดวงจรในรูปแบบ Thermal และ Magnetic

ภาพที่ 1.17 Miniature Circuit Breakers 2.1.2 Residual Current Devices (RCDs) เครื่อ งตัด ไฟรั่ว RCD (Residual Current Devices) ชว ยตัด วงจรไฟฟา เมื่อ เกิด ความผิด ปกติขึ้น มี 3 ประเภท ไดแก RCBO, RCCB และ ELCB ซึ่งแตละตัวจะมีการทํางานที่แตกตางกัน ในการตัดวงจรไฟฟา อัตโนมัติเ มื่อ เกิด ไฟรั่ว และไฟดูด ตามพิกัดที่กําหนดไว จะติดตั้ง ในตูคอนซูม เมอรยูนิท Consumer Unit และตูควบคุมระบบไฟฟา

ภาพที่ 1.18 Residual Current Devices 2.1.3 Moulded Case Circuit Breakers (MCCB) เบรกเกอร MCCB (Molded Case Circuit Breaker) เปนเบรกเกอรชนิดหนึ่งที่เปนทั้งสวิตชเปด - ปด วงจรไฟฟา และเปดวงจรเมื่อมีกระแสเกินหรือไฟลัดวงจร เบรกเกอรชนิดนี้ใชกับกระแสไฟตั้งแต 100 – 2,300 แอมแปร เหมาะกับติดตั้งในอาคารขนาดใหญหรือโรงงานอุตสาหกรรม ติดตั้งในพาเนลบอรด

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.19 Moulded Case Circuit Breakers (MCCB) 2.1.4 Air Circuit Breakers (ACB) Air Circuit Breaker (ACB) หรือ แอรเ ซอรกิตเบรกเกอร เปนเบรกเกอรขนาดใหญ มีความแข็ง แรง ทนทานตอกระแสไฟฟาลัดวงจรสูง มีพิกัดกระแสไฟฟาสูงถึง 6300 แอมแปร จึงมีราคาแพง และนับวาเปนเบรกเกอร ที่มีขนาดใหญที่สุดในเบรกเกอรแรงดันไฟฟาต่ํา (LV) สวนมากใชเปน Main เบรกเกอรในวงจรไฟฟา ถูกติดตั้งไว ในตู MDB เบรกเกอร ACB จะมีทั้งแบบติดตั้งอยูกับที่ (Fixed Type) และแบบถอดออกได (Drawout Type) เบรกเกอรชนิ ดนี้ สามารถเพิ่มอุ ปกรณ เสริมตาง ๆ เขาไปได ซึ่ง ตางจากเบรกเกอร MCCB ที่ไมส ามารถเพิ่ม อุปกรณเขาไปภายหลัง

ภาพที่ 1.20 Air Circuit Breakers (ACB)

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2.2 สวนประกอบของเซอรกิตเบรกเกอรที่ทําหนาที่ตัดวงจร สวนประกอบของเซอรกิตเบรกเกอรที่ทําหนาที่ตัดวงจร หรือหนวยการตัด (Tripping Unit) ซึ่งจะเปนสวนให สัญ ญาณเซอรกิ ตเบรกเกอร ตัดวงจรออกเมื่ อ เกิดความผิดปกติขึ้นในระบบไฟฟามี 2 แบบ คือ 2.2.1 กระแสเกิน (Overload Current) อุปกรณภายในเซอรกิตเบรกเกอรจะทําหนาที่ตัดวงจรจากสาเหตุดังนี้ 1) เกิดจากอุปกรณไฟฟามีคากระแสเกินกวากระแสพิกัดของเบรกเกอร 2) เกิด จากความผิด พลาดของอุป กรณทํา ใหเ กิด กระแสเกิน กวา พิกัด กระแสเบรกเกอรนั้น และตัดวงจรดวยความรอน (Thermal Trip) สําหรับการตัดวงจรดวยความรอน (Thermal Trip) ประกอบดวยโลหะแผนไบเมทัล (Bimetal) เมื่อมีกระแสไฟฟาไหลผานจะเกิดความรอนแผนโลหะไบเมทัล ซึ่งทําดวยโลหะ 2 แผน ตางชนิดกัน ที่นํามาประสานเขาดวยกัน เมื่อมีความรอนเกิดขึ้นโดยที่อัตราการขยายตัวของโลหะทั้งสองไมเทากัน ทําใหแผนไบเมทัลโกงงอขึ้น ความรอนจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับสูตรพลังงานความรอน P = I2R ปรากฎการณนี้สงผลใหเกิด แรงที่จําเปนทําใหมีการเคลื่อนที่ทางกลทําใหเซอรกิตเบรกเกอรตัดวงจรและขอดีของการตัดวงจร ดวยความรอนนี้ คือในกรณีโหลดเกินเล็กนอย เบรกเกอรจะหนวงเวลาไว

ภาพที่ 1.21 แสดงการตัดวงจรดวยความรอน (Thermal Trip)

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2.2.2 กระแสลัดวงจร (Short Circuit Current) อุปกรณภายในเซอรกิตเบรกเกอรจะทําหนาที่ตัดวงจรจากความผิดพลาดของอุปกรณไฟฟา โดยไมเจตนา ที่ทําใหมีการไหลของกระแสอยางสูง คือผลที่เกิดจากมีการไหลของกระแสไฟสูดินโดยตรง (Direct Current Path From Line to Neutral) โดยไมมีภาระทางไฟฟา (Load) เซอรกิตเบรกเกอรจะมีการปองกันเมื่อเกิดการลัดวงจร โดยใชการตัดวงจรดวยแมเหล็ก (Magnetic Trip) เนื่องจากการลัดวงจรจะทําใหมีการไหลของกระแสไฟฟาสูงมาก ซึ่งตองการความเร็วในการตัดวงจร ดังนั้น จึงเลือกการตัดวงจรดวยแมเหล็กไฟฟาเปนอุปกรณในการทํางานตัดตอน ของเซอรกิตเบรกเกอร

ภาพที่ 1.22 แสดงการตัดวงจรดวยแมเหล็ก (Magnetic Trip) 2.3 การบํารุงรักษาอุปกรณตัดวงจรอัตโนมัติ การตรวจสอบและบํารุงรักษาเซอรกิตเบรกเกอรเปนสิ่งสําคัญ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน ของอุปกรณและลดปญหาการขัดของในระบบไฟฟา

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2.3.1 วิธีการตรวจสอบเซอรกิตเบรกเกอร หรืออุปกรณตัดวงจรอัตโนมัติ

ภาพที่ 1.23 แสดงรูปแบบวิธีการตรวจสอบเซอรกิตเบรกเกอร Mechanical Operation Test คือ การตรวจสอบสภาพการทํางานทางกลของเซอรกิตเบรกเกอร ประกอบไปดวย 1) Visual Inspection Test ทําการตรวจสอบรองรอยของการเกิดความรอนสูง, รอยการอารก, รอยไหมจากการเกิด Short Circuit, การโคงงอและบิดเบี้ยวของขั้วตอ, การแตกราวของฉนวน, ตรวจสอบบริเวณ Lug ในการเขาสายซึ่งจะตองแนนสนิท

ภาพที่ 1.24 แสดงการตรวจสอบสภาพทั่วไปของเซอรกิตเบรกเกอร 2) Cleaning Inspection ทํ า ความสะอาดบริ เ วณช อ ง Arc Chute และบริ เ วณ Lug Breaker โดยเฉพาะจุดตอสัมผัสทางไฟฟาตาง ๆ เพื่อใหทางเดินของกระแสไฟฟามีประสิทธิภาพและไมเกิด

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ความรอนสะสม และลดความเสี่ยงจากการเกิด Flash Over ระหวางตัวนําในแตละเฟส หรือ ระหวางตัวนํากับระบบตอลง

ภาพที่ 1.25 แสดงการทําความสะอาดภายในเซอรกิตเบรกเกอร 3) Mechanique Test ทดสอบกลไกการทํางานอุปกรณในตําแหนงตาง ๆ เชน ON , OFF หรือ Trip จะตองทํางานอยางถูกตอง และไมติดขัดเพื่อความปลอดภัยในการใชงาน

ภาพที่ 1.26 แสดงการทดสอบการทํางานทางกลของเซอรกติ เบรกเกอร Electrical Operation Test คือ การตรวจสอบสภาพการทํางานทางไฟฟาของเซอรกิตเบรกเกอร ประกอบไปดวย 1) Insulation Test ทดสอบคาความตานทานของฉนวนของเซอรกิตเบรกเกอรในขณะปดวงจร โดยทดสอบดว ยแรงดัน ไฟฟา กระแสตรง 1000 Vdc ระหวา งเฟส – เฟส และระหวาง เฟส – กราวด ซึ่ง เกณฑก ารยอมรับ สําหรับ คาความเปนฉนวนจะตอ งอางอิง จากคูมือ ของ เซอรกิตเบรกเกอรรุนหรือ Model นั้น ๆ

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.27 แสดงการทดสอบคาความตานทานฉนวนของเซอรกิตเบรกเกอร 2) Dielectric Voltage Withstanding Test ทดสอบความคงทนตอ แรงดันไฟฟาของฉนวน เพื่อตรวจสอบวาฉนวนของเซอรกิตเบรกเกอรสามารถคงทนตอแรงดันไฟฟาที่กําหนดไดหรือไม ซึ่งพิกัดแรงดันไฟฟาที่ใชในการทดสอบจะขึ้นอยูกับ Insulation Voltage ของเซอรกิตเบรกเกอร (Ui)

ภาพที่ 1.28 แสดงการทดสอบความคงทนตอแรงดันไฟฟาของเซอรกิตเบรกเกอร 3) Contact Resistance Test ทดสอบคาความตานทานของหนาสัมผัส เปนการทดสอบคุณภาพ หน าสั ม ผั ส ของเซอร กิตเบรกเกอรในแตล ะขั้ว (Pole) ซึ่ง คาความตานทานที่วัดไดจ ะต อ ง ไมแตกตางกันเกิน 50 % ในการทดสอบคาความตานทานหนาสัมผัส Circuit Breaker จะตอง อยู ในตํ าแหน ง ปดวงจร และขอ ควรระวัง ไมควรทดสอบกระแสเกินกอ นการทดสอบความ ตานทานหนาสัมผัส เพราะจะทําให Bimetallic Strip ภายใน Trip Unit มีความรอนสะสมอยู ซึ่งอาจจะทําใหคาความตานทานหนาสัมผัสมีคาที่ผิดพลาดได

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.29 แสดงการทดสอบคาความตานทานหนาสัมผัสของเซอรกิตเบรกเกอร 4) Current Protection Test ทดสอบการทํางานของบริภัณฑปองกัน (Electronic Trip Unit หรือ Microprocessor) เปนการทดสอบคุณภาพการทํางานในการสั่งตัดตอนของเซอรกิตเบรกเกอรใน กรณีที่เกิดความผิดปกติของกระแสไฟฟาขึ้นอันเนื่องมาจากโหลด

ภาพที่ 1.30 แสดงการทดสอบการทํางานของอุปกรณปองกันของเซอรกิตเบรกเกอร 2.3.2 รายการการตรวจสอบและบํารุงรักษาเซอรกิตเบรกเกอรหรืออุปกรณตัดวงจรอัตโนมัติ

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3. ดวงโคมไฟฟา ดวงโคมไฟฟาหรือ นิยมเรียกวาโคมไฟ มีห นาที่ในการบัง คับ ทิศทางของแสงใหสอ งไปในทิศทางที่ตอ งการคุณภาพ ของโคมไฟฟาพิจารณาจากหลาย ๆ องคประกอบ เชน อัตราสวนแสงจากโคมไฟฟา อุณหภูมิสะสมในโคมไฟฟาความปลอดภัย ของโคมไฟฟา วัสดุที่ใชทําโคมไฟฟา การกระจายแสงของโคมไฟฟา หรือแสงบาดตา เปนตน 3.1 โคมไฟฟามีหนาที่ ดังตอไปนี้ - ใชปอ งกันหลอดไฟฟาและเปนอุปกรณปองกันแรงกระแทกจากภายนอก - ใชในการจับยึดหลอดไฟฟาและอุปกรณประกอบ - ใชบังคับทิศทางแสงใหเปนไปตามทิศทางที่ตองการ - ใชประดับเพื่อความสวยงาม

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3.2 ประเภทของโคมไฟฟาโคมไฟฟาสามารถแบงไดเปนหลายชนิดดังนี้ 3.2.1 โคมไฟฟาแบงตามลักษณะของหลอดไฟฟา สามารถแบงไดเปน 3 ประเภท ตามชนิดของหลอดไฟฟา ซึ่งมีรูปรางแตกตางกัน คือโคมไฟฟาที่ใชกับหลอดอินแคนเดสเซนต โคมไฟฟาที่ใชกับหลอดฟลูออเรสเซนต และโคมไฟฟาที่ใชกับหลอดดิสชารจความเขมสูง (หลอด HID)

ภาพที่ 1.31 โคมไฟฟาหลอดอินแคนเดสเซนต

ภาพที่ 1.32 โคมไฟฟาหลอดฟลูออเรสเซนต

ภาพที่ 1.33 โคมไฟฟาที่ใชกับหลอดดิสชารจความเขมสูง (หลอด HID)

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3.2.2 โคมไฟฟาแบงตามลัก ษณะการติดตั้ง แบง ไดเ ปน 6 ประเภท คือ แบบติดเพดาน แบบติดฝงเพดาน แบบติดหอย แบบติดผนัง แบบติดตั้งบนหัวเสา และแบบติดตั้งบนพื้น

ภาพที่ 1.34 โคมไฟฟาแบงตามลักษณะการติดตั้ง 3.2.3 โคมไฟฟาแบงตามลักษณะการใชงาน ไดแก โคมไฟฟาที่ใชในอาคารโคมไฟฟาที่ใชนอกอาคารโคมไฟฟา สําหรับทีพ่ ักอาศัยโคมไฟฟาสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และโคมไฟถนน

ภาพที่ 1.35 โคมไฟฟาแบงตามลักษณะการใชงาน 3.2.4 โคมไฟฟาแบงตามลักษณะการกระจายแสง และยัง สามารถแบงไดอีก 6 รูป แบบ โดยตามลักษณะ การกระจายแสงของโคมไฟฟา 1) แบบกระจายแสงลง (Direct Luminaire) แสงสวนใหญ 90 - 100 เปอรเซ็นต จะกระจาย ลงดานลาง ทําใหควบคุมทิศทางของแสงไดงาย

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2) แบบกึ่ง กระจายแสงลง (Semi - Ddirect Luminaire) ปริม าณแสง 60 – 90 เปอรเ ซ็นต จะกระจายลงดานลาง ขึ้นดานบน 10 - 40 เปอรเซ็นต จะชวยลดความแตกตางของความจา ระหวางเพดานและดวงโคม 3) แบบกระจายแสงรอบดาน (General Diffuse Luminaire) แสงจะพุงกระจายออก ทุกทิศทาง ทั้งดานบน ดานขาง และดานลาง มีขอดีคือ แสงสวางจะสม่ําเสมอ ทําใหดูสบายตา แตมีขอเสีย คือ ควบคุมทิศทางแสงไดยาก 4) แบบกึ่งกระจายแสงขึ้นดานบนและลงดานลาง (Direct - Indirect Luminaire) ทิศทางของ แสงจะพุงขึ้นดานบน 40 – 60 เปอรเซ็นต และมีทิศทางพุงลงดานลาง 40 – 60 เปอรเซ็นต เชนกัน โดยมีแสงกระจายออกดานขางนอยมาก 5) แบบกึ่ง กระจายแสงขึ้นดานบน (Semi - Indirect Luminaire) แสงสวนใหญจ ะกระจายขึ้น ดานบน 60 – 90 เปอรเ ซ็นต ลงดานลาง 10 – 40 เปอรเ ซ็นต ดัง นั้นเพดานตอ งสามารถ สะทอนแสงไดดีจึงจะใหความสวางที่เหมาะสม 6) แบบกระจายแสงขึ้น (Indirect Luminaire) แสงสวนใหญจะกระจายขึ้นดานบน 90 – 100 เปอรเซ็นต โดยกระจายลงดานลาง 0 - 10 เปอรเซ็นต โคมประเภทนี้ตองติดตั้งใหต่ํากวาเพดาน จึงจะเกิดการสะทอนของแสงทั่วบริเวณหอง มีขอดีคือ สามารถลด แสงบาดตาไดดีมาก 3.2.5 โคมไฟฟาแบงตามลักษณะการปองกัน ไดแก โคมไฟกันน้ํา โคมไฟกันระเบิด

ภาพที่ 1.36 โคมไฟฟาแบงตามลักษณะการปองกัน

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3.3 โคมไฟฟาที่นิยมใชในปจจุบัน มีดังตอไปนี้ 3.3.1 โคมไฟสองลง (Down Light) คือ โคมไฟที่ใหแสงสองลงดานลาง เหมาะกับงานสอง สวางทั่วไป ทั้งชนิดฝง ติดลอย แขวน หรือกึ่งฝงกึ่งลอย

ภาพที่ 1.37 โคมไฟสองลง 3.3.2 โคมไฟสองลงหลอดอินแคนเดสเซนต จะใชกับงานเฉพาะที่ตองการความสวยงาม หรือเปดใชเปนครั้งคราว และงานที่ตองการปรับหรี่แสง 1) โคมไฟสองลงหลอด GLS ใชกบั งานที่ตองการแสงนุม นวลใชกบั เพดานความสูง 2.5 - 3 เมตร 2) โคมไฟสองลงหลอด PAR ใชกับเพดานสูง ๆ 4 – 8 เมตรใชงานพรอมกับอุปกรณหรี่แสง 3.3.3 โคมไฟสองลงหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนตจะใชกับงานที่ตองการเปดใชงานนาน ๆ และใชกับโคมไฟ ที่ออกแบบมาสําหรับหลอดชนิดนี้โดยเฉพาะ ซึ่งแบงออกเปน 2 แบบ คือ 1) หลอดติ ด ตั้ ง ในแนวนอน การติด ตั้ง แบบนี้จ ะกระจายแสงไดดีก วา แบบติด ตั้ง ในแนวตั้ง แตมี อุปสรรคเมื่อตองการเปลี่ยนหลอด และเรื่องการระบายความรอน 2) หลอดติดตั้งในแนวตั้งการติดตั้ง แบบนี้จ ะไมมีปญหาเรื่องการระบายความรอ น แตอาจเกิด แสงบาดตา

ภาพที่ 1.38 หลอดแบบพาร (PAR)

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.39 โคมไฟสองลงหลอดติดตั้งแนวนอน

ภาพที่ 1.40 โคมไฟสองลงหลอดติดตั้งในแนวตั้ง 3.3.4 โคมไฟสองลงหลอดปลอยประจุความดันไอสูง จะใชกับงานที่มีความสองสวางสูง หรือบริเวณที่เพดานสูง รวมไปถึงใชกับงานที่ตองเปดใชงานเปนเวลานาน 3.4 การบํารุงรักษาดวงโคมไฟ 1) ปดสวิตชโคมไฟใหเรียบรอย เพื่อความปลอดภัยในขั้นตอนการทําความสะอาด 2) แกะสวน Shade ของโคมไฟออก ถาเปนในกรณีที่โคมไฟมีผาดานนอกหรือเปนวัสดุอื่น ๆ ที่ทําหนาที่เปน shade ดานนอกโคมไฟ และสามารถถอดออกมาไดดวยความระมัดระวัง จากนั้นวางลงบนผาขนหนู เพื่อ ปอ งกันรอยขีดขวน สวนโครงสรางดานนอกใหวางเอาไวบ นผา หรือ พรมที่มีความหนาเพื่อปองกัน พื้นไมใหเปนรอยขีดขวน 3) ทําความสะอาดกรอบโคมไฟเมื่อแกะสวนประกอบตาง ๆ ออก จะเหลือแคสวนที่เปนกรอบ ควรเลือกใช การทําความสะอาดที่เหมาะสมกับวัสดุ ในสวนของแผนผาที่ใชหุมโคมไฟ (shade) ใหทําความสะอาดดวย การแชลงในน้ําอุนผสมกับน้ําสบูเจือจาง ทิ้งเอาไวใหคราบสกปรกหลุดออกไป แลวลางดวยน้ําเปลา จากนั้น นําไปตากแดดใหแหงกอนนํามาติดตั้งเขาดวยกันภายหลัง

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

4) การทําความสะอาดเม็ดคริสตัลสวนของคริสตัลที่ประดับบนโคมไฟ จะตองทําความสะอาดดวยความระมัดระวัง ดวยอุปกรณเปาลม กําจัดเอาฝุนผง แตหากเปนโคมไฟแขวนเพดานแบบที่มีการออกแบบซับซอนใหเลือกซื้อ อุปกรณทําความสะอาดเม็ดคริสตัลแบบเฉพาะที่มีขายอยูตามรานโคมไฟที่เคยซื้อ หรือตามรานขายเครื่องมือตาง ๆ 5) ทํา ความสะอาดสว นประกอบ โดยใชผา ที่ไ มเ ปน ขุย ชุบ น้ํา เปลา ใหห มาด และเช็ด ทํา ความสะอาด จากนั้ นเช็ ดทําความสะอาดดวยผาแหง อีก ครั้ง 6) การทําความสะอาดวัสดุผาและกระดาษ - วัสดุ ซึ่งมักจะเปนสวนประกอบดานนอกที่ใชหุมโคมไฟเอาไว เปนสวนที่จํา เปน ตอ งทําความสะอาดบอ ยครั้ง เนื่อ งจากอยูดา นนอกสุด หากมีฝุน หนาใหกํา จัด ดวย อุป กรณเ ปาลม ที่จ ะชวยเปาฝุนหนา ๆ ออกไปไดเ ปนอยางดี แตผาหรือ วัส ดุจําพวกกระดาษบางชนิด จะไมสามารถทําความสะอาดดวยอุปกรณเหลานี้ได ดังนั้น จึงตองทําตามคําแนะนําจากทางผูผลิต 4. ตูควบคุมมอเตอร การจายไฟฟาแรงต่ําสําหรับอาคารและโรงงานโดยทั่วไป จะรับไฟแรงดันต่ําจากหมอแปลงไฟฟา แลวจายผานตูไฟฟา หลัก (Main Distribution Board) และตูไฟฟายอย (Motor Control Center และ Panel Board) เพื่อจายไปยังโหลด ทั้งที่ เปนมอเตอร และโหลดทั่วไป

ภาพที่ 1.41 ระบบจายไฟฟาแรงต่ําสําหรับอาคาร และโรงงาน

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

สําหรับระบบไฟฟา ในโรงตนกําลังและโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ ประกอบดวยโหลดหลายชนิดและโหลดที่เปนมอเตอร ซึ่งในการออกแบบระบบไฟฟาเพื่อจายไฟและควบคุมมอเตอรเหลานั้น อาจจะตองกําหนดใหมีชุดเริ่มเดินมอเตอร 1 ชุด สําหรับควบคุมมอเตอร 1 ตัว ในกรณีที่มีมอเตอรเพียง 1 ชุดหรือ 2 ชุด โดยใชชุดควบคุมและปองกันแยกตางหาก และติดตั้งไว ใกลกับมอเตอร

ภาพที่ 1.42 ชุดควบคุมและปองกันมอเตอรแบบแยกตางหาก 4.1 ศูนยควบคุมมอเตอร ในกรณีที่มีมอเตอรเปนจํานวนมาก สวนใหญจะออกแบบใหมีก ารรวมศูนยก ารควบคุมเปนกลุมโหลด โดยใช อุปกรณที่เรียกวา ศูนยควบคุมมอเตอร หรือมอเตอรคอนโทรลเซ็นเตอร (Motor Control Center) หรือ MCC.

ภาพที่ 1.43 ศูนยควบคุมมอเตอร (Motor Control Center) สําหรับจายกลุมโหลดมอเตอร 46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ศูนยควบคุมมอเตอรจะแตกตางจากอุปกรณจายไฟอื่น ๆ เชน ตูไฟฟา เปนตน เพราะศูนยควบคุมมอเตอรจะบรรจุ ชุด ควบคุม มอเตอร ร วมไว ด ว ยกั น เป น หลั ก แตห ากเปน ตูไ ฟฟา จะบรรจุอุป กรณปอ งกัน วงจรยอ ยเปนหลัก เชน เซอรกิตเบรกเกอร และฟวส เปนตน

ภาพที่ 1.44 ความแตกตางระหวางตูไฟฟา และศูนยควบคุมมอเตอร 4.1.1 โครงสรางของศูนยควบคุมมอเตอร ศูนยควบคุม มอเตอรทํามาจากโครงสรางโลหะเพื่อ เปนที่รวมของชุดควบคุม มอเตอร รางเดินสาย การเดินสายภายใน และบัสบาร โดยเปนตูแนวตั้ง (Vertical Section) ซึ่งอาจจะมีเพียงผูเดียว หรืออาจจะมี หลายตูตอกันโดยการตอบัส หรือใชบัสบารแนวนอนรวมกันก็ได

ภาพที่ 1.45 ศูนยควบคุมมอเตอรทปี่ ระกอบดวย 3 ตูแนวตั้ง (Vertical Section)

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ในสวนของศูนยควบคุมมอเตอรมีบัสเปนจุดตอ รวมเพื่อจายไฟตั้งแต 2 วงจรขึ้นไป คือ บัสแนวนอน และบัสแนวตั้ง (Horizontal and Vertical Bus)

ภาพที่ 1.46 บัสแนวนอน และบัสแนวตั้ง (Horizontal and Vertical Bus) วงจรไฟฟากําลังของศูนยควบคุมมอเตอร บัสแนวนอนทํามาจากแทงโลหะตัวนํา อาจจะเปนทองแดง เคลือบดีบุก หรือทองแดงเคลือบเงิน และจะตอเขากับบัสในแนวตั้งเพื่อจายไฟใหแกชุดควบคุมมอเตอร

ภาพที่ 1.47 แสดงการตอบัสแนวตั้งเขากับบัสแนวนอน 4.1.2 พิกัดของชุดควบคุมมอเตอร พิกัดแรงดัน โดยปกติชุดควบคุมมอเตอรจะมีพิกัดแรงดัน 600 โวลต ซึ่งเปนพิกัดแรงดันสูงสุดของอุปกรณ จึงสามารถนํามาใชกับแรงดัน ทีต่ํากวาได เชนที่แรงดัน 380 โวลต เปนตน

ภาพที่ 1.48 ตัวอยางพิกัดแรงดันแหลงจายของศูนยควบคุมมอเตอร 48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

4.1.3 ประเภท และแบบของการเดินสาย (Classification and Type of Wiring) ตามมาตรฐาน NEMA แบงการเดินสายของศูนยกลางมอเตอรออกเปน 2 ประเภทและ 3 แบบ ดังนี้ ประเภท 1 ประกอบดวยการจัดกลุมของชุดควบคุมมอเตอรที่แยกอิสระจากกัน โดยชุดควบคุม มอเตอรแตละชุดมีการตอเขากับบัสแนวตั้ง แตไมมีการเดินสายระหวางชุดควบคุมมอเตอร และ อุปกรณระยะไกล แบงออกเปน แบบ A B และ C ดังนี้ 1) แบบ A เปนแบบที่มีเฉพาะกับการเดินสายประเภท 1 เทานั้น มีการเดินสายภายใน จากอุปกรณตัดตอนไปยังชุดเริ่มเดินมอเตอรมาจากโรงงาน โดยผูใชจะตองเดินสาย จากภายนอกเขามาตอที่ชุดเริ่มเดินมอเตอร โดยตรง

ภาพที่ 1.49 การเดินสายของชุดควบคุมมอเตอร ประเภท 1 แบบ A 2) แบบ B เปนการเดินสายแบบที่ใชกับชุดควบคุมมอเตอรที่มีอุปกรณใหสัญญาณ และ ควบคุม เชน หลอดไฟ สวิตชปุมกด และสวิตชเลือก เปนตน สามารถแบงออกเปนแบบ ยอย ๆ ไดอีก 2 แบบ คือ แบบ B - d เปน แบบที ่โ รงงานจะเดิน สายควบคุม จากอุป กรณใ ห สัญญาณมาพักไวที่ขั้วตอสาย ผูใชงานจะเดินสายควบคุมจากภายนอก มาตอเขากับ ขั้วตอสายที่จัดเตรียมมาจากโรงงาน ในขณะที่จะตองเดินสายกําลังจากมอเตอร ไปตอเขากับขั้วตอสายของชุดเริ่มเดินมอเตอรโดยตรง

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.50 การเดินสายของชุดควบคุมมอเตอร ประเภท 1 แบบ B-d แบบ B - t เปนแบบที่โรงงานจะเดินสายควบคุมจากอุปกรณใหสัญญาณ และสายกํา ลัง จากชุ ด เริ่ม เดิ น มอเตอรม าพัก ไว ที่ ขั้ว ต อ สาย ผู ใ ช ง านจะเดิน สายควบคุมและกําลังจากภายนอกมาตอเขากับขั้วตอสายที่จัดเตรียมมาจากโรงงาน

ภาพที่ 1.51 การเดินสายของชุดควบคุมมอเตอร ประเภท 1 แบบ B-t 3) แบบ C เป นแบบการเดินสายที่เ หมือ นกับ แบบ B แตมีก ารเดินสายเพิ่ม เติม จาก โรงงาน จากขั้วตอ สายดานขางของชุดควบคุม มอเตอรไปพัก ไวที่ขั้วตอ สายหลั ก ดานบน หรือดานลางของชุดควบคุมมอเตอร

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.52 การเดินสายของชุดควบคุมมอเตอร ประเภท 1 แบบ C ประเภท 2 ประกอบดวยการจัดกลุมของชุดควบคุมมอเตอร โดยมีการเดินสาย และสัญญาณ อินเตอรล็อคระหวางชุดควบคุมมอเตอร เพื่อใหเกิดการควบคุมที่สมบูรณ การเดินสายประเภท 2 จะใชในกรณีที่ก ลุม ของมอเตอรม ีก ารทํา งานเปน ลํา ดับ ขั้น มีก ารอิน เตอรล ็อ คและเดิน สาย ระหวางกัน แบงออกเปน 2 แบบยอย คือ แบบ B และ C มีดังนี้ 1) แบบ B การเดินสายภายในคลายกับประเภท 1 แบบ B แตมีก ารเดินสายเพิ่มเติม ระหวางชุดควบคุมมอเตอร

ภาพที่ 1.53 การเดินสายของชุดควบคุมมอเตอร ประเภท 2 แบบ B

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2) แบบ C การเดินสายภายในคลายกับประเภท 1 แบบ C แตมีการเดินสายเพิ่ม เติม ระหวางชุดควบคุมมอเตอร และระหวางแถวของชุดควบคุมมอเตอร

ภาพที่ 1.54 การเดินสายของชุดควบคุมมอเตอร ประเภท 2 แบบ C 4.2 การบํารุงรักษาตูควบคุมมอเตอร 4.2.1 การตรวจสอบบํารุงรักษา Capacitor (Cap banks) 1) ตรวจสอบการทํางานของระบบควบคุมทั้ง Auto/manual 2) ตรวจสอบแมคเนติกคอนแทคเตอร โดยตรวจ Coil และหนาสัมผัส 3) ตรวจสอบ Fuse Base และ HRC Circuit Breakers 4) ทา Compound บริเวณหนาสัมผัสเพื่อลดความรอนจุดเชื่อมตอ 5) ตรวจสอบสภาพสายและตรวจขนาดความเหมาะสมของขนาดสายไฟ 6) ตรวจสอบสภาพและวัดคา คาปาซิเตอร (Capacitor Test) 7) ตรวจวัดคาความเปนฉนวน (Mega Ohm Test) 8) ตรวจสอบการตอกราวดของชุดคาปาซิเตอร 9) ทําความสะอาดและกวดขันนอต 4.2.2 การตรวจสอบบํารุงรักษา ตู MCC 1) ตรวจวัดคาความเปนฉนวนของบัสบารเมน 2) ตรวจสอบการตอลงดินและวัดคาความตานทาน 3) ตรวจสภาพเครื่องหอหุมตูส วิทซบอรดยอย 52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

4) ตรวจขนาดสายตอหลักดินและสภาพสายดิน 5) ตรวจการตอสายดินกับเครื่องหอหุมและฝาตู 6) ตรวจสอบขนาดกระแสเมน CB และสายเมน 7) ตรวจวัดลําดับเฟสของสายเมน 8) ทําความสะอาดตู อุปกรณ และกวดขันนอต 9) ตรวจปายชื่อและแผนภาพเสนเดี่ยว 10) ตรวจเครือ่ งหมายเตือนภัยและปลดวงจร 11) ตรวจการปองกันสัมผัสทีม่ ีไฟฟา 12) ตรวจการปองกันความชื้นและฝุนเขาแผงสวิตซ 13) ทําความสะอาดบัสบารและกวดขันนอต 14) ตรวจวัดหาความรอนสะสมตามจุดเชื่อมตอ 5. ตูจายไฟประธาน ตูจายไฟประธาน หรือ สวิตชบอรด เปนแผงจายไฟฟาขนาดใหญ ซึ่งนิยมใชในอาคารขนาดกลางขนาดใหญไปจนถึง โรงงานอุตสาหกรรม โดยรับไฟฟาจากการไฟฟาหรือดานแรงต่ําของหมอแปลงจําหนาย แลวจายโหลดไปยังแผงยอย ซึ่ง สวนใหญจะวางบนพื้นตามสวนตาง ๆ ของอาคารสวิตชบอรดอาจเรียก อีกชื่อหนึ่งวา Main Distribution Board (MDB) ตู MDB สวนมากมีขนาดใหญจึงมักวางบนพื้น และมีหลายแบบใหเลือกใชขึ้นอยูกับบริษัทผูผลิต สําหรับตูจายไฟประธานจะมีสวนประกอบหลัก และหลักการทํางาน ดังตอไปนี้ 5.1 แผงสวิตช 5.1.1 ลักษณะของแผงสวิตชตองจัดแบงออกเปนสวน ๆ (Vertical Section) แตละสวนตองมีขนาดอยูในชวง ที่กําหนดนี้ 1) ความสูง 2) ความกวาง

: ไมเกิน 2,200 มม. : ระหวาง 600 - 1,000 มม.

3) ความลึก : ระหวาง 800 - 1,000 มม. 5.1.2 แผงสวิตชแตละสวนตองจัดแบงภายในออกเปนชอง ๆ (Compartment) อยางนอย 4 ชองดังนี้ 1) Circuit Breaker Compartment สําหรับติดตั้งอุปกรณตัดวงจรไฟฟาตางๆ 2) Metering & Control Compartment สําหรับติดตั้งอุปกรณเครื่องวัดอุปกรณปองกันรวมทั้ง Terminal Block สําหรับตอสายระบบควบคุมและสัญญาณเตือน 53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3) Busbar Compartment เปนชองสําหรับติดตั้ง Busbar ทั้ง Horizontal และ Vertical Busbar 4) Cable Compartment จัดไวสําหรับเปนชองวางสายไฟฟากําลัง (Power Cable) เขา - ออก 5.1.3 โครงสรางแผงสวิ ตช ต อ งเปนแบบ Self-Standing Metal Structure โดยโครงสรางที่เปนสวนเสริม ความแข็งแรง 5.1.4 การประกอบแผงสวิตชตองคํานึงถึงกรรมวิธีระบายความรอนที่เกิดขึ้นจากอุปกรณภายใน 5.2 Circuit Breaker 5.2.1 Circuit Breaker ที่อ ยูภ ายในระบบเดีย วกัน และตอ เนื่อ งกัน จะมีก ารทํา งานตัด วงจรสัม พัน ธกัน เพื่อ ให Circuit Breaker ที่อ ยูใกลจุด Fault ทํางานตัดวงจรกอ นดัง นั้น Circuit Breaker ทั้ง หมด จึงควรเปนผลิตภัณฑเดียวกัน 5.2.2 Main Circuit Breaker ใชระบบ Solid State Trip ประกอบดวยระบบการทํางานดังนี้ 1) Ground Fault Protection 2) Over Current Protection 3) Instantaneous Trip 4) Long Time Delay and Short Time Delay Setting 5.2.3 Feeder และ Sub - Feeder Circuit Breaker ต องเป น Molded Case Type, Toggle Operating Mechanism ทํางานดวยระบบ Trip Free, Quick - Make, Quick-Break พรอม Individual Thermal และ Electromagnetic Trip ขนาด Continuous Current Rating และ Interrupting Current Rating ตามกําหนดในแบบ

ภาพที่ 1.55 Circuit Breaker

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

5.3 ตัวเก็บประจุไฟฟา หรือ Capacitor Bank 5.3.1 ตัวเก็บประจุไฟฟา สําหรับปรับคา Power Factor ของระบบไฟฟาตองเปนไปตามมาตรฐาน IEC 831 5.3.2 พิกัดของตัวเก็บประจุไฟฟา ตองมีคุณสมบัติและสมรรถนะดังนี้ 1) Type : Indoor (Dry Metalized Film) 2) Number of Phase : 3 3) Rated Voltage : 440 V 4) Rated Frequency : 50 Hz. 5) Power Loss : < 0.3 W/Kvar 6) Control Voltage : 220 V

ภาพที่ 1.56 Capacitor Bank 5.4 เครื่องวัดไฟฟา สําหรับตูสวิตชบอรด (Meter) เครื่องวัดพื้นฐานที่ใชในตูสวิตชบอรดทั่วไป คือ โวลตมิเตอรและแอมมิเตอรซึ่งตองใชงานรวมกับ Selector Switch เพื่อ วัด แรงดัน หรือ กระแสในแตล ะเฟสพิก ัด แรงดัน ของโวลตม ิเ ตอร คือ 0 - 500 โวลต สว นพิก ัด กระแสของ แอมมิเตอรจะขึ้นอยูกับอัตราสวนของ Current Transformer เชน 100/5A สําหรับตูสวิตชบอรดขนาดใหญอาจมี P.F. Meter, Watt Meter หรือ Var Meter เพิ่มเติมขึ้นอยูกับการออกแบบตู

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.57 เครื่องวัดไฟฟา สําหรับตูส วิตชบอรด 5.5 บัสบาร (Busbar) บัสบาร มีทั้งชนิดที่ตัวนําทําดวยทองแดงและอลูมิเนียม บัสบารที่นิยมใชกันทั่วไปคือ แบบ Flat โดยมีพื้นที่หนาตัด เปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา เนื่องจากติดตั้งงาย ระบายความรอนไดดีแบงออกเปน 2 ประเภท คือ 5.5.1 บัสบารแบบเปลือย

ภาพที่ 1.58 บัสบารแบบเปลือย 5.5.2 บัสบารแบบทาสี

ภาพที่ 1.59 บัสบารแบบทาสี

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

5.6 Current Transformer Current Transformer เปนอุปกรณที่ใชประกอบการวัดกระแสไฟฟาโดยตอรวมกับแอมมิเตอร CT ที่มีใชทั่วไป จะมี 2 กลุม คือ อัตราสวนตอ 1 และอัตราสวนตอ 5 สําหรับในตูสวิตชบอรดนิยมใชอัตราสวนตอ 5 เชน 50/5, 100/5, 300/5 เปนตน ปกติจะเลือก CT ตามขนาดของเมนเบรกเกอร โดยเลือกไมต่ํากวาพิกัดของเมนเบรกเกอร

ภาพที่ 1.60 Current Transformer 5.7 Selector Switch Selector Switch จะใช ร วมกั บ CT และ Panel Ammeter เพื่อ วัดกระแสในตูส วิตชบ อรด สวน Voltmeter Selector Switch จะใชรวมกับ Panel Voltmeter เพื่อวัดแรงดันภายในตู การตอวงจรใหดูจากไดอะแกรมที่มาพรอม กับอุปกรณ เพราะแตละยี่หออาจมีวิธีการตอวงจรที่ตางกัน

ภาพที่ 1.61 Selector Switch 5.8 หลอดไฟแสดงผล (Pilot Lamp) หลอดไฟแสดงผล เปนหลอดที่แสดงสถานการณทํางาน มี 2 แบบ คือ 5.8.1 แบบมีหมอแปลงแรงดัน 5.8.2 แบบไมมหี มอแปลงแรงดัน

ภาพที่ 1.62 หลอดไฟแสดงผล 57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

5.9 การตรวจสอบและการบํารุงรักษา 5.9.1 การตรวจสอบ บํารุงรักษา Capacitor (Cap banks) 1) ตรวจสอบการทํางานของระบบควบคุมทั้ง Auto/manual 2) ตรวจสอบแมคเนติกคอนแทคเตอร โดยตรวจ Coil และหนาสัมผัส 3) ตรวจสอบ Fuse Base และ HRC Circuit Breakers 4) ทา Compound บริเวณหนาสัมผัสเพื่อลดความรอนจุดเชื่อมตอ 5) ตรวจสอบสภาพสายและตรวจขนาดความเหมาะสมของขนาดสายไฟ 6) ตรวจสอบสภาพและวัดคา คาปาซิเตอร (Capacitor Test) 7) ตรวจวัดคาความเปนฉนวน (Mega Ohm Test) 8) ตรวจสอบการตอกราวดของชุดคาปาซิเตอร 9) ทําความสะอาดและกวดขันนอต 5.9.2 การตรวจสอบ บํารุงรักษา ตู MDB 1) ตรวจวัดคาความเปนฉนวนของบัสบารเมน 2) ตรวจสอบการตอลงดินและวัดคาความตานทาน 3) ตรวจสภาพเครื่องหอหุมตูส วิทซบอรดยอย 4) ตรวจขนาดสายตอหลักดิน และสภาพสายดิน 5) ตรวจการตอสายดินกับเครื่องหอหุมและฝาตู 6) ตรวจสอบขนาดกระแสเมน CB และสายเมน 7) ตรวจวัดลําดับเฟสของสายเมน 8) ทําความสะอาดตู อุปกรณ และกวดขันนอต 9) ตรวจปายชื่อและแผนภาพเสนเดี่ยว 10) ตรวจเครือ่ งหมายเตือนภัยและปลดวงจร 11) ตรวจการปองกันสัมผัสทีม่ ีไฟฟา 12) ตรวจการปองกันความชื้นและฝุนเขาแผงสวิทซ 13) ทําความสะอาดบัสบารและกวดขันนอต 14) ตรวจวัดหาความรอนสะสมตามจุดเชื่อมตอ

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

6. หมอแปลงไฟฟากําลัง ชนิด 1 เฟส และ 3 เฟส หมอแปลงไฟฟาเปนเครื่องกลไฟฟาชนิดหนึ่งที่ทําหนาที่ถายเทพลังงานไฟฟาจากวงจรไฟฟาหนึ่งไปยังอีกวงจรไฟฟาหนึ่ง โดยที่ความถี่ไมเปลี่ยนแปลงนั่นก็หมายความวาหมอแปลงไฟฟาสามารถเปลีย่ นแปลงแรงดันไฟฟา คือ เพิ่มหรือลดแรงดันไฟฟา และยังสามารถเพิ่มหรือลดกระแสไฟฟาไดอีกดวยแตไมสามารถเพิ่มหรือลดความถี่ของไฟฟาและหมอแปลงไฟฟา ซึ่งจะใชไดกับ ไฟฟากระแสสลับเทานั้น โครงสรางของหมอแปลงไฟฟา ประกอบดวยโครงสรางที่สําคัญ 2 สวนคือ แกนเหล็กและขดลวด

ภาพที่ 1.63 โครงสรางเบื้องตนของหมอแปลงไฟฟา แกนเหล็ก เหล็กที่นํามาใชตองมีความซึมซาบไดสูง โดยแกนเหล็กจะตองมีความหนาแนนของเสนแรงแมเหล็กสูงถึง 1.35 ถึง 1.55 เวเบอร/ตารางเมตร ซึ่งคุณสมบัติจะตอ งมีความเปนฉนวนตามผิวสูง ทั้งนี้เพื่อ ลดกระแสไหลวนในแกนเหล็ก โดยการนําเหล็กที่เปนแผนบาง ๆ ในแตละแผนมาอัดซอนกัน หนาที่ของแกนเหล็ก คือ เปนทางเดินของเสนแรงแมเหล็ก เพื่อเหนี่ยวนําใหเกิดแรงดันไฟฟาเหนี่ยวนําใหเกิดแรงดันไฟฟาเหนี่ยวนําขึ้นในขดลวด ขดลวด ทํามาจากทองแดงอาบน้ํายา หากเปนหมอ แปลงไฟฟาขนาดพิกัดไมสูงมากจะทําจากลวดทองแดงเสนกลม แตถา เปนหมอ แปลงไฟฟ าขนาดพิ กั ดสู ง จะทํ าจากทองแดงเสนแบน ซึ่ง ขดลวดนี้จ ะพันอยูที่แกนเหล็ก ของหมอ แปลง ประกอบดวย 2 ขด คือ ขดลวดทางดานไฟเขา หรือ ขดลวดปฐมภูมิ (Primary winding) และขดลวดทางดานไฟออก หรือขดลวดทุติยภูมิ (secondary winding) ในสวนของขนาดและมาตรฐานของหมอแปลงไฟฟาแบงออกตามขนาดและมาตรฐาน โดยมีพิกัดการใชงานดังนี้ หมอแปลงไฟฟาขนาดเล็ก มีขนาดพิกัดไมเกิน 10 กิโลโวลตแอมแปร ใชสําหรับงานที่เหมาะสมกับความตองการ ของอุปกรณไฟฟานั้น ๆ ซึ่งใชกับในอาคารบานเรือน หรือตามพื้นที่ปฏิบัติตาง ๆ ทางดานไฟฟา

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.64 หมอแปลงไฟฟาขนาดเล็ก หมอแปลงไฟฟาขนาดกลาง มีขนาดพิกัดตั้งแต 10 - 1,000 กิโลโวลตแอมแปร ซึ่งจะใชกับงานจําหนายไฟฟา ในโรงงานอุตสาหกรรม สํานักงาน

ภาพที่ 1.65 หมอแปลงไฟฟาขนาดกลาง หมอแปลงไฟฟาขนาดใหญ มีขนาดพิกัดเกิน 1000 กิโลโวลตแอมแปร ขึ้นไป จะใชกับงานจําหนายไฟฟาในโรงงาน อุตสาหกรรมขนาดใหญ ระบบสงกําลังไฟฟาสถานีไฟฟายอย (Substation)

ภาพที่ 1.66 หมอแปลงไฟฟาขนาดใหญ

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

6.1 หมอแปลงไฟฟากําลัง ชนิด 1 เฟส 6.1.1 หมอแปลงไฟฟาในอุดมคติ (Indeal – Transformer) หมอแปลงไฟฟาในอุดมคติ เปนหมอแปลงไฟฟาที่ทําใหเสนแรงแมเหล็กในแกนเหล็กผานไปได โดยไมมี ขีดจํากัด ไมมีเ สนแรงแมเหล็ก รั่วไหล ไมมีก ารสูญ เสียที่แกนเหล็กและไมมีการสูญเสียในขดลวดทั้งสองของ หมอแปลงไฟฟา

(ก) วงจรการทํางานของหมอแปลง

(ข) รูปคลื่นแสดงคาชั่วขณะของคาตางๆ

ภาพที่ 1.67 การทํางานของหมอแปลงไฟฟาในอุดมคติ การทํางานของหมอแปลง จากภาพที่ 1.67 (ก) และ (ข) เมื่อจายแรงดันไฟฟา V1 ซึ่งเปนรูปคลื่นไซน ใหกับขดลวดปฐมภูมิ จะทําใหมีกระแสไฟฟาไหลผานขดลวดปฐมภูมิและลาหลังแรงดัน V 1 เปนมุม 90 องศา (ในอุดมคติถือวาขดลวดทางดานปฐมภูมิเปนคาการเหนี่ยวนําบริสุทธิ์) กระแสไฟฟานี้เรียกวา กระแสแมกเนไตซ (Magnetizing current)เขียนแทนดวย lm และกระแส lm นี้ จะสรางเสนแรงแมเหล็กและเปลี่ยนแปลงไปตาม กระแส lm ซึ่ง φ จะรวมเฟสกับกระแส lmจากการเปลี่ยนแปลงของเสนแรงแมเหล็กก็จะไปคลองกับขดลวดทั้ง สองขด ทําใหเกิดแรงดันไฟฟาเหนี่ยวนําขึ้นที่ขดลวดปฐมภูมิ (E 1 ) และขดลวดทุติยภูมิ (E 2 ) โดย E 1 และ E 2 จะ เกิดขึ้นพรอมกันและลาหลัง φ เปนมุม 90 องศา โดยแรงดันไฟฟาเหนี่ยวนํา E 1 เรียกวา แรงดันไฟฟาตอตาน ส ว นแรงดั น ไฟฟ า เหนี่ ย วนํ า E 2 เรี ย กว า แรงดั น ไฟฟ า ฟ า เหนี่ ย วนํ า ร ว ม (Mutual induced e.m.f.) โดย แรงดันไฟฟาเหนี่ยวนําทั้งสองจะมีเฟสตรงขามกับแรงดันไฟฟา V1 ที่จายให

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

6.1.2 หมอแปลงไฟฟาที่ใชงานจริง หม อ แปลงไฟฟ า ที่ ใ ช ง านจริ ง เมื่ อ ต อ เข า กั บ แหล ง จ า ยแรงดั น ไฟฟ า กระแสสลั บ จะทํา ให เ กิด การเปลี่ยนแปลงของเสนแรงแมเหล็กรอบแกน ซึ่งจะทําใหเกิดการสูญเสียในแกนเหล็กและการสูญเสียจากเสน แรงแมเ หล็ก รั่วไหลนอกจากนี้ยัง มีคาความตานทานจากขดลวดทั้งสองชุดที่พันรอบแกนเหล็ก สง ผลใหเกิด การสูญเสียในขดลวดทองแดง ซึ่งในการพิจารณาการทํางานของหมอแปลงไฟฟาสามารถพิจารณาได 2 กรณี คือ หมอแปลงไฟฟาเมื่อไมมีโหลดและหมอแปลงไฟฟาเมื่อมีโหลด 1) การทํางานของหมอแปลงไฟฟาเมื่อไมมีโหลด

ภาพที่ 1.68 การทํางานของหมอแปลงไฟฟาเมื่อไมมีโหลด การทํางานของหมอแปลง จากภาพที่ 1.68 เมื่อจายแรงดันไฟฟากระแสสลับ V 1 ใหกับขดลวด ทางดานปฐมภูมิจะทําใหมีกระแสไฟฟาไหลเขาไปที่ขดลวดปฐมภูมิ เรียกกระแสนี้วา กระแสไฟฟา ขณะไมมีโหลดหรือคาของกระแสกระตุน I O ซึ่งกระแสไฟฟาคานี้มีคาเพียงเล็กนอย (ประมาณ 4-8 เปอรเซ็นตของกระแสเต็มพิกัดของหมอแปลงไฟฟา) และแยกออกเปน 2 สวน คือ สวนของกระแสไฟฟา ที่ทําใหเกิดการสูญเสียในแกนเหล็ก และสวนของกระแสไฟฟาที่ใชในการสรางเสนแรงแมเหล็ก 2) การทํางานของหมอแปลงไฟฟาเมื่อมีโหลด การที่หมอแปลงไฟฟามีโหลดทําใหเกิดการไหลของกระแส I 2 ซึ่งผลของกระแส I 2 ทําใหเกิด การเปลี่ยนแปลงของเสนแรงแมเ หล็ก ที่แกนเหล็ก นอกจากนี้ยัง ทําใหเ กิดการไหลของกระแส ทางดานปฐมภูมิเพิ่มขึ้นอีกดวย ซึ่งพิจารณาการทํางานดังนี้ เมื่อไมมีโหลด

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.69 การทํางานของหมอแปลงเมื่อไมมีโหลด การทํางานของหมอแปลงเมื่อมีโหลดจากภาพที่ 1.69 เมื่อจายแรงดันไฟฟาV1 ใหกับขดลวด ทางดานปฐมภูมิโดยขดลวดทางดานทุติยภูมิไมมีโหลดตออยูจะมีเพียงกระแส I o ไหลเขาไปที่ขดลวด ปฐมภูมิและสรางเสนแรงแมเหล็กเปลี่ยนแปลงไปรอบแกนและไปคลองตัดกับขดลวดทั้งสอง ทําให เกิดแรงดันไฟฟาเหนี่ยวนําขึ้นที่ขดลวดปฐมภูมิคือ E 1 และเกิดแรงดันไฟฟาเหนี่ยวนําขึ้นที่ขดลวด ทุติยภูมิ คือ E 2 ตามลําดับ เมื่อมีโหลด

ภาพที่ 1.70 การทํางานของหมอแปลงไฟฟาเมื่อมีโหลดเกินกระแส I 2 และ φ2 การทํางานของหมอแปลงจากภาพที่ 1.70 เมื่อตอโหลดเขากับขดลวดทางดานทุติยภูมิ ทําใหเกิด การไหลของกระแสไฟฟา I2 และสรางแรงดันแมเหล็กเปน N2 I2 ซึ่งเรียกวา แอมแปร – เทอน ลดเสน แรงแมเหล็ก (Demagnetizing ampere turn) ซึ่งกระแส I2 จะสรางเสนแรงแมเหล็ก φ 2 ขึ้นมา โดย 63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

มีทิศทางตรงขามกับ φ ที่สรางจากกระแส Io เปนผลให φ 2 ลดลง และทําใหแรงดันไฟฟาเหนี่ยวนํา E 1 ทางดานปฐมภูมิลดลงดวยทําใหเกิดผลตางของแรงดันไฟฟา V1 กับ E 1 ซึ่งทําใหหมอแปลงไฟฟา มีกระแสไฟฟาจากแหลงจายเพิ่มขึ้น จึงเรียกกระแสไฟฟาที่เพิ่มขึ้นนี้วา กระแสโหลดทางดานปฐมภูมิ (Load component of primary current) มีคาเปน I2 และมีเฟสตรงขามกับ I2 6.2 หมอแปลงไฟฟากําลัง ชนิด 3 เฟส ระบบไฟฟ า กํ า ลั ง ที่ ใ ช กั น โดยทั่ ว ไปเป น ระบบ 3 เฟส ซึ่ ง ได จ ากเครื่ อ งกํ า เนิ ด ไฟฟ า 3 เฟส ขนาดใหญ ที่ แรงเคลื่อนไฟฟา 12.3 กิโลโวลต หรือสูงกวา ปอนแรงเคลื่อนสูหมอแปลงไฟฟาแบบแปลงขึ้น (step up transformer) แลวสงเขาสูระบบสายสงไฟฟาแรงสูงที่แรงเคลื่อนไฟฟา 110, 132, 275, 400 หรือ 750 กิโลโวลต หลังจากนั้นจะสงผาน เขาหมอแปลงไฟฟาแปลงแรงเคลื่อนไฟฟาลงมาที่ 6,600, 4,600 และ 2,300 โวลต ที่ศูนยจายภาระ (load center) แลวจึงแปลงเปนไฟฟาระบบแรงต่ําขนาดแรงเคลื่อนไฟฟา 380, 220 โวลต เพื่อจายใหกับผูใชไฟฟาโดยสงกําลังดวย สายสง 3 เฟส การเชื่อ มโยงระหวางเครื่อ งกําเนิ ดไฟฟา และสายสง ทํา ได โ ดยการใชห ม อ แปลงไฟฟ า 3 เฟส ซึ่ง มีห ลัก การ เชนเดียวกับหมอแปลงไฟฟา 1 เฟส 3 ตัวมาตอกัน แตหมอแปลงไฟฟา 1 เฟส 3 ตัวมีพื้นที่ในการตั้งติดมากกวาแบบ 3 เฟส เพียงตัวเดียวและมีน้ําหนักมากกวา รวมทั้งคาใชจายสูงกวา การพันหมอแปลงไฟฟาแบบ 3 เฟส อาจทําไดหลายวิธี เชน การใชแกนเหล็ก 3 ชุด นํามาวางทํามุมกัน 120 องศา โดยนําดานที่ไมไดพันขดลวดมาตอสัมผัสกัน

ภาพที่ 1.71 หมอแปลงไฟฟา 3 เฟส ความสัมพันธของแรงดันไฟฟาและกระแสไฟฟาของไฟฟา 3 เฟส การตอโหลดเขากับไฟฟา 3 เฟส มี 2 แบบ คือ แบบวายและแบบเดลตา ซึ่งการตอทั้ง 2 แบบ จะใหความสัมพันธ ของแรงดันไฟฟา และกระแสไฟฟาที่ตางกัน ดังนี้ 64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

6.2.1 แบบเดลตา เปนตอโดยนําปลายสายของขดลวดชุดหนึ่ง

ภาพที่ 1.72 แรงดันไฟฟาและกระแสไฟฟาเมื่อตอแบบเดลตา 6.2.2 แบบวาย เปนการตอโดยนําปลายสายของขดลวดทัง้ 3 รวมกัน

ภาพที่ 1.73 แรงดันไฟฟาและกระแสไฟฟาเมื่อตอแบบวาย 3 เฟส 4 สาย จากความสัมพันธของแรงดันไฟฟาและกระแสไฟฟาของการตอแบบเดลตาและแบบวาย โดยกอนที่จะ นํา หม อ แปลงไฟฟ า มาต อ เข า ด ว ยกั น นั้น หมอ แปลงไฟฟ า ตอ งมี ขั้ว ที่ เ หมื อ นกัน ซึ่ ง ได จ ากการหาขั้ว ของ หมอแปลงไฟฟา ดังนี้ 1) การตอ แบบวาย-วาย (Y-Y) เปนการนําขดลวดทางดานปฐมภูมิม าตอแบบวายและขดลวด ทางดานทุติยภูมิตอแบบวายเชนกัน

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.74 การตอแบบวาย-วาย (Y-Y) 2) การตอแบบเดลตา-เดลตา เปนการนําขดลวดทางดานปฐมภูมิมาตอ แบบเดลตาและขดลวด ทางดานทุติยภูมิตอแบบเดลตาเชนเดียวกัน

ภาพที่ 1.75 การตอแบบเดลตา-เดลตา 3) การตอ แบบเดลตา-วาย เปนการนําขดลวดทางดานปฐมภูมิม าตอ แบบเดลตาและขดลวด ทางดานทุติยภูมิตอแบบวาย

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.76 การตอแบบเดลตา-วาย 6.3 การตรวจสอบและบํารุงรักษาหมอแปลงไฟฟา การตรวจสอบและบํารุ ง รั ก ษาอุ ป กรณ ไฟฟาเปนสิ่งจําเปนเพื่อ ใหอุป กรณตาง ๆ มีส ภาพพรอ มใชง านตามที่ ตองการอยางมีประสิทธิภาพ มีอายุการใชงานที่ยาวนานขึ้น มีความปลอดภัยตอผูใชงานและผูปฏิบัติงานในสวนของ หมอแปลงไฟฟาและสวนประกอบก็ตองมีการตรวจสอบ ดูแลและบํารุงรักษาเชนกัน ประกอบดวย 6.3.1 การตรวจสอบและบํารุงรักษาหมอแปลงน้ํามัน ลําดับ

รายการตรวจสอบ

วิธีการตรวจสอบและการดําเนินการ

1.

ลูกถวยแรงสูง แรงต่ํา

ตรวจสอบสภาพผิว รอยไหม ชํารุด รอยแตก

หมายเหตุ

บิ่น ฝุน คราบสกปรกและทําความสะอาด ซอมรอยชํารุด รอยอารกหรือเปลี่ยนลูกถวย ใหม 2.

ขั้วตอสาย แรงสูง แรงต่ํา

ตรวจสอบขั้วตอสาย ดูร อยไหมอ ารก เปน ปกติอุณหภูมิขั้วตอสาย สนิ ม หรือ เกิดออกไซด ชํารุดและทําความ ไมควรเกิน 70 องศาเซลเซียส สะอาดขั้ ว และหนา สัม ผัส ต า ง ๆ ขั น นอต ขั้ วต อ สายทุก ตัวใหแนนหรือ เปลี่ยนขั้วต อ สายใหม

3.

สภาพตัวถัง

ตรวจเช็ครอยรั่วซึมของน้ํามันตามแนวเชื่อม การเกิ ด สนิ ม หรือ การกั ด กร อ นของตัวถัง 67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ลําดับ

รายการตรวจสอบ

วิธีการตรวจสอบและการดําเนินการ

หมายเหตุ

คราบสกปรก ฝุน ถาพบรอยรั่วซึมใหแกไข โดยการเชื่อ มหรือ เปลี่ยนปะเก็นทําความ สะอาดขัดทําสีเพื่อใหการระบายความรอน ไดดี 4.

น้ํามันรั่วซึม

ตรวจสอบครีบระบายความรอนปะเก็นหรือ ซี ล ยางต าง ๆ ฝาถั ง วาล วถ ายน้ํ ามั นและ เปลี่ยนปะเก็นหรือ ซีลยางในสวนที่มีนํ้ามัน รั่วซึมและขันนอตใหแนน

5.

อุณหภูมิหมอแปลง

ตรวจสอบอุ ณ หภู มิ ป จ จุ บั น และอุ ณ หภู มิ ระดับอุณหภูมิหามเกิน สูงสุด ตรวจสอบการทํางานของเทอรโมมิเตอร 100 องศาเซลเซียส ถ า อุ ณ หภู มิ ห ม อ แปลงสู ง เกิ น ปกติ ต อ ง ตรวจสอบกระแสใช ง านหากเกิ น ให ล ด ปริมาณการใชโหลดใหเหมาะสม

6.

สารดูดความชื้น (Siliga Gel) ตรวจสอบสีของสารดูดความซื้น (ปกติสาร ควรตรวจทุก ๆ 6 - 12 เดือน (เฉพาะรุน Open Type) ดูดความซื้นจะมีสีมวงน้ําเงิน เมื่อใชงานมา หมอแปลง ชนิด Sealed Tank จะไมมีสารดูด ความชื้น

นานจะมีความชื้นสูงสีจะเปลี่ยนเปนสีชมพู ไม ส ามารถดู ด ความเย็ น ได อี ก ต อ ไป ให เปลี่ยนสารดูดความชื้น (ในปจ จุบัน Silica Gel เปนสีสม จะเปนชนิดที่ไมมีสารโคบอล เปนสวนประกอบ ซึ่งเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และเมื่อ เสื่อ มสภาพจะกลายเปนสีน้ําเงิน อมเขียว

7.

กับดักฟาผา สายดิน และหลักดิน

ตรวจสอบสภาพทั่วไป รอยบิ่น แตก อารก ค า ความต า นทานหลั ก ดิน ตรวจสอบจุดตอสายดินและสภาพสายดินวา ไมเกิน 5 โอหม หลุดหลวมหรือสึกกรอนหรือไม วัดคาความ 68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ลําดับ

รายการตรวจสอบ

วิธีการตรวจสอบและการดําเนินการ

หมายเหตุ

ต า นทานหลั ก ดิ น เปลี่ ย นอุ ป กรณ ที่ ชํารุด และตรวจเช็คสายดินใหอยูในสภาพใชง าน ไดดี แข็งแรง 8.

ความตานทานฉนวน วัดคาความตานทานดวย เมกะโอหมมิเตอร ใชเมกะโอหมมิเตอร (Insulation Resistance) ระหวางขดลวดแรงสูง - แรงต่ํา ขดลวดแรง 1000 - 2500 V. สู ง กั บ ตัวถัง (Tank) และขดลวดแรงต่ํากับ ตัวถังตองไมต่ํากวา 1000 Megaohm ที่ 20 องศาเซลเซียส

9.

แกนลอฟา (Arcing Horn)

วัด ระยะบน - ลา ง ของแกนลอ ฟา ใหไ ด -ระบบ 11 - 12 KV.ระยะหาง ตามเกณฑ 85 mm -ระบบ 22 - 24 KV.ระยะหาง 155 mm -ระบบ 33 KV.ระยะหาง 220 mm

10.

คาความเปนฉนวน ของน้ํามัน

ตรวจสอบคา ความเปน ฉนวนของน้ํ า มัน คาความมาตรฐาน ASTM หมอ แปลงโดยใชเ ครื่อ งทดสอบ ถา มีคา -คาน้ํามัน 30 kV ใชได

(Dielectric Strength)

ต่ํากวามาตรฐานควรเปลี่ยนหรือกรองน้ํามัน -คาน้ํามัน 25-30 kV ใชได หรือกรอง -คาน้ํามัน 20-25 kV ใชได หรือกรอง -ค า น้ํา มั น ต่ํา กว า 20 kV ควรเปลี่ ย น

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

6.3.2 การตรวจสอบและบํารุงรักษาหมอแปลงแหง ลําดับ

รายการตรวจสอบ

วิธีการตรวจสอบและการดําเนินการ

1.

การระบายอากาศ

ตรวจชองครีมระบายอากาศ ทําความสะอาดฝุน

หมายเหตุ

คราบสกปรก 2.

ภายในตู

ตรวจสอบฝุ น ที่ ข ดลวด Insulator ช อ ง ระบายอากาศ การเปลี่ยนสีเนื่องจากความ รอ น Tracing + CarbonizationInsulator แคลมป Coil Spacer หลุ ด หลวมหรื อ ไม และทําความสะอาดจุดตอไฟฟาขันใหแนน

3.

การเกิด Partial Discharge ตรวจดวยเครื่อ งมือ วัดเปรียบเทียบกับคา จากผูผลิตในอดีต 6.3.3 การตรวจสอบและบํารุงรักษาหองหมอแปลง

ลําดับ

รายการตรวจสอบ

วิธีการตรวจสอบและการดําเนินการ

1.

สภาพหองหมอแปลง

ผนั ง พื้ น ห อ งต อ งสรา งด ว ยวั ส ดุ ที่มี ค วาม แข็ ง แรงเพียงพอกับ การใชง านไมท รุ ด ไม แตก ต อ งไม มี วั ส ดุ ที่ ไ ม เ กี่ ย วข อ งและ เชื้อเพลิงเก็บอยูภายใน รวมทั้งมีพื้นที่วาง ในการปฏิบัติงานเพียงพอ

2.

บอพักน้ํามันและทอระบาย

ตรวจสอบว า ขนาดบ อ พั ก อยู ใ นสภาพดี ถูก ตอ งหรือ ไม ในบอ พักตองมีหินเบอร 2 ใส อ ยู เ ต็มไมมีน้ําขัง หากมีก ารรั่วไหลของ น้ํามันควรสูบออกใหหมด

3.

การระบายอากาศ

ตรวจสภาพช อ งระบายอากาศทั้ ง ช อ ง ระบายอากาศเขา - ออกและไมมีสิ่งกีดขวาง วัดอุณหภูมิหองไมเกิน 40 องศาเซลเซียส ทํ า ความสะอาด กรณี ใช พั ดลมหรื อ 70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

หมายเหตุ


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ลําดับ

รายการตรวจสอบ

วิธีการตรวจสอบและการดําเนินการ

หมายเหตุ

เครื่องปรับอากาศใหตรวจสอบดวยวาพัดลม หรื อ เครื่ อ งปรั บ อากาศยั ง ทํ า งา น ได ตลอดเวลาที่หมอแปลงจายไฟ 4.

ระบบดับเพลิง

ตรวจสภาพวามีเครื่องดับเพลิงชนิดที่ดับ ไฟ เครื่อ งดับ เพลิงมือถือ ที่ใชดับ ที่ เ กิ ดจากไฟฟาไดและยังอยูในสภาพที่ใช ไฟจากไฟฟาจะมี สัญ ลักษณ งานได ติดไวที่ผนังดานนอกหองหมอแปลง C

5.

การตอลงดิน

ตรวจวัดคาความตานทานการตอลงดินสวน สายตอ หลัก ดินตอ งเปนสาย ที่ เ ป น โลหะเป ด โล ง ต อ งต อ ลงดิ น ตรวจ ทองแดงขนาดไม ต่ํ ากว า 35 สภาพสายดิ น และจุ ด ต อ สายดิ น ไม ห ลุ ด ตร.มม.และค าความต านทาน หลวม ไม ผุ ก ร อ นให ค งสภาพใช ง านไดดี การตอลงดินไมเกิน 5 โอหม ตลอดเวลา

6.

ปายเตือน

ตรวจวามีปายเตือ นขอความวา“อันตราย ไฟฟ า แรงสู ง ” และเฉพาะเจ า หน า ที่ ที่ เกี่ยวของเทานั้น ติดไวที่ดานนอกหองหมอ แปลงในตําแหนงที่มองเห็นไดอยางชัดเจน และอยูในสภาพดี

7.

แสงสวาง

ตรวจสอบความสวางในหองหมอแปลงวัด ความส อ งสว า งเฉลี่ยในหอ ง คาความสวาง ตรวจสอบหลอดไฟใหใชงาน หมอแปลงตองไมนอยกวา 200 ไดตลอดเวลา ลักซ

6.3.4 การตรวจสอบและบํารุงรักษาลานหมอแปลง ลําดับ

รายการตรวจสอบ

วิธีการตรวจสอบและการดําเนินการ

1.

สถานที่ตั้งลานหมอแปลง

ตรวจสอบลานหมอ แปลงตองอยูหางจาก วัสดุที่ติดไฟงายและตองมีการปองกันไมให เกิ ด การลุก ลามของน้ํ ามั นที่ อ าจเกิดจาก หมอแปลงระเบิดไปติดวัสดุหรืออาคารจน ทําใหเกิดเพลิงไหมได 71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

หมายเหตุ


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ลําดับ

รายการตรวจสอบ

วิธีการตรวจสอบและการดําเนินการ

2.

รั้วและประดุ

รั้ วและประดุ ลานหมอ แปลงตอ งมีรั้วที่มี

หมายเหตุ

ความสูง ไมนอ ยกวา 2 เมตร เพื่อ ปอ งกัน บุคคลหรือสัตว ตองตรวจสอบสภาพทั่วไป วารั้วและประตูมีสภาพแข็งแรง ไมผุกรอน หรือชํารุด ประตูรั้วสามารถล็อกกุญ แจได และจะตองมีความตอเนื่องทางไฟฟาดวย 3.

สภาพพื้นลานหมอแปลง

สภาพพื้นลานหมอแปลง ตรวจสอบวาพื้น หม อ แปลงต อ งโรยหิ น เบอร ส องจนทั่ ว ยกเว น ให เ ฉพาะพื้ น ที่ จ ะใช ตั้ ง อุ ป กรณ ความหนาของหินเบอร 2 ตองไมนอยกวา 100 มม. และลานหม อ แปลงต อ งไม มี ตนหญา ตนไมหรือวัชพืชอื่นขึ้น ไมมีน้ําขัง และมีการปองกันน้ําทวมอยางเหมาะสม

4.

การตอลงดิน

ตรวจสอบวัดคาความตานทานการตอลงดิน สวนที่เปนโลหะเปดโลงตองตอลงดินตรวจ สภาพสายดินและจุดตอสายดินตองไมหลุด หลวมไมผุก รอ นและตอ งคงสภาพการใช งานไดตลอดเวลา

6.3.5 การตรวจสอบและบํารุงรักษานั่งรานหมอแปลง ลําดับ 1.

รายการตรวจสอบ

วิธีการตรวจสอบและการดําเนินการ

สภาพเสาและความแข็งแรง สภาพเสาไฟฟาตองไมมีรอยแตกราว เสา ของเสา นั่งรานไมทรุดหรือเอียง น็อตยึดไมเปนสนิม และผุกรอน ในกรณีพบวานั่งรานเอียงหรือ ทรุดตัว ตองรีบดําเนินการแกไข

2.

การตอลงดินของสวนโลหะที่ สวนที่เปนโลหะและเปดโลงและปกติไมใช เปดโลง เปนทางเดินของกะแสไฟฟาแตอาจมีไฟฟา 72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

หมายเหตุ


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ลําดับ

รายการตรวจสอบ

วิธีการตรวจสอบและการดําเนินการ ได เชนตัวถังหมอแปลง ตองมีการตอลงดิน และสายตอ หลัก ดินตอ งเปนสายทองแดง ขนาดไมต่ํากวา 35 ตร.มม.

3.

คาความตานทาน การตอลงดิน

ตรวจวัดคาความตานทานการตอลงดินดวย เครื่องมือวัด คาไมควรเกิน 5 โอหม

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

หมายเหตุ


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. ขดลวดชุดรันหรือขดลวดหลักทําหนาที่อยางไรในสปลิตเฟสมอเตอร ก. ทํางานในขณะที่มอเตอรไฟฟาเริม่ หมุนจนถึงความเร็วรอบเต็มพิกัด ข. ทํางานในขณะที่มอเตอรไฟฟาเริม่ หมุนจนถึงความเร็วรอบ 75 เปอรเซ็นต ค. ทํางานในขณะที่มอเตอรไฟฟาเริม่ หมุนจนถึงความเร็วรอบ 50 เปอรเซ็นต ง. ทํางานในขณะที่มอเตอรไฟฟาเริม่ หมุนจนถึงความเร็วรอบ 25 เปอรเซ็นต 2. ขอใด อธิบายวิธีการตรวจสอบเซอรกิตเบรกเกอร แบบ Insulation Test ไดถูกตอง ก. ทดสอบความคงทนตอแรงดันไฟฟาของฉนวน ข. ทดสอบการทํางานของบริภัณฑปองกัน ค. ทดสอบคาความตานทานของฉนวนของเซอรกิตเบรกเกอร ง. ทดสอบกลไกการทํางานอุปกรณในตําแหนงตาง ๆ 3. ขอใด คือ การบํารุงรักษาดวงโดมไฟฟาที่ถูกตอง ก. ควรทําความสะอาดวัสดุทหี่ ุมโคมไฟทุกชนิดดวยการเปาลม ข. ควรทําความสะอาดเม็ดคริสตัลทีป่ ระดับบนโคมไฟดวยการนําไปแชน้ํา ค. ควรทําความสะอาดกรอบของโคมไฟใหเหมาะสมกับวัสดุ ง. ควรทําความสะอาดสวนประกอบของโคมไฟดวยผาขนหนูชุบน้ํา 4. ในตูจายไฟประธาน Current Transformer ทําหนาที่อะไร ก. ใชวัดกระแสไฟฟา ข. ใชวัดแรงดันไฟฟา ค. ใชเก็บประจุไฟฟา ง. ใชปอ นกระแสไฟฟา

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

5. ขอใด เปนวิธีการตรวจสอบหมอแปลงน้ํามัน ก. ตรวจสอบฝุนที่ขดลวด ข. ตรวจสอบสีของสารดูดความชื้น ค. ตรวจสอบชองครีมระบายอากาศ ง. ตรวจสอบสวนทีเ่ ปนโลหะ 6. มอเตอรชนิดใด มีแหลงจายไฟฟากระแสตรง 2 แหลงจาย ก. คาปาซิเตอรมอเตอร ข. มอเตอรไฟฟาแบบคอมปาวด ค. มอเตอรไฟฟาแบบกระตุนแยก ง. สปลิตเฟสมอเตอร

7. จากรูป คือ หมอแปลงไฟฟาแบบใด ก. หมอแปลงไฟฟา 1 เฟส แบบขดลวดลอมแกน ข. หมอแปลงไฟฟา 1 เฟส แบบแกนลอมขดลวด ค. หมอแปลงไฟฟา 3 เฟส แบบขดลวดลอมแกน ง. หมอแปลงไฟฟา 3 เฟส แบบแกนลอมขดลวด 8. พิกัดแรงดันของชุดควบคุมมอเตอร ตองมีขนาดเทาใด ก. พิกัดแรงดัน 600 โวลต ข. พิกัดแรงดัน 700 โวลต ค. พิกดั แรงดัน 800 โวลต ง. พิกัดแรงดัน 900 โวลต 75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

9. ขอใด เปนลักษณะของโคมไฟฟาแบบกระจายแสงขึ้น ก. แสงสวนใหญพงุ ดานบน 0 - 10 เปอรเซ็นต ข. แสงสวนใหญกระจายขึ้นดานบน 0 - 10 เปอรเซ็นต ค. แสงสวนใหญพงุ ดานบน 90 - 100 เปอรเซ็นต ง. แสงสวนใหญกระจายขึ้นดานบน 90 - 100 เปอรเซ็นต 10. เพราะเหตุใด เซอรกิตเบรกเกอรจงึ ใชแมเหล็กไฟฟาเปนอุปกรณในการตัววงจร ก. ตองการความเร็วในการตัดวงจรของกระแสไฟฟา ข. ตองการความเร็วในการตัดวงจรของกระแสไฟฟา ค. ตองการแรงดึงดูดในการตัดวงจรของกระแสไฟฟา ง. ตองการแรงผลักในการตัดวงจรของกระแสไฟฟา 11. ขอใด เปนการตรวจสอบสภาพพื้นลานหมอแปลง ก. ตรวจสอบพื้นหมอแปลงตองไมชํารุด หรือมีรอยแตกของปูน ข. ตรวจสอบพื้นหมอแปลงตองไมมีน้ําขัง ค. ตรวจสอบพืน้ หมอแปลงตองโรยหินจนทั่ว ง. ตรวจสอบพื้นหมอแปลงตองไมมีวัสดุที่ทําใหติดไฟ 12. ขอจํากัดของเซอรกิตเบรกเกอรในตูจ ายไฟประธานคือขอใด ก. เซอรกิตเบรกเกอรในระบบเดียวกันจะตองเปนผลิตภัณฑเดียวกัน ข. เซอรกิตเบรกเกอรในระบบเดียวกันจะตองมีพิกัดกระแสที่ตา งกัน ค. เซอรกิตเบรกเกอรไมสามารถตัง้ คากระแสตัดวงจรได ง. เซอรกิตเบรกเกอรไมสามารถถอดออกได

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การตรวจสอบและบํารุงรักษามอเตอรไฟฟา กระแสสลับ 1 เฟส และ 3 เฟส 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ตรวจสอบและบํารุงรักษาอุปกรณที่ใชในไฟฟาอุตสาหกรรมได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรบั การฝกตรวจสอบและบํารุงรักษามอเตอรไฟฟากระแสสลับ 1 เฟส และ 3 เฟส ตามขัน้ ตอนใหถูกตอง

78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 การตรวจสอบและบํารุงรักษามอเตอรไฟฟา กระแสสลับ 1 เฟส และ 3 เฟส 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอปุ กรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงานไดแก - ถุงมือผา - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - หมวกนิรภัย - ชุดปฏิบตั ิงานชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอปุ กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขควงปลายแฉก 2. ไขควงปลายแบน 3. คอน 4. คีมรวม

จํานวน 1 อัน จํานวน 1 อัน จํานวน 1 อัน จํานวน 1 อัน

5. มอเตอรไฟฟาเหนื่ยวนํา 3 เฟส โรเตอร แบบกรงกระรอกขนาด 1 แรงมา 230/400 โวลต, 2.8 แอมแปร

จํานวน 1 ตัว 79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

6. มัลติมเิ ตอร 7. มาตรวัดความเร็วรอบ

จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ชุด

8. เมกกะโอหมมิเตอร 9. สปลิตเฟสมอเตอร ขนาด 1/4 แรงมา 220 โวลต, 0.5 แอมแปร

จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว

10. แหลงจายไฟฟากระแสสลับ 0-380 VAC จํานวน 1 ชุด หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - สายตอวงจร

จํานวน 10 เสน

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การตรวจสอบและบํารุงรักษามอเตอรไฟฟากระแสสลับ 1 เฟส และ 3 เฟส ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตอวงจร

คําอธิบาย ตอวงจรการเริ่มหมุนของสปลิต เฟสมอเตอร

2. จายแรงดันไฟฟากระแสสลับ

จ า ยแรงดั น ไฟฟ า กระแสสลับ ที่ 220 โวลต

80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. อานคากระแสไฟฟาที่วัดไดจากมอเตอรไฟฟา

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

อานคากระแสไฟฟาที่วัดได จ าก มีคาเทากับ .....แอมแปร มอเตอรไฟฟา

4. วัดความเร็วรอบ

วัดความเร็วรอบโดยใชม าตรวั ด เทากับ .... รอบ /นาที ความเร็วรอบวัดไดที่แกนเพลา

5. ตอวงจร

ตอวงจรกลับทางหมุนของสปลิต เฟสมอเตอร

6. จายแรงดันไฟฟากระแสสลับ

จ า ยแรงดั น ไฟฟ า กระแสสลับ ที่ 220 โวลต

81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 7. อานคากระแสไฟฟาที่วัดไดจากมอเตอรไฟฟา

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

อานคากระแสไฟฟาที่วัดได จ าก มีคาเทากับ .....แอมแปร มอเตอรไฟฟา

8. วัดความเร็วรอบ

วัดความเร็วรอบโดยใชม าตรวั ด เทากับ .... รอบ /นาที ความเร็วรอบวัดไดที่แกนเพลา

9. หยุดจายแรงดันไฟฟา

หยุดจายแรงดันไฟฟากระแสสลับ ที่ 220 โวลต

10. ตั้งคามัลติเตอร เพื่อวัดคาความตานทาน

ตั้ง คาของมัล ติมิเ ตอร เพื่อ วัดคา ความตานทานของขดลวด

82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 11. การวัดคาความตานทาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

- การวัดคาความตานทานภายใน ค ว า ม ต า น ท า น มี ค า ขดลวดชุดรัน เทากับ...........โอหม - การวั ด ความต า นทานภายใน ขดลวดชุดสตารต - การวัดคาความตานทานระหวาง ขดลวด

12. ใชเมกกะโอหมมิเตอรวัดคาความตานทาน

ใชเมกกะโอหมมิเตอรวัดคาความ ตานทานขดลวดกับ โครงของสป ลิตเฟสมอเตอร

83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบชิ้นงานและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ พรอมระบุขนาด ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การปฏิบัติงาน 1.1 ตอวงจรการเริ่มหมุนของสปลิตเฟสมอเตอรได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 ตอวงจรกลับทางหมุนของสปลิตเฟสมอเตอรได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 จายแรงดันไฟฟาได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 วัดคาทางไฟฟาได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.5อานคาจากเครื่องวัดทางไฟฟาได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปอ งกันอันตรายสวนบุคคลถูกตองและครบถวน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.5 การเก็บเครือ่ งมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ รายการประเมิน เกณฑการใหคะแนน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 ตอวงจรการเริ่มหมุนของสปลิตเฟสมอเตอร - ตอวงจรการเริ่มหมุนของสปลิตเฟสมอเตอรถูกตอง ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - ตอวงจรการเริ่มหมุนของสปลิตเฟสมอเตอรไมถูกตอง ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.2 ตอวงจรกลับทางหมุนของสปลิตเฟสมอเตอร - ตอวงจรกลับทางหมุนของสปลิตเฟสมอเตอรถูกตอง ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - ตอวงจรกลับทางหมุนของสปลิตเฟสมอเตอรไมถูกตอง ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.3 จายแรงดันไฟฟา - จายแรงดันไฟฟาถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - จายแรงดันไฟฟาไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.4 วัดคาทางไฟฟา - วัดคาทางไฟฟาถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - วัดคาทางไฟฟาไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.5 อานคาจากเครื่องวัดทางไฟฟา - อานคาจากเครื่องวัดทางไฟฟาถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - อานคาจากเครื่องวัดทางไฟฟาไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 2 กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํา - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

คะแนนเต็ม 25 5

คะแนนที่ได

5

5

5

5

5 1 1 1 1 1 30

หมายเหตุ หากผูเ ขารับการฝกไดรบั คะแนน 21 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผเู ขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ 2. นางถวิล 3. นายธวัช

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

เพิ่มเพียรสิน เบญจาทิกลุ

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล พลอยสุข 5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝ กและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา 7. นายวัชรพงษ

ศิริรัตน มุขเชิด

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

สุนทรกนกพงศ

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม

2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี 8. นายธเนศ 9. นายณัฐวุฒิ

ประชารัตน วงควัฒนานุรักษ เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.