คู่มือผู้รับการฝึก ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 2 โมดูล 2

Page 1

หน้าปก



คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

คู่มือผู้รับการฝึก 0920164170202 สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2

ชุดการฝึกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝึกที่ 2 09217207 วงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟส อุปกรณ์และหลักการทางานของระบบควบคุมต่าง ๆ ที่อยู่ในเครื่องปรับอากาศ

กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

คานา คู่มือผู้รับการฝึก สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 โมดูล 2 วงจรไฟฟ้าใน เครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟส อุปกรณ์และหลักการทางานของระบบควบคุมต่าง ๆ ที่อยู่ในเครื่องปรับอากาศฉบับนี้ เป็น ส่วนหนึ่งของหลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ เป็นเอกสารประกอบการจัดการฝึกอบรมกับชุดการฝึกตามความสามารถ โดยได้ดาเนินการภายใต้โครงการพัฒนาระบบฝึก และชุดการฝึกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้วยระบบการฝึ กตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ ผู้รับการฝึกได้ใช้เป็นเครื่องมือในการฝึกอบรมให้ เป็นไปตามหลั กสู ตร กล่ าวคือ หลั งเรี ย นจบโมดูล การฝึ ก ผู้ รับการฝึ กสามารถอธิบายเกี่ยวกับ ระบบไฟฟ้าแบบ 3 และ ปฎิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า 3 เฟสได้อย่างถูกต้อง ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่งเสริมให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถฝึกฝนเรียนรู้ได้ ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลายไปให้แก่ ผู้ รับการฝึ กอบรม และต้องการให้ ผู้ รั บ การฝึ ก อบรมเกิด การเรี ยนรู้ ด้ว ยตนเอง การฝึ กปฏิบัติจะด าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเน้นผลลัพธ์การฝึกอบรมในการที่ทาให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต้องการ โดยยึดความสามารถของผู้รับ การฝึกเป็นหลัก การฝึกอบรมในระบบดังกล่าว จึงเป็นรูปแบบการ ฝึกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ละสาขาอาชีพ จะถูก กาหนดเป็นรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับการฝึกอบรมจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึกจะต้องเรียนรู้และฝึกฝนจนกว่าจะ สามารถปฏิบัติเองได้ ตามมาตรฐานที่กาหนดในแต่ละรายการความสามารถ ทั้ง นี้ การส่งมอบการฝึก สามารถดาเนินการได้ ทั้งรูปแบบการเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Paper Based) และผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ (Computer Based) โดยผู้รับการฝึกสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Learning) ที่บ้านหรือที่ทางาน และเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติตามความพร้อม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถกับหน่วยฝึก โดยมีครูฝึกหรือผู้สอนคอยให้คาปรึกษา แนะนาและจัดเตรียมการฝึกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดาเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่าง ๆ อันจะทาให้สามารถเพิ่มจานวนผู้รับการฝึกได้มากยิ่งขึ้น ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ดงบประมาณค่าใช้จ่ ายในการพัฒ นาฝี มือแรงงานให้ แก่กาลั งแรงงานในระยะยาว จึงถือเป็นรูปแบบการฝึ กที่มี ความสาคัญต่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนาระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยทาให้ประชาชน ผู้ใช้แรงงานผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และผู้ประกอบอาชีพอิสระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

สารบัญ เรื่อง

หน้า

คานา

สารบัญ

ข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

1

โมดูลการฝึกที่ 2 09217207 วงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟส อุปกรณ์และหลักการทางาน ของระบบควบคุมต่าง ๆ ที่อยู่ในเครื่องปรับอากาศ หัวข้อวิชาที่ 1 0921720701 ระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส หัวข้อวิชาที่ 2 0921720702 วงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ หัวข้อวิชาที่ 3 0921720703 อุปกรณ์ป้องกันในระบบไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ หัวข้อวิชาที่ 4 0921720704 อุปกรณ์ป้องกันในระบบสารทาความเย็นในเครื่องปรับอากาศ คณะผู้จัดทาโครงการ

ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

15 40 56 72 86



คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ข้อแนะนาสาหรับผูร้ ับการฝึก ข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก คือ คาอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคู่มือ และขั้นตอนการเข้ารับการฝึก ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 6 ข้อ ดังนี้

1. รายละเอียดของคู่มือ 1.1 โมดูลการฝึก / หัวข้อวิชา หมายถึง โมดูลการฝึกที่ครูฝึกต้องจัดการฝึกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด้วย หัว ข้อ วิช าที ่ผู ้ร ับ การฝึก ต้อ งเรีย นรู ้แ ละฝึก ฝน ซึ ่ง มีร หัส โมดูล และรหัส หัว ข้อ วิช าเป็น ตัว ก าหนด ความสามารถที่ต้องเรีย นรู้ 1.2 ระยะเวลาการฝึก หมายถึง จานวนชั่วโมงในการฝึกอบรม เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของแต่ละโมดูล 1.3 ระบบการฝึกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝึกที่เกิดจากการนาความรู้ ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จาเป็นสาหรับการทางานมาเป็นฐาน (Based) ของการจัดฝึกอบรม หรือนามากาหนดเป็น เนื้ อ หา (Content) และเกณฑ์ก ารประเมิน การฝึก อบรม ท าให้ผู ้ร ับ การฝึก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด และตามความสามารถในการเรียนรู้ของผู้รับการฝึกเป็นหลัก 1.4 ชุ ด การฝึ ก หมายถึ ง สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ และสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ใช้ ส าหรั บ เป็ น อุ ป กรณ์ ช่ ว ยฝึ ก โดยแต่ ล ะโมดู ล ประกอบด้วย คู่มือครูฝึก คู่มือผู้รับการฝึก คู่มือประเมิน สื่อวีดิทัศน์ 1.5 ระบบจั ด การฝึ ก ด้ ว ยคอมพิ ว เตอร์ (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึ ง การน าระบบ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใช้ในการจัดการเรียนรู้และฝึกอบรม เช่น ระบบรับสมัครออนไลน์ ระบบลงทะเบียนเข้ารับการฝึกอบรมออนไลน์ ระบบการฝึกอบรมภาคทฤษฎีผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือ อุป กรณ์สื ่อ สารแบบพกพา การทดสอบออนไลน์ การบันทึกผลการฝึ ก อัตโนมัติ และการออกใบวุ ฒิ บั ต ร อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น โดยการเข้าใช้งานระบบ แบ่งส่วนการใช้งานตามความรับผิ ดชอบของผู้มีส่วนได้ส่ว น เสียดังภาพในหน้า 2 ซึ่ง รายละเอียดการใช้งานของผู้เข้ารับการฝึกสามารถดูได้จากลิงค์ mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

2. ผังการฝึกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

3. วิธีการฝึกอบรม 3.1 ผู้รับการฝึก ทาความเข้าใจการฝึกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝึกอบรมได้ 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) โดยในแต่ละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกต่างกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับ การฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ด้ว ยตนเอง โดยครูฝึกเป็นผู้ส่งมอบ คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) แก่ผู้รับการฝึก และฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ครูฝึกส่งมอบให้ การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเข้า รับ การฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้า มี) หรือ เข้า รับ การฝึก ในโมดูล ถัด ไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึก มาฝึกภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก

4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

2) ผู้รับการฝึกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานก่อนเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝึก แล้ วฝึก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูผู้ฝึกประเมินผล และวิเคราะห์ผลงานร่วมกับครูฝึกเพื่อให้มาตรฐาน เป็นไปตามเกณฑ์การประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึก มาสอบภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงจากครูฝึก แล้วสอบปฏิบัติงานตามคาชี้แจง 3) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยต้องผ่าน เกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 4) ผู้รับการฝึกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝึก 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึก และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึกโดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูล ถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้า ผลการประเมิน ต่ากว่า ร้อ ยละ 70 ให้ผู ้รับ การฝึก ศึก ษาเนื้อ หาจากสื ่อ ด้ว ย ตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึก มาฝึกภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผู้รับการฝึกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานก่อนเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้ แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝึก แล้วฝึก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูผู้ฝึกประเมินผล และวิเคราะห์ผลงานร่วมกับครูฝึกเพื่อให้มาตรฐาน เป็นไปตามเกณฑ์การประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึก มาสอบภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลง ชื่อในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงจากครูฝึก แล้วสอบปฏิบัติงานตามคาชี้แจง 3) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 4) ผู้รับการฝึกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝึก 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเองผ่านระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่เป็นสื่อออนไลน์ในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม วิธีดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning - ผู้รับการฝึกดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบ่งออกเป็น 2 ช่องทางตามแต่ละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ iOS ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้

6 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

2) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ Android ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง จากคู่มือผู้รับการฝึก ซึ่งเป็นสื่อออนไลน์บนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้ รั บการฝึ กท าแบบทดสอบก่ อนฝึ ก (Pre-Test) ลงในแอปพลิ เคชั น โดยระบบจะตรวจและ ประเมินผลอัตโนมัติ - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูล ถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจแล้วจึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันฝึกภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึก มาฝึกภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึ ก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผู้รับการฝึกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานก่อนเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝึก แล้วฝึก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูผู้ฝึกประเมินผล และวิเคราะห์ผลงานร่วมกับครูฝึกเพื่อให้มาตรฐาน เป็นไปตามเกณฑ์การประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึก มาสอบภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด

7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

- หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงจากครูฝึก แล้วสอบปฏิบัติงานตามคาชี้แจง 3) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยต้องผ่าน เกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 4) ผู้รับการฝึกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน 3.2 ครูฝึกชี้แจงรูปแบบการฝึกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแก่ผู้รับการฝึก เพื่อทาการตกลงรูปแบบการฝึกอบรมร่วมกับผู้รับการฝึก โดยให้ผู้รับการฝึกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝึกวางแผนการฝึกตลอดหลักสูตรร่วมกันกับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึกและช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึก ผู้รับการฝึกสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ช่วยฝึกได้ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝึก ด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) โดยมีช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึกแต่ละรูปแบบแตกต่างกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนนและ การระบุความสามารถด้านความรู้ ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ต่ากว่าร้อยละ 70

เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC) 8

กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และการระบุความสามารถด้านทักษะ ดังนี้ เกณฑ์การประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป หรือทา ได้ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน ต่ากว่าร้อยละ 70 หรือ ไม่ สามารถทาได้ ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน

เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)

ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูลนั้น ๆ ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนั้น และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการฝึกนั้น ๆ แล้ว

6. เงื่อนไขการผ่านการฝึก ผู้รับการฝึกที่จะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบหลังฝึก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนามาคิดแบ่งเป็นสัดส่วน ภาคทฤษฏี คิดเป็นร้อยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเป็นร้อยละ 80 เมื่อนาคะแนนมารวมกัน ผู้รับการฝึกจะต้องได้ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านเกณฑ์ ทั้งนี้ ผู้รับการฝึกจะต้องทาคะแนนผ่านเกณฑ์ทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผ่านโมดูลการฝึก

9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้าน และการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164170202

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒ นาขึ้น ให้ครอบคลุมด้านความรู้ ทั กษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึกในสาขาช่างเครื่องปรับอากาศ ในบ้านและการพาณิชย์ ขนาดเล็ก เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า การอ่านแบบ และวงจรทางไฟฟ้า 1.2 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศระบบ 3 เฟส อุปกรณ์และหลั กการท างาน ของระบบควบคุมต่าง ๆ ที่อยู่ในเครื่องปรับอากาศ 1.3 มีความรู้ความสามารถในการตัด ปรับแต่ง ขยาย บาน ดัด และเชื่อมท่อ 1.4 มีความรู้ ความสามารถเกี่ยวกับหลักการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส 3 เฟส และการต่อมอเตอร์ หลายความเร็ว 1.5 มีความรู้เกี่ยวกับการเลือกใช้ชนิดและขนาดของคอมเพรสเซอร์ได้อย่างเหมาะสม 1.6 มีความรู้ความสามารถในการประกอบติดตั้งระบบท่อสารทาความเย็นที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ 1.7 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับหลักการและวิธีการหล่อลื่นอุปกรณ์ในระบบเครื่องปรับอากาศ 1.8 มีความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บสารทาเย็น เพื่อการเคลื่อนย้ายหรือการซ่อมบารุงโดยการปั๊มดาวน์ หรือ ใช้เครื่องเก็บสารทาความเย็นอย่างถูกต้อง และการจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็นเพื่อป้องกันความชื้น 1.9 มีความรู้ความสามารถในการทาความสะอาดระบบ เมื่อภายในระบบมีความชื้น 1.10 มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ และการวัดค่าต่าง ๆ 1.11 มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และแก้ไขข้อขัดข้องของเครื่องปรับอากาศ

10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

2. ระยะเวลาการฝึก ผู้รับการฝึกจะได้รับการฝึกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบั ติ โดยสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือสานักงานพัฒนาฝี มือ แรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถใช้ระยะเวลาในการฝึก 72 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป็ น การฝึ ก ที่ ขึ้ น อยู่ กั บ พื้ น ฐานความรู้ ทั ก ษะ ความสามารถและความพร้ อ มของผู้ รั บ การฝึ ก แต่ละคน มีผลให้ผู้รับการฝึกจบการฝึกไม่พร้ อมกัน สามารถจบก่อนหรือเกินระยะเวลาที่กาหนดไว้ในหลั กสูตรได้ หน่วยฝึกจึงต้องบริหารระยะเวลาในการฝึกให้เหมาะสมตามความจาเป็น ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือผู้อานวยการสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หน่วยความสามารถและโมดูลการฝึก จานวนหน่วยความสามารถ 11 หน่วย จานวนโมดูลการฝึก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 4.2 ชื่อย่อ : วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 4.3 ผู้ รั บ การฝึ ก ที่ ผ่ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ่ า นการฝึ ก ครบทุ ก หน่ ว ยความสามารถ จะได้ รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2

11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

รายละเอียดโมดูลการฝึกที่ 2 1. ชื่อหลักสูตร

สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก รหัสหลักสูตร ระดับ 2 0920164170202 2. ชื่อโมดูลการฝึก วงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟส รหัสโมดูลการฝึก อุปกรณ์และหลักการทางานของระบบควบคุมต่าง ๆ 09217207 ที่อยู่ในเครื่องปรับอากาศ 3. ระยะเวลาการฝึก รวม 2 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 16 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหน่ว ย หน่วยการฝึกนี้ พัฒนาขึ้นให้ครอบคลุมด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึก เพื่อให้ การฝึก มีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 3 สาย และแบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต์ได้ 2. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 3 สาย และแบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต์ได้ 3. อธิบายวงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟสได้ 4. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟสได้ 5. อธิบายหน้าที่และหลักการทางานของอุปกรณ์ป้องกันในระบบไฟฟ้า ในเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟสได้ 6. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันในระบบไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟสได้ 7. อธิบายหน้าที่และหลักการทางานของอุปกรณ์ป้องกันในระบบสารทาความเย็น ในเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟสได้ 8. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันในระบบสารทาความเย็นในเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟสได้ 5. พื้นฐาน ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าแบบ 3 และปฎิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า 3 เฟสหรือ ผู้รับการฝึก ผ่านการฝึกอบรมที่เกี่ยวข้องจากหน่วยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได้ 2. ผู้รับการฝึกผ่านระดับ 1 มาแล้ว 3. ผู้รับการฝึกผ่านโมดูลที่ 1 มาแล้ว

12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

6. ผลลัพธ์การเรียนรู้ : เมื่อสาเร็จการฝึกในโมดูลนี้แล้วผู้รับการฝึกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรู้ความสามารถและใช้ ระยะเวลาฝึก ดังนี้ ระยะเวลาฝึก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธ์การเรียนรู้ ชื่อหัวข้อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส หัวข้อที่ 1 : ระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 0:45 4:00 4:45 3 สาย และ แบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต์ ได้ 2. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า แบบ 3 เฟส 3 สาย และ แบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต์ ได้ 3. อธิบายวงจรไฟฟ้า หัวข้อที่ 2 : วงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ 0:30 4:00 4:30 เครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟสได้ 4. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า เครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟสได้ 5. อธิบายหน้าที่และหลักการ หัวข้อที่ 3 : อุปกรณ์ป้องกันในระบบไฟฟ้าใน 0:45 4:00 4:45 ทางานของอุปกรณ์ป้องกัน เครื่องปรับอากาศ ในระบบไฟฟ้าใน เครื่องปรับอากาศระบบไฟฟ้า 3 เฟสได้ 6. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับอุปกรณ์ ป้องกันในระบบไฟฟ้า ในเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟสได้ 7. อธิบายหน้าที่และหลักการ หัวข้อที่ 4 : อุปกรณ์ป้องกันในระบบ 0:45 4:00 4:45 ทางานของอุปกรณ์ป้องกัน สารทาความเย็นใน ในระบบสารทาความเย็น เครื่องปรับอากาศ ในเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟสได้ 13 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

8. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับอุปกรณ์ ป้องกันในระบบ สารทาความเย็นใน เครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟสได้ รวมทั้งสิ้น

2:45

14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

16:00 18:45


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 1 0921720701 ระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 3 สาย และ แบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต์ ได้ 2. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 3 สาย และ แบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต์ ได้

2. หัวข้อสาคัญ 1. ระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 3 สาย 2. ระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต์

3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ผู้รับการฝึกอ่านและทาความเข้าใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑ์การวัด และประเมินผลงาน 5. ผู้รับการฝึกเข้ารับการฝึกที่ศูนย์ฝึกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว้ 6. ผู้รับการฝึกอ่านระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝึกของหน่วยฝึก 7. ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผู้รับการฝึกปฏิบัติงานตามใบงาน แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจประเมินผล 9. ผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึกกับครูฝึก

6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจน เข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการ ประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3. ผู้รับการฝึกส่งผลงานในการฝึกภาคปฏิบัติให้ครูฝึกตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ ครูฝึกกาหนดได้

7. บรรณานุกรม ดารง หิรัญยะพรรณ์. 2545. ระบบไฟฟ้า. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.nectec.or.th/schoolnet/library/create-web/10000/technology/10000-6555.html สุธิกานต์ วงษ์เสถียร. 2549. ระบบไฟฟ้าควบคุม เครื่องทาความเย็นและเครื่องปรับอากาศ. กรุงเทพฯ : สกายบูกส์. 16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 1 ระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส ระบบการจ่ายกาลังไฟฟ้าจะเริ่มจากโรงจักรไฟฟ้าผลิตกาลังไฟฟ้าและจ่ายออกที่แรงดัน 13.8 กิโลโวลต์ แล้วส่งต่อไปให้ หม้อแปลงไฟฟ้ากาลัง ทาการแปลงแรงดันให้สูงขึ้นเป็น 500 กิโลโวลต์ หรือ 230 กิโลโวลต์ แล้วส่งต่อไปยังสายไฟฟ้าแรงสูง การที่ต้องเพิ่มค่าแรงดันให้สูงขึ้นเนื่องจากต้องการลดค่าความสูญเสียกาลังไฟฟ้าอันเนื่องมาจากค่าความต้านทานของ สายไฟที่ต้องส่งไฟฟ้าในระยะทางไกล ๆ และก่อนที่จะจ่ายให้ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องผ่านหม้ อแปลงอีกครั้งเพื่อลดแรงดันไฟฟ้าลง ให้พอดีกับความต้องการของผู้ใช้ไฟฟ้าว่าจะใช้ไฟฟ้าที่ระดับแรงดันเท่าใด ซึ่งโดยปกตินั้นจะอยู่ที่ 220 โวลต์ และ 380 โวลต์

ภาพที่ 1.1 ระบบการส่งกระแสไฟฟ้า ระบบจาหน่าย ในระบบส่งกาลังไฟฟ้าก่อนที่จะจ่ายกระแสไฟฟ้าถึงบ้านผู้ใช้ไฟฟ้ าจะต้องลดแรงดันไฟฟ้าเสียก่อน โดยผ่านสถานีย่อย (Sub-Station) สายนี้เรียกว่าสายป้อน (Feeder) และสายที่ต่อจากสายป้อนนี้จะส่งไฟฟ้าด้วยแรงดันไฟฟ้า 12 กิโลโวลต์ สายส่งระดับนี้จะกระจายไปตามถนนสายต่าง ๆ และต่อเข้าหม้อแปลงไฟฟ้าเพื่อแปลงแรงดันไฟฟ้า 12,000 กิโลโวลต์ ลงเป็น 220 โวลต์ สาหรับไฟฟ้าเฟสเดียว และ 380 โวลต์ สาหรับไฟฟ้าสามเฟส 17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.2 แสดงการส่งไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า 1 เฟส 2 สาย คือ ระบบที่ใช้สายไฟ 2 สาย ต่อออกจากหม้อแปลงไฟฟ้าไปยังผู้ใช้ไฟฟ้าหรือถนนสายต่าง ๆ ระบบที่นิยมใช้ในชนบท ที่มีบ้านห่างไกล และใช้ปริมาณไฟฟ้าน้อย

ภาพที่ 1.3 ระบบไฟฟ้า 1 เฟส 2 สาย ระบบไฟฟ้า 1 เฟส 3 สาย ระบบนี้จะมีสายไฟฟ้า 3 สาย นิยมใช้ในท้องถิ่นที่มีผู้ใช้ไฟฟ้ามากขึ้น และใช้กับหม้อแปลงขนาดใหญ่ขึ้น

ภาพที่ 1.4 ระบบไฟฟ้า 1 เฟส 3 สาย

18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

อย่างไรก็ตามเพื่อให้ผู้รับการฝึกสามารถเดินสายไฟแบบ 3 เฟส เพื่อใช้ในงานเครื่องปรับอากาศขนาดกลางและขนาดใหญ่ (ชิลเลอร์) ได้ ผู้รับการฝึกจึงควรศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับรูปแบบการจาหน่ายกระแสไฟ รวมถึงวงจรไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 3 สาย และ วงจรไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 4 สาย เพื่อให้สามารถต่อวงจรได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับขนาดความต้องการการใช้ไฟฟ้า ของมอเตอร์ และเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น ๆ ได้อย่างถูกต้อง 1. ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 3 สาย ระบบนี้จะให้กระแสไฟฟ้า 380 โวลต์ จึงต้องใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าแบบ 3 เฟสเท่านั้น ซึ่งเครื่องใช้ไฟฟ้าก็จะมี 3 สายเช่นกัน

ภาพที่ 1.5 ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 3 สาย 2. ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย ระบบไฟฟ้า 3 เฟสเป็นระบบไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส 4 สาย มีแรงดันไฟฟ้าขนาด 380 โวลต์ ความถี่ 50 เฮิรตซ์ เป็น ระบบที่นิยมใช้กับเครื่องจักร ในโรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจากเครื่องจักรภายในโรงงานมีขนาดใหญ่ และต้องกา ร แรงดันไฟฟ้าที่สูง ซึ่งระบบไฟฟ้าดังกล่าวจะไม่สามารถใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าตามบ้านเรือนโดยตรง เนื่องจากระบบดังกล่าว มีแรงดันไฟฟ้าที่สูง ดังนั้นจึงมีการนาไฟฟ้า 3 เฟส มาแบ่งเป็นระบบไฟฟ้า 1 เฟส 3 ชุด และจ่ายไฟฟ้าไปตามจุดต่าง ๆ ที่ต้องการใช้ไฟฟ้า 1 เฟส 220 โวลต์

ภาพที่ 1.6 ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย 19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ดังนั้นไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 4 สายจึงสามารถใช้ได้ทั้ง 2 ระบบคือ ระบบเฟสเดียว 220 โวลต์ และระบบ 3 เฟส 380 โวลต์ ซึ่งนิยมใช้ในเมืองขนาดใหญ่ ที่มีความเจริญอีกด้วย

ภาพที่ 1.7 ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย

20 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. เพราะเหตุใดจึงต้องหม้อแปลงแรงดันไฟฟ้าให้สูงขึ้น ก. เพื่อผลิตกระแสไฟภายในสายไฟ ข. เพื่อลดค่าความสูญเสียกาลังไฟฟ้า ค. เพื่อลดปัญหาการลักลอบใช้ไฟฟ้า ง. เพื่อผลิตกระแสไฟที่มีคุณภาพ 2. ระบบไฟฟ้าที่การไฟฟ้าฯ ส่งจ่ายไปยังบ้านเรือนทั่วไปเรียกว่าระบบไฟฟ้าอะไร ก. ระบบไฟฟ้าแรงดันต่า ข. ระบบไฟฟ้าแรงดันกลาง ค. ระบบไฟฟ้าแรงดันปกติ ง. ระบบไฟฟ้าแรงดันสูง 3. ไฟฟ้าสามเฟสแบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง ก. 3 ประเภท คือ ไฟฟ้าสามเฟส 2 สาย ไฟฟ้าสามเฟส 3 สาย และ ไฟฟ้าสามเฟส 4 สาย ข. 3 ประเภท คือ ไฟฟ้าสามเฟส 1 สาย ไฟฟ้าสามเฟส 2 สาย และ ไฟฟ้าสามเฟส 3 สาย ค. 2 ประเภท คือ ไฟฟ้าสามเฟส 2 สาย และ ไฟฟ้าสามเฟส 3 สาย ง. 2 ประเภท คือ ไฟฟ้าสามเฟส 3 สาย และ ไฟฟ้าสามเฟส 4 สาย

21 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

กระดาษคาตอบ ข้อ

1 2 3

22 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 ระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 3 สาย และ แบบ 3 เฟส 4 สาย 380/220 โวลต์ ได้

2. ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงานรวม 4 ชั่วโมง

3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกต่อวงจรกาลังและวงจรควบคุม การเริ่มมอเตอร์ 3 เฟสด้วยแมคเนติกคอนแทคเตอร์

วงจรกาลังการเริ่มเดินมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ 3 เฟส ด้วยแมคเนติกคอนแทคเตอร์

23 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

วงจรควบคุมการเริ่มเดินมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ 3 เฟส ด้วยแมคเนติกคอนแทคเตอร์

24 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 ระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้า วางกีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. ไขควงแฉก

จานวน 1 ตัว

2. ไขควงเช็คไฟ

จานวน 1 ตัว

3. ไขควงแบน

จานวน 1 ตัว

4. คีมช่างไฟฟ้า

จานวน 1 ตัว

5. คีมตัด

จานวน 1 ตัว

6. คีมปอกสาย

จานวน 1 ตัว

7. คีมย้าหางปลา

จานวน 1 ตัว

8. มัลติมิเตอร์

จานวน 1 ตัว

9. มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ 3 เฟส

จานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ ทราบ 25 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. ตู้ควบคุมมอเตอร์ เบอร์ 3

จานวน 1 ใบ

2. เทอร์มินอล

จานวน 1 ชุด

3. ฟิวส์พร้อมฐาน

จานวน 4 ชุด

4. แมคเนติกคอนแทคเตอร์

จานวน 1 ตัว

5. รางเดินสาย

จานวน 1 เส้น

6. สวิตช์กดติด ปล่อยดับ

จานวน 2 ตัว

7. สายไฟ IEC 02 ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร

จานวน 1 เส้น

สีน้าตาล ความยาว 10 เมตร 8. สายไฟ IEC 02 ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร

จานวน 1 เส้น

สีฟ้า ความยาว 3 เมตร 9. สายไฟ IEC 02 ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร

จานวน 1 เส้น

สีดา ความยาว 5 เมตร 10. สายไฟ IEC 02 ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร

จานวน 1 เส้น

สีเทา ความยาว 5 เมตร 11. สายไฟ IEC 02 ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร

จานวน 1 เส้น

สีน้าตาล ความยาว 5 เมตร 12. หลอดแสดงผล

จานวน 2 หลอด

13. หางปลาแฉก ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร สีแดง

จานวน 50 ตัว

14. หางปลาแฉก ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร สีฟ้า

จานวน 30 ตัว

15. โอเวอร์โหลดรีเลย์

จานวน 1 ตัว

26 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

2. ลาดับการปฏิบัติงาน ระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตรวจเช็คอุปกรณ์

คาอธิบาย

ข้อควรระวัง

ตรวจเช็คอุปกรณ์แต่ละตัว จากนั้น

ให้ครูฝึกตรวจความพร้อมของ

ติดตั้งอุปกรณ์ลงตู้ควบคุม

อุปกรณ์และความพร้อมของวงจร ก่อนจ่ายกระแสไฟฟ้าทุกครั้ง ป้องกันอันตรายที่อาจทาให้ เสียชีวิตได้

2. ต่อวงจรกาลัง

เริ่มต่อวงจรกาลัง

27 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. ต่อสายไฟ 3 เฟส เข้าฟิวส์วงจรกาลัง

คาอธิบาย ต่อสาย L1 L2 และ L3 เข้ากับ Main Fuse (F1)

4. เดินสายจากเมนฟิวส์ เข้าเมนคอนแทค

จาก Main Fuse (F1) ต่อเข้ากับ

ของแมคเนติก (K1)

Main Contact (K1)

28 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

5. จากขั้วเมนคอนแทคของแมคเนติกต่อ

จากขั้ว Main Contact (K1)

เข้าเมนคอนแทคของโอเวอร์โหลดรีเลย์

ต่อเข้ากับ Main Contact ของโอเวอร์โหลดรีเลย์

6. จากโอเวอร์โหลดรีเลย์ต่อเข้าเทอร์มินอล จากโอเวอร์โหลดรีเลย์ต่อเข้ากับ เทอร์มินอล U V และ W

29 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

7. เริ่มต่อวงจรควบคุม

เริ่มต่อวงจรควบคุม

8. ต่อสายไฟ L1 จากเทอร์มินอล เข้า

ต่อสาย L1 จากเทอร์มินอล

Control Fuse

เข้า Control Fuse (F2)

30 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

9. เดินสายจาก Control Fuse เข้า

จาก Control Fuse (F2) ต่อเข้ากับ

หน้าสัมผัส โอเวอร์โหลด

หน้าสัมผัส N.C ของโอเวอร์โหลดรีเลย์

10. จากหน้าสัมผัสโอเวอร์โหลด ต่อเข้า

จากหน้าสัมผัส N.C

สวิตช์ Stop

ของโอเวอร์โหลดรีเลย์ ต่อเข้ากับ Switch Stop (S1)

31 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

11. จากสวิตช์ Stop ต่อเข้า Switch Start

แ ล ะ จ า ก Switch Stop ( S1) ต่อเข้ากับ Switch Start (S2)

12. เดินสายจาก Switch Start ต่อเข้า

จาก Switch Start (S2) ต่อเข้ากับ

แมคเนติกคอนแทคเตอร์ และ

คอยล์แมกเนติก (ขั้ว A1) และจาก

เทอร์มินอลนิวทรัล

คอยล์แมกเนติก (ขั้ว A2) ต่อเข้ากับ เทอร์มินอลนิวทรัล

32 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

13. จากหน้าสัมผัสช่วย ต่อเข้า

จากหน้าสัมผัสช่วย (K1) ต่อเข้ากับ

Switch Stop

Switch Stop (S1)

14. เดินสายจากหน้าสัมผัสช่วย

ต่อจากด้านท้ายของหน้าสัมผัสช่วย

เข้าแมคเนติกคอนแทคเตอร์

เข้ากับคอยล์แมกเนติก (ขั้ว A1)

33 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

15. ต่อหลอดไฟ H1 เข้า

หลอดไฟ H1 ต่อเข้ากับ

แมคเนติกคอนแทคเตอร์ และอีกด้าน

คอยล์แมกเนติก (ขั้ว A1) และ

ของหลอดไฟ ต่อเข้าสายนิวทรัลที่เทอร์มินอล

อีกทางขั้วด้านหนึ่งของหลอดไฟ H1 ต่อเข้ากับ สายนิวทรัลที่เทอร์มินอล

34 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

16. เดินสายจากหลอดไฟ H2 เข้า

จากขั้ ว ด้ า นหนึ่ ง ของหลอดไฟ H2

หน้าสัมผัสของ โอเวอร์โหลดรีเลย์ และอีก

ต่อเข้ากับหน้าสัมผัสปกติเปิดของ

ด้านต่อเข้าสายนิวทรัลที่เทอร์มินอล

โอเวอร์โหลดรีเลย์ และขั้วด้านหนึ่ง ของหลอดไฟ H2 ต่อเข้ากับ สายนิวทรัลที่เทอร์มินอล

35 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 17. ทดสอบการทางานของวงจร

คาอธิบาย ทดสอบการทางานของวงจรหลังต่อ มอเตอร์ ค อมเพรสเซอร์ 3 เฟส เสร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว โดยกดสวิ ตช์ S2 คอยล์แมคเนติกทางาน หลอด แ ส ด ง ผ ล H1 ติ ด ม อ เ ต อ ร์ คอมเพรสเซอร์หมุน จากนั้นกดปุ่ม สวิตช์ S1 คอยล์แมคเนติกไม่ทางาน หลอดแสดงผล H1 ดั บ มอเอตร์ คอมเพรสเซอร์หยุดหมุน นอกจากนี้ ในขณะที่ ม อเตอร์ ค อมเพรสเซอร์ ก า ลั ง ท า ง า น ใ ห้ ก ด ปุ่ ม Test Overload หลอด H2 จะติ ด และ มอเตอร์ ค อมเพรสเซอร์ จ ะหยุ ด ทางาน

36 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑ์การพิจารณา

เดินสายไฟฟ้า ระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 1.1. ความถูกต้องของวงจร - วงจรกาลัง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

- วงจรควบคุม

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 การเดินสายตู้ควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า

2

- การใช้ขนาดสายวงจรกาลัง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

- การใช้ขนาดสายวงจรควบคุม

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

- การใช้โค้ดสีของสายวงจรกาลัง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

- การใช้โค้ดสีของสายวงจรควบคุม

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

- การใช้หางปลาเข้าขั้วต่อสายอุปกรณ์

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

- ความสวยงาม

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ปฏิบัติงาน

37 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ลาดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน

การปฏิบัติงาน

คะแนนเต็ม 24

1.1 ความถูกต้องของวงจร - วงจรกาลัง

- ว ง จ ร ท า ง า น ถู ก ต้ อ ง ม อ เ ต อ ร์ ไ ฟ ฟ้ า ท า ง า น ถู ก ต้ อ ง

5

ให้คะแนน 5 คะแนน - วงจรไฟฟ้าทางานไม่ถูกต้อง มอเตอร์ไฟฟ้าไม่ทางาน หรือ เกิดการ ลัดวงจร ให้คะแนน 0 คะแนน - วงจรควบคุม

- วงจรทางานถูกต้อง มอเตอร์ไฟฟ้าทางานถูกต้อง ให้คะแนน 5 คะแนน

5

- วงจรไฟฟ้าทางานไม่ถูกต้อง มอเตอร์ไฟฟ้าไม่ทางาน หรือ เกิดการลัดวงจร ให้คะแนน 0 คะแนน 1.2 การเดินสายตู้ควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า - การใช้ขนาดสายวงจรกาลัง

- ถูกต้องตามที่กาหนด ให้คะแนน 2 คะแนน

2

- ผิดไปจากที่กาหนด ให้คะแนน 0 คะแนน - การใช้ขนาดสายวงจรควบคุม

- ถูกต้องตามที่กาหนด ให้คะแนน 2 คะแนน

2

- ผิดไปจากที่กาหนด ให้คะแนน 0 คะแนน - การใช้โค้ดสีของสายวงจรกาลัง

- โค้ดสีถูกต้องตามที่กาหนด ให้คะแนน 2 คะแนน

2

- โค้ดสีผิดไปจากที่กาหนด ให้คะแนน 0 คะแนน - การใช้โค้ดสีของสายวงจรควบคุม

- โค้ดสีถูกต้องตามที่กาหนด ให้คะแนน 2 คะแนน - โค้ดสีผิดไปจากที่กาหนด ให้คะแนน 0 คะแนน

2

- การใช้หางปลาเข้าขั้วต่อสายอุปกรณ์

- ขนาดของหางปลาเหมาะสมกับ ขนาดของสายไฟ หางปลายึดกับ

3

อุ ป กรณ์ แ ข็ ง แรง ฉนวนสายอยู่ ใ นหางปลา (ทองแดงไม่ โ ผล่ ) ให้คะแนน 3 คะแนน - ขนาดของหางปลาไม่เหมาะสมกับขนาดของสายไฟ หางปลาไม่ยึดกับ อุปกรณ์ ฉนวนสายไม่อยู่ในหางปลา (ทองแดงโผล่) ตัดคะแนนจุดละ 1 คะแนน - ความสวยงาม

สายไฟฟ้าโค้งงอสวยงาม เมื่อเดินสายระหว่างรางกับขั้วต่อสายของ อุปกรณ์พิจารณาช่วงคะแนนต่อไปนี้ - สวยงาม เป็นระเบียบ ร้อยเรียงเป็นริ้ว ให้คะแนน 3 คะแนน - สวยงาม ร้อยเรียง เป็นริ้วยึดติดไม่แข็งแรง ให้คะแนน 2 คะแนน - สวยงาม แต่ไม่ร้อยเรียงเป็นริ้วที่ดี ยึดติดไม่แข็งแรง ให้คะแนน 1 คะแนน

38 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได้


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2 ลาดับที่ 2

รายการประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน

คะแนนเต็ม

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ้วน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

1

2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

คะแนนที่ได้

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

1

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

29

หมายเหตุ หากผู้เข้ารับการฝึกได้รับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70) ให้ผู้เข้ารับการฝึก ขอเข้ารับการทดสอบภาคปฏิบัติได้

39 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 2 0921720702 วงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายวงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟสได้ 2. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟสได้

2. หัวข้อสาคัญ - วงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ

3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

40 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ผู้รับการฝึกอ่านและทาความเข้าใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑ์การวัด และประเมินผลงาน 5. ผู้รับการฝึกเข้ารับการฝึกที่ศูนย์ฝึกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว้ 6. ผู้รับการฝึกอ่านระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝึกของหน่วยฝึก 7. ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผู้รับการฝึกปฏิบัติงานตามใบงาน แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจประเมินผล 9. ผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึกกับครูฝึก

6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจน เข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้ รั บ การฝึ กส่ งแบบทดสอบหลั ง ฝึก ให้ ครูฝึ กหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้ห ลักเกณฑ์เดียวกับการ ประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3. ผู้รับการฝึกส่งผลงานในการฝึกภาคปฏิบัติให้ครูฝึกตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ ครูฝึกกาหนดได้

7. บรรณานุกรม ฉัตรชาญ ทองจับ. 2557. เครื่องทาความเย็นและปรับอากาศ. ปทุมธานี : สกายบุ๊กส์

41 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ดารง หิรัญยะพรรณ์. 2545. ระบบไฟฟ้า. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.nectec.or.th/schoolnet/library/create-web/10000/technology/10000-6555.html

42 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 2 วงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน เนื่องจากมีการติดตั้งและการบารุงรักษาที่สะดวก ความเข้าใจเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าภายในเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน จึงเป็นข้อมูลสาคัญสาหรับช่างเครื่องปรับอากาศ อย่างมาก เพื่อให้ทราบหลักการทางาน ทาให้สามารถวิเคราะห์ถึงสาเหตุที่เครื่องปรับอากาศชารุด และซ่อมแซมได้ตรงจุด ซึ่งความรู้เบื้องต้นนี้ จะช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการซ่อมบารุงได้ วงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน จะมีวงจรไฟฟ้าแยกออกเป็น 2 ส่วนตามตาแหน่งที่ติดตั้ง ได้แก่ ชุดคอยล์เย็น ซึ่งติดตั้งอยู่ภายในอาคาร และชุดคอยล์ร้อน ซึ่งติดตั้งอยู่ภายนอกอาคาร โดยแต่ละส่วนมีรายละเอียดของอุปกรณ์และ การต่อวงจรภายใน ดังนี้ 1. วงจรไฟฟ้าชุดคอยล์ร้อน วงจรไฟฟ้ าชุ ดคอยล์ ร้ อนเริ่ มจาก สายไฟฟ้ าระบบ 3 เฟส ที่ เชื่ อมต่ อเข้ ากั บเครื่ องปรั บอากาศที่ มี มอเตอร์ 3 เฟส ซึ่ง สามารถต่อ ขั้ว เข้า ด้ว ยกัน ได้โ ดยไม่จาเป็น ต้ อ งเรีย งตามลาดับ ขั้ว นอกจากนี้ใ นชุด คอยล์ร้อ นยั ง ประกอบไปด้ ว ย มอเตอร์ พั ด ลมระบายความร้อ นของคอยล์ร ้อ น โดยที ่ช ุด ของพัด ลมระบายความร้อ นจะมีส วิต ช์ค วบคุม ความดัน และคาปาซิเ ตอร์ จากนั ้น เชื ่อ มต่อ กับ แมคเนติก คอนแทคเตอร์ ซึ ่ง ต่อ อยู ่ก ับ สวิต ช์ค วบคุม ด้า นความดัน ต่ า โดยแมคเนติกคอนแทคเตอร์ มีหน้าที่ต่อวงจรเพื่อให้ กระแสไฟฟ้าไหลผ่ านไปสู่ คอมเพรสเซอร์และพัดลมคอยล์ร้อน 2. วงจรไฟฟ้าชุดคอยล์เย็น วงจรไฟฟ้าในชุดคอยล์เย็นจะประกอบด้วย ขั้วพักสายและซีเล็กเตอร์สวิตช์จะต่อเข้ากับมอเตอร์พัดลมแบบ 3 เฟส ที่มี ความเร็วรอบช้า ปานกลาง และสูง โดยใช้การต่อไฟฟ้าเพียง 1 เฟส (220 โวลต์) ให้แก่มอเตอร์พัดลม ซึ่งมีหน้าที่ดูดเป่า อากาศจากภายในห้อง ผ่านคอยล์เย็น โดยมีเทอร์โมสตัทควบคุมการทางานเพื่อปรับอุณหภูมิภายในห้อง เมื่ออุณหภูมิเท่ากับ ที่ตั้งค่าไว้ ระบบจะตัดการทางานที่คอมเพรสเซอร์และพัดลมคอยล์ร้อน ในขณะที่พัดลมคอยล์เย็นยังทางานต่อไป ซึ่ง พัดลม ในชุดคอยล์เย็นจะมีรีเลย์ทาหน้าที่ป้องกันการหยุดการทางานกะทันหัน

43 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ภาพที่ 2.1 วงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน โดย

COMP = Compressor OFM = Outdoor Fan Motor LPS

= Low Pressure Switch

C1

= Contactor = Terminal Block

CT

= Cooling Thermostat

CC

= Cooling Compensator

IFR

= Indoor Fan Relay

OFMC = Outdoor Fan Motor Capacitor

44 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. แมคเนติกคอนแทคเตอร์ติดตั้งอยู่ในส่วนใดของวงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ ก. กล่องควบคุม ข. รีโมทควบคุม ค. คอยล์ร้อน ง. คอยล์เย็น 2. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับการต่อวงจรไฟฟ้าชุดคอยล์ร้อนในระบบ 3 เฟส ก. สามารถต่อสายไฟขั้วเข้าด้วยกันได้โดยไม่จาเป็นต้องเรียงตามลาดับขั้ว ข. มีเทอร์โมสตัทควบคุมการทางาน ค. ใช้ไฟฟ้าเพียง 1 เฟส ง. ใช้มอเตอร์ 1 เฟส 3. เทอร์โมสตัทติดตั้งอยู่ในส่วนใดของวงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ ก. ส่วนใดก็ได้ในคอยล์ร้อน ข. คอมเพรสเซอร์ ค. คาปาซิเตอร์ ง. คอยล์เย็น

45 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

กระดาษคาตอบ ข้อ

1 2 3

46 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 2.1 วงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศที่ใช้ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศ ระบบ 3 เฟสได้

2. ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง

3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกตรวจซ่อมเครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่ ที่ใช้ไฟฟ้า 3 เฟส

แบบต่อวงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศที่ใช้ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 47 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 วงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศที่ใช้ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้าวาง กีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. ไขควงแฉก

จานวน 1 ตัว

2. ไขควงแบน

จานวน 1 ตัว

3. คีมตัด

จานวน 1 ตัว

4. คีมย้าหางปลา

จานวน 1 ตัว

5. เครื่องปรับอากาศ 48,000 BTU (3 Phase)

จานวน 1 เครื่อง

6. มัลติมิเตอร์

จานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. เทปพันสายไฟ

จานวน 1 เส้น

2. เทอร์มินอล

จานวน 1 ชุด 48 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

3. สายไฟ IEC 02 ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร สีน้าตาล ความยาว

10 เมตร

จานวน 1 เส้น

4. สายไฟ IEC 02 ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร สีฟ้า ความยาว 5 เมตร

จานวน 1 เส้น

5. สายไฟ IEC 02 ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร สีดา ความยาว 10 เมตร

จานวน 1 เส้น

6. สายไฟ IEC 02 ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร สีเทา ความยาว 10 เมตร

จานวน 1 เส้น

7. สายไฟ IEC 02 ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร สีน้าตาล ความยาว

10 เมตร

จานวน 1 เส้น

8. หางปลาแฉก ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร สีแดง

จานวน 20 ตัว

9. หางปลาแฉก ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร สีแดง

จานวน 15 ตัว

10. หางเสียบตรงตัวเมีย ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร สีฟ้า

จานวน 15 ตัว

49 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

2. ลาดับการปฏิบัติงาน วงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศที่ใช้ระบบไฟฟ้า 3 เฟส ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ต่อวงจรคอนเดนซิ่งยูนิต

คาอธิบาย ต่อวงจรชุดคอนเดนซิ่งยูนิต

ข้อควรระวัง ให้ครูฝึกตรวจความพร้อมของ อุปกรณ์และความพร้อมของวงจร ก่อนจ่ายกระแสไฟฟ้าทุกครั้ง ป้องกันอันตรายที่อาจทาให้ เสียชีวิตได้

2. ต่อสาย R,S,T,N จากเมนเข้าเทอร์มินอล

นาระบบไฟฟ้า 3 เฟส R,S,T,N จาก เมนเข้าเทอร์มินอล

3. ต่อสาย R,S,T จากเทอร์มินอลเข้าสู่

ต่อสายเฟส R,S,T จากเทอร์มินอล

แมคเนติกคอนแทคเตอร์

เข้าหน้าสัมผัสหลักของ แมคเนติกคอนแทคเตอร์ (2,4,6,)

50 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

4. ต่อสาย R,S,T จากแมคเนติกคอนแทค

ต่อสายเฟส R,S,T จากหน้าสัมผัส

เตอร์เข้าขั้วคอมเพรสเซอร์

หลักของแมคเนติกคอนแทคเตอร์ (1,3,5) เข้าขั้วคอมเพรสเซอร์ 3 เฟส

5. ต่อสาย T จากแมคเนติกคอนแทคเตอร์

ต่อสายเฟส T จากหน้าสั มผั ส ของ

เข้าพัดลมระบายความร้อนและต่อตัวเก็บ

แมคเนติ ก ค อน แท คเ ต อร์ (5)

ประจุ

เข้ า กั บ พั ด ลมระบายความร้ อ น ที่คอยล์ ร้อน และต่อตัว เก็บ ประจุ เข้ากับมอเตอร์พัดลมด้วย

6. ต่อสายไฟจากเทอร์มินอลเข้ากับ LPS

ต่อสายไฟจากเทอร์มินอล (ที่ติดตั้ง D)

และต่อไปยัง HPS แบบอนุกรม จากนั้น

เข้ า กั บ LPS และต่ อ LPS อนุ ก รม

ต่อเนื่องไปยังคอยล์ของแมคเนติก โดย A1

กั บ HPS และจากHPS ต่ อ ไปยั ง

และต่อกับ A2 เข้ากับนิวทรัล

คอยล์ของแมคเนติก A1 และต่อกับ A2 เข้ากับนิวทรัล

51 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

7.ต่อวงจรแฟนคอยล์ยูนิต

ต่อวงจรชุดแฟนคอยล์ยูนิต

8.ต่อสาย T และ N เข้ากล่องควบคุม

ต่ อ สายเฟส T และ N เข้ า ไปยั ง กล่องควบคุมโดย T เข้าที่จุด F และ N เข้าที่คอยล์ของ IFR

9.ต่อสายกล่องควบคุมที่จุด D แล้วเดินสาย ต่อสายจากกล่องควบคุมที่ตาแหน่ง ไปเทอร์มินอลในฝั่งคอยล์ร้อน

D ภายในคอยล์เย็นแล้วเดินสายไป ที่เทอร์มินอล (ตาแหน่ง D) ที่ คอยล์ร้อน

52 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

10. เปิดเครื่องปรับอากาศและสังเกต

ทดลองเปิดเครื่องปรับอากาศ

การทางาน

และสั งเกตการทางาน ของชุดคอนเดนซิ่งยูนิต และชุดแฟนคอยล์ ยูนิต

11. ส่งชิ้นงาน

ส่งชิ้นงานเพื่อรับการประเมิน

53 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑ์การพิจารณา

วงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศที่ใช้ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 1.1 ต่อวงจรคอนเดนซิ่งยูนิตได้ถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 ต่อวงจรแฟนคอยล์ยูนิตได้ถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 ย้าหางปลาเข้าสายอุปกรณ์และเทอร์มินอล

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ปฏิบัติงาน

54 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ลาดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 ต่อวงจรคอนเดนซิ่งยูนิตได้ถูกต้อง

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได้

15 - วงจรท างานถู ก ต้ อ ง อุ ป กรณ์ ภ ายในวงจรท างา นถู ก ต้ อ ง

5

ให้คะแนน 5 คะแนน - วงจรไฟฟ้าทางานไม่ถูกต้อง อุปกรณ์ภายในวงจรไม่ทางาน หรือ เกิด การลัดวงจร ให้คะแนน 0 คะแนน 1.2 ต่อวงจรแฟนคอยล์ยูนิตได้ถูกต้อง

- วงจรท างานถู ก ต้ อ ง อุ ป กรณ์ ภ ายในวงจรท างา นถู ก ต้ อ ง ให้คะแนน 5 คะแนน

5

- วงจรไฟฟ้าทางานไม่ถูกต้อง อุปกรณ์ภายในวงจรไม่ทางาน หรือ เกิด การลัดวงจร ให้คะแนน 0 คะแนน 1.3 ย้าหางปลาเข้าสายอุปกรณ์และเทอร์มินอล

- ขนาดของหางปลาเหมาะสมกับ ขนาดของสายไฟ หางปลายึดกับ

5

อุ ป กรณ์ แ ข็ ง แรง ฉนวนสายอยู่ ใ นหางปลา (ทองแดงไม่ โ ผล่ ) ให้คะแนน 5 คะแนน - ขนาดของหางปลาไม่เหมาะสมกับขนาดของสายไฟ หางปลาไม่ยึดกับ อุปกรณ์ ฉนวนสายไม่อยู่ในหางปลา (ทองแดงโผล่) ตัดคะแนนจุดละ 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ้วน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

1

2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 20

หมายเหตุ หากผู้เข้ารับการฝึกได้รับคะแนน 14 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70) ให้ผู้เข้ารับการฝึก ขอเข้ารับการทดสอบภาคปฏิบัติได้

55 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 3 0921720703 อุปกรณ์ป้องกันในระบบไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายหน้าที่และหลักการทางานของอุปกรณ์ป้องกันในระบบไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศระบบไฟฟ้า 3 เฟส ได้ 2. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันในระบบไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศระบบไฟฟ้า 3 เฟส ได้

2. หัวข้อสาคัญ - อุปกรณ์ป้องกันเฟส

3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

56 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ผู้รับการฝึกอ่านและทาความเข้าใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑ์การวัด และประเมินผลงาน 5. ผู้รับการฝึกเข้ารับการฝึกที่ศูนย์ฝึกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว้ 6. ผู้รับการฝึกอ่านระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝึกของหน่วยฝึก 7. ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผู้รับการฝึกปฏิบัติงานตามใบงาน แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจประเมินผล 9. ผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึกกับครูฝึก

6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจน เข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการ ประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3. ผู้รับการฝึกส่งผลงานในการฝึกภาคปฏิบัติให้ครูฝึกตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ ครูฝึกกาหนดได้

7. บรรณานุกรม อินทิเกรท โซลูชั่น วัน. 2560. Digital Phase Protector. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.isone.co.th/product.php?pid=13 57 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

เอสเอ็นพี เพาเวอร์. 2558. เฟส โปรเทคเตอร์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.snppower.com/product/1044475/เฟส-โปรเทคเตอร์.html

58 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 3 อุปกรณ์ป้องกันเฟส อุปกรณ์ป้องกันเฟส (Phase Protection) เป็นอุปกรณ์ป้องกันระบบดิจิตอลเพาเวอร์อิ เล็กทรอนิกส์ ที่ถูกพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง สาหรับการตรวจสอบ และป้องกันแรงดันกระแสสลับในระบบ 3 เฟส 4 สาย ที่มีประสิทธิภาพ และมีความแม่นยา สูงในการทางาน โดยมีคุณสมบัติการตรวจสอบ การสลับเฟส ไฟตก ไฟเกิน แรงดันไฟฟ้าไม่สมดุล ไฟขาดเฟส ใช้ตรวจเช็ค ความผิดปกติของระดับแรงดันลดหรือเพิ่มเกินกว่าเปอร์เซ็นต์ที่ตั้งไว้ วงจรหน่วงเริ่มนับเวลาหน่วงตัด (Delay off) เมื่อครบ ตามที่ ตั้ ง ไว้ รี เ ลย์ จ ะตั ด วงจรอยู่ ใ นสภาวะ De-energize (N/C) และรี เ ลย์ จ ะต่ อ วงจรการท างาน Energize (N/O) โดยอั ต โนมั ติ เ มื่ อ แรงดั น ไฟฟ้ า กลั บ มาสู่ ส ภาวะปกติ ผ่ า นเปอร์ เ ซ็ น ต์ ที่ ตั้ ง ไว้ บ วกด้ ว ยค่ า Differential (Hysteresis) โดยจะตัด วงจรโดยอัต โนมัติ รีเ ลย์อ ยู ่ใ นสภาวะ De-energize (N/C) เมื่อ เกิด ความผิด ปกติข องแรงดัน เพื่อ ป้อ งกัน มอเตอร์เสียหาย LED จะโชว์สภาวะความผิดปกติของแรงดัน อุปกรณ์ป้องกันเฟสมีหลักการทางาน ดังนี้ 1) Over Voltage (OV) ทางานเมื่อแรงดันไฟฟ้าเพิ่มขึ้นทั้ง 3 เฟส มากกว่า 20% 2) Under Voltage (UV) ทางานเมื่อแรงดันไฟฟ้าลดลงพร้อมกันทั้ง 3 เฟส อุปกรณ์จะตัดวงจรทันที สามารถ ปรับแต่งเปอร์เซ็นต์ได้ 0 – 20% 3) Unbalance Voltage (UB) ทางานเมื่อ แรงดัน ไฟฟ้า ทั้ง 3 เฟสมาไม่เ ท่า กัน หรือ มาไม่ค รบเฟส จากแหล่งจ่าย สามารถปรับแต่งเปอร์เซ็นต์ได้ 0 – 20% 4) Time Delay (Time) ทาหน้ าที่ห น่ว งเวลา เมื่อเกิดเฟสผิ ด พลาด และเริ่มต้นใหม่ สามารถปรับ ตั้ ง ค่ า ได้ 1-5 วินาที จากวงจรด้านรับไฟของอุปกรณ์ป้องกันเฟสคือ ขั้ว L1, L2, L3 และมีหน้าสัมผัสที่จะนาไปใช้งาน 2 ชุด คือ ชุดที่ 1 คือ ขั้ว 11, 12, 14 โดยที่ขั้ว 11 และ 12 มีหน้าสัมผัสต่อถึงกันและขั้ว 11 และ 14 หน้าสัมผัสจะไม่ถึงกัน ชุดที่ 2 คือ ขั้ว 21, 22, 24 โดยที่ขั้ว 21 และ 22 หน้าสัมผัสจะต่อถึงกัน และขั้วที่ 21 และ 24 หน้าสัมผัสจะไม่ต่อถึงกัน จากวงจรเมื่อจ่ายไฟฟ้า 3 เฟส เข้าที่ขั้ว L1, L2, L3 ตามลาดับ จะทาให้สถานะของหน้าสัมผัสทั้ง 2 ชุด ทางาน ตรงกันข้ามกับสภาวะที่ยังไม่ได้จ่ายไฟฟ้าเข้าอุปกรณ์ควบคุม คือ - ขั้ว 11 และ 12 จากเดิมหน้าสัมผัสปิดอยู่ หน้าสัมผัสจะเปิดออก ขั้ว 11 และ 14 จากเดิมหน้าสัมผัสที่เปิดอยู่ก็จะปิด - ขั้ว 21 และ 22 จากเดิมหน้าสัมผัสปิดอยู่ หน้าสัมผัสจะเปิดออก ขั้ว 21 และ 24 จากเดิมหน้าสัมผัสที่เปิดอยู่ก็จะปิด จากการทางานดังกล่าวจึงนาหน้าสัมผัสของ Phase Protection ไปใช้ในการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า3 เฟส และใช้ในการควบคุม เครื่องปรับอากาศที่คอมเพรสเซอร์ใช้ไฟฟ้า 3 เฟส 59 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

เมื่ อ สวิ ต ช์ ค วบคุ ม เครื่ อ งปรั บ อากาศ กระแสไฟจะไหลผ่ า นหน้ า สั ม ผั ส ของเ ทอร์ โ มสตั ท และหน้ า สั ม ผั ส ของ Phase Protection รวมทั้งอุปกรณ์ควบคุมความดันทั้งด้านสูง และด้านต่าไหลเข้าสู่ขดลวดของแมคเนติกคอนแทคเตอร์ ทาให้หน้าสัมผัสของแมคเนติคทางาน กระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายจึงไหลเข้าสู่คอมเพรสเซอร์ ในกรณีที่ร ะบบไฟฟ้า เกิ ดความผิ ดปกติ ขึ้น เช่น ระบบไฟฟ้ามาไม่ ครบเฟส แรงดันต่าเกินหรือสู งเกินค่ าที่ตั้ ง ไว้ ที่ Phase Protection จะตัดกระแสไฟฟ้าไม่ให้ไหลผ่าน Phase Protection ทาให้มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ไม่สามารถทางาน ได้ซึ่งเป็นการป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับคอมเพรสเซอร์ได้

ภาพที่ 3.1 ส่วนประกอบของอุปกรณ์ป้องกันเฟส

ภาพที่ 3.2 การต่ออุปกรณ์ป้องกันเฟสในวงจร

60 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. อุปกรณ์ป้องกันเฟสมีความสาคัญอย่างไร ก. ป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับมอเตอร์เมื่อกระแสไฟตก เกิน หรือไม่สมดุล ข. ป้องกันและควบคุมอุณหภูมิ ค. ควบคุมกระแสไฟแรงสูง ง. แปลงไฟให้เหมาะกับเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน 2. Over Voltage มีหลักการทางานอย่างไร ก. ทางานเมื่อกดปุ่ม ข. ทางานเมื่อแรงดันไฟฟ้าลดลงพร้อมกันทั้ง 3 เฟส ค. ทางานเมื่อแรงดันไฟฟ้าเพิ่มขึ้นทั้ง 3 เฟส มากกว่า 20% ง. ทางานเมื่อมอเตอร์ไหม้ 3. “ทางานเมื่อแรงดันไฟฟ้าทั้ง 3 เฟสมาไม่เท่ากัน หรือมาไม่ครบเฟสจากแหล่งจ่าย สามารถปรับแต่งเปอร์เซ็นต์ได้ 0 – 20%” จากประโยคข้างต้นเป็นหลักการทางานของอุปกรณ์ป้องกันเฟสใด ก. Time Delay ข. Unbalance Voltage ค. Over Voltage ง. Under Voltage

61 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

กระดาษคาตอบ ข้อ

1 2 3

62 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 3.1 การต่อ Phase Protection ในชุด Condensing Unit ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติงานเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันในระบบไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟส ได้

2. ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงานรวม 4 ชั่วโมง

3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกต่อวงจร Phase Protection เข้ากับเครื่องปรับอากาศ

การต่อ Phase Protection ในชุด Condensing Unit 63 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ตารางบันทึกผล ต่อวงจร Phase Protection เข้ากับชุด

แรงดันไฟฟ้าที่วัดได้ R-S

S-T

T-R

R-N

การทางานของอุปกรณ์ S-N

Condensing Unit ต่อวงจรครบตามใบงาน ปลดสายเฟส T ออกจาก Phase Protection 1 เส้น

64 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

T-N

คอมเพรสเซอร์ พัดลมคอยล์เย็น


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.1 การต่อ Phase Protection ในชุด Condensing Unit ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้า วางกีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. Phase Protection

จานวน 1 ตัว

2. ไขควงแฉก

จานวน 1 ตัว

3. ไขควงเช็คไฟ

จานวน 1 ตัว

4. ไขควงแบน

จานวน 1 ตัว

5. คอนเดนซิ่งยูนิตเครื่องปรับอากาศ ชนิด 3 เฟส

จานวน 1 ตัว

6. คีมตัด

จานวน 1 ตัว

7. คีมย้าหางปลา

จานวน 1 ตัว

8. เซอร์กิตเบรกเกอร์ 3 เฟส 20 แอมป์

จานวน 1 ตัว

9. มัลติมิเตอร์

จานวน 1 ตัว 65 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. เทปพันสายไฟ

จานวน 1 ม้วน

2. สายไฟ IEC 02 ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร สีน้าตาล ความยาว 1 เมตร

จานวน 1 เส้น

3. สายไฟ IEC 02 ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร สีดา ความยาว 1 เมตร

จานวน 1 เส้น

4. สายไฟ IEC 02 ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร สีเทา ความยาว 1 เมตร

จานวน 1 เส้น

5. สายไฟ IEC 02 ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร สีน้าตาล ความยาว 1 เมตร

จานวน 1 เส้น

6. หางแบบเสียบตรง ตัวเมีย ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร สีฟ้า

จานวน 10 ตัว

7. หางปลาแฉก ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร สีแดง

จานวน 10 ตัว

66 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

2. ลาดับการปฏิบัติงาน การต่อ Phase Protection ในชุด Condensing Unit ระบบไฟฟ้า 3 เฟส ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

ข้อควรระวัง

1.ต่อ Phase Protection เข้ากับ

ต่ อ Phase Protection เข้ า กั บ ชุ ด ให้ ค รู ฝึ ก ตรวจความพร้ อ มของ

Condensing Unit

Condensing Unit ตามใบงาน

อุปกรณ์และความพร้อมของวงจร ก่ อ นจ่ า ยกระแสไฟฟ้ า ทุ ก ครั้ ง ป้ อ ง กั น อั น ต ร า ย ที่ อ า จ ท า ใ ห้ เสียชีวิตได้

2. ON เซอร์กิตเบรกเกอร์แล้ววัด

ON เซอร์ กิ ต เบรกเกอร์ แ ล้ ว ใช้

แรงดันไฟฟ้าจากนั้นบันทึกผล

มัลติมิเตอร์วัดแรงดันไฟฟ้าระหว่าง R-S, S-T, T-R, R-N, S-N, T-N แล้ว บันทึกผล

67 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

3. สังเกตและบันทึกผลการทางานของ

สังเกตการทางานของ

คอมเพรสเซอร์และพัดลมคอยล์ร้อน

คอมเพรสเซอร์และพัดลม คอยล์ร้อนแล้วบันทึกผล

4.ปลดสายไฟออกจาก Phase Protection ปลดสายเฟสใดเฟสหนึ่ ง ออกจาก แล้ว ON เซอร์กิตเบรกเกอร์

Phase Protection แล้ว ON เซอร์กิตเบรกเกอร์ อีกครั้งหนึ่ง

68 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

5. สังเกตและบันทึกผลการทางานของ

สังเกตการทางานของคอมเพรสเซอร์

คอมเพรสเซอร์และพัดลมคอยล์ร้อน

และพัดลมคอยล์ร้อนแล้วบันทึกผล

69 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่

รายการตรวจสอบ

เกณฑ์การพิจารณา

1

ต่อ Phase Protection ในชุด Condensing Unit ระบบไฟฟ้า 3 เฟส

2

1.1 ต่ออุปกรณ์ได้ถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 วัดค่าแรงดันไฟฟ้าได้ถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 ทดสอบการทางานของอุปกรณ์ และบันทึกข้อมูลได้ถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 การย้าหางปลาและเข้าสายอุปกรณ์

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ปฏิบัติงาน

70 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ลาดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 ต่ออุปกรณ์ได้ถูกต้อง

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได้

20 - วงจรทางานถูกต้อง อุปกรณ์ภายในวงจรทางานถูกต้อง

5

ให้คะแนน 5 คะแนน - วงจรไฟฟ้าทางานไม่ถูกต้อง อุปกรณ์ภายในวงจรไม่ทางาน หรือ เกิด การลัดวงจร ให้คะแนน 0 คะแนน 1.2 วัดค่าแรงดันไฟฟ้าได้ถูกต้อง

- วัด และอ่านค่าแรงดันไฟฟ้าได้ถูกต้อง ให้คะแนน 5 คะแนน

5

- วัดและอ่านค่าแรงดันไฟฟ้าขาดหรือเกิน 1-2 หน่วย ให้คะแนน 3 คะแนน - วัด และอ่านค่าแรงดันฟ้าขาดหรือเกินตั้งแต่ 3 หน่วย ให้คะแนน 1 คะแนน 1.3 ทดสอบการทางานของอุปกรณ์ ละบันทึก

- ทดสอบการทางาน และบันทึกข้อมูลได้ถูกต้อง ให้คะแนน 5 คะแนน

ข้อมูลได้ถูกต้อง

- ทดสอบการทางาน และบันทึกข้อมูลผิด ตัดคะแนน จุดละ 3 คะแนน

1.4 การย้าหางปลาและเข้าสายอุปกรณ์

- ขนาดของหางปลาเหมาะสมกับขนาดของสายไฟ หางปลายึดกับ อุปกรณ์แข็งแรง ฉนวนสายอยู่ในหางปลา (ทองแดงไม่โผล่)

5 5

ให้คะแนน 5 คะแนน - ขนาดของหางปลาไม่เหมาะสมกับขนาดของสายไฟ หางปลาไม่ยึดกับ อุปกรณ์ ฉนวนสายไม่อยู่ในหางปลา (ทองแดงโผล่) ตัดคะแนนจุดละ 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน ครบถ้วน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

1

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

1

2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 25

หมายเหตุ หากผู้เข้ารับการฝึกได้รับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70) ให้ผู้เข้ารับการฝึก ขอเข้ารับการทดสอบภาคปฏิบัติได้ 71 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 4 0921720704 อุปกรณ์ป้องกันในระบบสารทาความเย็นในเครื่องปรับอากาศ (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายหน้าที่และหลักการทางานของอุปกรณ์ป้องกันในระบบสารทาความเย็นในเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟส ได้ 2. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันในระบบสารทาความเย็นในเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟส ได้

2. หัวข้อสาคัญ - อุปกรณ์ควบคุมแรงดัน

3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

72 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ผู้รับการฝึกอ่านและทาความเข้าใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑ์การวัด และประเมินผลงาน 5. ผู้รับการฝึกเข้ารับการฝึกที่ศูนย์ฝึกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว้ 6. ผู้รับการฝึกอ่านระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝึกของหน่วยฝึก 7. ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผู้รับการฝึกปฏิบัติงานตามใบงาน แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจประเมินผล 9. ผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึกกับครูฝึก

6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจน เข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการ ประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3. ผู้รับการฝึกส่งผลงานในการฝึกภาคปฏิบัติให้ครูฝึกตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ ครูฝึกกาหนดได้

7. บรรณานุกรม มงคล พูลโตนด. 2556. เครื่องทาความเย็น. กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือเมืองไทย เชียงใหม่แอร์แคร์เอ็นจิเนียริ่ง. 2556. อุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหล ชนิดลูกลอยด้านความดันต่า-สูง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.chiangmaiaircare.com/อุปกรณ์ควบคุมอัตราไหล-ชนิดลูกลอย-ด้านความดันต่า-สูง 73 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 4 อุปกรณ์ป้องกันในระบบสารทาความเย็นในเครื่องปรับอากาศ 1. อุปกรณ์ควบคุมแรงดัน (สวิตช์ควบคุมความดัน) สวิตช์ควบคุมความดัน เป็นอุปกรณ์ควบคุมความดันของสารทาความเย็นในเครื่องปรับอากาศ ทาหน้าที่เป็นอุปกรณ์ ป้องกันในระบบโดยหยุดการทางานของคอมเพรสเซอร์ เมื่อเกิดความผิดปกติของความดันของสารทาความเย็นในระบบ สวิตช์ควบคุมความดันสาหรับตรวจจับความดันสารทาความเย็นแบ่งได้เป็น 3 ชนิด คือ 1) สวิตช์ควบคุมความดันทางด้านสูง (High Pressure Switch) สวิตช์ควบคุมความดันทางด้านสู งจะติดอยู่ทางด้านความดันสูงของระบบ โดยมีท่อรูเข็มเชื่อมต่อความดัน ในระบบกับหน้าสัมผัสของสวิตช์ควบคุมความดัน ซึ่งสวิตช์ควบคุมความดันทางด้านสูงจะหยุดการทางานของ มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ในกรณีที่ความดันสารทาความเย็นภายในระบบสูงเกินอันเนื่องมาจากคอยล์ร้อนระบาย ความร้อนได้ไม่ดี หรือมีการเติมสารทาความเย็นภายในระบบมากเกินไป ซึ่งทั้ง 2 กรณีนี้ส่งผลให้คอมเพรสเซอร์ ทางานหนักเกินไป 2) สวิตช์ควบคุมความดันทางด้านต่า (Low Pressure Switch) สวิตช์ควบคุมความดันทางด้านต่าจะติดอยู่ทางด้านความดันต่าของระบบ โดยมีท่อรูเข็มเชื่อมต่อความดัน ในระบบกับหน้าสัมผัสของสวิตช์ควบคุมความดัน ซึ่งสวิตช์ความดันทางด้านต่า จะหยุดการทางานของมอเตอร์ คอมเพรสเซอร์ในกรณีที่ความดั นสารทาความเย็นภายในระบบต่าเกินไป อันเนื่องมาจากสารทาความเย็นรั่ว หายไป ส่งผลให้ปริมาณสารทาความเย็นทั้งระบบลดหายไป เครื่องปรับอากาศจะเกิดปัญหาไม่เย็น ทาให้เทอร์โมสตัท สั่ งงานให้ คอมเพรสเซอร์ ทางานตลอดเวลา อีกทั้งสารทาความเย็นจะเป็นตัว ช่ว ยระบายความร้ อนให้ กั บ มอเตอร์ คอมเพรสเซอร์ ดังนั้ น เมื่อ สวิตช์ ความดันต่าตรวจจับความผิ ดปกตินี้ หน้าสั มผั ส สวิตช์จะตัดวงจร ไฟเลี้ ย งขดลวดของแมคเนติ ก ให้ ม อเตอร์ ค อมเพรสเซอร์ ห ยุ ด การท างานซึ่ ง ช่ ว ยยื ด อายุ ก ารท างานของ คอมเพรสเซอร์ 3) สวิตช์ควบคุมความดันคู่ (Dual Switch) สวิตช์ควบคุมความดันแบบนี้เป็นการรวมเอาการทางานของสวิตช์ความดันสูงและสวิตช์ความดันต่ามารวมไว้ ภายในตัวเดียวกัน โดยมีท่อรูเข็มสาหรับตรวจความดันทั้ง 2 ท่อ ทั้งด้านสูงและด้านต่าและมีเบลโล 2 ชุด แยกกันตรวจจับความดันของสารทาความเย็นทางด้านความดันสูงและความดันต่าของระบบ และกลไกจาก เบลโลถูกต่อไปยังกลไกหน้าสัมผัสของสวิตช์ควบคุมความดันด้านสูงและสวิตช์ควบคุมความดันด้านต่าของระบบ ซึง่ สวิตช์ทั้งสองตัวนี้จะต่ออนุกรมกันอยู่เป็นชุดเดียวกัน 74 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. สวิตช์ควบคุมความดันทางด้านต่ามีความสาคัญอย่างไร ก. หยุดการทางานของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ในกรณีที่ความดันสารทาความเย็นภายในระบบต่าเกินไป ข. หยุดการทางานของคอยล์เย็นโดยตรงในกรณีที่ความดันสารทาความเย็นภายในระบบต่าเกินไป ค. ควบคุมการเปลี่ยนสถานะของสารทาความเย็น ง. ควบคุมกระแสไฟในคอยล์ร้อน 2. สวิตช์ควบคุมความดันคู่มีหลักการทางานอย่างไร ก. ทางานเมื่อกดปุ่ม ข. มีเบลโลตรวจจับความดัน และต่อไปหน้าสัมผัสไปโพเทนเชียลรีเลย์ ค. มีเบลโลตรวจจับความดัน และต่อไปหน้าสัมผัสสวิตช์ควบคุมความดันด้านสูงและด้านต่า ง. มีเบลโลตรวจจับความดัน และต่อไปหน้าสัมผัสไปยังขั้วคอมเพรสเซอร์ทาหน้าที่ตัดต่อวงจรเปิด –ปิด การทางาน 3. “มีการเติมสารทาความเย็นภายในระบบมากเกินไป” จากประโยคข้างต้นอุปกรณ์ควบคุมแรงดันชนิดใดจะทางาน ก. สวิตช์ควบคุมความดันทางด้านต่า ข. สวิตช์ควบคุมความดันทางด้านสูง ค. เซอร์กิตเบรกเกอร์ ง. โพเทนเชียลรีเลย์

75 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

กระดาษคาตอบ ข้อ

1 2 3

76 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 4.1 ทดสอบการทางานของอุปกรณ์ป้องกันในระบบสารทาความเย็น ในเครื่องปรับอากาศระบบไฟฟ้า 3 เฟส 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติงานเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันในระบบสารทาความเย็นในเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟส ได้

2. ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงานรวม 4 ชั่วโมง

3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทดสอบการทางานของอุปกรณ์ป้องกันในระบบสารทาความเย็น ในเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า 3 เฟส ความดันของ

ค่าความดัน

ค่าความดัน

กระแสเฟส R

กระแสเฟส S

กระแสเฟส T

เครื่องปรับอากาศ

ทางด้านต่า

ทางด้านสูง

(A)

(A)

(A)

(PSI)

(PSI)

ค่าความดันตาม เกณฑ์ ค่าความดันตาม เกณฑ์ ค่าความดันตาม เกณฑ์

77 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 4.1 ทดสอบการทางานของอุปกรณ์ป้องกันในระบบสารทาความเย็น ในเครื่องปรับอากาศระบบไฟฟ้า 3 เฟส 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้า วางกีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. แมนิโฟลด์เกจ

จานวน 1 ชุด

2. ไขควงแฉก

จานวน 1 ตัว

3. ไขควงแบน

จานวน 1 ตัว

4. คลิปแอมป์

จานวน 1 ตัว

5. เครื่องปรับอากาศระบบ 3 เฟส (มี LPS และ HPS)

จานวน 1 ตัว

6. ประแจเลื่อนขนาด 6 นิ้ว

จานวน 1 ตัว

7. มัลติมิเตอร์

จานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ

78 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. ถังน้ายา R-22

จานวน 1 ถัง

2. แบบบันทึกผล

จานวน 1 แผ่น

2. ลาดับการปฏิบัติงาน ทดสอบการทางานของอุปกรณ์ป้องกันในระบบสารทาความเย็นในเครื่องปรับอากาศระบบไฟฟ้า 3 เฟส ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

1. ต่อสายเกจเข้าที่ท่อ Suction และท่อ

ต่อ สายแมนิโ ฟลด์เ กจโดยใส่สาย

Liquid

สีน้าเงินเข้าที่ท่อ Suction (ท่อทาง ดูด) และสายสีแดงเข้าที่ท่อ Liquid (ท่อทางอัด)

2. เปิ ด ฝาครอบคอยล์ ร้ อ น แล้ ว คล้ อ ง เปิดฝาครอบชุดคอยล์ร้อน แล้วนา คลิปแอมป์

คลิปแอมป์คล้องสายเฟสใดเฟสหนึ่ง

79 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

3. ทิ้งไว้ 10 นาที แล้ววัดค่าความดัน

ทดลองเปิดเครื่องปรับอากาศทิ้งไว้

และกระแสไฟในแต่ละเฟส

ประมาณ 10 นาที แล้ ว บั น ทึ ก ค่ า ความดั น ทางด้ า นความดั นต่า และทางด้านความดันสูงของระบบ แ ล้ ว น า ค ลิ ป แ อ ม ป์ วั ด ค่ า กระแสไฟฟ้าในแต่ล ะเฟส จากนั้ น บันทึกผล

4. ทดสอบ HPS โดยต่อถังน้ายาเข้ากับ

ท ด ส อ บ HPS ( High Pressure

สายสีเหลือง เปิดวาล์วเติมน้ายาเข้าระบบ

Switch) ด้วยการต่อถังน้ายาเข้ากับ

อ่านค่าความดันน้ายาและกระแสไฟฟ้า

ส า ย สี เ ห ลื อ ง ปิ ด ว า ล์ ว สี แ ด ง

เป็นระยะ

ไ ล่ อ า ก า ศ ใ น ส า ย แ ล้ ว ค่ อ ย ๆ เ ปิ ด ว า ล์ ว สี น้ า เ งิ น เ ติ ม น้ า ย า เข้ า ระบบ โดยอ่ า นค่ า ความดั น ของน้ ายาและค่ า กระแสไฟฟ้ า จากคลิปแอมป์เป็นระยะ ๆ 80 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

5. เมื่อ Condensing หยุดให้บันทึก

เติมน้ายาไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งชุด

ค่าความดันทางด้านสูงของระบบ

Condensing ห ยุ ด ท า ง า น ใ ห้

และค่ากระแสที่ได้ก่อนเครื่องจะหยุดทางาน บันทึกค่าความดันทางด้านสู ง ของ ระบบและค่ากระแสที่อ่านได้ก่ อน เครื่องจะหยุดทางาน

6. ทดสอบ LPS ถอดถังน้ายาออกจากเกจ

ท ด ส อ บ LPS ( Low Pressure

ขณะทดสอบวาล์วสีน้าเงินและสีแดงต้องอยู่

Switch) โดยถอดถังน้ายาออกจาก

ในตาแหน่งปิด แล้วค่อย ๆ เปิดวาล์วสีน้าเงิน สายสี เ หลื อ ง ขณะทดสอบวาล์ ว ปล่อยน้ายาออกจากระบบจนกระทั่ง

สีน้าเงินและสีแดงจะอยู่ในตาแหน่ง

เครื่องปรับอากาศทางาน

ปิด ค่อย ๆ เปิดวาล์วสีน้าเงินปล่อย น้ายาออกจากระบบไปจนกระทั่ ง เครื่องปรับอากาศทางานอีกครั้ง 81 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

7. ปล่อยน้ายาออกจน Condensing Unit

ปล่ อ ยน้ ายาออกจากระบบไป

หยุดทางาน ค่อย ๆ ปิดวาล์วสีน้าเงินเพื่อ

จนกระทั่ ง ชุ ด Condensing Unit

วัดค่าความดันน้ายา บันทึกค่าความดัน

หยุ ด ท างาน โดยระหว่ า งที่ ป ล่ อ ย

ทางด้านต่า และค่ากระแสไฟฟ้าก่อนที่

น้ายาออก ต้องคอยปิดวาล์วสีน้าเงิน

เครื่องปรับอากาศจะหยุดทางาน

เพื่ อ วั ด ค่ า ความดั น ของน้ ายาที่ ลดลงอย่างสม่าเสมอ และให้บันทึก ค่ า ความดั น ทางด้ า นต่ าและค่ า กระแสไฟฟ้าก่อนเครื่องปรับอากาศ จะหยุดทางาน

82 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่

รายการตรวจสอบ

เกณฑ์การพิจารณา

1

ทดสอบการทางานของอุปกรณ์ป้องกันในระบบสารทาความเย็น ในเครื่องปรับอากาศระบบไฟฟ้า 3 เฟส

2

1.1 ทดสอบ HPS ได้ถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 ทดสอบ LPS ได้ถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 วัดค่ากระแสไฟฟ้าได้ถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 วัดค่าความดันได้ถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ปฏิบัติงาน

83 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ลาดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 ทดสอบ HPS ได้ถูกต้อง

คะแนนเต็ม 20

- ทดสอบการทางานถูกต้อง บันทึกข้อมูลถูกต้อง ให้คะแนน 5 คะแนน

5

- ทดสอบการท างานไม่ ถู ก ต้ อ ง บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ไม่ ถู ก ต้ อ ง 1 ครั้ ง ให้คะแนน 3 คะแนน - ทดสอบการทางานไม่ถูกต้อง บันทึกข้อมูลไม่ถูกต้องตั้งแต่ 1 ครั้งขึ้น ไป ให้คะแนน 1 คะแนน 1.2 ทดสอบ LPS ได้ถูกต้อง

- ทดสอบการทางานถูกต้อง บันทึกข้อมูลถูกต้อง ให้คะแนน 5 คะแนน - ทดสอบการท างานไม่ ถู ก ต้ อ ง บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ไม่ ถู ก ต้ อ ง 1 ครั้ ง

5

ให้คะแนน 3 คะแนน - ทดสอบการทางานไม่ถูกต้อง บันทึกข้อมูลไม่ถูกต้อ งตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้น ไป ให้คะแนน 1 คะแนน 1.3 วัดค่ากระแสไฟฟ้าได้ถูกต้อง

- วัด อ่านค่ากระแส และบันทึกข้อมูลถูกต้อง ให้คะนน 5 คะแนน

5

- วัด อ่านค่ากระแส และบันทึกข้อมูลไม่ถูกต้อง 1 ครั้ง ให้คะแนน 3 คะแนน - วัด อ่านค่ากระแส และบันทึกข้อมูลไม่ถูกตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้นไป ให้คะแนน 1 คะแนน 1.4 วัดค่าความดันได้ถูกต้อง

- วัด อ่านค่าความดัน และบันทึกข้อมูลถูกต้อง ให้คะนน 5 คะแนน

5

- วัด อ่านค่าความดัน และบันทึกข้อมูลไม่ถูกต้อง 1 ครั้ง ให้คะแนน 3 คะแนน - วัด อ่านค่าความดัน และบันทึกข้อมูลไม่ถูกตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้นไป ให้คะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน ครบถ้วน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

1

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

1

2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 25

84 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได้


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

หมายเหตุ หากผู้เข้ารับการฝึกได้รับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70) ให้ผู้เข้ารับการฝึก ขอเข้ารับการทดสอบภาคปฏิบัติได้

85 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

คณะผู้จัดทาโครงการ คณะผู้บริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

5. ว่าที่ร้อยตรี สมศักดิ์ พรหมดา

ผู้อานวยการสานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน์

ผู้อานวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก

7. นายวัชรพงษ์

มุขเชิด

ผู้อานวยการสานักงานรับรองความรู้ความสามารถ

คาเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ์

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพ์สาลี

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกล้า

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กาภู ณ อยุธยา

สานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน์

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงค์วัฒนานุรักษ์

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค์

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 86 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

87 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.