คู่มือผู้รับการฝึก ช่างบำรุงรักษารถยนต์ ระดับ 2 โมดูล 2

Page 1

หนาปก



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

คูมือผูรับการฝก 0920163100502 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 2 09210105 คณิตศาสตรชางยนต

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

คํานํา

คู มือผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํ า รุงรั กษารถยนต ระดับ 2 โมดู ล 2 คณิตศาสตรชางยนตฉบับ นี้ เปน สว นหนึ่งของ หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสาร ประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝก ตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไป ตามหลักสูตร กลาวคือ สามารถอธิบายและแสดงวิธีการคํานวณหาพื้นที่ ปริมาตร และน้ําหนักเบื้องตนได รวมทั้งสามารถวัด มุมทางเรขาคณิ ต และหาข อมู ล จากกราฟหรื อตารางได ตลอดจนติดตามความกาวหนาของผูรับ การฝกอบรม ในดาน ความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตางๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

สารบั ญ

เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

1

โมดูลการฝกที่ 2 09210105 คณิตศาสตรชางยนต หัวขอวิชาที่ 1 0921010501 การคํานวณพื้นที่ ปริมาตรและน้ําหนักเบื้องตน

14

หัวขอวิชาที่ 2 0921010502 มุมทางเรขาคณิต

55

หัวขอวิชาที่ 3 0921010503 การหาขอมูลจากกราฟ หรือตาราง

89

คณะผูจัดทําโครงการ

126

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขอแนะนําสําหรับผูร ับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝ กฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข อวิ ชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชงานระบบ แบง สว นการใชงานตามความรับ ผิดชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถั ด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูร ับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผูรับการฝกดาวนโหลดแอปพลิ เคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวนโหลดแอปพลิ เ คชั น สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิ เ คชั น DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวน โ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด 7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

- หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 8

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920163100502

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝ กใน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 1.2 มีความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรชางยนต 1.3 มีความรูเกี่ยวกับวิทยาศาสตรประยุกต 1.4 มีความรูเกี่ยวกับวัสดุ และสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน 1.5 มีความรูเกี่ยวกับเครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต 1.6 มีความรูเกี่ยวกับการวิเคราะหและแกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตน 1.7 มีความรูเกี่ยวกับการหลอลื่นและการเลือกใชสารหลอลื่น 1.8 มีความรูเกี่ยวกับการทํารายงานสถิติ รวมถึงการทําระบบติดตามลูกคาเบื้องตน 2. ระยะเวลาการฝก ผู รั บ การฝ กจะได รั บ การฝ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบัน พัฒ นาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 113 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไม พร อมกัน สามารถจบกอนหรื อเกินระยะเวลาที่กําหนดไว ในหลั กสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการ สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 8 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 8 โมดูล

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 4.3 ผู รั บ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ า นการฝ ก ครบทุ ก หน ว ยความสามารถ จะได รั บ วุ ฒิ บั ต ร 4.4 วพร. สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 2 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920163100501 2. ชื่อโมดูลการฝก คณิตศาสตรชางยนต รหัสโมดูลการฝก 09210105 3. ระยะเวลาการฝก รวม 12 ชั่วโมง 30 นาที ทฤษฎี 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 9 ชั่วโมง 30 นาที 4. ขอบเขตของหน วย หน ว ยการฝ กนี้ พั ฒ นาขึ้น ใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับ การฝ ก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายวิธีการคํานวณพื้นที่ ปริมาตร และน้ําหนักเบื้องตนได 2. แสดงวิธีการคํานวณพื้นพี่ ปริมาตร และน้ําหนักเบื้องตนได 3. บอกวิธีการวัดมุมทางเรขาคณิตได 4. วัดมุมทางเรขาคณิตได 5. อธิบายวิธีการหาขอมูลจากกราฟ หรือตารางได 6. แสดงวิธีการหาขอมูลจากกราฟ หรือตารางได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูเรื่องคณิตศาสตรประยุกต บวก ลบ คูณ หาร จํานวนเต็ม เศษสวน และ ผูรับการฝก ทศนิยม 2. มีความรูเรื่องสมการเรขาคณิต 3. ผูรับการฝกผานระดับ 1 มาแลว 4. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 1 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและ ใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายวิธีการคํานวณพื้นที่ หัวขอที่ 1 : การคํานวณพื้นที่ ปริมาตร และ 1:30 3:00 4:30 ปริมาตร และน้ําหนักเบื้องตนได น้ําหนักเบื้องตนได 2. แสดงวิธีการคํานวณพื้นที่ ปริมาตร และน้ําหนักเบื้องตนได สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3. บอกวิธีการวัดมุมทางเรขาคณิต หัวขอที่ 2 : มุมทางเรขาคณิต ได 4. วัดมุมทางเรขาคณิตได 5. อธิบายวิธีการหาขอมูลจาก หัวขอที่ 3 : การหาขอมูลจากกราฟ หรือตาราง กราฟ หรือตารางได 6. แสดงวิธีการหาขอมูลจากกราฟ หรือตารางได รวมทั้งสิ้น

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

0:30

2:30

3:00

1:00

4:00

5:00

3:00

9:30

12:30


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921010501 การคํานวณพื้นที่ ปริมาตรและน้ําหนักเบื้องตน (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายวิธีการคํานวณพื้นที่ ปริมาตร และน้ําหนักเบื้องตนได 2. แสดงวิธีการคํานวณพื้นพี่ ปริมาตร และน้ําหนักเบื้องตนได

2. หัวขอสําคัญ 1. การคํานวณพื้นที่ 2. การคํานวณปริมาตร 3. การคํานวณน้ําหนักเบื้องตน

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. 2552. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1. กรุงเทพฯ : สกสค. 15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 การคํานวณพื้นที่ ปริมาตร และน้ําหนักเบื้องตน 1. การคํานวณพื้นที่ 1.1 รูปสามเหลี่ยม

โดย CM เปนตัวยอของหนวยวัดความยาวเซนติเมตร (centimeter) วิธีทํา โจทยกําหนดให

ความยาวฐาน 15 เซนติเมตร ความสูง 19 เซนติเมตร

แทนคาสิ่งที่โจทยกําหนดใหในสูตร

=

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

1.2 รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส สูตรการคํานวณ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = ดาน x ดาน ตัวอยาง จงหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ตอไปนี้

วิธีทํา โจทยกําหนดใหความยาวดาน 27 เซนติเมตร แทนคาสิ่งที่โจทยกําหนดใหในสูตร พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส

= ดาน x ดาน = 27 x 27

พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = 729 ตารางเซนติเมตร 1.3 รูปสี่เหลี่ยมผืนผา สูตรการคํานวณ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา = กวาง x ยาว ตัวอยาง จงหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา ตอไปนี้

วิธีทํา โจทยกําหนดให

ความกวาง 12 เซนติเมตร ความยาว 23 เซนติเมตร

แทนคาสิ่งที่โจทยกําหนดใหในสูตร พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา

= กวาง x ยาว = 12 x 23

พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผา

= 276 ตารางเซนติเมตร 17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

1.4 รูปสี่เหลี่ยมดานขนาน สูตรการคํานวณ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน = ฐาน x สูง ตัวอยาง จงหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน ตอไปนี้

วิธีทํา โจทยกําหนดให

ความยาวฐาน 34 เซนติเมตร ความสูง 22 เซนติเมตร

แทนคาสิ่งที่โจทยกําหนดใหในสูตร พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน

= ฐาน x สูง = 34 x22

พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน

= 748 ตารางเซนติเมตร

1.5 รูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน

วิธีทํา โจทยกําหนดใหความยาวของเสนทแยงมุม 18 เซนติเมตร และ 24 เซนติเมตร แทนคาสิ่งที่โจทยกําหนดใหในสูตร

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

1.6 รูปสี่เหลี่ยมคางหมู 1

สูตรการคํานวณ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมู = x สูง x ผลบวกของดานคูขนาน 2

ตัวอยาง จงหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมู ตอไปนี้

วิธีทํา โจทยกําหนดให

ความยาวของดานคูขนาน 18 และ 21 เซนติเมตร ความสูง 12 เซนติเมตร

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

1.7 รูปวงกลม

วิธีทํา โจทยกําหนดให ความยาวรัศมี 21 เซนติเมตร แทนคาสิ่งที่โจทยกําหนดใหในสูตร

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

1.8 พื้นที่ผิวทรงกลม

วิธีทํา โจทยกําหนดใหความยาวรัศมี 7 เซนติเมตร แทนคาสิ่งที่โจทยกําหนดใหในสูตร

1.9 พื้นที่ผิวของทรงกระบอก

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

วิธีทํา โจทยกําหนดให

ความยาวรัศมี 21 เซนติเมตร ความสูง 11 เซนติเมตร

2. การคํานวณปริมาตร 2.1 ปริมาตรทรงกลม

วิธีทํา โจทยกําหนดใหความยาวรัศมี 7 เซนติเมตร แทนคาสิ่งที่โจทยกําหนดใหในสูตร

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2.2 ปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก สูตรการคํานวณ ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก = กวาง x ยาว x สูง ตัวอยาง ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ตอไปนี้

วิธีทํา โจทยกําหนดให

ความกวาง 13 เซนติเมตร ความยาว 18 เซนติเมตร ความสูง 22 เซนติเมตร

แทนคาสิ่งที่โจทยกําหนดใหในสูตร ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

= กวาง x ยาว x สูง = 13 x 18 x 22

ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

= 5,148 ลูกบาศกเซนติเมตร

2.3 ปริมาตรทรงกระบอก สูตรการคํานวณ ปริมาตรของทรงกระบอก = πr2h ตัวอยาง ปริมาตรของทรงกระบอก ตอไปนี้

วิธีทํา โจทยกําหนดให

ความยาวรัศมี 14 เซนติเมตร ความสูง 8 เซนติเมตร

แทนคาสิ่งที่โจทยกําหนดใหในสูตร

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2.4 ปริมาตรพีระมิด

วิธีทํา โจทยกําหนดให

ฐานเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัส ซึ่งมีความยาวดานของฐาน 11 เซนติเมตร และมีความสูงตรง 27 เซนติเมตร

แทนคาสิ่งที่โจทยกําหนดใหในสูตร

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2.5 ปริมาตรกรวยกลม

วิธีทํา โจทยกําหนดให

ความยาวรัศมี 7 เซนติเมตร ความสูงตรง 21 เซนติเมตร

แทนคาสิ่งที่โจทยกําหนดใหในสูตร

3. การคํานวณน้ําหนักเบื้องตน การคํานวณน้ําหนักของวัตถุ สามารถคํานวณไดจากสูตรความหนาแนนของวัตถุ ความหนาแนน (Density) หมายถึง อัตราสวนของมวลตอปริมาตรของสาร ในระบบ S.I. มีหนวยเปน กิโลกรัมตอ ลูกบาศกเมตร (kg/m3 ) คํานวณไดจากสูตร

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

เมื่อ

D แทน ความหนาแนน (Density) มีหนวยเปนกิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร M แทน มวลซึ่งวัดเปนน้ําหนัก (Mass) มีหนวยเปนกิโลกรัม V แทน ปริมาตร (volume) มีหนวยเปนลูกบาศกเมตร ตารางที่ 1.1 ตัวอยางความหนาแนนของสารตาง ๆ ของแข็ง

ของเหลว

สาร

ความหนาแนน (kg/m3)

สาร

ความหนาแนน (kg/m3)

ทอง

193 x 103

ปรอท

13.6 x 103

ตะกั่ว

11.3 x 103

น้ําทะเล

1.024 x 103

เหล็ก

7.8 x 103

น้ํา (4 C)

1.000 x 103

อะลูมิเนียม

27 x 103

เอทิลแอลกอฮอล

0.79 x 103

แกว

2.4 2.8 x 103

น้ํามันเบนซิน

0.68 x 103

คอนกรีต

2.3 x 103

แกส

น้ําแข็ง

0.917 x 103

อากาศ

1.21

ไม

0.0 – 0.9 x 103

ฮีเลียม

0.179

โฟม

0.3 – 0.9 x 103

คารบอนไดออกไซด

1.98

ดังนั้น เมื่อตองการหาน้ําหนักของวัตถุ เราสามารถคํานวณไดจากความสัมพันธของความหนาแนนและปริมาตร ดังสูตรนี้

เมื่อ

M แทน มวลซึ่งวัดเปนน้ําหนัก (Mass) มีหนวยเปนกิโลกรัม D แทน ความหนาแนน (Density) มีหนวยเปนกิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร V แทน ปริมาตร (Volume) มีหนวยเปนลูกบาศกเมตร

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ตัวอยาง จงหาน้ําหนักของกอนเหล็กรูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีความกวาง 5 เมตร ความยาว 7 เมตร และมีความหนา 4 เมตร กําหนดให ความหนาแนนของเหล็กเปน 7,800 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด คือพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมที่มีความสูง 25 เซนติเมตร และมีความยาวฐาน 20 เซนติเมตร ก. 25 ตารางเซนติเมตร ข. 23 ตารางเซนติเมตร ค. 230 ตารางเซนติเมตร ง. 250 ตารางเซนติเมตร 2. ขอใด คือพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมที่มีความกวาง 16.2 เซนติเมตร และมีความยาว 34.4 เซนติเมตร ก. 557.28 ตารางเซนติเมตร ข. 535.18 ตารางเซนติเมตร ค. 536.48 ตารางเซนติเมตร ง. 556.38 ตารางเซนติเมตร 3. ขอใด คือพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมูที่มีความสูง 25 เซนติเมตร และมีดานคูขนานยาว 18 และ 36 เซนติเมตร ก. 565 ตารางเซนติเมตร ข. 665 ตารางเซนติเมตร ค. 675 ตารางเซนติเมตร ง. 765 ตารางเซนติเมตร 4. ขอใด คือพื้นที่ของรูปวงกลมที่มีรัศมี 63 เซนติเมตร ก. 12,770 ตารางเซนติเมตร ข. 12,774 ตารางเซนติเมตร ค. 12,474 ตารางเซนติเมตร ง. 12,447 ตารางเซนติเมตร

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

5. ขอใด คือพื้นที่ผิวของทรงกระบอกที่มีรัศมี 28 เซนติเมตร และมีความสูง 44 เซนติเมตร ก. 7,744 ตารางเซนติเมตร ข. 7,474 ตารางเซนติเมตร ค. 7,447 ตารางเซนติเมตร ง. 7,774 ตารางเซนติเมตร 6. ขอใด คือปริมาตรของรูปทรงกลมที่มีรัศมี 3 เซนติเมตร ก. 131.14 ตารางเซนติเมตร ข. 111.19 ตารางเซนติเมตร ค. 123.15 ตารางเซนติเมตร ง. 113.14 ตารางเซนติเมตร 7. ขอใด คือปริมาตรของรูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีความกวาง 5 เซนติเมตร ความยาว 15 เซนติเมตร และมีความสูง 23 เซนติเมตร ก. 1,652 ตารางเซนติเมตร ข. 1,725 ตารางเซนติเมตร ค. 1,752 ตารางเซนติเมตร ง. 1,625 ตารางเซนติเมตร 8. ขอใด คือปริมาตรของรูปทรงกรวยกลมที่มีรัศมี 14 เซนติเมตร และมีความสูงตรง 24 เซนติเมตร ก. 6,128 ตารางเซนติเมตร ข. 4,938 ตารางเซนติเมตร ค. 5,346 ตารางเซนติเมตร ง. 4,928 ตารางเซนติเมตร

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

9. ความหนาแนนของทอง มีคาเทากับเทาใด ก. 11.3 x 103 kg/m3 ข. 193 x 103 kg/m3 ค. 2.7 x 103 kg/m3 ง. 2.3 x 103 kg/m3 10. ขอใด คือน้ําหนักของกอนทองคํารูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีความกวาง 3 เมตร ความยาว 14 เมตร และมีความหนา 2 เมตร ก. 16.21 x 106 kg ข. 11.51 x 106 kg ค. 15.10 x 106 kg ง. 28.03 x 106 kg

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การคํานวณหาพื้นที่ ปริมาตรและน้ําหนักของรูปทรงกระบอก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แสดงวิธีการคํานวณพื้นที่ ปริมาตร และน้ําหนักเบื้องตนได 2. ปฏิบัติงานคํานวณพื้นที่ ปริมาตร และน้ําหนักเบื้องตนได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาภาพถังบรรจุน้ํามันเบนซินทรงกระบอก

โดยกําหนดให ถังน้ํามันยาว 10 เมตร และรัศมีของถังยาว 2 เมตร จงแสดงวิธีการคํานวณหา 1) พื้นที่ผิวของถังน้ํามัน 2) ปริมาตรของถังน้ํามัน 3) น้ําหนักของน้ํามันเบนซินที่บรรจุภายในถัง (ในกรณีที่บรรจุน้ํามันเต็มถัง) กําหนดให ความหนาแนนของน้ํามันเบนซิน เทากับ 680 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 การคํานวณหาพื้นที่ ปริมาตรและน้ําหนักของรูปทรงกระบอก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระดาษ A4 (สีขาว)

จํานวน 1 ชุด

2. ปากกา

จํานวน 1 ดาม

3. ดินสอ

จํานวน 1 แทง

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การคํานวณหาพื้นที่ ปริมาตรและน้ําหนักของรูปทรงกระบอก ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. พิจารณารูปทรงของวัตถุ

พิจารณาจากรูปภาพที่กําหนดให

2. เลือกใชสูตรคํานวณ

เลือกใชสูตรคํานวณตามรูปทรงของวัตถุ ดังนี้ 1. สูตรคํานวณหาพื้นที่ผิว 2. สูตรคํานวณหาปริมาตร 3. สู ต รคํ า นวณหาน้ํ า หนั ก ของน้ํ า มั น ที่ บรรจุในถัง

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

3. คํานวณลงในแผนกระดาษ

คํ า นวณหาค า พื้ น ที่ ผิ ว ปริ ม าตร และ

4. ตรวจสอบและสรุปผล

น้ําหนักของน้ํามัน โดยแสดงวิธีทําอยาง ละเอียดลงบนกระดาษขนาด A 4 ตรวจสอบคํ า ตอบ และสรุ ป ผลการ คํานวณ

5. จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

1

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

3

การคํานวณหาพื้นที่ผิว

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การคํานวณหาปริมาตร

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การคํานวณหาน้ําหนัก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การจัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถกู ตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมวัสดุกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การคํานวณหาพื้นที่ผิว

แสดงวิธีการคํานวณไดถูกตอง ครบถวน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การคํานวณหาปริมาตร

แสดงวิธีการคํานวณไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

การคํานวณหาน้ําหนัก

ขอกําหนดในการใหคะแนน

แสดงวิธีการคํานวณไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

5

แสดงวิธีการคํานวณไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน แสดงวิธีการคํานวณไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือ ไมจัดเก็บวัสดุ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

27

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 19 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 1.2 การคํานวณหาปริมาตรและน้ําหนักของรูปทรงพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แสดงวิธีการคํานวณปริมาตรและน้ําหนักเบื้องตนได 2. ปฏิบัติงานคํานวณปริมาตรและน้ําหนักเบื้องตนได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาภาพเหล็กทรงพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส

โดยกําหนดให เหล็กทรงพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีความสูงจากจุดยอดตั้งฉากกับฐาน 21 เซนติเมตรและมีฐาน ยาวดานละ 16 เซนติเมตร จงแสดงวิธีการคํานวณหา 1) ปริมาตรของเหล็กทรงพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส 2) น้ําหนักของเหล็กทรงพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส กําหนดให ความหนาแนนของเหล็ก เทากับ 7,800 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.2 การคํานวณหาปริมาตรและน้ําหนักของรูปทรงพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระดาษ A4 (สีขาว)

จํานวน 1 ชุด

2. ปากกา

จํานวน 1 ดาม

3. ดินสอ

จํานวน 1 แทง

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การคํานวณหาปริมาตรและน้ําหนักของรูปทรงพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. พิจารณารูปทรงของวัตถุ

พิจารณาจากรูปภาพที่กําหนดให

2. เลือกใชสูตรคํานวณ

เลือกใชสูตรคํานวณตามรูปทรงของวั ต ถุ ดังนี้ 1. สูตรคํานวณหาปริมาตร 2. สูตรคํานวณหาน้ําหนักของวัตถุ

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

3. คํานวณลงในแผนกระดาษ

คํานวณหาคาปริมาตร และน้ําหนักของ

4. ตรวจสอบและสรุปผล

วัตถุ โดยแสดงวิธีทําอยางละเอียดลงบน กระดาษขนาด A 4 ตรวจสอบคําตอบ และสรุปผลการคํานวณ

5. จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริ เวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

1

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

3

การคํานวณหาพื้นที่ผิว

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การคํานวณหาปริมาตร

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การคํานวณหาน้ําหนัก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม

3

เตรียมวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถกู ตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมวัสดุกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การคํานวณหาปริมาตร

แสดงวิธีการคํานวณไดถูกตอง ครบถวน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การคํานวณหาน้ําหนัก

แสดงวิธีการคํานวณไดถูกตอง ครบถวน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือ ไมจัดเก็บวัสดุ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

25

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 1.3 การคํานวณพื้นที่ ปริมาตรและน้ําหนักของรูปทรงกลม 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แสดงวิธีการคํานวณพื้นที่ ปริมาตร และน้ําหนักเบื้องตนได 2. ปฏิบัติงานคํานวณพื้นที่ ปริมาตร และน้ําหนักเบื้องตนได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาภาพลูกโปงสวรรคทรงกลม

โดยกําหนดให ลูกโปงสวรรคทรงกลมที่บรรจุแกสฮีเลียม มีรัศมียาว 14 เซนติเมตร จงแสดงวิธีการคํานวณหา 1) พื้นที่ผิวของลูกโปงสวรรคทรงกลม 2) ปริมาตรของลูกโปงสวรรคทรงกลม 3) น้ําหนักของลูกโปงสวรรคทรงกลม กําหนดให ความหนาแนนของแกสฮีเลียม เทากับ 0.179 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.3 การคํานวณพื้นที่ ปริมาตรและน้ําหนักของรูปทรงกลม 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระดาษ A4 (สีขาว)

จํานวน 1 ชุด

2. ปากกา

จํานวน 1 ดาม

3. ดินสอ

จํานวน 1 แทง

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การคํานวณพื้นที่ ปริมาตรและน้ําหนักของรูปทรงกลม ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. พิจารณารูปทรงของวัตถุ

พิจารณาจากรูปภาพที่กําหนดให

2. เลือกใชสูตรคํานวณ

เลือกใชสูตรคํานวณตามรูป ทรงของวั ต ถุ ดังนี้ 1. สูตรคํานวณหาพื้นที่ผิว 2. สูตรคํานวณหาปริมาตร 3. สูตรคํานวณหาน้ําหนักของวัตถุ

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

3. คํานวณลงในแผนกระดาษ

คํ า นวณหาค า พื้ น ที่ ผิ ว ปริ ม าตร และ

4. ตรวจสอบและสรุปผล

น้ํ า หนั ก ของวั ต ถุ โดยแสดงวิ ธี ทํ า อย า ง ละเอียดลงบนกระดาษขนาด A 4 ตรวจสอบคําตอบ และสรุปผลการคํานวณ

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

คําอธิบาย ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

1

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

3

การคํานวณหาพื้นที่ผิว

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การคํานวณหาปริมาตร

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การคํานวณหาน้ําหนัก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

จัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม

3

เตรียมวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถกู ตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมวัสดุกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การคํานวณหาพื้นที่ผิว

แสดงวิธีการคํานวณไดถูกตอง ครบถวน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การคํานวณหาปริมาตร

แสดงวิธีการคํานวณไดถูกตอง ครบถวน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การคํานวณหาน้ําหนัก

แสดงวิธีการคํานวณไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

แสดงวิธกี ารคํานวณไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือ ไมจัดเก็บวัสดุ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

30

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 21 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921010502 มุมทางเรขาคณิต (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกวิธีการวัดมุมทางเรขาคณิตได 2. วัดมุมทางเรขาคณิตได

2. หัวขอสําคัญ 1. เรขาคณิตที่เปนสวนประกอบของมุม 2. ประเภทของมุม

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมทีล่ งทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. 2552. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1. กรุงเทพฯ : สกสค. 56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 มุมทางเรขาคณิต 1. เรขาคณิตที่เปนสวนประกอบของมุม 1.1 จุด เปนเรขาคณิตที่ใชบอกตําแหนง ไมมีขนาด ไมมีทิศทาง เขียนแทนดวยสัญลักษณและเขียนตัวอักษรกํากับไว ดังภาพ

ภาพที่ 2.1 จุด A 1.2 สวนของเสนตรง เปนเรขาคณิตที่แทนสวนหนึ่งของเสนตรง โดยมีปลายเปนจุดสองจุด เขียนแทนดวยสัญลักษณ อานวา สวนของเสนตรง AB หรือ

อานวา สวนของเสนตรง BA และวาดได ดังภาพ

ภาพที่ 2.2 สวนของเสนตรง AB 1.3 เสนตรง มีความยาวไมจํากัด และไมคํานึงถึงความกวางของเสน ตรง เขียนแทนดวยสัญลักษณ เสนตรง AB หรือ

อานวา

อานวา เสนตรง BA และวาดได ดังภาพ

ภาพที่ 2.3 เสนตรง AB 1.4 รังสี เปนสวนหนึ่งของเสนตรงที่มีจุดปลายเพียงจุดเดียว รังสีจะมีทิศทางที่แนนอน เขียนแทนดวยสัญลักษณ โดยตองระบุตัวอักษรที่มีลําดับมากอนไวที่จุดเริ่มตน และระบุตัวอักษรลําดับถัดมาที่ดานปลายลูกศร ซึ่งอานวา รังสี AB

ภาพที่ 2.4 รังสี AB 57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ประเภทของมุม มุม หมายถึง รังสีสองเสนซึ่งมีจุดปลายจุดเดียวกัน โดยรังสีทั้งสองเสนนี้ เรียกวา แขนของมุม และจุดปลายที่อยูรวมกัน เรียกวา จุดยอดมุม การเรียกชื่อมุมจะเรียกตามลําดับตัวอักษร จากชื่อจุดบนแขนของมุมขางหนึ่ง ชื่อจุดยอดมุม และชื่อจุด บนแขนของมุมอีกขางหนึ่ง

ภาพที่ 2.5 มุม ABC จากภาพ สามารถเขียนแทนดวยสัญลักษณ

อานวา มุม ABC หรือ

อานวา มุม CBA หรือ

อานวา มุม B

การวัดขนาดของมุมจะใชโพรแทรกเตอร ซึ่งมีทั้งแบบครึ่งวงกลม และแบบสี่เหลี่ยมผืนผา โดยมีสวนประกอบ ดังภาพ

ภาพที่ 2.6 โพรแทรกเตอรชนิดครึ่งวงกลม

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 2.7 โพรแทรกเตอรชนิดสี่เหลี่ยมผืนผา ขั้นตอนการวัดขนาดของมุม - วางโพรแทรกเตอรลงบนจุดยอดมุมที่จะวัด โดยใหตรงกลางของโพรแทรกเตอรทับบนจุดยอดมุมพอดี - หมุนโพรแทรกเตอรใหแขนขางหนึง่ ของมุมตรงกับเสนศูนยองศา - อานคาขนาดของมุม พิจารณาตําแหนงของการกางของมุม และแถบขนาดของมุมใหถูกตอง โดยเริ่มจาก เสนศูนยองศาไปจนถึงแขนอีกขางหนึ่ง จะไดขนาดของมุมที่มีหนวยเปน องศา

ภาพที่ 2.8 มุม จฉช มีขนาด 135 องศา การสรางมุมโดยใชโพรแทรกเตอร วิธีการสรางมุมใหมีขนาดเทากับมุมที่กําหนดให สามารถทําไดโดย 1) ลากรังสีหรือสวนของเสนตรงที่เปนแขนขางหนึ่งของมุม

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2) กําหนดจุดปลายของรังสีหรือสวนของเสนตรงที่เปนแขนของมุม เพื่อใชเปนจุดยอดมุม

3) วางโพรแทรกเตอรใหจุดกึ่งกลางตรงกับจุดปลายของรังสี หรือสวนของเสนตรง โดยใหเสนที่ชี้ตัวเลข 0 ทับกับแขนของมุม

4) กําหนดจุดใหตรงกับขนาดของมุมที่ตองการ

5) ลากรังสีหรือสวนของเสนตรงจากจุดยอดมุม โดยผานจุดที่กําหนดไว

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

มุมทางเรขาคณิตสามารถแบงตามขนาดของมุม ไดเปน 5 ประเภท ไดแก - มุมแหลม เปนมุมที่มีขนาดมากกวา 0 องศา แตนอยกวา 90 องศา

ภาพที่ 2.9 มุมแหลม - มุมฉาก เปนมุมที่มีขนาด 90 องศา

ภาพที่ 2.10 มุมฉาก - มุมปาน เปนมุมที่มีขนาดมากกวา 90 องศา แตนอยกวา 180 องศา

ภาพที่ 2.11 มุมปาน 61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

- มุมตรง เปนมุมที่มีขนาด 180 องศา หรือขนาดเทากับ 2 มุมฉาก

ภาพที่ 2.12 มุมตรง - มุมกลับ เปนมุมที่มีขนาดมากกวา 180 องศา แตนอยกวา 360 องศา

ภาพที่ 2.13 มุมกลับ

ผลรวมมุมภายในของรูปเรขาคณิต 1) ผลรวมมุมภายในรูปสามเหลี่ยม

รูปสามเหลี่ยมมีมุมภายในรวมกัน = 180° หรือ มุม a + มุม b + มุม c = 180°

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2) ผลรวมมุมภายในรูปสี่เหลี่ยม

รูปสี่เหลี่ยมมีมุมภายในรวมกัน = 360° หรือ มุม a + มุม b + มุม c + มุม d = 360° 3) ผลรวมมุมภายในรูปวงกลม

รูปวงกลมมีมุม = 360° 4) ผลรวมมุมภายในรูปหลายเหลี่ยม

มุมภายในของรูป n เหลี่ยม = 180 (n-2)

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 ชนิดของมุม คําชี้แจง ใหผูรับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ขอ

โจทย

ขอ

1

2

ชนิดของมุม

มุมปาน

มุมแหลม

มุมกลับ

มุมฉาก

มุมตรง

3

4 5

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ตอนที่ 2 ขนาดของมุม คําชี้แจง ใหผูรับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ขอ

โจทย

6

7

8

9

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ตัวอักษร

ขนาดของมุม

90 องศา

135 องศา

48 องศา

165 องศา

35 องศา

180 องศา

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ตอนที่ 3 ขนาดของมุมภายใน คําชี้แจง ใหผูรับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ตัวอักษร

ภาพของมุม

ตัวอักษร

10

11

12

ขนาดของมุมภายใน

1080 องศา

360 องศา

180 องศา

270 องศา

900 องศา

540 องศา

820 องศา

13

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

กระดาษคําตอบ ตอนที่ 1 จับคู ขอ

1 2 3 4 5 ตอนที่ 2 จับคู ขอ

6 7 8 9 ตอนที่ 3 จับคู ขอ

10 11 12 13 14

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 2.1 การสรางมุมทางเรขาคณิต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. วัดมุมทางเรขาคณิตได 2. ปฏิบัติงานสรางมุมทางเรขาคณิตได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาฝกปฏิบัติงานรวม 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหสรางมุมทางเรขาคณิตจากขนาดทีก่ ําหนดใหตอไปนี้ พรอมทั้งบอกชนิดของมุม 1. 15˚ 2. 60˚ 3. 115.5˚ 4. 180˚ 5. 295˚

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 การสรางมุมทางเรขาคณิต 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. โพรแทรกเตอรวัดมุมแบบครึ่งวงกลม

จํานวน 1 อัน

2. ไมบรรทัด

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระดาษ A4 (สีขาว)

จํานวน 1 ชุด

2. ปากกา

จํานวน 1 ดาม

3. ดินสอ

จํานวน 1 แทง

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การสรางมุมทางเรขาคณิต ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. เตรียมอุปกรณ

เตรียมโพรแทรกเตอรแบบครึ่งวงกลม

2. สรางมุม

และไมบรรทัด สําหรับสรางมุม สรางมุมตามขนาดที่กําหนดให

3. บันทึกชนิดของมุม

หลังสรางมุมเสร็จ บันทึกชนิดของมุมทาง

4. ตรวจสอบความถูกตอง

เรขาคณิต ตรวจสอบความถู ก ต อ งของมุ ม ที่ ส ร า ง อีกครั้ง

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน

2

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

3

การสรางมุมดวยโพรแทรกเตอรวัดมุม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การบอกชนิดของมุม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม

3

เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การสรางมุมดวยโพรแทรกเตอรวัดมุม

สรางมุมไดอยางถูกตอง

5

ใหคะแนนขอละ 1 คะแนน 4

การบอกชนิดของมุม

บอกชนิดของมุมไดถูกตอง

5

ใหคะแนนขอละ 1 คะแนน 5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ลําดับที่

6

รายการตรวจสอบ

จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณหลังปฏิบัตงิ าน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

3

จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

25

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 2.2 การสรางรูปเรขาคณิต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. วัดมุมทางเรขาคณิตได 2. ปฏิบัติงานสรางรูปทรงทางเรขาคณิตได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาฝกปฏิบัติงานรวม 50 นาที

3. คําชี้แจง ใหสรางรูปเรขาคณิตตามขั้นตอนที่กําหนดใหตอไปนี้ โดยใชเครื่องมือที่มีอยู 1. สรางเสนตรง AB = 10 เซนติเมตร 2. สราง

A B C = 60 o และให BC = 8 เซนติเมตร

3. กําหนดจุด E บนเสนตรง BC โดยให BE = 6 เซนติเมตร 4. สรางเสนตรงใหผานจุด E และตั้งฉากกับ

AB

ที่จุด D

5. สรางเสนตรงใหผานจุด A และตั้งฉากกับ BC ที่จุด F จากรูปเรขาคณิตที่ไดจากการสราง จงตอบคําถามตอไปนี้ ∧

1.

B E D เปนมุมชนิดใดและมีขนาดกี่องศา

2.

AF C

และ

B D E เปนมุมชนิดเดียวกันหรือไม และเปนมุมชนิดใด

75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.2 การสรางรูปเรขาคณิต 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. โพรแทรกเตอรวัดมุมแบบครึ่งวงกลม

จํานวน 1 อัน

2. ไมบรรทัด

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระดาษ A4 (สีขาว)

จํานวน 1 ชุด

2. ปากกา

จํานวน 1 ดาม

3. ดินสอ

จํานวน 1 แทง

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การสรางรูปเรขาคณิต ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. เตรียมอุปกรณ

เตรียมโพรแทรกเตอรแบบครึ่งวงกลม และ

2. สรางรูปเรขาคณิต

ไมบรรทัด สําหรับสรางรูปเรขาคณิต สรางรูปเรขาคณิตตามขั้นตอนที่กําหนดให ในคําชี้แจง

3. ตรวจสอบความถูกตอง

ตรวจสอบความถูกตองของรูปเรขาคณิตที่

4. ตอบคําถาม

สรางอีกครั้ง ตอบคําถามโดยพิจารณาจากรูปเรขาคณิต ที่สรางเสร็จ

77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

คําอธิบาย ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน

2

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

3

การสรางมุมดวยโพรแทรกเตอรวัดมุม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การตอบคําถามเกี่ยวกับมุม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม

3

เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การสรางมุมดวยโพรแทรกเตอรวัดมุม

สรางมุมตามขั้นตอนและขนาดทีก่ ําหนดไดอยางถูกตอง

5

ใหคะแนน 5 คะแนน สรางมุมตามขั้นตอนไมถูกตอง หรือ สรางมุมตามขนาดที่ กําหนดไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน สรางมุมตามขั้นตอนและขนาดทีก่ ําหนดไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตอบคําถามเกี่ยวกับมุม

ตอบคําถามไดอยางถูกตองทุกขอ ใหคะแนน 5 คะแนน ตอบคําถามบกพรองไมเกิน 2 ประเด็น ใหคะแนน 3 คะแนน ตอบคําถามบกพรอง 3 ประเด็น ใหคะแนน 1 คะแนน ตอบคําถามบกพรอง 4 ประเด็น ใหคะแนน 0 คะแนน

80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณหลังปฏิบัตงิ าน

จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

25

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 2.3 การวัดขนาดของมุม 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. วัดมุมทางเรขาคณิตได 2. ปฏิบัติงานวัดขนาดของมุมทางเรขาคณิตได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาฝกปฏิบัติงานรวม 30 นาที

3. คําชี้แจง จงใชโพรแทรกเตอรวัดขนาดของมุมตอไปนี้ พรอมทั้งบอกชนิดของมุม 1.

…………………………………………………………………………………………………………….. 2.

……………………………………………………………………………………………………………..

82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3.

…………………………………………………………………………………………………………….. 4.

…………………………………………………………………………………………………………….. 5.

…………………………………………………………………………………………………………….. 83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.3 การวัดขนาดของมุม 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. โพรแทรกเตอรวัดมุมแบบครึ่งวงกลม

จํานวน 1 อัน

2. ไมบรรทัด

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระดาษ A4 (สีขาว)

จํานวน 1 ชุด

2. ปากกา

จํานวน 1 ดาม

3. ดินสอ

จํานวน 1 แทง

84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การวัดขนาดของมุม ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. เตรียมอุปกรณ

เตรียมโพรแทรกเตอรแบบครึ่งวงกลม

2. วัดขนาดของมุม

สําหรับวัดขนาดของมุมทางเรขาคณิต วัดขนาดของมุมที่กําหนดใหในคําชี้แจง

3 ตอบคําถาม

ตอบคําถามโดยพิจารณาจากขนาดของมุม ที่วัดได

4. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน

2

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

3

การวั ด มุ ม ขนาดของมุ ม ด ว ยโพรแทรกเตอร ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน วัดมุม

4

การบอกชนิดของมุม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม

3

เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การวัดขนาดของมุมดวยโพรแทรกเตอรวัดมุม

วัดมุมดวยโพรแทรกเตอรวัดมุมไดอยางถูกตอง

5

ใหคะแนนขอละ 1 คะแนน 4

การบอกชนิดของมุม

บอกชนิดของมุมไดอยางถูกตอง

5

ใหคะแนนขอละ 5 คะแนน 5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน

87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ลําดับที่

6

รายการตรวจสอบ

จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณหลังปฏิบัตงิ าน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

3

จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

25

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3 0921010502 การหาขอมูลจากกราฟ หรือตาราง (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายวิธีการหาขอมูลจากกราฟ หรือตารางได 2. แสดงวิธีการหาขอมูลจากกราฟ หรือตารางได

2. หัวขอสําคัญ 1. ประเภทของกราฟและตาราง 2. การหาขอมูลจากกราฟ 3. การหาขอมูลจากตาราง

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. 2552. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1. กรุงเทพฯ : สกสค. 90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 การหาขอมูลจากกราฟหรือตาราง 1. ประเภทของกราฟและตาราง 1.1 กราฟ (Graph) กราฟ เปนรูปแบบหนึ่งของการนําเสนอขอมูล เพื่อใหสามารถเขาใจและเปรียบเทียบกันไดงาย โดยกราฟมีหลาย ประเภท ดังนี้ - กราฟแทง (Bar Chart) ใชในการเปรียบเทียบปริมาณ เพื่อใหเห็นความแตกตางของขอมูล ลักษณะสําคัญ คือ กราฟแทงทุกแทงตองมีความกวางเทากัน แตความยาวของแตละแทงจะไมเทากัน ขึ้นอยูกับปริมาณ ที่เปรียบเทียบ

ภาพที่ 3.1 กราฟแทง - กราฟเสน (Line Chart) ใชเสนในการแสดงการเปลี่ยนแปลงของขอมูล เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงเมื่อเวลา หรือสถานการณเปลี่ยนไป โดยความสูงต่ําของเสนกราฟขึ้นอยูกับปริมาณที่สนใจ

91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 3.2 กราฟเสน - กราฟเรดาร (Radar Chart) ใชเพื่อแสดงภาพรวมของขอมูลที่สนใจใหเขาใจไดงาย

ภาพที่ 3.3 กราฟเรดาร

92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

- กราฟวงกลม (Pie Chart) เปนการแสดงปริมาณขอมูลในสัดสวนของวงกลม เพื่อใหเขาใจการแบงสัดสวน ของขอมูลทั้งหมด

ภาพที่ 3.4 กราฟวงกลม - ฮีสโทแกรม (Histogram) เปนกราฟแทงที่ใชในการพิจารณาการกระจายของขอมูล

ภาพที่ 3.5 ฮีสโทแกรม 93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

1.2 ตาราง (Table) เปนการนําเสนอขอมูลที่ทําไดงาย และไดรับความนิยม เนื่องจากชวยแบงประเภทของขอมูลที่มี จํานวนมากใหเปนระเบียบ และงายตอการคํานวณคาตาง ๆ ทางสถิติ

การนําขอมูลที่เก็บรวบรวมไดมาจัดเรียงในตารางตามลําดับใหเปนระบบ และแสดงความถี่ของขอมูลนั้น ๆ จะ เรียกตารางประเภทนี้วา ตารางแจกแจงความถี่

94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. การหาขอมูลจากกราฟ - กราฟแทง กราฟแทงแบบเดี่ยวสามารถอานคาขอมูล โดยพิจารณาจากความสูงของแทงกราฟ สวนการอาน คากราฟแทงเปรียบเทียบจะตองพิจารณาสีของแทงกราฟใหถูกตอง ดังตัวอยาง

ภาพที่ 3.6 กราฟแทงที่แสดงขอมูลคาไฟฟา

ภาพที่ 3.7 กราฟแทงเปรียบเทียบเวลาที่นารีและดํารงใชในการวิ่ง 95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

- กราฟเสน สามารถอานคาขอมูลได โดยพิจารณาจากจุดตาง ๆ บนเสนกราฟ ดังตัวอยาง

ภาพที่ 3.8 กราฟแสดงจํานวนประชากร

ภาพที่ 3.9 กราฟแสดงการเคลื่อนที่ของเครื่องบินไอพน 96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

จากภาพที่ 3.9 สามารถหาตําแหนงของเครื่องบินไอพนในเวลา 3.5 วินาที และสามารถหาคาของขอมูลได ในทุกตําแหนง โดยลากเสนจากกราฟไปตัดกับแกนแนวตั้งและแนวนอน พบวา เครื่องบินไอพนเคลื่อนที่ไปได ประมาณ 65 เมตร 3. การหาขอมูลจากตาราง เปนการคํานวณคาตาง ๆ จากขอมูล เพื่อใหสามารถนําไปใชประโยชนตอได ดังตัวอยางตอไปนี้ ตารางที่ 3.1 ผลการสอบวิชาคณิตศาสตรชางยนต คะแนน

ความถี่

1-10

2

11-20

7

21-30

18

31-40

9

41-50

4

รวม

40

3.1 การหาคาพิสัยของขอมูล พิสัย = คาสูงสุด – คาต่ําสุด จากตัวอยางจะได

พิสัย = 50 – 1 = 49

3.2 การหาความกวางของชั้น

3.3 ความถี่สะสม คือ ผลรวมของความถี่ของอันตรภาคชั้นนั้นกับความถี่ของอันตรภาคชั้นกอนหนาทั้งหมด คะแนน

ความถี่

ความถี่สะสม

1-10

2

2

11-20

7

2+7=9

97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

คะแนน

ความถี่

ความถี่สะสม

21-30

18

9 + 18 = 27

31-40

9

27 + 9 = 36

41-50

4

36 + 4 = 40

รวม

40

3.4 ความถี่สัมพัทธ คือ อัตราสวนของความถี่ในอันตรภาคชั้นนั้นกับผลรวมของความถี่ทั้งหมด คะแนน

ความถี่

ความถี่สัมพัทธ

1-10

2

2/40 = 0.05

11-20

7

7/40 = 0.175

21-30

18

18/40 = 0.45

31-40

9

9/40 = 0.225

41-50

4

4/40 = 0.1

รวม

40

1.00

3.5 หาจุดกึ่งกลางชั้น

คะแนน

ความถี่

จุดกึ่งกลางชั้น

1-10

2

(1 + 10) / 2 = 5.5

11-20

7

(11 + 20) / 2 = 15.5

21-30

18

(21 + 30) / 2 = 25.5

31-40

9

(31 + 40) / 2 = 35.5

41-50

4

(41 + 50) / 2 = 45.5

รวม

40

98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3.6 หาคาเฉลี่ยเลขคณิต คะแนน

ความถี่ (f)

จุดกึ่งกลางชั้น (x)

fx

1-10

2

(1 + 10) / 2 = 5.5

2 x 5.5 = 11

11-20

7

(11 + 20) / 2 = 15.5

7 x 15.5 = 108.5

21-30

18

(21 + 30) / 2 = 25.5

18 x 25.5 = 459

31-40

9

(31 + 40) / 2 = 35.5

9 x 35.5 = 319.5

41-50

4

(41 + 50) / 2 = 45.5

4 x 45.5 = 182

รวม

N = 40

∑ fx = 1,080

99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. ความถี่สะสม คือ ผลรวมของความถี่ของอันตรภาคชั้นนั้น ๆ กับความถี่ของ อันตรภาคชั้นกอนหนาทั้งหมด 2. กราฟแทงประเภทฮีสโทแกรม จะใชในการพิจารณาการกระจายของขอมูล 3. การหาความกวางของชั้น คํานวณไดจากการนําความถี่สะสม หารดวย จํานวน ชั้น 4. ความถี่สัมพั ทธ คือ อัตราสวนของความถี่ ในอั น ตรภาคชั้น นั้น กั บผลรวมของ ความถี่ทั้งหมด 5. การหาคาพิสัยของขอมูล คือการนําคาต่ําสุดลบดวยคาสูงสุด 6. จุดกึ่งกลางชั้น คํานวณไดจาก ผลรวมของขอบบนและขอบลาง หารดวยสอง 7. คาเฉลี่ยเลขคณิตจะไมสามารถคํานวณได หากไมทราบจุดกึ่งกลางชั้นของแตละ อันตรภาคชั้น

100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

กระดาษคําตอบ ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5 6 7

101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 3.1 การคํานวณหาขอมูลจากตาราง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แสดงวิธีการหาขอมูลจากกราฟหรือตารางได 2. ปฏิบัติงานคํานวณหาขอมูลจากตารางได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกแสดงวิธีการคํานวณหาคาความกวางของชั้น ความถี่สะสม ความถี่สัมพัทธ จุดกึ่งกลางชั้น และ คาเฉลี่ยเลขคณิตจากขอมูลที่กําหนดให อันตรภาคชั้น

ความถี่

20 – 29

11

30 – 39

22

40 – 49

19

50 – 59

18

รวม

70

102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.1 การคํานวณหาขอมูลจากตาราง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระดาษ A4 (สีขาว)

จํานวน 1 ชุด

2. ปากกา

จํานวน 1 ดาม

3. ดินสอ

จํานวน 1 แทง

103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การคํานวณหาขอมูลจากตาราง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. พิจารณาโจทย

โดยพิจารณาจากตารางที่กําหนดให

2. เลือกใชสูตรคํานวณ

เลือกใชสูตรคํานวณตามโจทยที่กําหนดให ดังนี้ 1. สูตรคํานวณหาคาความกวางของชั้น 2. สูตรคํานวณหาความถี่สะสม 3. สูตรคํานวณหาความถี่สัมพัทธ 4. สูตรคํานวณหาจุดกึ่งกลางชั้น 5. สูตรคํานวณหาคาเฉลี่ยเลขคณิต

104 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

3. คํานวณและสรางตาราง

คํ า นวณหาค า ตามที่ โ จทย กํ า หนดโดยใช

4. ตรวจสอบและสรุปผล

สูตร และสรางตารางบัน ทึกขอมูล ลงบน กระดาษขนาด A 4 ตรวจสอบคําตอบ และสรุปผลการคํานวณ

5. จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

105 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

1

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

3

การคํานวณหาความกวางของชั้น

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การคํานวณหาความถี่สะสม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การคํานวณหาความถี่สัมพัทธ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การคํานวณหาจุดกึ่งกลางชั้น

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การคํานวณหาคาเฉลี่ยเลขคณิต

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

จัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

10

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

106 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถกู ตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมวัสดุกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การคํานวณหาความกวางของชั้น

แสดงวิธีการคํานวณไดถูกตอง ครบถวน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การคํานวณหาความถี่สะสม

แสดงวิธีการคํานวณไดถูกตอง ครบถวน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การคํานวณหาความถี่สัมพัทธ

แสดงวิธีการคํานวณไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน

107 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

แสดงวิธกี ารคํานวณไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การคํานวณหาจุดกึ่งกลางชั้น

แสดงวิธีการคํานวณไดถูกตอง ครบถวน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 7

การคํานวณหาคาเฉลี่ยเลขคณิต

แสดงวิธีการคํานวณไดถูกตอง ครบถวน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 8

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 9

จัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือ ไมจัดเก็บวัสดุ ใหคะแนน 0 คะแนน

108 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ลําดับที่

10

รายการตรวจสอบ

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

40

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 28 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

109 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 3.2 การคํานวณหาขอมูลจากกราฟ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แสดงวิธีการหาขอมูลจากกราฟ หรือตารางได 2. ปฏิบัติงานคํานวณหาขอมูลจากตารางได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 20 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกแสดงวิธีการหาขอมูลจากกราฟที่กําหนดให กําหนดกราฟแสดงปริมาณน้ําฝนที่วัดได ที่หาดเจาสําราญ จังหวัดเพชรบุรีในวันที่ 1-10 กรกฎาคม ดังนี้

110 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

1. จากกราฟ จงเติมขอมูลในตารางแจกแจงความถี่ใหสมบูรณ โดยตารางตองประกอบดวย ความถี่สะสม ความถี่ สัมพัทธ และจุดกึ่งกลางชั้น ปริมาณน้ําฝน (มม.)

จํานวนวัน (วัน)

ความถี่สะสม

ความถี่สัมพัทธ

จุดกึ่งกลางชั้น

21 – 30 31 – 40 41 – 50 51 – 60 61 – 70 รวม 2. หาคาเฉลี่ยเลขคณิตของปริมาณน้ําฝน ในวันที่ 1-10 กรกฎาคม ปริมาณน้ําฝน

จํานวนวัน (f)

จุดกึ่งกลางชั้น (x)

21 – 30 31 – 40 41 – 50 51 – 60 61 – 70 รวม 3. วาดกราฟแทง โดยใหแกนตั้งเปนปริมาณน้ําฝน (มม.) และแกนนอนเปนวันที่

111 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

fx


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.2 การคํานวณหาขอมูลจากกราฟ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระดาษ A4 (สีขาว)

จํานวน 1 ชุด

2. ปากกา

จํานวน 1 ดาม

3. ดินสอ

จํานวน 1 แทง

112 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การคํานวณหาขอมูลจากกราฟ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. พิจารณาโจทย

โดยพิจารณาจากกราฟเสนที่

2. สรางตารางแจกแจงความถี่

กําหนดให โดยในตารางตองประกอบดวย ความถี่สะสม ความถี่สัมพัทธ และ จุดกึ่งกลางชั้น

3. หาคาเฉลี่ยเลขคณิต

เมื่ อ คํ า นวณหาข อ มู ล ในตารางครบ แลว แสดงวิธีการหาคาเฉลี่ยเลขคณิ ต โดยใชสูตร

4. สรางกราฟแทง

วาดกราฟแท ง ลงบนกระดาษขนาด A 4 โดยกําหนดใหแกนตั้งเปนปริมาณ น้ําฝน (มม.) และแกนนอนเปนวันที่

113 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

5. ตรวจสอบ

ตรวจสอบความถู ก ต อ งของคํ า ตอบ และการแสดงวิธีทํา

6. จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณ ส ถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน แล ะจั ด เ ก็ บ เครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

1

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

3

การคํานวณหาความกวางของชั้น

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การคํานวณหาความถี่สะสม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การคํานวณหาความถี่สัมพัทธ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การคํานวณหาคาเฉลี่ยเลขคณิต

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน 114

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

7

การสรางกราฟแทงโดยใชขอมูลจากตาราง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

การจัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

10

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

115 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถกู ตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมวัสดุกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การคํานวณหาความกวางของชั้น

แสดงวิธีการคํานวณไดถูกตอง ครบถวน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การคํานวณหาความถี่สะสม

แสดงวิธีการคํานวณไดถูกตอง ครบถวน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การคํานวณหาความถี่สัมพัทธ

แสดงวิธีการคํานวณไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน

116 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

แสดงวิธกี ารคํานวณไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การคํานวณหาคาเฉลี่ยเลขคณิต

แสดงวิธีการคํานวณไดถูกตอง ครบถวน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน แสดงวิธกี ารคํานวณไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 7

การสรางกราฟแทงโดยใชขอ มูลจากตาราง

สรางกราฟแทงโดยใชขอมูลจากตารางไดอยางถูกตอง

5

ใหคะแนนแทงละ 0.5 คะแนน 8

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 9

จัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือ ไมจัดเก็บวัสดุ ใหคะแนน 0 คะแนน 10

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

40

117 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 28 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

118 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 3.3 การสรางกราฟแทงและกราฟเสน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แสดงวิธีการหาขอมูลจากกราฟ หรือตารางได 2. ปฏิบัติงานสรางกราฟแทงและกราฟเสนได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 20 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกแสดงวิธีหาขอมูลจากกราฟตามที่กําหนดให จากกราฟวงกลมแสดงจํานวนเด็กที่ชอบสีตาง ๆ

จงสรางตารางขอมูลที่อานไดจากกราฟ และนําขอมูลที่ไดมาสรางกราฟแทงและกราฟเสน

119 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.3 การสรางกราฟแทงและกราฟเสน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตางๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระดาษ A4 (สีขาว)

จํานวน 1 ชุด

2. ปากกา

จํานวน 1 ดาม

3. ดินสอ

จํานวน 1 แทง

120 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การสรางกราฟแทงและกราฟเสน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. พิจารณาโจทย

โดยพิจารณาจากกราฟวงกลมที่

2. สรางตารางขอมูล

กําหนดให โดยในตารางตองประกอบไปด ว ย ชนิดของสี และจํานวนเด็ก

3. สรางกราฟแทง

วาดกราฟแทงลงบนกระดาษขนาด A 4 โดยใช ข อ มู ล ที่ ไ ด จ ากกราฟ วงกลม

121 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

4. สรางกราฟเสน

วาดกราฟเสนลงบนกระดาษขนาด A 4 โดยใช ข อ มู ล ที่ ไ ด จ ากกราฟ วงกลม

5. ตรวจสอบ

ตรวจสอบความถูกตองของกราฟ

6. จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณ สถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย

122 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

1

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

3

การสรางกราฟแทงจากกราฟวงกลม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การสรางกราฟเสนจากกราฟวงกลม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

จัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

123 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม

3

เตรียมวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถกู ตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมวัสดุกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การสรางกราฟแทงจากกราฟวงกลม

สรางกราฟแทงโดยใชขอมูลจากตารางไดอยางถูกตอง

5

ใหคะแนน 5 คะแนน สรางกราฟแทงโดยใชขอมูลจากตารางบกพรองไมเกิน 2 จุด ใหคะแนน 4 คะแนน สรางกราฟแทงโดยใชขอมูลจากตารางบกพรอง 3 จุด ใหคะแนน 3 คะแนน สรางกราฟแทงโดยใชขอมูลจากตารางบกพรอง 4 จุด ใหคะแนน 2 คะแนน สรางกราฟแทงโดยใชขอมูลจากตารางบกพรองไมเกิน 6 จุด ใหคะแนน 1 คะแนน 4

การสรางกราฟเสนจากกราฟวงกลม

สรางกราฟเสนโดยใชขอมูลจากตารางไดอยางถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน สรางกราฟเสนโดยใชขอมูลจากตารางบกพรองไมเกิน 2 จุด ใหคะแนน 4 คะแนน สรางกราฟเสนโดยใชขอมูลจากตารางบกพรอง 3 จุด ใหคะแนน 3 คะแนน

124 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

สรางกราฟเสนโดยใชขอมูลจากตารางบกพรอง 4 จุด ใหคะแนน 2 คะแนน สรางกราฟเสนโดยใชขอมูลจากตารางบกพรองไมเกิน 6 จุด ใหคะแนน 1 คะแนน 5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือ ไมจัดเก็บวัสดุ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

25

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

125 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 126 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 2

127 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.